You are on page 1of 20

1

รหัสโครงการวิจัยเลขที่

...…………………………

แบบเสนอโครงการวิจัยเพื่อรับการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณา
จริยธรรมการวิจัยในคน
คณะสหเวชศาสตร์

1. ชื่อโครงการ
การศึก ษาสภาวะหมดไฟทางการกีฬ าของนัก กีฬ ามหาวิท ยาลัย
ธรรมศาสตร์ใ นช่ว งการระบาดของโรคติด เชื้อ ไวรัส โคโรน่า 2019
(COVID-19)
A study of the state of sports exhaustion of Thammasat
University athletes during the coronavirus disease 2019
(COVID-19) epidemic
2. ชื่อหัวหน้าโครงการ ผู้ร่วมวิจัยที่อยู่หน่วยงานที่สังกัด โทรศัพท์
โทรสาร Email Address ที่ติดต่อได้
2.1 นาย ศุภวิชญ์ ชูเชิด
ที่อยู่ 23/3 ม.3 ต.ทับมา อ.เมือง จ.ระยอง 21000
เบอร์:0869950919
E-mail: Supawit.cho@dome.tu.ac.th
2.2 นาย เส้นตรง วรรณวรรค
ที่อยู่ 3/59 ม.2 ต.ตะเคียนเตีย
้ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150
เบอร์:0890999155
E-mail: Sentrong.wan@dome.tu.ac.th
2

2.3 นาย บุณยกร ปั ทมานุช


ที่อยู่ 19/19 หมู่ 3 ซ.บางใหญ่-บางคูลัด 3 ต.บางม่วง อ.บางใหญ่
จ.นนทบุรี 11140
เบอร์:0970404303
E-mail: Boonyakorn.pad@dome.tu.ac.th
2.4 นาย จิรภัทร ช่วยรัมย์
ที่อยู่ 81/6 ม.2 ซ.7 ต.บ้านงิว้ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160
เบอร์:0993958713
E-mail: Jiraphat.chu@dome.tu.ac.th
2.5 นาย มูฮัรรอม มุเส็มสะเดา
ที่อยู่ 167/3 ม.4 ต.ปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา 90240
เบอร์:0805395824
E-mail: Muharrom.mus@dome.tu.ac.th

2.6 นาย ฉัตรชัย พึ่งพา


ที่อยู่ 409 ถ.สุขุมวิท ต.ห้วยโป่ ง อ.เมือง จ.ระยอง 21150
เบอร์:0851627214
E-mail: Chatchai.phu@dome.tu.ac.th
2.7 นาย ปริญญา ศรีมันตะ
ที่อยู่ 99/28 ม.6 ต.สำโรง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ
10130
เบอร์:0614615541
E-mail: Parinya.sri@dome.tu.ac.th
2.8 นาย วสุพล นุชพูล
ที่อยู่ 117 หมู่5 ต.กระจัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี 72160
3

เบอร์0992149876
E-mail: Wasuphon.nuc@dome.tu.ac.th
2.9 นายเสฏฐนันท์ ตุถีเสาวะนิตย์
ที่อยู่ 55/38 ม.1 หมู่บ้านมาริสาวิลล่า ต.กระทุ่มล้ม อ.สามพาน
จ.นครปฐม 73220
เบอร์:0990474676
E-mail: settanan.thu@dome.tu.ac.th
2.10 นายรังสิมันต์ เชีย
้ วบางยาง
ที่อยู่ 19/774 หมู่บ้านสินธนา ซ.นวมินทร์50 ถ.นวมินทร์
ต.คลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร 10240
เบอร์:0846951451
E-mail: rangsiman.che@dome.tu.ac.th
2.11 นายธนสิริ สุภคนธ์
ที่อยู่ 28/288 ซ.บ้านบน ถนนเนินพะยอม ต.มาบตาพุด อ.เมือง
จ.ระยอง 21150
เบอร์:0614171109
E-mail: Thanasiri.sub@dome.tu.ac.th
2.12 นายเกรียงไกร กันทะวงศ์
ที่อยู่ 14/2 ม.10 ต.ทุ่งโพ อ.หนองฉาง จ.อุทัยธานี 61110
เบอร์:0631269306
E-mail:Kriangkai.kan@dome.tu.ac.th
3. ความเป็ นมาและปั ญหา
กีฬา (Sports) เป็ นที่ยอมรับว่ามีประโยชน์ต่อตัวบุคคลในการพัฒนา
ทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์และสังคม เพราะกีฬาช่วยส่งเสริมการมี
สุขภาพของร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์การเล่นกีฬา ที่ถูกต้องตามหลักการ
4

ของการกีฬาช่วยให้เรามีร่างกายแข็งแรงเป็ นผู้ที่มีระเบียบวินัยมีน้ำใจ
นักกีฬา มีจริยธรรมในการเล่นกีฬา มีคุณภาพชีวิตที่ดีขน
ึ ้ และเป็ นสมาชิกที่ดี
ของสังคม (1)
กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็ นการแข่งขันกีฬาระหว่าง
มหาวิทยาลัยต่างๆในประเทศไทยโดยมีความเป็ นมานับแต่ก่อนปี พ.ศ.
2500 มีการจัดแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยขึน
้ แต่ยังมีมหาวิทยาลัยเข้า
ร่วมไม่มากนัก โดยมีมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการแข่งขันเพียง 5 มหาวิทยาลัย
ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศิลปากร ปั จจุบัน
การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยจัดขึน
้ ต่อเนื่องเป็ นประจำทุกปี
ซึ่งมหาวิทยาลัยที่มีความพร้อมและสมัครใจจะหมุนเวียนกันเป็ นเจ้าภาพ
จัดการแข่งขัน โดยมีกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและ
นวัตกรรมให้การสนับสนุนเรื่องงบประมาณในการจัดการแข่งขัน
ภาวะหมดไฟ (Burnout Syndrome) คือ ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลง
ด้านจิตใจที่เกิดจากความเครียดเรื้อรังในการทำงาน โดยมีอาการหลัก 3
อาการ ได้แก่ 1)มีความเหนื่อยล้าทางอารมณ์และรู้สึกสูญเสียพลังงานทาง
จิตใจ 2)มองความสามารถในการทำงานของตัวเองในเชิงลบ ขาดการรู้สึก
ประสบความสำเร็จ 3)มองความสัมพันธ์ในที่ทำงานไปในทางลบ รู้สึกเหิน
ห่างจากคนอื่นไม่ว่าจะเป็ นผู้ร่วมงานหรือลูกค้า (3)
การหมดไฟทางการกีฬา (Burnout in Sport) นักกีฬาที่ผ่าน
กระบวนการฝึ กซ้อมมาอย่างหนัก มีความคาดหวังผลการแข่งขันสูงติดต่อ
กันเป็ นระยะเวลานานๆ มีโอกาสเกิดความเครียดและนำไปสู่การหมดไฟได้
จากความเชื่อที่ว่า “การฝึ กซ้อมที่มากกว่าเป็ นสิ่งที่ดีกว่า (More training is
better)” จึงทำให้นักกีฬาที่ต้องการพัฒนาความสามารถในการเล่นกีฬา
ระดับสูงต้องเข้าสู่กระบวนการฝึ กซ้อมอย่างรวดเร็ว อีกทัง้ ยังต้องฝึ กซ้อม
5

อย่างหนักตลอดทัง้ ไปจนขาดความสนุกและท้าทาย หรือแม้แต่นก


ั กีฬา
อาชีพหากฝึ กซ้อมอย่างหนักมากจนขาดการพักผ่อนร่างกายและจิตใจที่
เพียงพอมีแนวโน้มจะหมดไฟได้
ปั จจุบันเกิดการเเพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในแวดวงกีฬา โควิด-
19 ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนกีฬาอย่างมหาศาล การเเข่งขันในรายการ
สำคัญต้องถูกเลื่อนออกไป ทำให้นักกีฬาขาดรายได้และไม่มีทัวร์นาเมนท์
ลงเเข่งขัน ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นักกีฬา
มหาวิทยาลัยก็ได้รับผลกระทบไม่แพ้กัน เพราะสถานการณ์โควิด-19 ทำให้
กีฬาต้องเลื่อนการแข่งขันออกไปนักกีฬามีการซ้อมที่ไม่แน่นอน
ปั จจุบันสถานการณ์โควิดมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึน
้ และอาจส่งผลให้เกิดการ
หมดไฟในนักกีฬาได้ ดังนัน
้ นักกีฬาจึงจำเป็ นต้องทราบจำนวนนักกีฬาที่เกิด
การหมดไฟ จึงสามารถใช้ทักษะการจัดการการหมดไฟในการรับมือกับ
สถานการณ์ที่เกิดขึน
้ อย่างไรก็ตามปั จจุบันยังไม่ปรากฏการเเสดงให้เห็นถึง
การใช้ทักษะการจัดการการหมดไฟของนักกีฬาด้วยเหตุนจ
ี ้ ึงอยากจะศึกษา
โดยมุ่งหวังว่าผลการศึกษาที่จะเเสดงให้เห็นถึงทักษะการจัดการการหมดไฟ
ของนักกีฬาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเป็ นแนวทางที่จะพัฒนา
ทักษะการจัดการการหมดไฟของนักกีฬาต่อไปในอนาคต การศึกษาวิจัยครัง้
นีเ้ พื่อศึกษาการหมดไฟของนักกีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในช่วงการเกิด
โรคระบาดโควิด-19 โดยบ่งบอกว่าการศึกษานีจ
้ ะเป็ นประโยชน์สำหรับ
นักกีฬาและสามารถนำไปเป็ นข้อมูลในการพัฒนาทักษะจัดการภาวะหมดไฟ
ทางการกีฬาในอนาคต ดังนัน
้ การศึกษาวิจัยครัง้ นีเ้ พื่อศึกษาภาวะหมดไฟ
ทางการกีฬาทัง้ ทีมและตัวบุคคลในครัง้ นี ้ เพราะเราเล็งเห็นว่ายังไม่มีการ
ศึกษาอย่างแน่ชัดในหัวข้อนีแ
้ ละอาจจะนำไปพัฒนาในวงการกีฬาและวิจัย
อื่นๆต่อไป
งานวิจัยต่างประเทศ
6

1. Rodrigo Weyll Ferreira , Victor Silverado Coswig ,


Pedro Antonio Marques da Silva Monteiro , Jhonatan Welington
Pereira Gaia , Eduardo Macedo Penna and Daniel Alvarez Pires
(2021) การศึกษานีม
้ ีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวบ่งชีค
้ วามเหนื่อยล้า เพื่อดูว่า
ตำแหน่งการเล่นส่งผลต่อการรับรู้ของมิติกลุ่มอาการหรือไม่ และเพื่อระบุ
ความชุกของอาการหมดไฟในนักฟุตบอลอาชีพในประเทศบราซิล วิธีการ: ผู้
เข้าร่วมเป็ นนักฟุตบอลอาชีพ 100 คน (อายุเฉลี่ย 24.3 ± 4.6 ปี และใน
ขณะเดียวกันเป็ นนักกีฬาอาชีพ 9.2 ± 4.5 ปี ) ซึง่ แบ่งออกเป็ นสามกลุ่ม:
กองหน้า 27 คน กองกลาง 34 คน และกองหลัง 39 คน แบบสอบถาม
ความเหนื่อยหน่ายของนักกีฬา (ABQ) (10)

งานวิจัยภายในประเทศ
1. ฉัตรกมล สิงห์น้อย (2554) การวิจัยครัง้ นีม
้ ีวัตถุประสงค์เพื่อ
พัฒนาแบบสอบถามการหมดไฟและศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการหมดไฟในนักกีฬาเยาวชนภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่าง
เป็ นนักกีฬาโรงเรียนจังหวัดชลบุรี จำนวน 218 คน (ชาย 160 คนและหญิง
119 คน) มีอายุเฉลี่ย 14.80 ± 1.7 4 ปี (12-19 ปี ) และ ระยะเวลาการฝึ ก
ซ้อมเฉลี่ย 5.58±1.53 ชั่วโมง/วัน กลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัดการหมดไฟใน
นักกีฬา (TABQ) แบบวัดความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จในการเล่นกีฬา
(TEOSQ) แบบวัดความวิตกกังวลในการแข่งขันอันเป็ นลักษณะนิสัย (SCAT)
แบบวัดการฝึ กหนักเกินไป แบบวัดทัศนคติของบุคคลรอบข้างที่มีความ
สำคัญ แบบวัดการควบคุมจากปั จจัยภายนอก และแบบวัดความขัดแย้งของ
บทบาทหน้าที่และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์
ประกอบและการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (Path Analysis) (11)
7

2. เฌอพัชญ์ ใจสะอาด (2562) ได้ทำการวิจัย เรื่อง ปั จจัยที่มีผล


ต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของพนักงานฝ่ ายบุคคล บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินี
แบ ไทย จำกัด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อภาวะหมดไฟในการ
ทำงานของพนักงานฝ่ ายบุคคล บริษัทเอ็นเอ็มบี-มินีแบ ไทย จำกัด ได้แก่
ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านลักษณะงานที่รับผิดชอบ ด้าน
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ด้านระบบบริหาร โดยจำแนกตามสถานภาพ
ส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส อายุงาน รายได้ต่อเดือน ภาระ
ครอบครัว ประชากรในงานวิจัยนี ้ คือ พนักงานฝ่ ายบุคคล บริษัท เอ็นเอ็มบี -
มินีแบ ไทย จำกัด กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม จำนวน 119 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ดำเนินการ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ หาค่าความถี่ ค่า
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) (12)
3. เพ็ญพิชชา เกตุชัยโกศล (2564) งานวิจัยฉบับนีม
้ ีจุดประสงค์
เพื่อศึกษาภาวะหมดไฟในการทำงานของพนักงานบริษัทเอกชนในกลุ่ม
Generation Y ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ และสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลัก
ความน่าจะเป็ น แบบตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์งานวิจัย
ซึ่งจะต้องมีคณ
ุ สมบัติเป็ นพนักงานบริษัทเอกชน และอยู่ในกลุ่ม
Generation Y (ผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2520 – 2542) จำนวน 30 คน โดยมีการ
เก็บข้อมูลในรูปแบบประเมิณภาวะหมดไฟในการทำงาน เพื่อให้ทราบระดับ
ภาวะหมดไฟในการทำงานของกลุ่มตัวอย่าง และมีการเก็บข้อมูลในรูปแบบ
สัมภาษณ์เชิงลึก และใช้ข้อคำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (13)

4. วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาการหมดไฟและทราบจำนวนนักกีฬาที่มีความเสี่ยงติ
อการเกิดภาวะหมดไฟในนักกีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
8

2. เพื่อศึกษาความแตกต่างของการหมดไฟในนักกีฬามหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ แต่ละชนิดกีฬา
และประเภท
5. ประโยชน์ที่จะได้รับจากงานวิจัยรวมถึงประโยชน์ที่อาสาสมัครจะได้รับ
จากการวิจัย
1. ได้ทราบถึงลักษณะภาวะหมดไฟของนักกีฬามหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ซึ่งนำไปสู่การรับมือภาวะหมดไฟได้อย่างทันท่วงที
2. การจัดทำคู่มือเผยแพร่แบบสอบถามทักษะการจัดการความเครียด
ทางการกีฬาให้กับผู้ฝึกสอน นักกีฬา และผู้เกี่ยวข้องได้นำไปใช้
ประโยชน์
6. สถานที่ศึกษาวิจัยและระยะเวลา
6.1 สถานที่ศึกษาวิจัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
6.2 ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย และกำหนดเริ่มการดำเนินการวิจัย
กิจกรรม พ.ศ.2565
มี. เม. พ. มิ. ก. ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค
ค ย ค ย ค . . . . .
1.ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง  

2.เขียนโครงร่างวิจัย   

3.นำเสนอโครงร่างการวิจัยและ  

แก้ไขตามข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา
และคณะกรรมการ
4.จัดทำข้อเสนอเพื่อเสนอขอ  

จริยธรรมการวิจัย
จากคณะสหเวชศาสตร์
9

5.ประสานกลุ่มตัวอย่างและเตรียม  

เครื่องมือการวิจัย
6.เก็บข้อมูลวิจัย   

7.วิเคราะห์ข้อมูลวิจัยและจัดทำรูป 

เล่ม
8.สรุปผลการวิจัยและจัดทำรูปเล่ม  

วิจัย
9.นำเสนอผลการวิจัยต่อคณะ 

กรรมการ

7. วิธีดำเนินการวิจัย
7.1 กลุ่มประชากรที่จะศึกษา
นักกีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จำนวน 768 คน
7.2 การคำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างและเหตุผลในการเลือกอาสาสมัคร
ในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง 424 คน ได้มาจากตารางสําเร็จรูปบวกกับ 10%
ของกลุ่มตัวอย่างเพื่อป้ องกัน การตกหล่น ซึง่ ตารางสําเร็
จรูปของทาโร่ ยามาเน่ (Yamane, 1973) มีขนาดของกลุ่ม
ตัวอย่างที่ขนาดความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ 4% การเลือกอาสา
สมัครจะใช้วิธีการเลือกแบบการสุ่มอาสาแบบชัน

ภูมิ(StratifiedRandomSampling) เป็ นการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
จากประชากรที่มีจำนวนมากและมีความแตกต่างกันระหว่าง
หน่วยสุ่มที่สามารถจำแนก ออกชัน
้ ภูมิ(Stratum) เพื่อข้อมูลที่ได้
มีความครบถ้วนและครอบคลุม
7.3 กรณีที่มีการใช้กลุ่มควบคุม (Control)
10

ไม่มี
7.4 เกณฑ์การรับอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ (Inclusion
criteria)
คุณสมบัติของผู้ที่จะถูกรับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการวิจัย คือ
1.เป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่สงั กัดชุมนุมกีฬา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไม่จำกัดเพศ
2.สัญชาติไทย
7.5 เกณฑ์การไม่รับอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ (Exclusion
criteria)
ผู้เข้าร่วมตอบแบบสอบถามไม่ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ใน
แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบสอบถามการหมดไฟทางการ
กีฬา
7.6 เกณฑ์การยุติเข้าร่วมโครงการ (Discontinuation criteria)
อาสาสมัครสามารถยุติการเข้าร่วมโครงการได้ทุกกรณี
7.8 การออกแบบการวิจัย ขัน
้ ตอนดำเนินการวิจัยและการควบคุม
การวิจัย
1.ทำการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการและเครื่องมือที่ใช้
ในการวิจัยจากงานวิจัย ตำรา
และ เอกสารทางวิชาการ
2.ประชุมเพื่ออธิบายและชีแ
้ จงวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ลำดับขัน
้ ตอนการวิจัยและวิธีการวิจัยกับผู้ช่วยวิจัย
3.ทำหนังสือขอความร่วมมือผู้ฝึกสอนกีฬาที่ส่งนักกีฬาในการ
แข่งขันขันกีฬามหาวิทยาลัย แห่งชาติ เพื่อขอ
เก็บข้อมูลกับตัวอย่าง
11

4.ติดต่อประสานกับผูฝ
้ ึ กสอนกีฬาและตัวอย่างเพื่อเก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยชีแ
้ จงและ
อธิบายขัน
้ ตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลตัวอย่างละเอียดกับผู้
ฝึ กสอนและผู้ช่วยวิจัยเพื่อความ เข้าใจที่ตรงกันโดยให้
นักกีฬาตอบแบบสอบถามทักษะการจัดการภาวะหมดไฟ
ทางการกีฬาซึ่งใช้ระยะเวลาในการตอบประมาณ 10 นาที จาก
นัน
้ เก็บแบบสอบถามคืนหลังจากที่นักกีฬาทำเสร็จสิน
้ แล้ว
5.นำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ผลทางสถิติต่อไป

8. การวิเคราะห์ข้อมูล รายละเอียดของวิธีการทางสถิติที่ใช้
1. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อให้ทราบลักษณะของกลุ่ม
ตัวอย่างและลักษณะการ กระจายตัวของตัวแปรโดยสถิติ . พื้น
ฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) ใน
กรณีตัวแปรต่อเนื่อง ส่วนกรณีตัวแปรไม่ต่อเนื่องได้แก่ ร้อยละ
และความถี่ในแต่ละค่าของตัวแปร
2.การเปรียบเทียบความแตกต่างของทักษะนักกีฬาแต่ละชนิด
โดยใช้สถิติการทดสอบความ แปรปรวน (One Way ANOVA
F: Test)
3.การเปรียบเทียบความแตกต่างของการหมดไฟในนักกีฬา
แต่ละประเภทโดยใช้สถิติการ
ทดสอบ T (Independent Sample : T-Test)
4.กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

9. ข้อพิจารณาด้านจริยธรรม
9.1 ความเสี่ยงที่จะอาจเกิดขึน
้ และการป้ องกันแก้ไข
12

การวิจัยครัง้ นีไ้ ด้รับมอบเอกสารซึ่งเป็ นข้อมูลสำหรับอาสาสมัคร


ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการวิจัยโดยถ้าไม่เข้าใจใน
เนื้อหาของแบบสอบถามสามารถสอบถามผู้ดูแลได้ทันทีทงั ้ นีถ
้ ้า
ในแบบสอบถามมีคำ ถามที่กระทบจิตใจสามารถขอยกเลิกการ
ทดสอบได้ทันทีแต่อาสาสมัครต้องทำการคิดไตร่ตรองก่อนที่จะ
ยกเลิกการทดสอบ
9.2 ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ค่าชดเชยการเสียเวลา
ไม่มี
9.3 การดูแลรักษาและแก้ปัญหาอื่น กรณีผลแทรกซ้อนแก่อาสา
สมัคร
ไม่มี
9.4 มีระบบ Safety monitor และรายงานการไม่พึงประสงค์
ไม่มี
9.5 แบบคำชีแ
้ จงอาสาสมัคร
จัดเป็ นเอกสารแนบ
9.6 แบบยินยอมอาสาสมัคร
จัดทำเป็ นเอกสาร
9.7 ความรู้ที่จะได้จากการวิจัย เกิดประโยชน์คุ้มกับภาระความ
เสี่ยงของอาสาสมัคร
อาสาสมัครสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาภาวะการ
หมดไฟไปแนะนำให้ความรู้กับผู้ที่ยัง ไม่เข้าข่ายเสี่ยงการเกิด
ภาวะการหมดไฟเพื่อให้ประสบความสำเร็จในอนาคตได้
9.8 การปกป้ องผู้ด้อยโอกาส (Vulnerable subject)
ไม่มี
10. ระบุงบประมาณและแหล่งทุนที่ได้รับมา
13

ไม่มีงบประมาณและแหล่งเงินทุน
11. ประวัติหัวหน้าโครงการวิจัยและผู้ร่วมวิจัย ระบุรายละเอียด ดังนี ้
หัวหน้าโครงการ
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย มูฮัรรอม มุเส็มสะเดา / Mr.Muharrom
Musemsadao
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ : นักศึกษาระดับ
ปริญญาตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :ที่อยู่ 167/3 ม.4 ต.ปาดังเบซาร์
อ.สะเดา จ.สงขลา 90240
เบอร์โทร:0805395824
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 1
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย ศุภวิชญ์ ชูเชิด / Mr.Supawit Choocherd
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ : 23/3 ม.3 ต.ทับมา อ.เมือง
จ.ระยอง 21000
เบอร์โทร:0869950919
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 2
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย เส้นตรง วรรณวรรค / Mr.Sentrong
Wannawak
14

2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ : 3/59 ม.2 ต.ตะเคียนเตีย

อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150
เบอร์โทร:0890999155
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 3
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย บุณยกร ปั ทมานุช / Mr.Boonyakorn
Padmanuja
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ : 19/19 หมู่ 3 ซ.บางใหญ่-บางคู
ลัด 3 ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140 เบอร์โทร:
0970404303
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 4
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย จิรภัทร ช่วยรัมย์ / Mr.Jiraphat chuayrum
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :ที่อยู่81/6 ม.2 ต.บ้านงิว้
อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160
เบอร์โทร: 0993958713
15

4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 5
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย ฉัตรชัย พึ่งพา / Mr.Chatchai phungpa
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :ที่อยู่409 ถ.สุขุมวิท ต.ห้วยโป่ ง
อ.เมือง จ.ระยอง 21150
เบอร์โทร: 0851627214
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 6
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย ปริญญา ศรีมันตะ / Mr.Parinya Srimanta
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :ที่อยู่ 99/28 ม.6 ต.สำโรง
อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130 เบอร์โทร: 0614615541
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 7
1.ชื่อ-นามสกุล :นาย วสุพล นุชพูล / Mr.Wasuphon nuchpool
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ : 117 หมู่5 ต.กระจัน อ.อู่ทอง
จ.สุพรรณบุรี 72160
16

เบอร์โทร:0992149876
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 8
1.ชื่อ-นามสกุล :นายเสฏฐนันท์ ตุถีเสาวะนิตย์ / Mr. Settanan
Thuthresaowanit
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :ที่อยู่ 55/38 ม.1 หมู่บ้านมาริสา
วิลล่า ต.กระทุ่มล้ม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73220 เบอร์โทร:
0990474676
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 9
1.ชื่อ-นามสกุล :นายรังสิมันต์ เชีย
้ วบางยาง / Mr.Rangsiman
Cheowbangyang
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ : 19/774 หมู่บ้านสินธนา ซ.นวมิ
นทร์50
ถ.นวมินทร์ ต.คลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร 10240 เบอร์
โทร:0846951451
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 10
1.ชื่อ-นามสกุล :นายธนสิริ สุภคนธ์ /Mr.Thanasiri subpakhon
17

2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :28/228 ซ.บ้านบน ถนนเนินพ
ยอม ต.มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง 21150 เบอร์โทร: 0614171109
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี
ผู้ร่วมโครงการคนที่ 11
1.ชื่อ-นามสกุล :นายเกรียงไกร กันทะวงศ์ / Mr.Kriangkai
Kantawong
2.ตำแหน่งทางวิชาการ/สังกัดภาควิชา/คณะ :นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีชน
ั ้ ปี ที่3 หลักสูตรการฝึ กสอนกีฬา คณะสหเวชศาสตร์ สาขา
วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.ที่อยู่และรหัสไปรษณีย์/โทรศัพท์ :14/2 ม.10 ต.ทุ่งโพ อ.หนองฉาง
จ.อุทัยธานี 61110
เบอร์โทร: 0631269306
4.ประสบการณ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง :ไม่มี

12. ลายเซ็นหัวหน้าโครงการวิจัย

ลงชื่อ.................................................................
(นายมูฮัรรอม มุเส็มสะเดา)
หัวหน้าโครงการวิจัย
วันที่.........../ ................/ ...............
18

**คำรับรองจากอาจารย์ที่ปรึกษา**

ขอรับรองว่าอาจารย์ที่ปรึกษาได้อ่านและพิจารณาแบบเสนอโครงการ
วิจัยและเห็นว่าข้อมูลดังกล่าวมีความถูกต้องพร้อมส่งโครงการเพื่อขอรับรอง
พิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน คณะสห
เวชศาสตร์เป็ นที่เรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อ………………………………………
……….
(ผศ.ดร. วิชัย ยีมิน)
อาจารที่ปรึกษา
โครงการวิจัย
วัน
ที่.........../ ................/ ...............

หมายเหตุ เอกสารโครงการวิจัยจะต้องใส่เลขหน้าให้ครบทุกหน้า
19

เอกสารอ้างอิง

1.Rodrigo Weyll Ferreira , Victor Silverado Coswig , Pedro


Antonio Marques da Silva Monteiro , Jhonatan Welington
Pereira Gaia , Eduardo Macedo Penna and Daniel Alvarez Pires
(2021)

2.ฉัตรกมล สิงห์น้อย (2554) การวิจัยครัง้ นีม


้ ีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา
แบบสอบถามการหมดไฟและศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปั จจัยที่ส่ง
ผลต่อการหมดไฟในนักกีฬาเยาวชนภาคตะวันออก

3.เฌอพัชญ์ ใจสะอาด (2562) ได้ทำการวิจัย เรื่อง ปั จจัยที่มีผลต่อภาวะ


หมดไฟในการทำงานของพนักงานฝ่ ายบุคคล บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินีแบ ไทย
จำกัด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน
ของพนักงานฝ่ ายบุคคล บริษัทเอ็นเอ็มบี-มินีแบ ไทย จำกัด
20

4. กรมพละศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. แนวคิดและการประ


เมิณตนเองทางจิตวิทยาการกีฬา.
[อินเทอร์เน็ต]. พฤษภาคม 2558 [สืบค้นเม่อวันที่ 19 พ.ค 2565]

5.

You might also like