You are on page 1of 18

BY KRUNAWAPORN YODPANAN

ดาวฤกษ์
• คือ ก้ อนแก๊ สร้ อนขนาดใหญ่ 99% เป็ น H รองลงมา คือ He
รวมตัวอยู่ในสภาวะสมดุลระหว่ างแรงโน้ มถ่ วง
• -ดาวฤกษ์ ทุกดวงมีสมบัตเิ หมือนกันอยู่ 2 ประการ
• 1.สร้ างพลังงานได้ ด้วยตัวเอง
• 2.มีววิ ฒ
ั นาการ
☺ วิวฒ
ั นาการของดาวฤกษ์ ☺
-เกิดจากการยุบตัวของเนบิวลา
-ดาวฤกษ์ ที่มีมวลน้ อย มีความสว่ างน้ อย จะใช้ เชื้อเพลิงน้ อย
จึงมีช่วงชีวติ ยาวและจบชีวติ ด้ วยการไม่ ระเบิด
-ดาวฤกษ์ ที่มีขนาดใหญ่ มวลมาก แสงสว่ างมาก ใช้ เชื้อเพลิงมาก
จะมีช่วงชีวติ สั้ นและจบชีวติ ด้ วยการระเบิดอย่ างรุนแรง เรียกว่ า
ซุปเปอร์ โนวา (Supernova)
กาเนิดและวิวฒ
ั นาการของดวงอาทิตย์

• -เกิดจากการยุบรวมตัวของเนบิวลาด้ วยแรงโน้ มถ่ วงของเนบิวลาเอง ผลทีต่ ามมาคือ


อุณหภูมจิ ะสู งขึน้ จนถึง 15 ล้ านเคลวินทาให้ เกิดปฏิกริ ิยาเทอร์ โมนิวเคลียร์ กลายเป็ น
ดวงอาทิตย์ ซึ่งปฏิกริ ิยาเทอร์ โมนิวเคลียร์ หาได้ จาก E = mc^2
• -ปัจจุบันดวงอาทิตย์ มอี ายุ 4600 ล้ านปี เป็ นดาวฤกษ์ สีเหลือง นับจากปั จจุบันไปอีก
ประมาณ5000ล้ านปี ดวงอาทิตย์ จะมีอายุ10000ล้ านปี จะเปลีย่ นเป็ นดาวยักษ์ แดง
• -ในช่ วงท้ ายจะยุบตัวเป็ นดาวแคระขาว
ความส่ องสว่ างและโชติมาตรของดาวฤกษ์
ความส่ องสว่ าง (Brightness) ของดาวฤกษ์ เป็ นพลังงานจากดาวฤกษ์
ทีป่ ลดปล่ อยออกมาใน1วินาทีต่อหน่ วยพืน้ ที่ ณ ตาแหน่ งของผู้สังเกต
-ค่ าการเปรียบเทียบความสว่ างของดาวฤกษ์ เรียกว่ า อันดับความสว่ าง
หรื อ แมกนิจูด หรื อ โชติมาตร ไม่ มหี น่ วย
-มีหลักว่ าดวงดาวริบหรี่ทสี่ ุ ดทีต่ าเปล่ ามองเห็นมีค่าโชติมาตร 6
และดาวสว่ างทีส่ ุ ด ทีต่ าเปล่ ามองเห็นได้ มคี ่ าโชติมาตร 1
-ดาวทีม่ คี ่ าโชติมาตรต่ างกัน1 จะมีความสว่ างต่ างกัน 2.512 เท่ า
-สมมติอนั ดับความสว่ างต่ างกัน n จะสว่ างต่ างกัน 2.5 ยกกาลัง n เท่ า
• -สี ของดาวฤกษ์ มีความสั มพันธ์ กบั อุณหภูมิและช่ วงอายุ
• -ดาวฤกษ์ ทมี่ ีอายุน้อยจะมีสีนา้ เงิน และอุณหภูมิผวิ สู ง ส่ วนดาว
ฤกษ์ ทมี่ ีอายุมากมีสีแดงและมีอุณหภูมผิ วิ ตา่
• -จาระดับชนิดของสเปกตรัมง่ ายๆว่ า Ob Be A Fine Girl Kiss Me
ระยะห่ างดาวฤกษ์

• วิธีหนึ่งที่สาคัญ คือ
การหาแพรัลแลกซ์
ของดาวดวงนั้น คือ
การสั งเกตดาวเปลีย่ น
ตาแหน่ ง 2 ครั้งในช่ วง
เวลาห่ างกัน 6 เดือน
สู ตร การหาระยะทางด้ วยมุมแพรัลแลกซ์
d = 1/p
d = ระยะทางถึงดวงดาว (distance) หน่ วยเป็ นพาร์ เสค (pc)
p = มุมแพรัลแลกซ์ (parallax angle) หน่ วยเป็ นฟิ ลิบดา (arc second)

โดยที่ 1 องศา = 60 ลิบดา (arc minute), 1 ลิบดา = 60 ฟิ ลิบดา (arc second)


เนบิวลา แหล่ งกาเนิดดาวฤกษ์

-เนบิวลา (Nebula) – เป็ นกลุ่มผุ่นและแก๊สทีก่ ระจายอยู่บริเวณกว้ างใหญ่


ที่มีความสว่ างจากดาวฤกษ์ เกิดใหม่
-ต้ นกาเนิดของเนบิวลาคือสสารดั้งเดิมหลังจากการกาเนิดโมเลกุลของH
และHeภายในกาแล็กซี บางแห่ งอาจเป็ นซากที่เหลือจากการระเบิดของ
ดาวฤกษ์ ขนาดใหญ่
-แบ่ งออกเป็ น 4 ประเภท
1.เนบิวลาสว่ างประเภทเรื องแสง
2.เนบิวลาสว่ างประเภทสะท้ อนแสง
3.เนบิวลาดาวเคราะห์
4.เนบิวลามืด
ระบบดาวฤกษ์
คือ ดาวฤกษ์ กลุ่มเล็กๆ จานวนหนึ่งทีโ่ คจรอยู่รอบกันและกัน โดยมีแรงดึงดูดระหว่ าง
กันทาให้ จับกลุ่มกันไว้ เช่ น ดาวซีรีอสั ซึ่งเป็ นดาวคู่ เป็ นระบบดาวฤกษ์ 2 ดวง เคลื่อน
รอบซึ่งกันและกันด้ วยแรงโน้ มถ่ วง ดาวแอลฟาเซนเทารี เป็ นระบบดาวฤกษ์ 3 ดวง
ระบบดาวฤกษ์ ทมี่ ดี าวฤกษ์ เป็ นจานวนมาก เราเรียกว่ า กระจุกดาว เช่ น กระจุกดาว
ลูกไก่ ซึ่งมีดาวฤกษ์ มากกว่ าร้ อยดวง กระจุกดาวทรงกลมเอ็ม 13มีดาวฤกษ์ มากกว่ า
แสนดวง สาเหตุทเี่ กิดดาวฤกษ์ เป็ นระบบต่ างๆกัน เพราะเนบิวลาเนบิวลาต้ นกาเนิดมี
ปริมาณและขนาดต่ างๆกัน
มวลของดาวฤกษ์

มวลของดาวฤกษ์ แต่ ละดวงจะแตกต่ างกัน เพราะเนบิวลาที่ก่อกาเนิด


เป็ นดาวฤกษ์ มีมวลไม่ เท่ ากัน มวลจึงเป็ นสมบัติที่แตกต่ างกันของดาว
ฤกษ์ นักดาราศาสตร์ สามารถหามวลของดาวฤกษ์ ได้ หลายวิธี เช่ น การ
ใช้ กฎเคพเลอร์ ในการหามวลของดวงอาทิตย์ หรื อ จากการสั งเกตแสง
จากดาว

You might also like