You are on page 1of 83

1

สมุดประจำตัวนักศึกษา ชั้นปีที่ 3
วิชา การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 (EDPT104)
สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู (หลักสูตร 4 ปี)
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
(School-Integrated Learning : SIL 2)

ชื่อนักศึกษา นางสาวนริศรา นามสกุล ลาละคร


สาขาวิชา คณิตศาสตร์ รหัสประจำตัว 631102022220
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้นที่ปฏิบัติการสอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ระหว่างวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 ถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2565
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ปีการศึกษา 2565
2

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
3

ข้อมูลพื้นฐานนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ชื่อ-สกุล นางสาวนริศรา ลาละคร


สาขาวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน

ภูมิลำเนาเดิม
บ้านเลขที่ 112 ซอย - ถนน -
ตำบล / แขวง ห้วยยาง อำเภอ / เขต บัวใหญ่
จังหวัด นครราชสีมา รหัสไปรษณีย์ 30120
โทรศัพท์ 092-5898311 อีเมล st631102022220@pcru.ac.th

ที่อยู่ปัจจุบัน
 บ้านพัก  หอพัก สำเพ็งแมนชั่น
บ้านเลขที่ 251/3 ซอย - ถนน สามัคคีชัย
ตำบล / แขวง ในเมือง อำเภอ / เขต เมือง
จังหวัด เพชรบูรณ์ รหัสไปรษณีย์ 67000
โทรศัพท์ 088-2721033 อีเมล -

ชื่อครูพี่เลี้ยง
นางสาวประวิง สุขเมือง
ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ (คศ.3)
โทรศัพท์ 082 - 4515256 อีเมล -

ชื่ออาจารย์นิเทศประจำหลักสูตร
อาจารย์ กุณฑลีรัตน์ พิมพิลา
ตำแหน่ง อาจารย์นิเทศประจำหลักสูตร
โทรศัพท์ 0832355198 อีเมล koonthaleerat.pim@pcru.ac.th

ข้อมูลอาจารย์นิเทศก์ประจำกลุ่มวิชาชีพครู
อาจารย์พรพิมล อ่อนศรี
ตำแหน่ง อาจารย์นิเทศก์ประจำกลุ่มวิชาชีพครู
โทรศัพท์ 0898987344 อีเมล -
4

ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา

ตอนที่ 1 : การบริหารงานของสถานศึกษา
1. แผนผังโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา
5

2. สภาพทั่วไปของโรงเรียนและชุมชน
6

โรงเรียนเทศบาล ๓ (ชาญวิทยา) ตั้งอยู่เลขที่ 331 /4 ถนนสามัคคีชัย ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัด


เพชรบูรณ์ รหัสไปรษณีย์ 67000 โทรศัพท์ ๐๕ 6-720813 โทรสาร ๐ 56-720843 E-mail:
webmasters@chanwitataya.com Website: http: //www.charwittaya.ac.th สังกัดกองการศึกษา
เทศบาลเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 18 ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อที่ 30 ไร่
ประวัตคิ วามเป็นมาโรงเรียนโดยสังเขป โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) สังกัดกองการศึกษาเทศบาล
เมืองเพชรบูรณ์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2539 เปิดดำเนินการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษา ในปีการศึกษา 25 ๓ 9 นี้ เปิดรับสมัครนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน 2 ห้องเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ชั้นละ 1 ห้องเรียนมีอาคารเรียน 1 หลัง เป็น
อาคาร ค.ส.ล. ๔ ชั้นใต้ถุนโล่งจำนวน 18 ห้องเรียน ก่อสร้างในทีร่ าชพัสดุจังหวัด ภายในบริเวณสนามกีฬา
ศูนย์เยาวชน เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เนื้อที่ 5 ไร่ งบประมาณการก่อสร้างได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก
สำนักบริหารการศึกษาท้องถิ่นกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นเงิน ๘,000,000 บาท (แปดล้านบาท
ถ้วน) และจากงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจกรณีพิเศษ ประจำปีงบประมาณ 2537 โดยดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ
ในปี พ.ศ. 253 ๘
โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) เป็นโรงเรียนเทศบาลแห่งที่ 3 ของเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ในสมัย ที่
นายชาญ โฆษิตานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรี นางบุญชื่น อุทัยวงค์ เป็นเทศมนตรีฝ่ายการศึกษา นาย
เกรียงศักดิ์ โฆษิตานนท์ นายโสภณ บูรณวนิช เป็นเทศมนตรี นายวันชัย ก้าวสมบัติ เป็นปลัดเทศบาล และ นาง
บุญราศี ตั้งศรีวงศ์ เป็นผู้อำนวยการกองการศึกษา ในระยะนั้นโรงเรียนในสังกัดเทศบาลได้รับความนิยมจาก
ชุมชนในการส่งบุตรหลานมาเข้าเรียนในโรงเรียนเทศบาลเป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้นทุกปี จนอาคารเรียนและ
ห้องเรียนของโรงเรียนเทศบาลทั้ง 2 แห่งที่มีอยู่เดิมคือโรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านในเมือง) และโรงเรียนเทศบาล 2
(วัด ภูเขาดิน) ไม่เพียงพอที่จะรองรับนักเรียนที่เพิ่มขึ้นได้อีก ทั้งบริเวณพื้นที่ของทั้งสองโรงเรียนก็คับแคบ ไม่
สามารถ ขยายบริเวณออกไปได้อกี ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายให้มีการขยายโอกาสทางการศึกษา โดยเพิ่ม
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1- 6 ขึ้น แต่เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ยังไม่สามารถดำเนินการได้ตามเหตุผลและความ
จำเป็นข้างต้น นายชาญ โฆษิตานนท์จึงมีแนวคิดทีจ่ ะก่อสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่อีก 1 แห่ง โดยดำเนินการจัดทำ
โครงการขอรับเงิน อุดหนุนเหลือจ่ายกรณีพิเศษจากสำนักบริหารการศึกษาท้องถิ่น ในสมัยที่ นายบุณยรงค์ นิล
วงศ์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักบริการการศึกษาท้องถิ่น และได้ขอเสนอญัตติผ่านสภาเทศบาล ขอรับ
ความเห็นชอบก่อตั้ง โรงเรียนแห่งใหม่ พร้อมทั้งขออนุมัติที่จากราชพัสดุจังหวัดขอแบ่งเนื้อที่สนามกีฬา
ศูนย์เยาวชนเทศบาลเมือง เพชรบูรณ์ ซึ่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดมอบหมายให้เทศบาลดูแลรักษาอยู่ให้เป็น
สถานที่ก่อสร้างและเพื่อเป็น เกียรติประวัติแก่ นายชาญ โฆษิตานนท์ ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนแห่งนี้ขึ้น จึงขออนุมัติ
ไปยังกระทรวงมหาดไทย ขนาน นามโรงเรียนเทศบาลแห่งใหม่นี้ว่า“ โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา)”
โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) ได้เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
25 ๓ 9 เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 25 ๓ 9 มีนักเรียนจำนวน ๑ 57 คน มีนายเดช ศุภสาร ทำหน้าทีร่ ักษาการใน
ตำแหน่ง ครูใหญ่ มีพนักงานครูจำนวน 8 คน
การดำเนินการจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการศึกษา เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ได้ดำเนินการ
รายงานขอรับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักบริหารการศึกษาท้องถิ่นจัดสรรงบประมาณมาให้ส่วนหนึ่ง และได้
7

รับ การสนับสนุนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์จังหวัดเพชรบูรณ์ นายประธาน สว่างวโรรส จัดสรรให้จำนวน


171,200 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นหนึ่งพันสองร้อยบาทถ้วน) โดยการประมาณการของ นายวิศัลย์ โฆษิตตานนท์
และนายประทิน นาคสำราญ ได้บริจาคเงินเป็นค่าก่อสร้างป้ายชื่อโรงเรียน จึงทำให้โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญ
วิทยา) สามารถเปิดดำเนินการได้ด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ตามนโยบายของคณะ
เทศมนตรีและ สมาชิกสภาเทศบาล“กลุ่มพัฒนา” ในนามของเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์อย่างเต็มภาคภูมิ ต่อมา
เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ มีคำสั่งเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ที่ ๓ 21/839 ลงวันที่ 13 สิงหาคม 2539 ให้ นางอรพิ
นท์ บุญเรือง รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) ในปีการศึกษา 2540 เปิดรับ สมัคร
นักเรียนระดับอนุบาล ระหว่างอายุ 3-5 ขวบ เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีครู
ประจำการ 20 คน ครูอตั ราจ้าง 1 คน ครูอาสาสอนพิเศษ ๑ คน มีนักเรียนทั้งหมด 555 คน
ในปีการศึกษา 2542 คณะเทศมนตรี นำโดย นายวิศัลย์ โฆษิตตานนท์ นายกเทศมนตรี มีนโยบายให้
โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ทั้ง 3 โรงเรียน จัดการเรียนการสอนแยกเป็นระดับ โดยกำหนดให้
โรงเรียน เทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) จัดการเรียนการสอนในระดับอนุบาล โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านในเมือง) เปิด
ทำการสอนใน ระดับประถมศึกษา และให้โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) เปิดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษา
ปัจจุบันโรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) บริหารงาน โดย นายวรวุฒิ แสงนาก ผู้อำนวยการ สถานศึกษา
มีพนักงานครู จำนวน 42 คน บุคลาส่งเสริมการสอน ๓ คน นักการภารโรง จำนวน ๔ คน นักเรียน จำนวน
๔๖๖ คน
8

3. ขอบข่ายและภารกิจของสถานศึกษา
3.1 งานบริหารวิชาการ
แผนงานวิชาการ หัวหน้าฝ่าย คือ น.ส.กิตติมา จั่นมา และคณะกรรมการ
ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้
1. การพัฒนาหรือการดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น
2. การวางแผนงานด้านวิชาการ
3. การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
4. การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
6. การวัดผลประเมินผลและดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน
7. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
8. การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้
9. การนิเทศการศึกษา
10. การแนะแนว
11. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
12. การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ
13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น
14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคลครอบครัวองค์กรหน่วยงานสถานประกอบการและ
สถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
15. การจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
16. การคัดเลือกหนังสือแบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา
17. การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

3.2 งานบริหารงบประมาณ
ฝ่ายบริหารงบประมาณ หัวหน้าฝ่าย คือ นายเต็มสิทธิ ลิ้มศุภรัตน์ และคณะกรรมการ
ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้
1. การจัดทำแผนงบประมาณและคำขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือ
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วแต่กรณี
2. การจัดทำแผนปฏิบัติการใช้จา่ ยเงินตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานโดยตรง
3. การอนุมตั ิการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
4. การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
5. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
6. การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้งบประมาณ
9

7. การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ
8. การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
9. การปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการศึกษา
10. การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา
11. การวางแผนพัสดุ
12. การกำหนดรูปแบบรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภณ ั ฑ์หรือสิ่งก่อสร้างทีใ่ ช้เงินงบประมาณ
เพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วแต่กรณี
13. การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการจัดทำและจัดหาพัสดุ
14. การจัดหาพัสดุ
15. การควบคุมดูแลบำรุงรักษาและจำหน่ายพัสดุ
16. การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน
17. การเบิกเงินจากคลัง
18. การรับเงินการเก็บรักษาเงินและการจ่ายเงิน
19. การนำเงินส่งคลัง
20. การจัดทำบัญชีการเงิน
21. การจัดทำรายงานทางการเงินและงบการเงิน
22. การจัดทำหรือจัดหาแบบพิมพ์บัญชีทะเบียนและรายงาน

3.3 งานบริหารงานบุคคล
ฝ่ายบริหารบุคลากร หัวหน้าฝ่าย คือ นางทิวา นันท์ตา และคณะกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้
1. การวางแผนอัตรากำลัง
2. การจัดสรรอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3. การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
4. การเปลี่ยนตำแหน่งให้สูงขึ้นการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
5. การดำเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน
6. การลาทุกประเภท
7. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
8. การดำเนินการทางวินัยและการลงโทษ
9. การสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
10. การรายงานการดำเนินการทางวินัยและการลงโทษ
11. การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
12. การออกจากราชการ
13. การจัดระบบและการจัดทำทะเบียนประวัติ
14. การจัดทำบัญชีรายชื่อและให้ความเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
10

15. การส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
16. การส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ
17. การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ
18. การส่งเสริมวินัยคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
19. การริเริ่มส่งเสริมการขอรับใบอนุญาต
20. การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาการดำเนินการที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น

3.4 งานบริหารทั่วไป
ฝ่ายบริหารทั่วไป หัวหน้าฝ่าย คือ นายวิฑูลย์ แซมสีม่วง และคณะกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้
1. การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
2. การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
3. การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
4. งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและแผน
5. การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร
6. การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน
7. งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
8. การดำเนินงานธุรการ
9. การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
10. การจัดทำสำมะโนผู้เรียน
11. การรับนักเรียน
12. การเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการจัดตั้งยุบรวมหรือเลิกสถานศึกษา
13. การประสานการจัดการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
14. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
15. การทัศนศึกษา
16. งานกิจการนักเรียน
17. การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
18. การส่งเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาของบุคคลชุมชนองค์กรหน่วยงานและสถาบัน
สังคมอื่นที่จดั การศึกษา
19. งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น (ท) การรายงานผลการปฏิบัติงาน
20. การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
21. แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน
11

เอกสารประกอบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
1. โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ค 21101 จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัส ค 21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้ เวลา น้ำหนัก
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ
วัด (ชั่วโมง) คะแนน
1 จำนวนเต็ม ค 1.1 ม.1/1 จำนวนเต็ม 17 20
- จำนวนเต็ม 2 3
- การบวกจำนวนเต็ม 3 3
- การลบจำนวนเต็ม 3 3
- การคูณจำนวนเต็ม 3 3
- การหารจำนวนเต็ม 3 3
- สมบัติของการบวกและการ 3 5
คูณจำนวนเต็ม
2 การสร้างทาง ค 2.2 ม.1/1 การสร้างทางเรขาคณิต 11 9
เรขาคณิต - รูปเรขาคณิตพื้นฐาน 1 3
- การสร้างพื้นฐานทาง 6 3
เรขาคณิต 4 3
- การสร้างรูปเรขาคณิต
3 เลขยกกำลัง ค 1.1 ม.1/2 เลขยกกำลัง 9 10
- ความหมายของเลขยกกำลัง 2 3
- การคูณและการหารเลขยก 5 4
กำลัง 2 3
- สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
4 ทศนิยมและ ค 1.1 ม.1/1 ทศนิยมและเศษส่วน 17 22
เศษส่วน - ทศนิยมและการเปรียบเทียบ 2 3
ทศนิยม 2 3
- การบวกและการลบทศนิยม 2 3
- การคูณและการหารทศนิยม 2 3
12

มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้ เวลา น้ำหนัก


หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ
วัด (ชั่วโมง) คะแนน
- เศษส่วนและการเปรียบเทียบ 3 3
เศษส่วน 3 3
- การบวกและการลบเศษส่วน 3 4
- การคูณและการหารเศษส่วน
- ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยม
และเศษส่วน
5 รูปเรขาคณิตสอง ค 2.2 ม.1/2 รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 6 9
มิติและสามมิติ - หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสาม 3 5
มิติ 3 4
- ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
และภาพด้านบนของรูป
เรขาคณิตสามมิติ
ระหว่างภาคเรียน 60 70
สอบปลายภาค 30
รวม 60 100
13

1. คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รหัสวิชา ค 21101 เวลา 60 ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ศึกษาการเปรียบเทียบจำนวนเต็ม จำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวก การลบ การคูณ และการ
หารจำนวนเต็ม สมบัติของจำนวนเต็ม และการนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนเต็มไปใช้ในชีวิตจริง การสร้างเกี่ยวกับ
ส่วนของเส้นตรง การสร้างเกี่ยวกับมุม การสร้างเกี่ยวกับเส้นตั้งฉาก การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ การสร้างมุมที่
มีขนาดต่าง ๆ การสร้างเส้นขนาด การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การคูณและการหาร
เลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก เขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ และการนำความรู้เกี่ยว
กับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง เศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ และการหาร
เศษส่วน และการนำไปใช้ในชีวติ จริง ทศนิยม ค่าประจำหลักทิศนิยมการเปรียบเทียบทศนิยม การบวก การลบ
การคูณ และการหารทิศนิยม (ไม่รวมผลลัพธ์เป็นทศนิยมซ้ำ) ความสัมพันธ์ของเศษส่วนกับทศนิยม การนำความ
รู้เกี่ยวกับทศนิยมไปใช้ในชีวิตจริง และจำนวนตรรกยะและสมบัติของจำนวนตรรกยะ หน้าตัดของรูปเรขาคณิต
สามมิติ การอธิบายภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ และรูป
เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ แก้ปัญหา การให้เหตุผล และนำความรู้ ความคิด
ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/1 ม.1/2
ค 1.3 ม.1/1
ค 2.2 ม.1/2
รวม 4 ตัวชี้วัด
14

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ของบทเรียน
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่1 จำนวนเต็ม - นักเรียนสามารถปรียบเทียบจำนวนเต็ม
- นักเรียนสามารถหาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหารของจำนวนเต็ม
- นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องจำนวนเต็มไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
- หาผลบวกของจำนวนเต็มทีก่ ำหนดให้
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลบวกของจำนวนเต็มที่ได้
- หาผลลบของจำนวนเต็มที่กำหนดให้
- บอกความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็ม
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลลบของจำนวนเต็มที่ได้
- หาผลคูณของจำนวนเต็มทีก่ ำหนดให้
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลคูณของจำนวนเต็มที่ได้
- หาผลหารของจำนวนเต็มที่กำหนดให้
- บอกความสัมพันธ์ของการคูณและการหารจำนวนเต็ม
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลหารของจำนวนเต็มที่ได้
- นักเรียนสามารถนำความรู้และสมบัติการดำเนินการของจำนวนเต็มไปใช้ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
บทที่ 2 - ใช้วงเวียนและสันตรง หรือซอฟต์แวร์เรขาคณิตพลวัต ในการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
การสร้างทางเรขาคณิต - ใช้วงเวียนและสันตรง หรือซอฟต์แวร์เรขาคณิตพลวัต ในการสร้างรูปเรขาคณิตและนำ ไปใช้
แก้ปัญหาในชีวิตจริง
- อธิบายลักษณะและสมบัติของจุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสี และมุม เปรียบเทียบความ
ยาวของส่วนของเส้นตรง และขนาดของมุม โดยใช้วงเวียน
- สร้างและบอกขั้นตอนการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง มุม และเส้น
ตั้งฉาก ที่กำหนดให้ โดยใช้วงเวียนและสันตรง หรือโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad
หรือซอฟต์แวร์เรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ
- อธิบายและสร้างรูปเรขาคณิตโดยการใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
- สำรวจ สังเกต และคาดการณ์เกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต และนำ ไปใช้ในการแก้ปัญหา

บทที่ 3 เลขยกกำลัง - เขียนจำนวนที่กำหนดให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก และหาค่า


ของเลขยกกำลังที่มี เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
- หาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก และนำสมบัติของ
เลขยกกำลังไปใช้ในการคำนวณ
- เขียนจำนวนที่มีค่ามาก ๆ ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ และหาค่าของจำนวนที่อยู่ในรูป
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
15

- บอกความหมายของเลขยกกำลัง
- เขียนจำนวนที่กำหนดให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
- หาค่าของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกที่กำหนดให้
- หาผลคูณของเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
- หาผลหารของเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
- นำสมบัติของเลขยกกำลังไปใช้
- เขียนจำนวนที่กำหนดให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์
- หาค่าของจำนวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
- นำความรู้เกี่ยวกับสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และแก้ปัญหาใน
ชีวติ จริง รวมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
บทที่ 4 - เปรียบเทียบทศนิยม หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหาร ของทศนิยม
ทศนิยมและเศษส่วน - เปรียบเทียบเศษส่วน หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ และผลหาร ของเศษส่วน
- บอกค่าประจำหลักของทศนิยมตำ แหน่งต่าง ๆ และค่าของเลขโดด
- เปรียบเทียบทศนิยม
- หาผลบวก และผลลบของทศนิยมที่กำหนดให้
- บอกความสัมพันธ์ของการบวกและการลบทศนิยม
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลบวกและผลลบของทศนิยมที่ได้
- หาผลคูณ และผลหารของทศนิยมที่กำ หนดให้
- บอกความสัมพันธ์ของการคูณและการหารทศนิยม
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลคูณและผลหารทศนิยมที่ได้
- บอกเศษส่วนที่แทนด้วยจุดบนเส้นจำนวน และหาจุดบนเส้นจำนวนที่แทนเศษส่วนที่กำหนด
ให้
- เปรียบเทียบเศษส่วน
- หาผลบวกและผลลบของเศษส่วนที่กำ หนดให้
- บอกความสัมพันธ์ของการบวกและการลบเศษส่วน
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลบวกและผลลบของเศษส่วนที่ได้
- หาผลคูณและผลหารของเศษส่วนที่กำ หนดให้
- บอกความสัมพันธ์ของการคูณและการหารเศษส่วน
- ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลคูณและผลหารของเศษส่วนที่ได้
- เขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้ำ ศูนย์ให้อยู่ในรูปเศษส่วน
- แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยมและเศษส่วน
บทที่ 5 - อธิบายลักษณะของหน้าตัดที่ได้จากการตัดรูปเรขาคณิตสามมิตดิ ้วยระนาบในทิศทางที่กำ
รูปเรขาคณิตสองมิติและ หนดให้
สามมิติ - ระบุภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
- เขียนภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่
16

ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
- อธิบายลักษณะของหน้าตัดที่ได้จากการตัดรูปเรขาคณิตสามมิตดิ ้วยระนาบในทิศทางที่กำ
หนดให้

3. เค้าโครงรายวิชา (Course Outline)

สัปดา หน่วยการเรียนรู้ เนื้อเรื่อง กิจกรรมการสอน จำนวนคาบ ตัวชี้วัด


ห์ที่ (ชั่วโมง)
17

กลางภาค
ปลายภาค
รวมทั้งหมด

4. กระบวนการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………..……………………………………………………..
…………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………..……………………………………………………..
…………………………………………………………….

5. สื่อการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………..……………………………………………………..
…………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………..……………………………………………………..
…………………………………………………………….

6. การวัดผลประเมินผล/ข้อตกลงเฉพาะวิชา
6.1. การกำหนดการวัดผลและประเมินผล มีดังนี้
6.1.1 อัตราส่วนคะแนนวัดผล
คะแนนวัดผลระหว่างภาคหรือปี / คะแนนสอบปลายภาคหรือปลายปี 70 : 30
6.1.2 คะแนนวัดผลระหว่างภาคหรือระหว่างปี 70 คะแนน มีรายละเอียดดังนี้
6.1.2.1 คะแนนทดสอบ……………………………..……….. 40 คะแนน
6.1.2.2 คะแนนสอบ……………………………................. 10 คะแนน
6.1.2.3 คะแนนประเมิน……………………………………… 10 คะแนน
6.1.2.4 คะแนนประเมิน…………………………………….. 10 คะแนน
รวม 70 คะแนน
18

6.1.3 คะแนนวัดผลปลายภาคหรือปลายปี 30 คะแนน


รวมทั้งสิ้น 100 คะแนน

6.2. การตัดสินผลการเรียน
น้ำหนักคะแนนระหว่างภาค / ระหว่างปีกับคะแนนสอบปลายภาค / ปลายปี มาแปรเป็นระดับ
ผลการเรียนดังนี้

ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนน


4 ผลการเรียนดีเยี่ยม 80 -100
3.5 ผลการเรียนดีมาก 75 - 79
3 ผลการเรียนดี 70 –74
2.5 ผลการเรียนค่อนข้างดี 69 - 65
2 ผลการเรียนน่าพอใจ 60 – 64
1.5 ผลการเรียนพอใช้ 54 - 59
1 ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ 50 - 54
0 ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ 0 – 49

ร หมายถึง รอการตัดสินหรือยังตัดสินไม่ได้
มส หมายถึง ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินผลปลายภาคหรือปลายปีเนื่องจากเวลาเรียนของผู้เรียนไม่ถึง
80 % ของเวลาเรียนทั้งหมด

2. แผนการจัดการเรียนรู้

แนบแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3 แผน (ทดลองใช้แล้วใส่สมุดประจำตัว)


19

หมายเหตุ : แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้ยดึ ตามสาขาหรือสถานศึกษาที่กำหนดให้และให้นำคำอธิบาย


รายวิชา, โครงสร้างรายวิชาแนบมากับแผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งเรียงลำดับ ดังนี้
1. โครงสร้างรายวิชา
2. แผนการจัดการเรียนรู้เข้าเล่มในเล่มเดียวกัน

1.รูปแบบการเขียนแผนอาจปรับได้ตามความเหมาะสม
2.นักศึกษาต้องทำการสอนในสถานศึกษาวิชาเอกไม่น้อยกว่า 4 คาบ/สัปดาห์/1 คน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนเต็ม เวลา 17 ชั่วโมง
20

เรื่อง จำนวนเต็ม เวลา 2 ชั่วโมง


สอนวันที่.......เดือน............ พ.ศ. ......... ผู้สอน นางสาวนริศรา ลาละคร

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ
ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการและนําไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจำนวนตรรกยะ และใช้สมบัติของ
จำนวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

สาระสำคัญ
จำนวนเต็ม (Integers) ประกอบด้วย จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มศูนย์ จำนวนเต็มลบ
(1) จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนนับ คือ จำนวนที่มีค่ามากกว่าศูนย์
(2) จำนวนเต็มศูนย์ หรือศูนย์ คือ จำนวนที่ไม่เป็นทั้งจำนวนเต็มบวกหรือเต็มลบ
(3) จำนวนเต็มลบ คือ จำนวนที่มีค่าน้อยกว่าศูนย์

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้
2. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และ
จำนวนเต็มศูนย์ได้
3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน

สมรรถนะของผู้เรียน
1. การสื่อสาร
2. การคิดวิเคราะห์
3. การแก้ไขปัญหา
4. ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อสัตย์สจุ ริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
21

4. มุ่งมั่นในการทำงาน

สาระการเรียนรู้
จำนวนเต็ม

กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ Inquiry Process)

ชั่วโมงที่ 1
ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน แนะนำให้นักเรียนรู้จกั และให้นักเรียนแนะนำตัวให้ครูและเพื่อนๆได้รู้จกั เพื่อ
สร้างสัมพันธภาพที่ดใี นห้องเรียน
2. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างตัวเลขหรือจำนวนทีพ่ บเจอในชีวิตประจำวันว่ามีอะไรบ้าง เช่น ราคาสินค้า
จำนวนเงินที่ได้มาโรงเรียน (ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน)
3. ครูให้นักเรียนนับจำนวนจำนวนของเพื่อนในห้องโดยใช้วธิ ีการนับทีละคน เริ่มจากคนที่ 1,2,3,...,จนถึงคน
สุดท้าย
4. ครูอธิบายว่า จำนวนที่นักเรียนได้นับไป ตั้งแต่ 1 - คนสุดท้าย เราจะเรียกจำนวนนี้วา่ จำนวนนับ หรือ
จำนวนเต็มบวกนั่นเอง
5. ครูใช้คำถามถามนักเรียนว่า ทำไมถึงไม่เริ่มนับจาก 0,1,2,3,...... (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ
ตนเอง)

ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
6. ครูนำสนทนาเกี่ยวกับความหมายของ 0 คือ 0 เป็นจำนวนเต็ม ไม่ใช่จำนวนนับ ในสถานการณ์ต่างๆ
การใช้ 0 แทนความไม่มี เช่น มีเงิน 0 บาท หรือ ไม่มีเงินเลย
การใช้ 0 แทนการมีอยู่ในระดับหนึ่ง เช่น เกรด 0 ผลการเรียนในระดับหนึ่งของนักเรียน ซึ่งอาจเป็น
เพราะนักเรียนยังให้ความสนใจไม่เพียงพอจึงทำให้ผลการเรียนอยู่ในระดับ 0 ซึ่งไม่ได้หมายความว่า
นักเรียนไม่มีผลการเรียน
จึงเรียก 0 ว่าเป็น จำนวนเต็มศูนย์
7. ครูเชื่อมโยงจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มศูนย์ และจำนวนเต็มลบ โดยอธิบายว่า จำนวนเต็มลบเราจะเห็น
ว่ามีเครื่องหมายลบอยู่ด้านหน้าตัวเลขหรือจำนวน พร้อมยกตัวอย่างสถานการณ์ เช่น วันนี้ครูมีเงิน 20
บาท ซื้อ ข้า ว 30 บาท จึง ทำให้ค รูต ้อ งติด เงิน ร้า นข้า วไว้ 10 บาท หรือ อาจจะเป็น ทางด้า นกรม
อุตุนิยมวิทยาได้ประกาศว่าวันนี้อุณหภูมิจะลดเหลือ -2 องศาเซลเซียส
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
22

8. ครูอธิบายโดยใช้เส้นจำนวนเข้ามาช่วยอธิบายเพิ่มเติมว่า จำนวนเต็ม (Integers) ประกอบด้วย


1. จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนนับ หรือ จำนวนธรรมชาติ คือ จำนวนที่อยู่ทางด้านขวาของศูนย์บน
เส้นจำนวน
2. จำนวนเต็มศูนย์ หรือศูนย์ คือ จำนวนที่ไม่เป็นทั้งจำนวนเต็มบวกหรือเต็มลบ
3. จำนวนเต็มลบ คือ จำนวนที่มีคา่ น้อยกว่าศูนย์ คือ จำนวนที่อยู่ทางด้านซ้ายของศูนย์บนเส้น
จำนวน

ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
9. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม “ชวนคิด พิชิตจำนวนเต็ม” โดยให้นักเรียนบอกว่า
ข้อความที่กำหนดให้ต่อไปนี้ เป็นจริงหรือไม่เป็นจริง

1) -5 เป็นจำนวนเต็มลบ (เป็นจริง)
2) 2 เป็นจำนวนนับ (เป็นจริง)
3) 0 เป็นจำนวนนับ (ไม่เป็นจริง)
4) จำนวนนับเป็นจำนวนเต็มบวก (เป็นจริง)
5) 1.5 เป็นจำนวนนับ (ไม่เป็นจริง)

ขั้นประเมิน (Evaluation)
10. ครูให้นักเรียนบอกถึงความแตกต่างระหว่าง จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มศูนย์ คือเรา
จะดูได้จาก
จำนวนเต็มลบ จะมีเครื่องหมายลบอยู่หน้าตัวเลขหรือหน้าจำนวน เช่น -3 ,-4
และ 0 เป็นจำนวนเต็มที่ม่ใช่จำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ

ชั่วโมงที่ 2
23

1. ครูกล่าวทบทวนความรูท้ ี่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้วและทบทวนเกี่ยวกับเครื่องหมายและการใช้เครื่องหมาย
มากกว่า และน้อยกว่า ดังนี้
- จำนวนเต็มประกอบด้วย จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และศูนย์
- จำนวนเต็มบวกจะอยู่ทางขวาของศูนย์บนเส้นจำนวน จำนวนเต็มลบจะอยู่ทางซ้ายของศูนย์
บน เส้นจำนวน
- ศูนย์ไม่เป็นทั้งจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
เครื่องหมายมากกว่าและน้อยกว่า
¿ เครื่องหมายนี้เรียกว่า เครื่องหมาย มากกว่า
¿ เครื่องหมายนี้เรียกว่า เครื่องหมาย น้อยกว่า
2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง จำนวนเต็มบวกจำนวนเต็มลบ และศูนย์
โดยการใช้เส้นจำนวน

- นักเรียนจะสังเกตได้อย่างไรว่าจำนวนไหนมีค่ามากและจำนวนไหนมีค่าน้อย
(สังเกตจากเส้นจำนวน ถ้าไปด้านขวาจะมีคา่ มากและถ้าไปด้านซ้ายจะมีค่าน้อย ด้านขวาจะมีคา่ มากกว่าด้าน
ซ้าย)
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมพร้อมยกตัวอย่างประกอบ จำนวนเต็มที่อยู่ทางขวามือจะมีคา่ มากกว่าจำนวนเต็มที่อยู่ทาง
ซ้ายเสมอ เช่น
6 มากกว่า 5 ใช้สัญลักษณ์ 6 > 5 หรือ 5 น้อยกว่า 6 ใช้สัญลักษณ์ 5 < 6
0 มากกว่า -1 ใช้สัญลักษณ์ 0 > -1 หรือ -1 น้อยกว่า 0 ใช้สัญลักษณ์ -1 < 0
-2 มากกว่า -4 ใช้สัญลักษณ์ -2 > -4 หรือ -4 น้อยกว่า -2 ใช้สัญลักษณ์ -4 < -2
3 มากกว่า -5 ใช้สัญลักษณ์ 3 > -5 หรือ -3 น้อยกว่า 5 ใช้สัญลักษณ์ -3 < 5

การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม
จำนวนเต็ม ลงจุดบนเส้นจำนวน สรุป
24

0 มากกว่า -2 เขียนแทนด้วย 0 > -2


-2 และ 0
-2 น้อยกว่า 0 เขียนแทนด้วย -2 < 0
0 อยู่ทางขวาของ -2 หรือ -2 อยู่ทางซ้ายของ 0
3 มากกว่า -3 เขียนแทนด้วย 3 > -3
3 และ -3
-3 น้อยกว่า 3 เขียนแทนด้วย -3 < 4
3 อยู่ทางขวาของ -3 หรือ -3 อยู่ทางซ้ายของ 3
-1 มากกว่า -8 เขียนแทนด้วย -1 > -8
-1 และ -8
-8 น้อยกว่า -1 เขียนแทนด้วย -8 < -1
-1 อยู่ทางขวาของ -8 หรือ -8 อยู่ทางซ้ายของ -1
ตัวอย่างที่ 1

3. ครูและนักเรียนร่วมกันทำ “แบบฝึกชวนคิด” โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบจำนวนต่อไปนี้โดยใช้สัญลักษณ์


< และ > ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง พร้อมทั้งเฉลยร่วมกัน

<
1) 4 9 1) 4 9
2) -8 2 2) -8 <2
3) 0 -1 3) 0 -1
4) -5 -6 เฉลยแบบฝึ กชวน 4) -5 >-6
5) 7 -2 5) 7 -2
>
>

5. ครูสุ่มนักเรียนออกมาเล่นกิจกรรมหน้าชั้นเรียน โดยสุ่มนักเรียนออกมาเป็นคู่ จำนวน 3 คู่ ครูกำหนดตัวเลขให้


นักเรียนบนกระดานและให้นักเรียนเรียงลำดับตัวเลขจากค่าน้อยไปค่ามาก ดังนี้
1) -2 , 5 , -8 , 6 , 3 , -1 (-8 , -2 , -1 , 3 , 5 , 6)
2) 9 , 1 , -7 , 0 , -11 , -1 (-11 , -7 , --1 , 0 , 1 , 9)
3) 0 , -5 , 8 , -6 , 3 , 2 (-6 , -5 , 0 , 2 , 3 , 8)
6. ครูยกตัวอย่างประโยคสัญลักษณ์ พร้อมทั้งใช้คำถาม
15 + 2 = 17 นักเรียนคิดว่า ประโยคนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ (เป็นจริง)
8 - 2 > 8 นักเรียนคิดว่า ประโยคนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ (เป็นเท็จ)
ถ้า a มีค่าเป็น ..., -1, 0, 1, 2, 3, 4, 5 ประโยค a < 6 ประโยคนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ (เป็นจริง)
ถ้า a มีค่าเป็น 6, 7, 8, 9, 10,..... ประโยค a < 6 ประโยคนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ (เป็นเท็จ)
จะเรียกประโยคสัญลักษณ์นวี้ ่า ประโยคทางคณิตศาสตร์ ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ประโยคที่เป็นจริง และ
ประโยคที่เป็นเท็จ บางครั้งอาจจะใช้ ตัวแปร หรือตัวไม่ทราบค่า
25

7. นักเรียนทำแบบฝึกความเข้าใจ 1.2 (หน้าที่ 16 ในเอกสารประกอบการเรียน)


8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกความเข้าใจ 1.2 (หน้าที่ 16 ในเอกสารประกอบการเรียน)
7. นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจำนวนเต็มโดยมีครูให้คำปรึกษาและแนะนำเพิ่มเติม

สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
3. แบบฝึกความเข้าใจ 1.2 (หน้าที่ 16 ในเอกสารประกอบการเรียน)
4. ห้องสมุด
5. อินเทอร์เน็ต https://youtu.be/MAuVV6ZtFpM

การวัดผลและการประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล
1. นักเรียนสามารถระบุและยก - การมีสว่ นร่วม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
26

ตัวอย่างจำนวนเต็มบวก - การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป


จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ กิจกรรม “ชวนคิด พิชติ ตอบถูกอย่างน้อย 3 ข้อขึ้นไป
ได้ จำนวนเต็ม”
2. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบ - การตอบคำถาม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
และเขียนเส้นจำนวนตาม -แบบฝึกความเข้าใจ 1.2 - แบบฝึกความเข้าใจ 1.2 ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปแบบ
จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ (หน้าที่ 16 ในเอกสาร (หน้าที่ 16 ในเอกสาร ฝึกความเข้าใจ 1.2 ข้อ 1 ถูก
และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ประกอบการเรียน) ประกอบการเรียน) อย่างน้อย 16 ข้อ(หน้าที่ 16
ในเอกสารประกอบการเรียน)
3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่ง - การสังเกต -แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
มั่นในการทำงาน ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
ส่งงานครบตามกำหนด

เกณฑ์การประเมินผล
1. นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ระดับ 1

นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้อย่างถูกต้อง ระดับ 2

นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ได้และ ระดับ 3


สามารถนำไปใช้ได้
นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ได้และ ระดับ 4
สามารถนำไปใช้ได้อย่างดี

2. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้


พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ระดับ 1
27

นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ระดับ 2


อย่างถูกต้อง
-นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ระดับ 3
- นักเรียนให้เหตุผลของการเปรียบเทียบจำนวนเต็มได้
- นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ระดับ 4
อย่างถูกต้อง
- นักเรียนให้เหตุผลของการเปรียบเทียบจำนวนเต็มได้

3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน


พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 1
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความสนใจและมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 2
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ระดับ 3
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน ระดับ 4

ลงชื่อ..........................................
(นางสาวนริศรา ลาละคร)
ผู้สอน

ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................ ................
.................................................................................................................................................................
28

.................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(นางสาวประวิง สุขเมือง)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายวิชาการ
.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................ ................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(นางสาวกิตติมา จั่นมา)
หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
................................................................................................................................................................ ................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(นายวรวุฒิ แสงนาก)
ผู้อำนวยการโรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนเต็ม เวลา 17 ชั่วโมง
29

เรื่อง การบวกจำนวนเต็ม เวลา 3 ชั่วโมง


สอนวันที่.......เดือน............ พ.ศ. ......... ผู้สอน นางสาวนริศรา ลาละคร

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ
ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการและนําไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจำนวนตรรกยะ และใช้สมบัติของ
จำนวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

สาระสำคัญ
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม คือ ระยะห่างระหว่างจำนวนนั้นกับศูนย์บนเส้นจำนวนดังนั้นค่าสัมบูรณ์ของ
จำนวนเต็ม จึงเป็นบวกหรือศูนย์
การบวกจำนวนเต็ม ทำได้ดังนี้
- การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็น จำนวนเต็ม
บวก
- การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็น จำนวนเต็มลบ
- การบวกจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ และการบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็ม ลบด้วย
จำนวนเต็มบวก ที่มีคา่ สัมบูรณ์ไม่เท่ากัน ให้นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อย กว่า แล้วตอบเป็น
จำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมาย ลักษณะและแสดงวิธกี ารหาค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มที่กำหนดให้
ได้ 2. นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของการบวกจำนวนเต็มได้
3. นักเรียน ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน

สมรรถนะของผู้เรียน
1. การสื่อสาร
2. การคิดวิเคราะห์
3. การแก้ไขปัญหา
30

4. การใช้ทกั ษะชีวติ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อสัตย์สจุ ริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มุ่งมั่นในการทำงาน

สาระการเรียนรู้
การบวกจำนวนเต็ม

กิจกรรมการเรียนรู้
( การจัดการเรียนการสอนแบบนิรนัย,การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา)

ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนและเช็คชื่อนักเรียนเพื่อเป็นการทำความรู้จักและสร้างสัมพันธภาพที่ดีภายใน
ห้องเรียน
2. ครูทบทวนจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ โดยใช้เส้นจำนวน
3. จากเส้นจำนวนครูใช้คำถามเพื่อเป็นการทบทวน เช่น
-2 และ 2 บนเส้นจำนวนมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
( -2 และ 2 ห่างจาก 0 บนเส้นจำนวน เป็นระยะทาง 2 หน่วย และเป็นจำนวนตรงข้ามกัน)
ขั้นสอน
4. ครูวาดภาพเส้นจำนวนบนกระดาน พร้อมอธิบายให้นักเรียนฟังถึงจำนวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ของ
จำนวนเต็มดังนี้
31

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆ คือ ระยะห่างจำนวนนวนเต็มนั้นกับศูนย์บนเส้นจำนวนมีค่าเป็นบวก


เสมอ ยกเว้นค่าสัมบูรณ์ของศูนย์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ | |
5. ครูอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนจะสังเกตได้วา่ ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบที่เป็น
จำนวนตรงข้ามกันจะมีค่าเท่ากันเสมอ
6. ครูยกตัวอย่างการบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกพร้อมทั้งอธิบายหลักการบวก โดยการหาผล
บวกจากเส้นจำนวน
ตัวอย่าง จงหาผลบวก 4 + 2
วิธีทำ เริ่มต้นที่ 0 แล้วนับไปทางขวาถึง 4 และเมื่อบวกด้วยสอง ให้นับต่อไปทางขวาอีก 2
หน่วย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 6 ดังนี้

ดังนั้น 4 + 2 = 8
7. ครูกล่าวถึง การบวกจำนวนเต็มโดยใช้คา่ สัมบูรณ์โดยจะมีหลักการดังนี้
การหาผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มบวกแต่ละ
จำนวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็นจำนวนเต็มบวก

จำนวนเต็มบวก + จำนวนเต็มบวก = | จำนวนเต็มบวก | + | จำนวนเต็มบวก |

เช่น
ตัวอย่าง จงหาผลบวกของ 24 + 28
วิธีทำ 24 + 28
หลักการคิด ค่าสัมบูรณ์ของ 24 หรือ | 24 | = 24
ค่าสัมบูรณ์ของ 28 หรือ | 28 | = 28
จะได้ว่า | 24 | + | 28 | = 24 + 28 = 52
ดังนั้น 24 + 28 = 52
ขั้นสรุป
8. ครูและนักเรียนร่วมกันทำและเฉลย แบบฝึกความเข้าใจ 1.4 (เอกสารประกอบการเรียน หน้าที่ 24)
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรูท้ ี่ได้เรียน คือ
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆเป็นจำนวนเต็มบวก ยกเว้นศูนย์
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบที่ตรงข้ามกันจะมีค่าเท่ากันเสมอ
32

การหาผลบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มบวกให้นำมาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มบวก

ชั่วโมงที่ 2
ขั้นทบทวนความรู้เดิม
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์โดยใช้คำถาม เพื่อทบทวนความรู้
1) | 10 | คือ............. (10)
2) | -85 | คือ............. (85)
3) | -12 | คือ............. (12)
4) | 100 | คือ............. (100)
5) | -30 | คือ............. (30)
2. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่องการบวกจำนวนเต็มเพื่อเป็นการทดสอบก่อนเรียน โดยให้เวลาทำ 10
นาที
ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่
3. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และเฉลยใบงานที่ 1 เรื่องการบวกจำนวนเต็ม
ขั้นทำความเข้าใจกับความรู้ใหม่
4. ครูให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมร่วมกัน โดย สุ่มนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียนเพื่อเติมตัวเลขในตารางที่
อยู่บนกระดานให้ถูกต้องและสมบูรณ์

คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมตัวเลขในตารางที่อยู่บนกระดานให้ถูกต้องและสมบูรณ์ ใช้วิธกี ารหาผลบวก


โดยใช้ค่าสัมบูรณ์
โจทย์ ตัวตั้ง ตัวบวก ผลลัพธ์
| 24 | + | 28 | | 24 | หรือ 24 | 28 | หรือ 28 52
| 35 | + | 52 |
24 + 56
| 72 | + 55
89 + | 11 |
| 52 | + | 68 |
33

เฉลย
โจทย์ ตัวตั้ง ตัวบวก ผลลัพธ์
| 24 | + | 28 | | 24 | หรือ 24 | 28 | หรือ 28 52
| 35 | + | 52 | | 35 | หรือ 35 | 52 | หรือ 52 87
24 + 56 | 24 | หรือ 24 | 56 | หรือ 56 80
| 72 | + 55 | 72 | หรือ 72 | 55 | หรือ 55 127
89 + | 11 | | 89 | หรือ 89 | 11 | หรือ 11 100
| 52 | + | 68 | | 52 | หรือ 52 | 68 | หรือ 68 120

5. ครูอธิบายเพิ่มสำหรับการบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบเราก็จะใช้หลักการเดียวกันกับการบวก
จำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก พร้อมยกตัวอย่างประกอบ

จำนวนเต็มลบ + จำนวนเต็มลบ = -( | จำนวนเต็มบวก | + | จำนวนเต็มบวก |)

ตัวอย่าง จงหาผลบวกของ (-24 ) + (-28)


วิธีทำ (-24 ) + (-28)
หลักการคิด ค่าสัมบูรณ์ของ (-24 ) หรือ | -24 | = 24
ค่าสัมบูรณ์ของ (-28) หรือ | -28 | = 28

แต่ผลลัพธ์ที่ได้จะต้องเป็นจำนวนเต็มบวก
จะได้วา่ | -24 | + | -28 | = 24 + 28 = 52
ดังนั้น (-24 ) + (-28) = -52
6. ครูอธิบายถึงการบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบและการบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวก
โดยยกตัวอย่างการหาผลบวกบนเส้นจำนวน
การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มบวกสามารถแสดงการหาผลบวกโดยใช้เส้นจำนวน
พิจารณา การหาผลบวกของ ( -7) + 9 บนเส้นจำนวน
เริ่มต้นนับจาก 0 ไปทางซ้าย 7 หน่วย เมื่อบวกด้วย 9 นับจาก –7 ไปทางขวา 9 หน่วย
ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 2 จะได้ 2 เป็นผลบวกของ ( -7) + 9
ดังนั้น ( -7) + 9 = 2

พิจารณา การหาผลบวกของ ( -7) + 9 = 2 โดยใช้ค่าสัมบูรณ์


ค่าสัมบูรณ์ของ -7 หรือ | -7 | = 7
ค่าสัมบูรณ์ของ 9 หรือ | 9 | = 9
นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าเป็นตัวตั้ง แล้วลบด้วยค่าสัมบูรณ์ ที่น้อยกว่า
จะได้ | 9 | - | -7 | = 9 – 7 = 2
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นจำนวนเต็มบวก ตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
34

ยกตัวอย่างประกอบ เช่น
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ (-10) + 6 ค่าสัมบูรณ์ของ -10 มากกว่าค่าสัมบูรณ์ของ 6
วิธีทำ ( -10) + 6 = -4 ดังนั้น -4 เป็นจำนวนเต็มลบเช่นเดียวกับ -10
ตอบ -4

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของ (-11) + 18 ค่าสัมบูรณ์ของ 18 มากกว่าค่าสัมบูรณ์ของ -11


วิธีทำ ( -11) + 18 = 7 ดังนั้น 7 เป็นจำนวนเต็มบวกเช่นเดียวกับ 18
ตอบ 7
การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบด้วยค่าสัมบูรณ์
กรณีที่ 1 เมื่อ | จำนวนเต็มบวก | > | จำนวนเต็มลบ |
ตัวอย่าง จงหาผลบวกของ 91 + (-82)
วิธีทำ 91 + (-82) = 9 ตอบ
หลักการคิด: ค่าสัมบูรณ์ของ 91 หรือ | 91 | = 91
ค่าสัมบูรณ์ของ (-82) หรือ | -82 | = 82
จะได้ | 91 | - | -82 | = 91 – 82 = 9 คำตอบคือ 9 เนื่องจาก ค่าสัมบูรณ์ของ
หรือ (91) + (-82) = | 91 | - | -82 | 91 (จำนวนเต็มบวก) มากกว่า
= 91 – 82 = 9

กรณีที่ 2 เมื่อ | จำนวนเต็มบวก | < | จำนวนเต็มลบ |


ตัวอย่าง จงหาผลบวกของ (-73) + 46
วิธีทำ (-73) + 46 = -27 ตอบ
หลักการคิด: ค่าสัมบูรณ์ของ -73 หรือ | -73 | = 73
ค่าสัมบูรณ์ของ 46 หรือ | 46 | = 46
จะได้ | -73 | - | 46 | = 73 - 46 = 27
หรือ (-73) + 46 = - (| -73 | - | 46 |
คำตอบคือ -27 เนื่องจาก ค่าสัมบูรณ์
= -(73 - 46) = -27
ของ -3 (จำนวนเต็มลบ) มากกว่า
35

กรณีที่ 3 เมื่อ | จำนวนเต็มบวก | = | จำนวนเต็มลบ |


การบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ ในกรณีที่จำนวนเต็มทั้งสองมีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน เช่น
6+ (-6) = 0 , (-5) + 5 = 0
7. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สำหรับการบวกจำนวนเต็มใดๆ ด้วยศูนย์ หรือการบวกศูนย์ดว้ ยจำนวนเต็ม
ใดๆ จะได้ผลบวกเท่ากับจำนวนเต็มนั้นเสมอ
นั่นคือ a + 0 = 0 + a = a เมื่อ a แทนจำนวนเต็มใดๆ
ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
8. ให้นักเรียนทำกิจกรรมโดยให้แต่ละแถวช่วยกันนำบัตรคำของโจทย์และคำตอบที่ครูกำหนดให้ออกมา
เติมให้ถูกต้อง เมื่อได้แล้ว ให้ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยมีครูคอยให้คำปรึกษาแนะนำ

18+17 20+15
35 28+7 22+13

(-3)+(-6) (-4)+(-5) (-7)+(-2) (-1)+(-8)


-9

(-9)+(-19) (-17)+(-11)
(-20)+(-8) (-18)+(-10)
-28

13+13 18+8 25+1 20+6


26

ขั้นสรุป
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับหลักการของการบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก และการ
บวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ
- การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก จะได้ผลบวกเป็นจำนวนเต็มบวก
- การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของจำนวนทั้งสองมาบวกกัน แล้วเขียน
ผลบวกเป็นจำนวนเต็มลบ

ชั่วโมงที่ 3
ขั้นทบทวนความรู้เดิม
36

1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก การบวกจำนวนเต็มลบด้วย
จำนวนเต็มลบ การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ และการบวกจำนวนเต็มลบด้วย
จำนวนเต็มบวก
การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวก ให้นำมาบวกกันเช่นเดียวกับการบวกจำนวนนับแล้ว
ตอบเป็นจำนวนเต็มบวก
เช่น 25 + 15 = 40
การบวกจำนวนเต็มลบด้วยจำนวนเต็มลบ ให้นำจำนวนเต็มมาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มลบ
เช่น (-25) + (-15) = (-40)
การบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบที่มีค่าไม่เท่ากัน ให้นำค่าที่มากกว่าลบด้วยค่าที่
น้อยกว่า แล้วตอบเป็นจำนวนเต็มบวกหรือจำนวนเต็มลบตามจำนวนที่มีคา่ มากกว่า
เช่น (-25) +15 = -10
25 + (-15) = 10
2. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยการบ้าน แบบฝึกความเข้าใจที่ 1.5 ข้อ 2
(เอกสารประกอบการเรียนหน้าที่30)
ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม “บิงโกนี้มีคำตอบ” โดยเป็นบิงโกที่ให้หาคำตอบจากโจทย์การบวก
จำนวนเต็ม
วิธีการเล่น
- ให้นักเรียนจับคู่กัน และให้นั่งตามคู่ของตนเอง
- ครูแจกอุปกรณ์ให้กับนักเรียนโดยมีกระดานบิงโกและเบี้ยบิงโก
- ให้นักเรียนจับบัตรโจทย์พร้อมทั้งบอกคำตอบให้เพื่อนๆ โดยมีครูคอยช่วยตรวจสอบคำตอบ
- นักเรียนแต่ละคู่ช่วยกันวางเบี้ยลงกระดานบิงโกของคู่ตนเองตามคำตอบที่ได้
- คู่ไหนบิงโกก่อนถือว่าเป็นคู่ที่ชนะ

ลักษณะการบิงโก
37

ขั้นสรุป
4. ครูสรุปหลักเกณฑ์ของการบวกจำนวนเต็มดังนี้

+ + + = +

- + - = -

+ + - = 0 กรณีที่จำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบเท่ากัน
38

+
+ = - กรณีที่จำนวนเต็มลบมีค่ามากกว่าจำนวนเต็ม
-

+ + - = + กรณีที่จำนวนเต็มบวกมีคา่ มากกว่าจำนวนเต็ม

5. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกความเข้าใจ 1.5 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 31) กลับไปทำเพื่อ


เป็นการทบทวนความเข้าใจ และกลับมาเฉลยร่วมกันในชัว่ โมงถัดไป
6.
สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
3. ใบงานที่ 1 การบวกจำนวนเต็ม
4. บัตรคำ การบวกจำนวนเต็ม
5. แบบฝึกความเข้าใจ 1.4 (หน้าที่ 24 ในเอกสารประกอบการเรียน)
6. แบบฝึกความเข้าใจ 1.5 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 29)
7. กิจกรรม บิงโกนี้มีคำตอบ
8. ห้องสมุด
9. อินเทอร์เน็ต https://youtu.be/dfhvsKMwrpA

การวัดผลและการประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล
1. นักเรียนสามารถอธิบายความ - การมีสว่ นร่วม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
หมาย ลักษณะและแสดงวิธีการหา - การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มที่กำหนด -การทำกิจกรรมหน้าชั้น ทำแบบฝึกความเข้าใจ 1.4
ให้ได้ เรียน ข้อ 2 ถูกอย่างน้อย 8 ข้อ
39

2. นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของ - การตอบคำถาม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน


การบวกจำนวนเต็มได้ -แบบฝึกความเข้าใจ 1.5 - แบบฝึกความเข้าใจ ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
(หน้าที่ 29 ในเอกสาร 1.5 (หน้าที่ 29 ใน
ทำแบบฝึกความเข้าใจ 1.5
ประกอบการเรียน) เอกสารประกอบการ
ข้อ 2 ถูกอย่างน้อย 8 ข้อ
-กิจกรรมบิงโก เรียน)
ข้อ 4 ถูกอย่างน้อย 6 ข้อ

3. นักเรียน ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน - การสังเกต -แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน


การทำงาน ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
ส่งงานตามทีก่ ำหนด

เกณฑ์การประเมินผล
1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมาย ลักษณะและแสดงวิธีการหาค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มทีก่ ำหนดให้ได้
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ ระดับ 1

นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้อย่างถูกต้อง ระดับ 2

นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ได้และ ระดับ 3


สามารถนำไปใช้ได้
นักเรียนสามารถระบุและยกตัวอย่างจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ได้ได้และ ระดับ 4
สามารถนำไปใช้ได้อย่างดี

2. นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของการบวกจำนวนเต็มได้
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็ม ระดับ 1
ศูนย์ได้
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็ม ระดับ 2
ศูนย์ได้อย่างถูกต้อง
-นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็ม ระดับ 3
ศูนย์ได้
40

- นักเรียนให้เหตุผลของการเปรียบเทียบจำนวนเต็มได้
- นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเขียนเส้นจำนวนตามจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็ม ระดับ 4
ศูนย์ได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนให้เหตุผลของการเปรียบเทียบจำนวนเต็มได้

3. นักเรียน ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน


พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 1
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความสนใจและมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 2
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ระดับ 3
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน ระดับ 4

ลงชื่อ..........................................
(นางสาวนริศรา ลาละคร)
ผู้สอน
41
42

เฉลยใบงาน

14 -17

-6 -30

2 8

33 5

0 9

-8 54
43

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 21101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนเต็ม เวลา 17 ชั่วโมง
เรื่อง การลบจำนวนเต็ม เวลา 3 ชั่วโมง
สอนวันที่.......เดือน............ พ.ศ. ......... ผู้สอน นางสาวนริศรา ลาละคร

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ
ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการและนําไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจำนวนตรรกยะ และใช้สมบัติของ
จำนวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

สาระสำคัญ
การลบจำนวนเต็ม
ถ้า a เป็นจำนวนเต็มใดๆ จำนวนตรงข้ามของ a เขียนแทนด้วย -a และ a + (-a) = (-a) + a = 0
ถ้า a เป็นจำนวนเต็มใด ๆ จำนวนตรงข้ามของ -a คือ a ซึ่งเขียนแทนด้วย –(-a) = a
ในการลบจำนวนเต็มอาศัยการบวกตามข้อตกลงดังนี้ ตัวตั้ง – ตั้วลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็มได้
2. นักเรียนสามารถแสดงวิธีทำและหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้
3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน

สมรรถนะของผู้เรียน
1. การสื่อสาร
2. การคิดวิเคราะห์
3. การแก้ไขปัญหา
4. ทักษะชีวิต
44

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อสัตย์สจุ ริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มุ่งมั่นในการทำงาน

สาระการเรียนรู้
การลบจำนวนเต็ม

กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกความเข้าใจ 1.5 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 29) เรื่องการบวก
จำนวนเต็ม
2. ครูทบทวน หลักการในการบวกจำนวนเต็ม
- การบวกจำนวนเต็มบวกกับเต็มบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มบวก
- การบวกจำนวนเต็มลบกับเต็มลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวนเต็มลบ
- การบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์ไม่เท่ากัน ให้นำค่าสัมบูรณ์ที่มากก
ว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่า แล้วตอบเป็นจำนวนเต็มบวกหรือลบตามจำนวนที่มีคา่ สัมบูรณ์
มากกว่า
- การบวกระหว่างจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์เท่ากัน ผลบวกเท่ากับ 0
3. ครูกล่าวถึง จำนวนตรงข้าม (opposite number) จำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบที่มีค่าสัมบูรณ์เท่า
กัน จะอยูค่ นละข้างของศูนย์ (0) และอยู่ห่างจากศูนย์เป็นระยะเท่ากัน

จากเส้นจำนวน -4 และ 4 จะกล่าวว่า


-4 เป็นจำนวนตรงข้าม ของ 4
4 เป็นจำนวนตรงข้าม ของ -4
และ 0 เป็นจำนวนตรงข้ามของตนเอง
ถ้า a แทนจำนวนใดๆ จำนวนตรงข้ามของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว เขียนแทนด้วย -a เช่น
จำนวนตรงข้ามของ 5 เขียนแทนด้วย -5
จำนวนตรงข้ามของ -7 เขียนแทนด้วย –(-7) = 7
45

4. นักเรียนทำแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 ข้อ 1 และ ข้อ 2 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 35)


5. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และเฉลยคำตอบของแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการ
เรียน หน้า 35)
6. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า หากพิจารณาผลบวกของจำนวนเต็มจำนวนหนึ่งกับจำนวนตรงข้ามของจำนวนนั้น
จะพบว่าเท่ากับศูนย์ เช่น
2 + (-2) = 0 และ (-2) + 2 = 0
6 + (-6) = 0 และ (-6) + 6 = 0
15 + (-15) = 0 และ (-15) + 15 = 0
นั่นคือ ถ้า a แทนจำนวนเต็มใดๆ จำนวนตรงข้ามของ a เขียนแทนด้วย -a และ
a + (-a) = 0 = (-a) + a
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปจากกิจกรรม “ชวนรู้ ชวนคิด”

ให้นักเรียนบอกจำนวนตรงข้ามของจำนวนเต็มต่อไปนี้
1. 89
เฉลย
1. -89 4. 64
2. -46
2. 46 5. 165
3. 38 3. -38
4. -64
5 –(-165)

จากกิจกรรมนักเรียนจะสังเกตได้วา่ จำนวนตรงข้ามของจำนวนเต็มใดๆ จะมีเพียง 1 จำนวน

ชั่วโมงที่ 2
1.ครูทบทวนเรื่องจำนวนตรงข้าม คือ ถ้า a แทนจำนวนใดๆ จำนวนตรงข้ามของ a จะมีเพียงจำนวนเดียว เขียน
แทนด้วย -a เช่น
จำนวนตรงข้ามของ 17 เขียนแทนด้วย -17
2. ครูอธิบายการลบจำนวนเต็ม ซึ่งใช้หลักการบวกและจำนวนตรงข้ามในการหาผลลบ ดังนี้

ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ


นั่นคือ a – b = a + (-b) เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มใดๆ
46

3. ให้นักเรียนทำกิจกรรมร่วมกัน “ชวนรู้ ชวนคิด”

จงเขียนการลบต่อไปนี ้ให้ อยูใ่ นรูปของ เฉลย


การบวก 1) 5 + (- 3)
1) 5 - 3 2) 8 + (-12)
2) 8 - 12 3) 5+2
3) 5 – (-2) 4) (-8) + 1
4) (-8) – ( - 1)

4. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมเพื่อเป็นการฝึกทักษะเกี่ยวกับการบวกและการลบจำนวนเต็ม กิจกรรม “จะบวก


หรือจะลบ” โดยครูจะแจกอุปกรณ์ ให้แต่ละกลุ่มพร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่น
อุปกรณ์ บัตรตัวเลข ชุดละ 8 ใบ
ปากกา

1 5 6 12

-1 -5 -6 -12

ขั้นตอน
- ครูแจกบัตรละปากกาให้กับนักเรียน
- ครูให้นักเรียนช่วยกันเลือกบัตรเพียง 4 ใบ แล้วใช้การบวกหรือการลบเชื่อมระหว่างจำนวนเพื่อให้
ได้ผลลัพธ์ตามจำนวนที่ครูกำหนด
- ครูให้นักเรียนออหมาเขียนตัวเลขพร้อมทั้งเขียนเครื่องหมายแสดงการดำเนินการบวกหรือลบ
ระหว่างจำนวน ดังตัวอย่าง
47

- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลการดำเนินการที่ได้และตรวจสอบความถูกต้อง
6. ให้นักเรียน ทำแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 35) ข้อ 3 เพื่อทบทวนความเข้าใจ
7. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 35) ข้อ 3
พร้อมทั้งอธิบายถึงวิธีการตรวจสอบคำตอบคือ
วิธีการตรวจสอบคำตอบ ผลลบ + ตัวลบ = ตัวตั้ง

8. ครูให้นักเรียนกลับไปทบทวนผ่านแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 39)

ชั่วโมงที่ 3
1. ครูทบทวนหลักการในการลบจำนวนเต็ม และวิธีการตรวจสอบคำตอบโดยการยกตัวอย่างประกอบ เช่น
ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ของจำนวนต่อไปนี้
1) ( -20) – 25 ตรวจคำตอบ
วิธีทำ ( -20) – 25 = (-20) + (-25) 1) ( -20) – 25 = -45
= -45 จะได้ (-45) + 25 = 20
ตอบ 45 จำนวนตรงข้ามของ

2) 30 – (-8) ตรวจคำตอบ
วิธีทำ 30 – (-8) = 30 + 8 2) 30 – (-8) = 38
= 38 จะได้ 38 + (-8) = 30
จำนวนตรงข้ามของ
ตอบ 38

ตรวจคำตอบ
3) ( -18) – (-20)= 2
3) ( -18) – (-20)
จะได้ 2 + (-20) = (-
18)
48

วิธีทำ ( -18) – (-20) = (-18) + 20


= 2
จำนวนตรงข้ามของ (-
ตอบ 2

2. ให้นักเรียนออกมาเฉลยแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 39)หน้ากระดาน


3. ครูใช้คำถาม คือ ถ้า (a + b) – c และ a + (b – c) แล้วนักเรียนคิดว่าผลลัพธ์จะมีค่าเหมือนหรือต่างกัน
4. ครูยกตัวอย่างประกอบพร้อมอธิบาย เช่น
1) ถ้า a = 3 , b = 4 และ c = -6 จงหาค่าของ (a + b) – c และ a + (b – c)
วิธีทำ จาก (a + b) – c วิธีทำ และจาก a + (b – c)
จะได้ (3 + 4) – (-6) = 7 + 6 จะได้ 3 + (4 – (-6)) = 3 + (4 + 6)
= 13 = 3+7
= 13
ตอบ 13 ตอบ 13

5. ครูและนักเรียนร่วมกันหาคำตอบที่ถูกต้องในแบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน ) เพื่อ


ฝึกทักษะและทบทวนความเข้าใจ
6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป การลบจำนวนเต็มโดยมีหลักการดังนี้

ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ


นั่นคือ a – b = a + (-b) เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มใดๆ

สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
49

1. หนังสือเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1


2. เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
4. แบบฝึกความเข้าใจ 1.5 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 29)
5. แบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 35)
6. แบบฝึกความเข้าใจ 1.6 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 39)
7. กิจกรรม “ชวนรู้ ชวนคิด”
8. กิจกรรม “จะบวกหรือจะลบ”
9. ห้องสมุด
10. อินเทอร์เน็ต https://youtu.be/i4i_Mq2GvK8 https://youtu.be/LTedQq9jRHo

การวัดผลและการประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล
นักเรียนสามารถอธิบายความ - การมีส่วนร่วม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
สัมพันธ์ของการบวกและการ - การตอบคำถาม - แบบฝึกความเข้าใจ 1.5 ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปทำแบบ
ลบจำนวนเต็มได้ (เอกสารประกอบการเรียน ฝึกความเข้าใจ 1.5 ถูกอย่างน้อย
หน้า 29) 8 ข้อ
- กิจกรรม “จะบวกหรือจะ
ลบ”

2. นักเรียนสามารถแดงวิธีทำ - การตอบคำถาม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน


และหาผลลัพธ์ของการลบ - การทำกิจกรรม - แบบฝึกความเข้าใจ 1.6 ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไปทำแบบ
จำนวนเต็มได้ (เอกสารประกอบการเรียน ฝึกความเข้าใจ 1.6 ถูกอย่างน้อย
หน้า 39) 16 ข้อ
- กิจกรรม “ชวนรู้ ชวนคิด”
3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ - การสังเกต -แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
และมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
ส่งงานตามเวลาทีก่ ำหนด

เกณฑ์การประเมินผล
50

1. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็มได้
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็มได้ ระดับ 1
นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็มได้อย่างถูกต้อง ระดับ 2
นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็มได้และสามารถนำไปใช้ได้ ระดับ 3
นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบจำนวนเต็มได้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างดี ระดับ 4

2. นักเรียนสามารถแดงวิธีทำและหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถแดงวิธีทำและหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้ ระดับ 1

นักเรียนสามารถแดงวิธีทำและหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้อย่างถูกต้อง ระดับ 2

-นักเรียนสามารถแดงวิธีทำและหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้ ระดับ 3
- นักเรียนให้เหตุผลของการหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้
- นักเรียนสามารถแดงวิธีทำและหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้อย่างถูกต้อง ระดับ 4
- นักเรียนให้เหตุผลของการหาผลลัพธ์ของการลบจำนวนเต็มได้

3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน


พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 1
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความสนใจและมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 2
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ระดับ 3
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน ระดับ 4

ลงชื่อ..........................................
(นางสาวนริศรา ลาละคร)
ผู้สอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
51

สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค 21201 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 บทประยุกต์ 1 เวลา 9 ชั่วโมง
เรื่อง รูปเรขาคณิต เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที่.......เดือน............ พ.ศ. ......... ผู้สอน นางสาวนริศรา ลาละคร

สาระสำคัญ
รูปเรขาคณิต (geometric figure) เป็นรูปที่ประกอบด้วย จุด เส้นตรง เส้นโค้ง ระนาน ฯลฯ เช่นรูป
สามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม ทรงกระบอกและทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นต้น

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่าประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง
2. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเรขาคณิตมาสร้างรูปเรขาคณิตตามจินตนาการได้
3. เพื่อให้นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน

สมรรถนะของผู้เรียน
1. การสื่อสาร
2. การคิดวิเคราะห์
3. การแก้ไขปัญหา
4. ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อสัตย์สจุ ริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มุ่งมั่นในการทำงาน

สาระการเรียนรู้
การสร้างทางเรขาคณิต

กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ(Discovery Method)


52

ชั่วโมงที่ 1 -2
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน
2. ครูใช้คำถามเพื่อเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียน ในชีวติ ประจำวันหรือรอบๆตัวเรานักเรียนจะ
เห็นสิ่งใดบ้างที่เป็นรูปเรขาคณิต เช่น โต๊ะ หนังสือ ไม้บรรทัด ฯลฯ
3. ครูยกตัวอย่างรูปเรขาคณิต เช่น

รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปทรงสี่เหลี่ยมฉาก รูปทรงกระบอก

รูปเรขาคณิต (geometric figure) เป็นรูปที่ประกอบด้วย จุด เส้นตรง เส้นโค้ง ระนาน ฯลฯ


4. ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบว่าสิ่งของต่อไปนี้ประกอบด้วยรูปทรงเรขาคณิตชนิดใดบ้าง
- ปากกาไวท์บอร์ด (ทรงกระบอก ทรงกลม)
- นาฬิกา (ทรงกลม สี่เหลี่ยม)
- รองเท้า

5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมคือครูจะแจกไม้จิ้มฟันให้คนละ 8 อัน จากนั้นอธิบายเกี่ยวกับการทำกิจกรรม


ให้นักเรียนทราบ
คำชี้แจง ให้นักเรียนนำไม้จิ้มฟันมาสร้างให้เป็นรูปสามเหลี่ยม ตามจำนวนไม้จิ้มฟันที่ครูกำหนดให้
ขั้นการค้นพบ/เรียนรู้
6. ครูอธิบายเพิ่มเติม กำหนดส่วนของเส้นตรงซึ่งมีความยาว 3 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร และ 5
เซนติเมตร สามารถประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมได้หรือไม่เพราะเหตุใด

ส่วนของเส้นตรงที่กำหนด สามารถประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมได้ เพราะ 3 + 4 > 5


นั่นคือ ผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ มากกว่าความยาวของด้านที่เหลือ
53

ถ้ากำหนดส่วนของเส้นตรงซึ่งมีความยาว 4 เซนติเมตร 5 เซนติเมตร และ 9 เซนติเมตร สามารถ


ประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมได้หรือไม่เพราะเหตุใด
เนื่องจาก 4 + 5 = 9 ดังนั้นส่วนของเส้นตรงที่กำหนดไม่สามารถประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมได้ เพราะ
ผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ เท่ากับความยาวของด้านที่เหลือ
7. ครูกล่าวถึงจุดภายในและจุดภายนอกโดยยกตัวอย่างประกอบ

เส้ นรอบรูป

จากรูปจะเป็นรูปเส้นโค้งปิดเชิงเดียว (single closed curve) เรียกจุด A ว่า จุดภายใน และเรียกจุด B


ว่า จุดภายนอก
8. ครูและนักเรียนร่วมกันทำแบบฝึกทักษะที่ 1.1 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 13)
9. ครูอธิบายเพิ่มเติมจากแบบฝึกทักษะที่ 1.1 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 13)
วิธีการสังเกตจุดภายในและจุดภายนอก
ให้ลากส่วนของเส้นตรงจากจุดนั้นออกมาทางด้านใดด้านหนึ่ง
- ถ้าส่วนของเส้นตรงนั้นตัดเส้นรอบรูปได้จำนวนจุดตัดเป็นจำนวนคี่จดุ นั้นจะเป็นจุดภายใน
- ถ้าได้จำนวนจุดตัดเป็นจำนวนคู่จดุ นั้นจะเป็นจุดภายนอก
ขั้นการนำไปใช้
10. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “มาสร้างกันเถอะ” โดยครูจะแจกอุปกรณ์ให้กับนักเรียนพร้อมทั้งให้คำชี้แจง

อุปกรณ์ ชุดแทนแกรม
วิธีการเล่น
- ให้นักเรียนระบายชิ้นส่วนรูปเรขาคณิตตามใจชอบ
54

- นักเรียนนำรูปเรขาคณิตมาสร้างเรียงตอกันตามจินตนาการ
- บอกชื่อชิ้นงานพร้อมทั้งอธิบายลักษณะของรูปที่สร้าง

11. ครูให้นักเรียนนำแบบฝึกทักษะที่ 1.1 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 13 - 14) กลับไปทำต่อที่บ้าน เพื่อ


เป็นการทบทวนความรู้ความเข้าใจ

สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
2. แบบฝึกทักษะที่ 1.1 (เอกสารประกอบการเรียน หน้า 13)
3. กิจกรมมการสร้างรูปสามเหลี่ยมด้วยไม้จิ้มฟัน
4. ชุดกิจกรรมแทนแกรม
3. ห้องสมุด
4. อินเทอร์เน็ต

การวัดผลและการประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมินผล
1. นักเรียนสามารถบอก - การมีส่วนร่วม - แบบสังเกต - ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
55

รูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่า - การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป


ประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง บอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆ

2. นักเรียนสามารถใช้ - การสังเกต - แบบสังเกต - ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน


ความรู้ทางเรขาคณิตมาส - แบบฝึกทักษะ 1.1(เอกสาร - แบบฝึกทักษะ 1.1 ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
ร้างรูปเรขาคณิตตาม ประกอบการเรียน หน้า 13) (เอกสารประกอบการเรียน - ทำแบบฝึกทักษะ
จินตนาการได้ - กิจกรมมการสร้างรูป หน้า 13) - ชิ้นงานจากกิจกรรม
สามเหลี่ยมด้วยไม้จิ้มฟัน แทนแกรม
ชุดกิจกรรมแทนแกรม
3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียน - การสังเกต - แบบสังเกต - ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ใน
รู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน -ความรับผิดชอบต่องานที่ได้ ระดับคุณภาพ 3 ขึ้นไป
รับมอบหมาย/ ชิ้นงาน ส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
ระดับคะแนน 8 ขึ้นไปถือว่าผ่าน

เกณฑ์การประเมินผล
1. นักเรียนสามารถบอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่าประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถบอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่าประกอบด้วยสิ่งใดได้ ระดับ 1
นักเรียนสามารถบอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่าประกอบด้วยสิ่งใดได้อย่างถูกต้อง ระดับ 2
นักเรียนสามารถบอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่าประกอบด้วยสิ่งใดได้และสามารถนำไปใช้ได้ ระดับ 3
นักเรียนสามารถบอกรูปเรขาคณิตชนิดต่างๆว่าประกอบด้วยสิ่งใดได้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างดี ระดับ 4

2. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเรขาคณิตมาสร้างรูปเรขาคณิตตามจินตนาการได้
พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเรขาคณิตมาสร้างรูปเรขาคณิตตามจินตนาการ ระดับ 1
56

นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเรขาคณิตมาสร้างรูปเรขาคณิตตามจินตนาการได้ ระดับ 2

-นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเรขาคณิตมาสร้างรูปเรขาคณิตตามจินตนาการได้ ระดับ 3
- นักเรียนให้รายละเอียดและบอกลักษณะของรูปที่สร้างได้
-นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเรขาคณิตมาสร้างรูปเรขาคณิตตามจินตนาการได้ ระดับ 4
- นักเรียนให้รายละเอียด บอกลักษณะของรูปที่สร้างและสามารถประยุกต์ใช้ได้

3. นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน


พฤติกรรม ระดับคะแนน
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 1
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความสนใจและมุ่งมั่นในการทำงาน ระดับ 2
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ระดับ 3
นักเรียนมีวินัย ใฝ่เรียนรู้มีความสนใจ มุ่งมั่นในการทำงานและปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน ระดับ 4

“ชุดกิจกรรมแทนแกรม”
57

3. การบริหารจัดการชั้นเรียน
58

คำชี้แจง : ด้านที่ 2 การบริหารการจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดกิจกรรมสิ่งอำนวยความสะดวก จัด


บรรยากาศ สภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความ
สุข และเป็นผู้เสริมแรง ชี้แนะแนวทางให้ผู้เรียนศึกษาแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ ปฏิบัติ และค้น
พบคำตอบด้วยตนเอง

ให้นักศึกษาจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนรู้ (ถ่ายภาพประกอบการ


จัดทำ)

ชื่อสกุล นางสาวนริศรา ลาละคร กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิชาคณิตศาสตร์


จัดสภาพแวดล้อมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1
(ภาพถ่ายสภาพแวดล้อมบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนรู้)
59

ส่วนที่ 2 แบบบันทึกกิจกรรม

กิจกรรมที่ 1 บันทึกสาระสำคัญ
60

คำชี้แจง : ให้นักศึกษาบันทึกสาระสำคัญที่ได้รับจากการปฐมนิเทศ ทั้งที่มหาวิทยาลัยและโรงเรียนฝึก


ประสบการณ์วิชาชีพครูตามลำดับหัวข้อเรื่องในแต่ละวันที่เข้ารับการปฐมนิเทศ เพื่อนำไปใช้ในการ
ปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานในหน้าที่ครูตอ่ ไป

วัน/เดือน/ปี หัวข้อเรื่อง/สาระสำคัญ วิทยากร

กิจกรรมที่ 2 บันทึกการศึกษาและสังเกตงานในหน้าที่ครูผู้สอน
คำชี้แจง : ให้นักศึกษาบันทึกงานในหน้าที่ของครูผู้สอนในช่วงเวลาต่าง ๆ แต่ละวันระหว่างการฝึกปฏิบัติ
วิชาชีพครูระหว่างเรียน 2
61

วัน เดือน ปี กิจกรรม / ภารกิจที่ปฏิบัติ ลายมือผู้รับรอง

วัน เดือน ปี กิจกรรม / ภารกิจที่ปฏิบัติ ลายมือผู้รับรอง


62

วัน เดือน ปี กิจกรรม / ภารกิจที่ปฏิบัติ ลายมือผู้รับรอง


63

กิจกรรมที่ 3 การศึกษาและสังเกตบุคลิกภาพของครู
64

คำชี้แจง : ให้นักศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสังเกตบุคลิกภาพของครูในโรงเรียนของตนเอง ในประเด็นต่อไป


นี้แล้วบันทึก สิ่งที่ได้รับจากการศึกษาสังเกตโดยมีความยาวประมาณ 1 หน้ากระดาษ A4

1. ความมีบุคลิกภาพภูมิฐานสมกับความเป็นครู
1.1 แต่งกายสะอาด เรียบร้อย ประณีต
1.2 สุขุม เยือกเย็น มีเหตุผล
1.3 มีปิยวาจา และรู้จักฟังผู้อื่น
1.4 ร่าเริงแจ่มใส
1.5 มีมารยาทดี
2. ความเป็นวิถีชีวิตแบบครู
2.1 ชอบศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาความรู้ของตน
2.2 ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา
2.2.1 รักษาสุขภาพกาย
2.2.2. รักษาสุขภาพจิต
2.2.3 ประหยัด เรียบร้อย มีวินัย
2.3 ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียน
2.4 ทำงานเป็นระบบ รู้จกั วางแผนและใช้ข้อมูล
3. ข้อสังเกตอื่น ๆ

ความคิดเห็นต่อบุคลิกภาพของครู

1. ความมีบุคลิกภาพภูมิฐานสมกับความเป็นครู
65

จากที่ข้าพเจ้าได้ศึกษาสังเกตบุคลิกภาพของครูในโรงเรียนพบว่า ท่านผู้อำนวยการโรงเรียน
คณะครูและบุคลากรทางการศึกษามีการแต่งกายสุภาพเรียบร้อยแต่งกายเหมาะสมถูกกาลเทศะ มีปิยวาจา
ไพเราะอ่อนหวาน ยิ้มแย้มแจ่มใสร่าเริง มีมนุษยสัมพันธ์มีมารยาทดีวางตัวดีและมีอิริยาบถที่ดีบุคลิกภาพทางอา
รมณืทดี่ ีควบคุมพฤติกรรมทางอารมณ์ อยู่รว่ มกันเป็นครอบครัวมีความเป็นผู้นำ มีน้ำใจให้ความช่วยเหลือคอยให้
คำแนะนำให้คำปรึกษา ให้ความร่วมมือกับผู้อื่น ชุมชนและสังคม มีทัศนคติทดี่ ีรว่ มแสดงความคิดเห็นและรับฟัง
เหตุผลของผู้อื่นอย่างมีเหตุผลมีความสามรถในการแก้ไขปัญหา มีการวางตัวที่เหมาะสม และเป็นแบบอย่างที่ดีให้
กับผู้อื่น
2. ความเป็นวิถีชีวิตแบบครู
จากที่ข้าพเจ้าได้ศึกษาสังเกตวิถีชีวติ แบบครู โดยสังเกตจากครูพี่เลี้ยงและครูท่านอื่นๆจะเห็นว่า
ครูมกี ารเตรียมตัวในด้านการสอนมีเทคนิคและวิธีการสอนที่ดี วิเคราะห์หลักสูตร จุดมุ่งหมายมีการเตรียมเนื้อหา
สื่อประกอบการเรียนการสอนและแบบวัดผลประเมินผลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์มีการวางแผนในการทำงาน
ทำงานอย่างเป็นระบบ มีการรักษาสุขภาพละออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ มีความประหยัดห่อข่าวมารับ
ประทานที่โรงเรียน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ตรงต่อเวลา มีวินัย มีจิตสาธารณะใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ทั้ง
ต่อนักเรียนและโรงเรียน มีการพัฒนาตนเอง ศึกษาหาความรู้อยู่สม่ำเสมอ
3. ข้อสังเกตอื่น ๆ
นอกจากหน้าที่ในการสอนของครูแล้ว ยังมีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในด้านต่างๆอีกด้วย ด้านการดูแลและช่วย
เหลือนักเรียนการเยี่ยมบ้าน การดูแลเรื่องสุขภาพและความปลอดภัยของของนักเรียน การไป-กลับโรงเรียนจะมี
ครูคอยรับและส่งที่หน้าประตูโรงเรียนทุกครั้งเพื่อคอยดูรถและช่วยนักเรียนข้ามถนน ดูแลเรื่องของอบายมุขใน
โรงเรียนโดยครูจะมีการตรวจให้กับนักเรียน 2 ครั้งเดือน งานด้านสหกรณ์และธนาคารโรงเรียนครูทำหน้าที่
จัดสรรงานวัสดุภายในสหกรณ์เพือ่ ให้ความสะดวกกับนักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา งานธนาคาร
โรงเรียนให้บิการทางด้านการรับฝากเงินและมีปันผลให้ระหว่างภาคเรียน ด้านการแข่งขันวิชาการและกีฬาครูมี
การคัดเลือกนักเรียนเพื่อเป็นตัวแทนไปแข่งวิชาการและกีฬาและมีการฝึกซ้อมให้กับนักเรียนที่เป็นตัวแทนเพื่อไป
แข่งขัน ด้านกิจกรรม ครูส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ เช่น การเลือกตั้งนายกและสภานักเรียน การอบรม การ
ปฐมนิเทศ

กิจกรรมที่ 4 การศึกษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
คำชี้แจง : ให้นักศึกษาสัมภาษณ์เด็กนักเรียนมา 1 คน แล้วบันทึกคำตอบลงในช่องว่างท้ายคำถามต่อไปนี้
66

ชื่อ เด็กหญิงฟ้าใส แก้วจีน (ฟ้าใส) อายุ 14 ปี


ชั้น มัธยมศึกษาปีที่1/1 โรงเรียน โรงเรียนเทศบาล 3 ชาญวิทยา
บิดาประกอบอาชีพ ก่อสร้าง มารดาประกอบอาชีพ ก่อสร้าง
มาโรงเรียนโดย บิดาคอยรับ – ส่งในการไป-กลับโรงเรียน
ได้ค่าขนมวันละ 50 บาท เพียงพอหรือไม่/เพราะอะไร เพียงพอเนื่องจาก แบ่งปันขนมร่วมกันกับเพื่อนและ
เหลือเงินกลับบ้านเพื่อหยอดกระปุกเพื่อเก็บออม
เรียนโปรแกรม (สำหรับนักเรียนมัธยม) -
ได้คะแนนสูงสุดในวิชา ศิลปะ
ผลการเรียนภาคเรียนที่แล้ว เกรดเฉลี่ยสะสม 3.50
สถานศึกษาของตนมีชื่อเสียงในด้าน ด้านวิชาการการแข่งขันโครงงาน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ดนตรี นาฏศิลป์
วงโยธวาทิต และด้านกีฬา
ภูมิใจในสถานศึกษาของตนหรือไม่/เพราะอะไร ภูมิใจ เพราะเป็นสถานที่เปรียบเสมือนบ้านหลังที่สอง อยู่กัน
เป็นครอบครัวรู้สึกอบอุ่น
อยากให้สถานศึกษาทำอะไร อยากให้มีกิจกรรมเสริมทางด้านความถนัดและอยากให้มีการเปิดสอนเพิ่มสอน
พิเศษ
เมื่อเรียนจบแล้วอยากเรียนต่อที่ไหน วิทยาลัยสารพัดช่าง
เมื่อเรียนจบแล้วอยากเป็นอะไร เปิดร้านทำขนมเบอเกอรี่ , เปิดร้านทำผมเสริมสวย
นักเรียนมีปัญหาอะไรอยากให้สถานศึกษาช่วยอย่างไร
- ช่วยในเรื่องการเรียนเนื่องจากเรียนไม่ค่อยทันเพื่อน
- ช่วยในเรื่องการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
- ช่วยในเรื่องของการแจ้งข่าวสารต่างๆ อยากให้มีการย้ำเตือนบ่อยๆ เนื่องจากชอบลืมบ่อย
สรุปการศึกษาและสังเกต
การศึกษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนให้ประโยชน์แก่ครู ดังนี้
1. ช่วยให้ครูรู้ถึงความเป็นอยู่ การใช้ชวี ิตประจำวันและได้ทำความรู้จักกับนักเรียนมากขึ้น
2. ได้รู้ถึงความถนัดด้านต่างๆของนักเรียน
3. ทำให้ครูได้ทราบถึงปัญหาและความต้องการของนักเรียน
4. ครูมีแนวทางในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดกับสิ่งที่นักเรียนต้องการ

กิจกรรมที่ 5 บันทึกสะท้อนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (AAR)

คำชี้แจง : ให้นักศึกษาเขียนบรรยายความรู้สึกของตนเองหลังจาก (ให้ตอบข้อละ 5 บรรทัดขึ้นไป)


67

1. ท่านได้เรียนรู้อะไร เรียนรู้อย่างไร
จากการฝึกประสบการณ์ (สังเกตการสอนและทดลองสอน) ในโรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) ทำให้ได้
เรียนรู้ในหลายๆด้าน ดังนี้
- ได้เรียนรู้หน้าที่และการปฏิบัติตนของครูทกุ ท่านทุกฝ่าย คือ การสอน การปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย เนื่องจากได้ติดตามสังเกตการณ์สอนครูพี่เลี้ยง ได้เรียนรูร้ ูปแบบและเทคนิคการสอนที่หลาก
หลายจากครูพี่เลี้ยงและครูท่านอื่น ๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในอนาคต
- ได้รับประสบการณ์จากการสังเกตการสอนจากคุณครูวิชา คณิตศาสตร์ ทำให้ได้เห็นวิธีจัดการเรียนการ
สอนที่ดีและเหมาะสม
- การปฏิบัติตนในโรงเรียนให้เป็นแบบอย่างแก่นักเรียน ดูแลความเรียบร้อยภายในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็น
การแต่งกายของนักเรียน กิจกรรมต่างๆภายในโรงเรียน อบรมสั่งสอนผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีความรับผิด
ชอบ มีระเบียบวินัย และมุ่งมั่นตั้งใจเรียน
- ได้เรียนรูก้ ารทำงานร่วมกับผู้อื่นภายในองค์กรเดียวกัน เรียนรู้วิธกี ารปฏิบัติตนกับเพื่อนร่วมงาน
ภายในองค์กร เพื่อนร่วมอาชีพ และเพื่อนร่วมการฝึกประสบการณ์
- ได้ฝึกความตรงต่อเวลาต่อตนเอง ต่อผู้อื่น ความมีระเบียบวินัย ได้ทำกิจกรรมจิตอาสา เช่น ช่วยงาน
ทางโรงเรียน ช่วยงานครูในโรงเรียน ช่วยทำความสะอาดโรงเรียน
- ได้เรียนรูก้ ารทำข้อสอบและการทำแบบฝึกหัด ภาระหน้าที่ของครูมีอะไรบ้าง
- ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานในแต่ละฝ่าย การประสานงานกับฝ่ายต่างๆ
2. ก่อนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 และหลังการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 ท่านมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างไร ยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย
ก่อนการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู ยังไม่รู้หน้าที่ทตี่ ้องทำในโรงเรียน ยังไม่ทราบเกี่ยวกับการวางตัวที่ดี ไม่รู้วา่
ต้องทำอะไรบ้าง ครูต้องมีหน้าที่อะไรบ้าง มีการทำงานอย่างไรในแต่ละวันครูทำอะไรบ้าง ยังไม่รู้เกี่ยว
กับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ต้องปฏิบัติตน อย่างไร
หลังการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู ทำให้รู้ถึงการวางตัวทีด่ ี การทำงานอย่างเป็นระบบเป็นขั้นตอน ได้รู้จัก
หน้าที่ของครูโดยไม่ได้มีหน้าที่เพียงสอนอย่างเดียว การทำงานร่วมกับผู้อื่น การจัดการเรียนรู้และการ
ควบคุมชั้นเรียน
หลังการฝึกมีการเปลี่ยนแปลงด้านการตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และการ
บริหารเวลาได้ดียิ่งขึ้น การฝึกการมีจิตอาสาโดยไม่ต้องการผลตอบแทนใดๆ และการได้รับประสบการณ์
ใหม่จาก เพื่อนต่างสาขาและเพื่อนร่วมสาขา ซึ่งทำให้ขทำงานคล่องแคล่วขึ้น รู้จกั การวางแผนก่อน
ลงมือทำงาน อย่างรอบคอบ การได้รับมิตรภาพดีๆจากครูที่โรงเรียน และเพื่อนร่วมฝึกประสบการณ์
ทำให้ข้าพเจ้ามีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ ีมากขึ้น
3. ท่านจะนำองค์ความรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 ไปประยุกต์ใช้อย่างไร ยกตัวอย่าง
ประกอบการอธิบาย
- รูปแบบการจัดเรียนการสอน เทคนิคในการสอน มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จัดทำสื่อการเรียนการสอน
และการเตรียมตัวก่อนเข้าสอน
68

- การทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้เรียนรูท้ ักษะในการทำงาน และการทำงานร่วมกับผู้อื่น ต้องมีความละเอียดความ


รอบคอบในการทำงาน ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- การปฎิบัติตนการวางตัว การปฎิบัติตนในสถานศึกษาในฐานะครูคนหนึ่ง แต่งกายเรียบร้อย ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยา
เสพติด และเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่นได้
- หลักการในการจัดการเรียนการสอน หลักการสอนที่มกี ารนำเข้าสู่บทเรียนก่อนเข้าสู่เนื้อหา และมีการให้
นักเรียนดู คลิปวิดีโอการสอนในยูทูป มีการให้นักเรียนซักถามและปรึกษากันภายในห้องเรียน

ลงชื่อ ………………………….….……………… ผู้บันทึก


(…………..……..…………………………)
วันที่…………./…..………/……...…

กิจกรรมที่ 6 บันทึกสรุปการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คำชี้แจง : นักศึกษาจะต้องบันทึกสรุปผลที่ได้รับจากการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 ให้เสร็จเรียบร้อย
หลังสิ้นสุดการฝึก 1 สัปดาห์
1. ประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 มีดังนี้
69

ประสบการณ์การสอน เทคนิคในการสอน รูปแบบในการจัดการเรียนการสอน การทำแผนการเรียนรู้การทำสื่อ


ประกอบการสอน การควบคุมชั้นเรียน
ประสบการณ์ทางด้านการทำงาน ด้านเรียนรู้งานจากฝ่ายวิชาการในเรื่องของการจำทำระเบียนของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
ประสบการณ์เกี่ยวกับการ

2. อุปสรรคของการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 2 มีดังนี้
1. เพื่อนนักศึกษา ในส่วนของทางด้านการร่วมงานกัน อาจจะมีปัญหาในด้านของการแสดงความคิด
เห็นเนื่องจากบางคนอาจมีความคิดเห็นยังไม่ตรงกันจึงทำให้เกิดปัญหาขึ้น
2. นักเรียน ไม่มีสมาธิในการเรียน อาจจะมีการพูดคุยกันและหยอกล้อกันภายในชั้นเรียนบ้าง การส่ง
งานช้าเกินกำหนด
3. อาจารย์พี่เลี้ยง
ด้านของการณืเข้าสังเกตการสอน ในบางครั้ง อาจจะไม่ได้เข้าสังเกตการณ์ เนื่องจากต้องจัดทำแผนการ
จัดการเรียนการสอน และสื่อประกอบการสอน
4. อาจารย์นิเทศทั่วไป
ในเรื่องของด้านเวลา อาจจยังมีเวลาที่ไม่ตรงกัน
5. อื่น ๆ

3. ข้อเสนอแนะ
อาจจะเพิ่มเวลาในการออกมาสังเกตการณ์และทดลองสอนเพื่อจะได้มีเวลาในการเรียนรู้งานด้านอื่นๆอีก
70

ส่วนที่ 3 ข้อมูลการนิเทศ
71

แบบบันทึกการนิเทศ
คำชี้แจงให้นักศึกษาเสนอให้ครูนิเทศโรงเรียน / ครูพี่เลี้ยง / อาจารย์นิเทศประจำหลักสูตร /อาจารย์นิเทศกลุ่ม
วิชาชีพครู บันทึกการนิเทศนักศึกษาในสถานศึกษาฝึกประสบการณ์

วัน เดือน ปี ข้อเสนอแนะในการนิเทศ ลงชื่อผู้นิเทศ


72

แบบบันทึกหลังรับการนิเทศ

ชื่อครูพี่เลี้ยง / อาจารย์นิเทศก์ ...............................................................................................................................


ครั้งที่ .......................... วันที่ ................................ เดือน ................................................. พ.ศ .............................

1. ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยงหรืออาจารย์นิเทศก์ที่ได้รับ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. คำถามหรือข้อสงสัยที่นักศึกษาได้เรียนถามครูพี่เลี้ยงหรืออาจารย์นิเทศก์
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. ข้อสงสัย ความไม่ชดั เจนหรือประเด็นอื่น ๆ ที่นักศึกษามีตอ่ ผลการประเมินในรายข้อต่าง ๆ ในแบบประเมิน


ต่าง ๆ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ความรู้สึกที่เกิดขึ้นภายหลังได้รับการประเมิน (ทั้งความรู้สึกทางบวกและทาง
ลบ) .........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
........

5. แนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะที่ได้รับ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
73

(ลงชื่อ) .......................................ผู้บันทึก (ลงชื่อ) ........................................ ผู้นิเทศ


(.....................................) (.......................................)

บันทึกความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา

ความเห็นของหัวหน้าหมวด/หัวหน้าระดับชั้น
 การฝึกปฏิบัติงานในหน้าที่ครู เป็นที่เรียบร้อย
 การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ยังต้องปรับปรุงแก้ไขบางประการ ดังนี้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ..............................................................
(...........................................................)
วันที่................/..................../.................

ความเห็นของรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
 เห็นด้วยตามที่เสนอ และไม่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
 เห็นด้วยตามที่เสนอ แต่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ..............................................................
(...........................................................)
วันที่................/..................../.................

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
 ทราบแล้ว และเห็นด้วยตามที่เสนอ
 ทราบแล้ว แต่มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
74

ลงชื่อ ..............................................................
(...........................................................)
วันที่................/..................../.................

ภาคผนวก
(ประมวลภาพถ่ายกิจกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง)
75

แจ้งข่าวสารการเปิดเรียน โรงเรียนเทศบาล 3 (ชาญวิทยา) ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2565


ทำการเปิดการเรียนการสอนในวันอังคารที่ 17 พฤษภาคม 2565 โดยจัดการเรียนการสอนตามปกติที่โรงเรียน
(on site) และแจ้งเกี่ยวกับมาตรการในการเปิดเรียนภายใต้สถานการณ์ covid - 19
76

ตารางสอนครูพี่เลี้ยง นางสาวประวิง สุขเมือง

ตาราง
สอน

นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูชั้นปีที่ 3 นางสาวนริศรา ลาละคร

ภาพถ่ายกิจกรรม : จรรยาบรรณต่อตนเอง พัฒนาตนเอง มีวินัยในตนเอง มีบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ดี


(ประมวลภาพถ่ายกิจกรรม)
77

เข้ารับฟังการนิเทศจากผู้อำนวยการโรงเรียน แนะนำสถานที่ ครูพี่เลี้ยงและกฎระเบียบข้อปฏิบัติภายในโรงเรียน

แนะนำตัวเอง ชั้นปี สาขาวิชา และระดับชั้นที่ปฏิบัติ


งาน
แต่งกาย
สุภาพ

เรียบร้อยและถูกระเบียบ

ยืนรอรับนักเรียนในตอนเช้าหน้าโรงเรียนและ
อำนวยความสะดวกในเรื่องของการข้ามถนน และการตรวจวัดอุณภูมิ ล้างมือทุกครั้ง ได้ฝึกเกี่ยวกับการตรงต่อ
เวลา มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

ภาพถ่ายกิจกรรม : จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ มีความรัก


ความศรัทธาและความรับผิดชอบในการประกอบ
วิชาชีพ(ประมวลภาพถ่ายกิจกรรม)
78

เข้า
สอน
และ

สังเกตการณ์สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 1/1 ,1/2 , 1/3 , 1/4 และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 1/1 เข้าสอนโดยนักศึกษาฝึกประสบการณ์ชั้นปีที่3 นางสาวนริศรา ลาละคร
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 1/2 ,1/3 และ 1/4 เข้าสังเกตการณ์สอนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ชั้นปีที่4
นางสาวกฤติกานต์ คำสุข
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 2/1 เข้าสังเกตการณ์สอนของครูพี่เลี้ยง นางสาวประวิง สุขเมือง

ภาพถ่ายกิจกรรม : จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริการ ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะ ให้กำลังใจ และเป็นแบบอย่าง


ที่ดี ให้บริการอย่างเต็มใจ
79

(ประมวลภาพถ่ายกิจกรรม)

ให้ความ
ช่วยเหลืออำนวยความสะดวกให้กับนักเรียนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน

เข้าร่วม
กิจกรรมการปฐมนิเทศก์นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 และ 4 เรื่อง กฎระเบียบในโรงเรียน มารยาทใน
การไหว้ การแต่งกายและแนะนำครูประจำชั้น โดยฝ่ายวิชาการและฝ่ายปกครอง

ให้บริการในเรื่องของการรับนักเรียนในทุกระดับชั้นเพื่อแยกเข้า
ชุมนุมตามทีต่ นเองสนใจและถนัด
80

ภาพถ่ายกิจกรรม : จรรยาบรรณต่อผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีในหมู่คณะ


(ประมวลภาพถ่ายกิจกรรม)

เข้าร่วมรับฟังและประชุมคณะครูหัวหน้ากลุ่มสาระเรื่องการ
ใช้ตารางเรียนในภาคเรียนที่1 ประจำปีการศึกษา 2565
และการแก้ 0 ร มส. ของนักเรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปี
ที่2 ,3,4,5 และ 6

ช่วยจัดทำใบระเบียนทางการเรียน ปพ.1 ไว้ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ประจำปีการศึกษา 2564


81

ภาพถ่ายกิจกรรม : จรรยาบรรณต่อสังคม ปฎิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อรักษาผล


ประโยชน์ส่วนรวม
(ประมวลภาพถ่ายกิจกรรม)

เข้าร่วมรับฟังคำชี้แจงเกี่ยวกับ การปฏิบัติตนในโรงเรียน กฎระเบียบข้อบังคับ ในการปฐมนิเทศก์ชั้นมัธยมศึกษา


ปีที่1 และ 4

จัดทำแฟ้มเอกสารเกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนและการมอบตัวนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
82

เพิ่มเติม รูปตัวอย่างผลงานนักเรียน
ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ใบงานเรื่อง การบวกจำนวนเต็ม

การสร้างรูปตามจินตนาการจากชุกิจกรรมแทนแกรม เรื่องรูปเรขาคณิต
83

กิจกรรมฝึกสมาธิก่อนเรียน สูตรคูณแสนสนุก

กิจกรรมสูตรคูณปริศนา

You might also like