You are on page 1of 34

STEM

Education
โรงเรียนบ้านโพหวาย
สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1
หัวข้อการนำเสนอ
01. การเข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน

02. การเรียนรู้จาการเข้าร่วม Workshop การทำ Online PLC Coaching


การทำวง PLC ของโรงเรียน

03. การนำหลักสูตรไปใช้ในห้องเรียนวางแผนไปใช้อย่างไร มีการปรับเปลี่ยน


หลักสูตรอย่างไร ที่ทำให้ทำได้สำเร็จได้ในชั้นเรียน

04. ปัจจัยที่ทำให้ทำงานสำเร็จ

05. วางแผนต่อยอดในอนาคตที่ทำให้เครื่องมือได้ใช้ประโยชน์ เต็มที่และทั่วถึง


การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

โรงเรียนบ้านโพหวายได้รับการคัดเลือก จากสพป.สุราษฎร์ธานี
เขต 1 เป็นศูนย์ฝึกอบรม สพฐ.161
ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนบ้านโพหวายได้รับการอบรมให้เป็นครูพี่เลี้ยง จาก
สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 จำนวน 3 รุ่น ดังนี้
ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ตามล่าหาสมบัติ)
วันที่ 17 – 19 มีนาคม 2561
ระดับประถมศึกษาตอนปลาย (เมืองจำลองในฝัน)
วันที่ 24 – 26 มีนาคม 2561
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ( เลี้ยงขนฟูให้ดูดี)
วันที่ 31 มี.ค. – 2 เมษายน 2561
การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนบ้านโพหวายเป็นแกนนำฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ด้วยระบบทางไกล จำนวน 3 ระดับ คือ
มัธยมศึกษาตอนต้น ( เลี้ยงขนฟูให้ดูดี)
วันที่ 5 – 7 พฤษภาคม 2561
ประถมศึกษาตอนปลาย (เมืองจำลองในฝัน)
วันที่ 19 – 21 พฤษภาคม 25611
ประถมศึกษาตอนต้น (ตามล่าหาสมบัติ)
วันที่ 26 – 28 พฤษภาคม 2561
การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนบ้านโพหวายได้รับการอบรมให้เป็นครูพี่เลี้ยง จาก
สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 จำนวน 3 รุ่น ดังนี้
ประถมศึกษาตอนต้น (หนูหนูกับZOOใหม่)
วันที่ 28 - 30 มีนาคม 2562
มัธยมศึกษาตอนต้น ( ขนส่งทันใจลื่นไถลไม่กลัว)
วันที่ 4 – 6 เมษายน 2562
ประถมศึกษาตอนปลาย (เก็บดาวมาฝากเธอ)
วันที่ 19 – 21 เมษายน 2562
การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนบ้านโพหวายได้รับการอบรมให้เป็นครูพี่เลี้ยง จาก
สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 จำนวน 3 รุ่น ดังนี้
ประถมศึกษาตอนต้น (หนูหนูกับZOOใหม่)
วันที่ 28 - 30 มีนาคม 2562
มัธยมศึกษาตอนต้น ( ขนส่งทันใจลื่นไถลไม่กลัว)
วันที่ 4 – 6 เมษายน 2562
ประถมศึกษาตอนปลาย (เก็บดาวมาฝากเธอ)
วันที่ 19 – 21 เมษายน 2562
การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนบ้านโพหวายได้รับการอบรมให้เป็นครูพี่เลี้ยง จาก
สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1 จำนวน 3 รุ่น ดังนี้
ประถมศึกษาตอนต้น (เฮฮาป่าใหญ่)
วันที่ 26 – 29มีนาคม 2563
มัธยมศึกษาตอนต้น ( ความร้อนรอบตัว)
วันที่ 20 เมษายน – 3 พฤษภาคม 2563
ประถมศึกษาตอนปลาย (ท่องไปในระบบสุริยะ)
วันที่ 8 – 11 พฤษภาคม 2563

การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนบ้านโพหวายเป็นแกนนำฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ด้วยระบบทางไกล จำนวน 3 ระดับ คือ
มัธยมศึกษาตอนต้น ( ความร้อนรอบตัว)
วันที่ 8 – 10 มีนาคม 2563
ระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ท่องไปในระบบสุริยะ)
วันที่ 12 – 14 มีนาคม 2563
ระดับประถมศึกษาตอนต้น (เฮฮาป่าใหญ่)
วันที่ 15 - 17 มีนาคม 2563
การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2564

ครูพัฒนาโดยการอบรมออนไลน์
เกี่ยวกับสะเต็มด้วยตนเอง
การเข้าร่วมกิจกรรม
01. ตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน (ต่อ)

ปีการศึกษา 2565
การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาวิชาชีพครู ผ่านการ
หนุนนำอย่างต่อเนื่อง และการสร้างชุมชนการเรียนรู้
เพื่อวิชาชีพครู ตามโครงการพัฒนาและส่งเสริมการ
จัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
02. การเรียนรู้การเข้าร่วม Workshop การทำ Online PLC
Coaching การทำวง PLC ของโรงเรียน

ปีการศึกษา 2565
อบรมครูออนไลน์ กิจกรรมที่ 2 การพัฒนา
และส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มด้วย
เทคโนโลยีดิจิทัล
02. การเรียนรู้การเข้าร่วม Workshop การทำ Online PLC
Coaching การทำวง PLC ของโรงเรียน
Director (ผู้บริหารสถานศึกษา)
ผู้บริหารสถานศึกษา ทำหน้าที่ Coaching ครูผู้สอน
Supervisor (ศึกษานิเทศก์)
ศึกษานิเทศก์ ให้การ Coaching แก่ผู้บริหาร
โรงเรียนและให้การ Coaching & Mentoring
แก่ครูผู้สอน
Teacher (ครูผู้สอน)
ครู ได้รับการ training โดยให้กลุ่มครูร่วมคิด
วางแผนการสอน ร่วมสังเกต สาธิต สะท้อนและช่วย
ปรับปรุงซึ่งกันและกัน โดยมีศึกษานิเทศก์ ผู้บริหาร
คอยดูแลเป็นระยะจนบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้และร่วม
กันศึกษาชั้นเรียน (Lession Study)
P = Plan
การกำหนดเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนและ
สถานศึกษา ด้วยกระบวนการต่างๆ เพื่อให้ได้
ผลลัพธ์ตามต้องการ
H = Happy
ครูและบุคลากรทุกคนทำงานร่วมกันอย่างมี
ความสุขและสนุกกับงาน ด้วยความสามัคคีมีน้ำหนึ่ง
ใจเดียวกัน
O = Organization chart
การมอบหมายงานให้ตามสายงานและความ
สามารถของคณะครูและบุคลากร
W = We
เราที่ทำงานร่วมกันระหว่างบ้าน โรงเรียน
เขตพื้นที่การศึกษา และหน่วยงานภายนอก
เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่เป้าหมาย
A = Act
การปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนวิธีการหรือ
ทรัพยากรบางอย่างเพื่อทำให้ผลลัพธ์กลับมาอยู่ใน
แผนงานหรือเส้นทางสู่เป้าหมายตามระยะเวลาที่
กำหนดไว้ในครั้งแรก ผ่านการนิเทศก์ ติดตาม
และประเมินผล
I = Interpersonal – Relationship
การสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีให้เกิดในองค์กร ด้วย
การเสริมแรง สนับสนุนงบประมาณ และการสร้าง
แรงจูงใจให้แก่ครูและบุคลากร
Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนแห่งการเรียนรู้
02. การเรียนรู้การเข้าร่วม Workshop การทำ Online PLC
Coaching การทำวง PLC ของโรงเรียน
ประเด็นปัญหาที่ร่วมกับทีมกำหนดให้นำสู่การหาวิธีการแก้ไข
วงรอบที่ 1

สิ่งที่เป็นปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
การที่นักเรียนบ้างกลุ่มยังไม่เข้าใจการทำงานของอุปกรณ์ Ipad นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติได้
คล่องแคล่ว

วิธีการแก้ปัญหาที่นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดผลอย่างไร
- นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากขึ้น
- นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน เกิดการเรียนรู้มากขึ้น

นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในครั้งนี้จำนวนกี่คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 บรรลุตามวัตถุประสงค์ในครั้งนี้ทุกคน
จำนวนนักเรียน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 80
วงรอบที่ 2

สิ่งที่เป็นปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
- อุปกรณ์ Ipad ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน

วิธีการแก้ปัญหาที่นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดผลอย่างไร
- ให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่มโดยแบ่งเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในครั้งนี้จำนวนกี่คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 บรรลุตามวัตถุประสงค์ในครั้งนี้ทุกคน จำนวนนักเรียน 21 คน
มีส่วนร่วมในการใช้ Ipad คิดเป็นร้อยละ 100
วงรอบที่ 3

สิ่งที่เป็นปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งนี้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
- นักเรียนบางกลุ่มที่ทำงานร่วมกัน ขาดทักษะการใช้งาน ทำงานทำงานล่าช้า ไม่ทันในชั่วโมง
กิจกรรม

วิธีการแก้ปัญหาที่นำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดผลอย่างไร
- ให้นักเรียนเปลี่ยนกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มจะมีนักเรียนที่มีความสามารถในการใช้ Application
ต่าง ๆ ใน Ipad

นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในครั้งนี้จำนวนกี่คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 ปฏิบัติกิกรรมเสร็จในชั่วโมงทุกกลุ่ม
คิดเป็นร้อยละ 100
คุณภาพผู้เรียน
03. การนำหลักสูตรไปใช้ในห้องเรียนวางแผนไปใช้อย่างไร มีการปรับ
เปลี่ยนหลักสูตรอย่างไร ที่ทำให้ทำได้สำเร็จได้ในชั้นเรียน
มีการประชุมวางแผนร่วมกับหัวหน้าวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวหน้ากลุ่มสาระ
คณิตศาสตร์และครูผู้สอนที่รับผิดชอบในระดับชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 4 ในการวิเคราะห์หลักสูตร ปรับหน่วยการเรียนรู้ และบูรณา
การกับแผนการเรียนรู้ในรายวิชาในแต่ละสาระวิชา

สอนตามแผนการจัดการเรียนรู้และนำผลการสอนมาวิเคราะห์
โดยผ่านกระบวนการ PLC

นิเทศก์ติดตามผลและนำคำแนะนำมาใช้ปรับปรุงในการ
พัฒนาการเรียนรู้ครั้งต่อไป

นำผลจากการ PLCและคำแนะนำจากการนิเทศก์ติดตามมาใช้
ปรับปรุงในการพัฒนาการเรียนรู้ครั้งต่อไป
04. ปัจจัยที่ทำให้ทำงานสำเร็จ

ผู้บริหารให้ความสำคัญกับโครงการโดยให้ครูเข้าร่วมการอบรมอย่างเต็มเวลาโดยมี
ครูเทคโนโลยีเป็นพี่เลี้ยงตลอดการอบรม

ผู้บริหารเข้านิเทศให้กำลังใจครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ

ครูทำงานกันเป็นทีม มีการร่วมกันแก้ปัญหาโดยการ PLC

โรงเรียนได้ใช้ DST PHOWAI Model เป็นแนวทางในการขับเคลื่อน


ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
05. วางแผนต่อยอดในอนาคตที่ทำให้เครื่องมือได้ใช้ประโยชน์ เต็มที่และทั่วถึง

มีการขยายผลไปยังกลุ่มสาระอื่น ๆ และระดับชั้นอื่น ๆ โดยมีการจัดอบรมในเรื่อง


วิธีการใช้งาน IPAD และอุปกรณ์ต่อพ่วง การสร้างสื่อการสอนด้วย IPAD

พัฒนาห้อง STEM ให้มีอุปกรณ์ที่เพียงพอและนักเรียนทุกชั้นเรียนสามารถมาเข้าใช้งาน


อุปกรณ์ IPAD ได้

เปิดห้อง STEM ให้นักเรียนสามารถเข้าไปใช้งานค้นหาความรู้จาก


อินเทอร์เน็ต หรือใช้ App ต่าง ๆ เพื่อเรียนรู้
ผู้จัดทำ

นายภาณุพงศ์ เพชรกูล
นางสาวกรรณิการ์ ทองจันทร์
นางสาวโสรยา บัวจันทร์
รองผู้อำนวยการโรงเรียน
ครูโรงเรียนบ้านโพหวาย ครูโรงเรียนบ้านโพหวาย
THANK
YOU
Contact :
www.banphowai.ac.th
1136/41 ม.5 ต.บางกุ้ง อ.เมืองฯ
จ.สุราษฎร์ธานี 84000

You might also like