You are on page 1of 55

การอบรมเชิงปฏิบัติการ

ความปลอดภัยในการใช้ห้องปฏิบัติการ คณะอุตสาหกรรมเกษตร

ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ฉวีวรรณ มลิวัลย์
นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ
คณะอุตสาหกรรมเกษตร
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

หัวข้อหลัก

- จุลินทรีย์
- สถานที่(ห้องปฏิบัติการ)
- วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี อาหารเลี้ยงเชื้อ
- เครื่องมือ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

จุลินทรีย์
 แบคทีเรีย
 ยีสต์
 รา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

แบคทีเรีย
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

 Salmonella
 Staphylococcus aureus
 Listeria
 E. coli 0157
 Coliforms
 E. coli
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ยีสต์
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
เชื้อรา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ระดับความเสี่ยงของเชื้อจุลินทรีย์
เชื้อจุลินทรีย์ถูกจัดอันดับความเสี่ยงต่อการทำให้เกิดโรคออกเป็ น 4 กลุ่ม (ตามคำ
แนะนำขององค์การอนามัยโลก)

กลุ่มเสี่ยงที่ 1
- เชื้อที่ไม่เป็นอันตราย หรือเป็นอันตรายน้อย ไม่ก่อโรคในคน
และสัตว์
- ไม่มีหรือมีความเสี่ยงต่ำต่อมนุษย์และชุมชน
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

กลุ่มเสี่ยงที่ 2
- เชื้อที่เป็นอันตรายปานกลางต่อคนและสิ่งแวดล้อม ก่อโรคในคนและ
สัตว์
- ไม่เป็นอันตรายต่อบุคลากรในห้องปฏิบัติการ หรือสิ่งแวดล้อม
- มีวิธีรักษาหรือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ และมีความเสี่ยงต่ำในการ
แพร่กระจายของเชื้อ เช่น Salmonella spp. Escherichia coli
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

กลุ่มเสี่ยงที่ 3
- ก่อโรครุนแรงในคนและสัตว์ เป็นอันตรายแก่ชีวิตได้
- เชื้อไม่แพร่กระจายจากคนที่ติดเชื้อไปสู่คนอื่นโดยตรง
- มีวิธีรักษาหรือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ เช่น ไข้
หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

กลุ่มเสี่ยงที่ 4
- ก่อโรครุนแรงในคนและสัตว์ เป็นอันตรายแก่ชีวิตได้
- เชื้อแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง ทั้งทางตรงและทาง
อ้อม
- ยังไม่มีวิธีการป้องกันและรักษาโรคที่มีประสิทธิภาพ เช่น HIV
ไข้หวัดนก ไวรัสอีโบล่า
- ต้องมีวิธีการจัดการความปลอดภัยอย่างเข้มงวด
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพแบ่งออกเป็น 4 ระดับ
ห้องปฏิบัติการปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 1
- เหมาะสำหรับเป็นห้องปฏิบัติการหรือการเรียนการสอน
ระดับมัธยม หรือปริญญาตรี
- ใช้ปฏิบัติกับจุลินทรีย์ระดับความเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงที่ 1
- ไม่ต้องการเครื่องมือพิเศษ
- ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติมาตรฐานทางด้านจุลชีววิทยา
- ไม่มีข้อปฏิบัติพิเศษ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

ห้องปฏิบัติการปลอดภัยทางชีวภาพ

ห้องปฏิบัติการปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 2
- ใช้กับเชื้อที่มีศักยภาพในการทำให้เกิดโรคติดต่อต่อบุคลากรในห้อง
ปฏิบัติการและสิ่งแวดล้อม
- ใช้ปฏิบัติการกับจุลินทรีย์ระดับความเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงที่ 2
- ต้องทำในตู้ปลอดภัยทางชีวภาพคลาส 2
- ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติมาตรฐานทางด้านจุลชีววิทยา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

- มีข้อปฏิบัติพิเศษ เช่น จำกัดการเข้าออก มีวิธีลดการปน


เปื้อน มีการติดป้ายสัญลักษณ์ชีวภัยสากล เฝ้าระวังสุขภาพ
และมีการให้วัคซีน
- มีที่ล้างตา (eye wash station)
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

ห้องปฏิบัติการปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 3
- ใช้ปฏิบัติงานกับเชื้อ กลุ่มเสี่ยงที่ 3
: เชื้อก่อโรคที่เป็นอันตรายร้ายแรงถึงแก่ชีวิต
- ทุกขั้นตอนในการปฏิบัติงานต้องทำในตู้ปลอดภัยทางชีวภาพคลาส
3
- ใช้กับงานที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ การเรียนการสอน การวิจัย
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

- ผู้ปฏิบัติงานต้องได้รับการฝึกฝนในการปฏิบัติกับเชื้อโรคเป็น
พิเศษ
- ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติมาตรฐานด้านจุลชีววิทยา
- มีข้อปฏิบัติพิเศษ เพิ่มจากระดับ 2 เช่น มีการควบคุมการเข้า
ออก มีวิธีการใส่-ถอดชุดป้องกันส่วนบุคคล(PPE) มีวีธีการ
ปฏิบัติสำหรับกรณีเกิดฉุกเฉิน มีประตูทางเข้า 2 ชั้น มีทิศทางการ
ไหลเวียนของอากาศ เป็นแบบทิศทางเดียวกัน
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

ห้องปฏิบัติการปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 4
- ใช้ปฏิบัติงานกับเชื้อ กลุ่มเสี่ยงที่ 4
: เชื้อก่อโรคที่เป็นอันตรายร้ายแรงสูงมาก
- มีข้อปฏิบัติพิเศษ เพิ่มจากระดับ 3 เช่น ต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้า
ห้องปฏิบัติการ ต้องอาบน้ำก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ ต้องผ่านการ
ฝึกอบรมอย่างเข้มงวด มีเครื่องมือพิเศษ ระบบล๊อค 2 ชั้น และแต่ง
กายชุดพิเศษ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

** เครื่องหมายเตือนอันตรายทางชีวภาพ จะต้องถูกติดไว้ที่ประตูห้อง
ปฏิบัติการที่มีการทดลองเชื้อตั้งแต่กลุ่มเสี่ยงระดับที่ 2 ขึ้นไป
ห้องปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 1 และ
2

ระดับ 1 ระดับ 2
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี อาหารเลี้ยงเชื้อ
 วัสดุ อุปกรณ์ ( Forcep loop Needle Pipette มีด กรรไกร
ตะเกียงแก๊ส)
 สารเคมี (แอลกอฮอล์ สารย้อมแกรม สารทดสอบชีวเคมี)
 อาหารเลี้ยงเชื้อ (SCB, XLD, VRB, BP เป็นต้น)
- ผง (ฝุ่น) เม็ด
- กลิ่น
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
วัสดุ อุปกรณ์
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

สไลด์แช่น้ำยาฆ่าเชื้อ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
วัสดุ อุปกรณ์
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา


ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
การจัดวางวัสดุ อุปกรณ์


ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

☑ ☒
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
การใช้อุปกรณ์ :Loop
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
กรณีแอกอฮอล์ลุกติดไฟ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
อาหารเลี้ยงเชื้อ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
อาหารเลี้ยงเชื้อ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
HEALTH AND
SAFETY

 Selenite

- LIVER
- KIDNEYS
- CENTRAL NERVE SYSTEM
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
HEALTH AND SAFETY

 LITHIUM CHLORIDE

- INHALATION MUCOUS IRRITATION

- SKIN IRRITATION
- EYE CONTACT IRRITATION
- CONSUMPTION VOMITING, DIARRHOAE -
INTAKE OF HEART FAILURE
- TOXIC DOSE
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
HEALTH AND SAFETY

•Salmonella
Sodium XLD Agar
- •Coliforms
Deoxy VRB Agar •Entero -
cholate -
VRBD Agar bacteriaceae
เครื่องมือ ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

- เครื่องชั่ง
- pH meter
- Water bath
- Stomacher
- Incubator
- Hot air oven
- Autoclave
- ตู้เขี่ยเชื้อ (Laminar air flow)
- กล้องจุลทรรศน์
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
เครื่องมือ

ตู้บ่มเชื้อ เครื่องตีเจือจางตัวอย่าง
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

ตู้เขี่ยเชื้อ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
หลักการป้ องกันไม่ให้มีการปนเปื้ อน

- คอยดูแลรักษาไม่ให้ห้องปฏิบัติการเป็นแหล่งสะสมเชื้อจุลินทรีย์
ต้องช่วยกันรักษาความสะอาดอยู่เสมอ
- ผู้ปฏิบัติต้องเรียนรู้และฝึกเทคนิคปลอดเชื้อ (Aseptic Technique)
จนสามารถปฏิบัติงานได้คล่อง
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
หลักการป้ องกันไม่ให้มีการปนเปื้ อน

- ขณะทำการทดลองต้องปิดพัดลม หน้าต่าง เพื่อป้องกันกระแสลมที่จะ


ทำให้เกิดการปนเปื้อนได้
- การป้องกันการปนเปื้อนระหว่างการบ่มเชื้อ อาจจะเกิดจากมด แมลง
: ป้องกันโดยใช้ถ้วยรองขาตู้ ซึ่งมีน้ำหล่อ เพื่อป้องกันมด หรือใช้ชอล์ก
ขีดล้อมรอบบริเวณที่บ่มเชื้อ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
หลักการป้ องกันไม่ให้มีการปนเปื้ อน

- เมื่อเสร็จการทดลองแล้วต้องหมั่นทำความสะอาดภาชนะที่มี การปน
เปื้อนเชื้ออยู่ให้ เร็วที่สุด
- จานเพาะเชื้อจะต้องมีฝาครอบ หลอดหรือขวดเพาะเชื้อจะต้องมีจุก
อุดตลอดเวลา ถึงแม้ว่าการทดลองจะสิ้นสุดแล้ว ป้องกันแมลง เช่นแมลง
หวี่
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
หลักการห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา

- ก่อนจะล้างทำความสะอาดภาชนะจะต้องทำลายจุลินทรีย์ทั้งหมด
โดยนำเข้าหม้อนึ่งฆ่าเชื้อก่อนทุกครั้ง หรือใช้วิธีการต้มให้เดือดอย่าง
น้อย 30 นาที
- ปิเปตที่ใช้แล้วให้เก็บแช่ในถังใส่น้ำยาฆ่าเชื้อ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ข้อปฏิบัติก่อนทำปฏิบัติการ
1. ศึกษาถึงวิธีการทดลองให้เข้าใจ
2. ศึกษาทำความเข้าใจอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ให้ถูกต้อง
3. วางแผนในการทำปฏิบัติการให้ดี
4. ล้างมือด้วยน้ำสบู่ และน้ำจนสะอาด
5. เช็ดบริเวณพื้นที่ที่จะทำปฏิบัติการด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
6. จัดวางอุปกรณ์ เครื่องแก้วให้เรียบร้อย
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

ข้อปฏิบัติก่อนทำปฏิบัติการ

7. ระบุชื่อจุลินทรีย์ให้ชัดเจน
8. ตรวจสอบว่ามีอาการป่วย บาดแผล
9. ไม่นำสิ่งของที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในห้องปฏิบัติการ
10. สวมเสื้อกาวน์ทุกครั้ง (ป้องกันเชื้อ, สีย้อมเชื้อ)
11. แต่งตัวให้สุภาพเรียบร้อย (เสื้อผ้า, รองเท้า)
12. นศ.ที่ผมยาวต้องรวบผมให้เรียบร้อย
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

1. ทุกครั้งที่ทำปฏิบัติการต้องใช้เทคนิคการปลอดเชื้อ
2. ใช้ผ้าปิดจมูกและสวมถุงมือทุกครั้ง เมื่อเตรียมสารเคมี อาหารเลี้ยง
เชื้อ
3. ระมัดระวังในการใช้ของแหลม หรือของมีคมเป็นพิเศษ เช่น ไซริงค์
สไลด์ ปิเปต เป็นต้น
4. การดูดสารละลาย ห้ามใช้ปากในการดูดปิเปต ให้ใช้ลูกยาง
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

5. ไม่หยอกล้อเล่นกันในขณะทำปฏิบัติการทดลอง
6. ไม่รับประทานอาหารใดๆ ในห้องปฏิบัติการ
7. ไม่ใช้มือสัมผัสอวัยวะที่สำคัญ เช่น ปาก ดวงตา
8. Loop และ Needle ที่ใช้ในการถ่ายเชื้อ ควรฆ่าเชื้อด้วยเปลวไฟทุกครั้ง
ทั้งก่อนและหลังการใช้งาน
9. ก่อนจะจุดไฟตะเกียงทุกครั้ง แน่ใจว่าไม่มีสารไวไฟในบริเวณใกล้เคียง
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
ข้อปฏิบัติหลังทำปฏิบัติการ
1. เมื่อเสร็จสิ้นงานปฏิบัติการควรจัดเก็บอุปกรณ์ทุกอย่าง
เข้าที่ และทำความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
2. กำจัดของเสียให้เรียบร้อย
- ปนเปื้อนจุลินทรีย์
- ไม่ปนเปื้อนจุลินทรีย์
3. ล้างมือด้วยน้ำสบู่และน้ำจนสะอาดก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ
4. ปิดแก๊สให้เรียบร้อย
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
อุบัติเหตุ
1. เชื้อจุลินทรีย์หกหรือตกแตก
- เชื้อจุลินทรีย์ ให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือน้ำยาฆ่าเชื้อ
- หลอดแตก ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยจัดเก็บ
2. อาหารกระป๋องบวม
- ห้ามลนไฟ (ระเบิด)
3. ไฟลุกไหม้ที่ผม
4. การตื่นตระหนกตกใจ
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
อุบัติเหตุ

5. แอลกอฮอล์ลุกติดไฟ
- ถ้าเกิดไฟลุกไหม้ในภาชนะให้รีบปิดปากภาชนะไม่ให้มีอากาศเข้าเพื่อให้ไฟดับ
- ถ้าไฟลุกไหม้บนโต๊ะหรือพื้นให้ใช้ผ้าเปียกน้ำคลุมทับ
6. กรณีเป็นภูมิแพ้
- ผิวหนัง เป็นสิวบนใบหน้า
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
สาเหตุจากการกระทำที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

- การทำงานไม่ถูกขั้นตอน ใช้อุปกรณ์ไม่เหมาะสม
- ความไม่เอาใจใส่ในการทำงาน
- ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย
- การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
- การทำงานที่ไม่ใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย
- การแต่งกายไม่เหมาะสม
- ทำงานในสภาวะร่างกายและจิตใจไม่พร้อม
**ไม่แน่ใจ, ไม่เข้าใจ หรือเกิดอุบัติเหตุให้ซักถามหรือแจ้งอาจารย์ และเจ้า
หน้าที่ทราบ
จบการนำเสนอ
ขอบคุณค่ะ

You might also like