You are on page 1of 43

2.

หลักการด+านความปลอดภัยทางชีวภาพ
และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
ระยะเวลาการบรรยาย 1 ชั่วโมง 30 นาที

Biosafety and Biosecurity


วัตถุประสงค,
เพื่อให(ความรู(เกี่ยวกับหลักการ องค7ประกอบ และวิธีปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพและ
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ

เนื้อหา
1. ความหมาย องค7ประกอบ และหลักการด(านความปลอดภัยทางชีวภาพ
(อันตรายในห+องปฏิบัติการ, การจำแนกเชื้อโรคและพิษจากสัตวCตามความเสี่ยง, Biosafety Level และ
การปฏิบัติที่ดีทางจุลชีววิทยา)
2. ความหมาย องค7ประกอบ และหลักการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
(การรักษาความปลอดภัยของโครงสร+างและสถานที่, บุคคล, สารชีวภาพ, การขนสZงหรือ
เคลื่อนย+ายสารชีวภาพ และข+อมูล)
ระยะเวลาการบรรยาย 1 ชั่วโมง 30 นาที
อันตรายในห*องปฏิบัติการ
สิ่งก9ออันตรายทางกายภาพ
(Physical Hazards) สิ่งก9ออันตรายทางชีวภาพ
ความรdอน/ แสง/ เสียง/ รังสี/ (Biological Hazards)
ไฟฟuาลัดวงจร/ เครื่องจักร/ ของ จุลินทรีย^ก9อโรค (แบคทีเรีย, ไวรัส,
มีคม/ ลื่นลdม/ ตกจากที่สูง ฯลฯ รา, ปรสิต และริคเก็ตเซีย ที่ทำใหd
เกิดโรคในมนุษย^และสัตว^)/
สารพิษจากสิ่งมีชีวิต/ พรีออน
สิ่งก9ออันตรายทางสารเคมี
(Prions)/ Recombinant DNA
(Chemical Hazards)
(Viral Vector, Gene Therapy,
การเกิดปฏิกิริยาระหว9างสารเคมี
Cloning)/ สิ่งส9งตรวจ
ที่มีอันตราย (การวาบไฟ การ
(Diagnostic Specimens)/ เซลล^
ระเบิด ฯลฯ)/ สารกัดกร9อน/
หรือเนื้อเยื่อที่เพาะเลี้ยงและเซลล^
สารพิษ/ มลพิษ/ สารก9อมะเร็ง/
ตdนกำเนิด ทั้งของมนุษย^ สัตว^ พืช
การระคายเคือง/ ฯลฯ
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)
หมายถึง หลักการ มาตรการ และการปฏิบัติ เพื่อป@องกัน
อันตรายจากชีววัตถุอันตราย (Biohazard Materials)
ในงานวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย, เชื้อกUอโรค และสารพิษ
รวมถึงการวิจัยที่ใชXเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมUในสิ่งมีชีวิต
ทุกชนิด สูUผูXปฏิบัติงาน ชุมชน และสิ่งแวดลXอม
แบบไมUตั้งใจ (Unintentional)
หลักการการกำกับดูแลความปลอดภัยทางชีวภาพ
กำหนดใหXมีมาตรการในการควบคุม กำกับ ดูแล ความปลอดภัยของผูXปฏิบัติงาน และป@องกัน
การหลุดรอดของวัสดุหรือชีววัตถุทดลองสูUสิ่งแวดลXอม ทั้งในสUวนของ “โครงสรXางพื้นฐาน” และ
“วิธีปฏิบัติงาน” ที่เหมาะสมกับระดับความเสี่ยงของงานวิจัย

สภาพควบคุม
ประเมินความเสี่ยง (containment)
โครงการวิจัย ที่เหมาะสม

**นักวิจัยเปgนผูXที่มีความสำคัญที่สุด และมีองค,ความรูXที่สุด ในการประเมินความเสี่ยงของโครงการตนเอง**


ความรุนแรงของโรค ความเสถียรของเชื้อ การมีอยูTของจุลินทรียWนั้น
(Severity) (Stability) ในประเทศ

มาตรการรักษา/
ปIจจัยในการประเมินความเสี่ยงจุลินทรียPกQอโรค มาตรการปMองกัน

วิธีการแพรTกระจายของเชื้อ ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่สามารถ ปริมาณของเชื้อที่ทำใหcเกิดโรค


(route of transmission) ติดเชื้อ (Host Range) (Infectious Dose)
การจำแนกจุลินทรียPกQอโรคในแตQละกลุQมเสี่ยง
หมายเหตุ กลุ9มเสี่ยงที่ 1 กลุ9มเสี่ยงที่ 2 กลุ9มเสี่ยงที่ 3 กลุ9มเสี่ยงที่ 4
* ไม+ก+อโรคในคนปกติที่มีสุขภาพแข็งแรง
การก9อโรคในมนุษย^และสัตว^ ไม9ก9อโรค* ก9อโรคไม9รุนแรง ก9อโรครุนแรง ก9อโรครุนแรง
การแพร9กระจาย - ในที่จำกัด ง9าย ง9ายและรุนแรง
การปuองกัน/ รักษา - มี อาจมี ไม9มี
ความเสี่ยงต9อผูdปฏิบัติงาน ไม9มี ปานกลาง สูง สูง
ความเสี่ยงต9อชุมชน ต่ำ ต่ำ ปานกลาง สูง

1 จุลินทรีย^ที่ไม9ก9อโรคในมนุษย^และสัตว^ เช9น Lactobacillus acidophilus


จุลินทรีย^ที่ก9อโรคในมนุษย^หรือสัตว^ แต9ไม9เป~นอันตรายรdายแรงต9อบุคลากรในหdองปฏิบัติการ ชุมชน ปศุสัตว^ หรือ
2
สิ่งแวดลdอม มีวิธีรักษาและการปuองกันโรคที่มีประสิทธิภาพ และความเสี่ยงในการแพร9กระจายของเชื้อโรคอยู9ในวงจำกัด
จุลินทรีย^ที่ก9อโรครุนแรงในมนุษย^หรือสัตว^ และเชื้อสามารถแพร9กระจายไดdง9ายจากคนสู9คนไดdทั้งทางตรงและทางอdอม
3
มีวิธีรักษาและการปuองกันโรคที่มีประสิทธิภาพ
4
จุลินทรีย^ที่ก9อโรครุนแรงในมนุษย^หรือสัตว^ และเชื้อสามารถแพร9กระจายไดdง9ายจากคนสู9คนไดdทั้งทางตรงและทางอdอม
ยังไม9มีวิธีรักษาหรือการปuองกันโรคที่มีประสิทธิภาพ
ปIจจัยการประเมินความเสี่ยงของงานด*านเทคโนโลยีทางชีวภาพสมัยใหมQ
จำเปWนต(องพิจารณาลักษณะ (Characteristics) ของสิ่งมีชีวิตที่ใช(ในการดำเนินการวิจัยอย^างครบถ(วน ได(แก^

สิ่งมีชีวิตดั้งเดิมที่นำมา สารพันธุกรรม หรือยีนเปcาหมาย ผลผลิตจากการ


ดัดแปลงพันธุกรรม รวมถึง สิ่งที่เกี่ยวข(องกับกระบวนการ ดัดแปลงพันธุกรรม
ดัดแปลงพันธุกรรมทั้งหมด
จำเปWนต(องพิจารณาลักษณะ (Characteristics) ของสิ่งมีชีวิตที่ใช(ในการดำเนินการวิจัยอย^างครบถ(วน

สิ่งมีชีวิตที่นำมาดัดแปลงพันธุกรรม
ประเด็นที่ตXองพิจารณา
• ความสามารถในการกUอเกิดโรคหรือกUอพิษในคน สัตว, พืช /
ความรุนแรงของโรค / การมีวิธีป@องกัน รักษา กำจัดที่ไดXผล
• วิธีการ / ศักยภาพในการขยายและแพรUกระจายพันธุ, /
การมีวิธีการในการควบคุมการแพรUกระจายที่ไดXผล
• ความสามารถในการปรับตัว / ความสามารถในการอยูUรอด
• เปgนสิ่งมีชีวิตประจำถิ่นหรือตUางถิ่น (non-exotic / exotic)
• โอกาสที่จะเกิดการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม / ยีนในธรรมชาติ
จำเปWนต(องพิจารณาลักษณะ (Characteristics) ของสิ่งมีชีวิตที่ใช(ในการดำเนินการวิจัยอย^างครบถ(วน

สารพันธุกรรมหรือยีนเปVาหมาย
ประเด็นที่ตXองพิจารณา
• ที่มาของสารพันธุกรรมหรือยีนเป@าหมาย
• คุณสมบัติของสารที่สรXางขึ้นใหมU
o ความเกี่ยวขXองกับการกUอมะเร็ง/ ระบบภูมิคุXมกัน
o ผลกระทบตUอการทำงานของยีนอื่นๆ
จำเปWนต(องพิจารณาลักษณะ (Characteristics) ของสิ่งมีชีวิตที่ใช(ในการดำเนินการวิจัยอย^างครบถ(วน

สิ่งที่เกี่ยวข*องกับกระบวนการดัดแปลงพันธุกรรมทั้งหมด
รวมถึง ดีเอ็นเอพาหะและส^วนประกอบต^างๆ อาทิ Plasmid, Cosmid, Virus, Bacteria, Promoter,
Enhancer, Selectable Marker เปWนต(น
ประเด็นที่ต(องพิจารณา
• ที่มา
• ความเกี่ยวข(องในการเปWนเชื้อก^อโรค
• ความสามารถในการแลกเปลี่ยนหรือถ^ายเทสารพันธุกรรมระหว^างเจ(าบ(าน
• ยีนที่ใช(เปWนเครื่องหมายคัดเลือก (Marker Gene) โดยเฉพาะ ยีนดื้อยาปฏิชีวนะ
(Antibiotic Resistant Gene)
จำเปWนต(องพิจารณาลักษณะ (Characteristics) ของสิ่งมีชีวิตที่ใช(ในการดำเนินการวิจัยอย^างครบถ(วน

สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
ประเด็นที่ต(องพิจารณา
• ความได(เปรียบจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิม
• ความเปWนไปได(ในการควบคุมการแพร^กระจาย
• การก^อโรค หรือก^อพิษ
• รูปแบบการนำไปใช(
• ความเกี่ยวข(องกับระบบนิเวศ
การควบคุมความเสี่ยง

เพิ่มประสิทธิภาพ และความยั่งยืน เพิ่มการมีส^วนร^วม และการดูแล


ในการควบคุม ของผู(มีประสบการณ7
องคPประกอบสภาพควบคุม
การควบคุมทางวิศวกรรม (Engineering Control)
การออกแบบและจัดการโครงสร(างพื้นฐาน (Facility Design)
และอุปกรณ7เพื่อความปลอดภัย (Safety Equipment)
การควบคุมระบบบริหารจัดการ(Administrative Control)
นโยบาย แนวทางปฏิบัติ และข(อกำหนดต^าง ๆ ที่เกี่ยวข(อง อาทิ
ระบบการขออนุญาต การติดตามตรวจสอบ และการฝÑกอบรม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Practice and Procedure)
มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกต(องปลอดภัย (SOP)
และมีการควบคุมเอกสารเกี่ยวข(อง
อุปกรณ7ปกปcองส^วนบุคคล
(Personnel Protective Equipment)
สภาพควบคุม
หมายถึง กระบวนการความปลอดภัยในการจัดการชีววัตถุในห(องปฏิบัติการ
หรือในสภาวะที่ควบคุมดูแลได( เพื่อลดหรือจำกัดโอกาสที่คนและสิ่งแวดล(อม
จะได(รับชีววัตถุที่มีอันตรายในระดับต^าง ๆ กัน ซึ่งโดยทั่วไปมี 2 ระดับ ได(แก^

สภาพควบคุมระดับปฐมภูมิ สภาพควบคุมระดับทุติยภูมิ
(primary containment) (secondary containment)
ปcองกันบุคลากรและสภาพแวดล(อม ปcองกันสิ่งแวดล(อมภายนอก
ในห(องปฏิบัติการ ไม^ให(สัมผัสกับ จากชีววัตถุอันตราย อาทิ การออกแบบ
ชีววัตถุที่อาจเปWนอันตราย อาทิ โครงสร(างของสถานที่อย^างเหมาะสม และ
การใช(เทคนิคการปฏิบัติที่ดีทาง การกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
จุลชีววิทยา หรือการใช(อุปกรณ7เพื่อ ที่ถูกต(องปลอดภัย
ความปลอดภัยทางชีวภาพ เช^น ตู(ชีวนิรภัย
ระดับห*องปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพ

หXองปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพ
(Biosafety Level – BSL) ระดับที่ 1-4 เปgนสภาพ
ควบคุมที่มีขXอกำหนดของแตUละปyจจัยแตกตUางกัน โดย
BSL แตUละระดับ เหมาะสำหรับการดำเนินงานกับเชื้อ
หรือกิจกรรมที่มีระดับความเสี่ยงแตกตUางกัน
ขXอกำหนดสำหรับ
หXองปฏิบัติการความ
ปลอดภัยทางชีวภาพ
(Biosafety Level –
BSL) แตUละระดับ
BSL1 เหมาะสำหรับงานที่มีอันตรายต่ำต^อผู(ปฏิบัติงาน
ชุมชน และสิ่งแวดล(อม

การปฏิบัติงาน (practice)
มาตรฐานการปฏิบัติงานด(านจุลชีววิทยา, เทคนิคปลอดเชื้อ,
มาตรการทำงานกับวัสดุมีคมและขยะติดเชื้อที่ถูกต(องเหมาะสม
การควบคุมระดับปฐมภูมิ (primary barrier)
อุปกรณ7ปกปcองส^วนบุคคล (PPE) ที่เหมาะสม
การควบคุมระดับทุติยภูมิ (secondary barrier)
โตÜะปฏิบัติการ, อ^างล(างมือ, ตู(ดูดควัน, ที่ล(างตาและ
ฝáกบัวฉุกเฉินภายในบริเวณใกล(เคียง
ที่มา: http://www.smittskyddsinstitutet.se/upload/biosakerhet/BSL1.jpg
มาตรฐานการปฏิบัติงานด*านจุลชีววิทยา
(Standard Microbiological Practice)

• ห(ามรับประทานอาหาร ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ สวมใส^คอนแทกเลนส7 ใช(เครื่องสำอาง และเก็บ


อาหารในบริเวณห(องปฏิบัติการ
• ต(องเลือกและใส^ PPE ที่เหมาะสม ทุกครั้งที่ปฏิบัติงาน เก็บผมให(เรียบร(อย และเล็บต(อง
ไม^ยาว
• ต(องมีการเปลี่ยนถุงมือทุกครั้ง หากมีการเปàâอนหรือขาด และทิ้งในถังขยะติดเชื้อ
• ปฏิบัติงานด(วยความระมัดระวัง เพื่อลดการหกหล^น กระเด็น หรือฟุcงกระจายของเชื้อ
อาทิ ต(องปฏิบัติงานในตู(ชีวนิรภัยสำหรับทุกขั้นตอนที่อาจก^อให(เกิดการฟุcงกระจายของสิ่ง
ปนเปàâอน
• ต(องทำความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และอุปกรณ7เครื่องมือ ด(วยน้ำยาฆ^าเชื้อเมื่อมีการหก
ตกหล^น และหลังการทำงานทุกครั้ง
มาตรฐานการปฏิบัติงานด*านจุลชีววิทยา (ตQอ)
(Standard Microbiological Practice)

• ห(ามใช(ปากดูดปåเปตต7
• ทำลายเชื้อโรค และวัสดุติดเชื้อ ด(วยวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ก^อนนำไปทิ้ง โดยบรรจุใน
ภาชนะที่แข็งแรง ไม^รั่ว และปåดสนิทสำหรับเคลื่อนย(าย หากมีการเคลื่อนย(ายออกนอก
สถานที่ให(ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข(อง
• ในกรณีที่มีการทำงานกับวัสดุมีคม อาทิ เข็มฉีดยา ใบมีด ปåเปตต7หรืออุปกรณ7ที่ทำจาก
แก(วที่สามารถแตกหักได( ควรมีการจัดทำนโยบายการทำงานกับวัสดุมีคมอย^างปลอดภัย
เพื่อนำไปใช(
• ต(องล(างมือให(สะอาด หลังถอดถุงมือ เมื่อมีการทำงานกับวัสดุติดเชื้อ และก^อนออกจาก
ห(องปฏิบัติการ
มาตรการทำงานกับวัสดุมีคม
ในกรณีที่มีการทำงานกับวัสดุมีคม อาทิ เข็มฉีดยา ใบมีด ปåเปตต7หรืออุปกรณ7ที่
ทำจากแก(วที่สามารถแตกหักได( ควรมีการจัดทำมาตรการทำงานกับวัสดุมีคม
อย^างปลอดภัยเพื่อนำไปใช(ในการทำงาน ดังนี้

• เลือกใช(อุปกรณ7ที่ทำจากพลาสติกทดแทน หากเปWนไปได(
• ปฏิบัติงานด(วยความระมัดระวัง
• ห(ามใช(มืองอ บิด หัก สวมปลอก หรือถอดเข็มฉีดยาจากกระบอกฉีดยา
• ทิ้งลงในภาชนะสำหรับทิ้งของมีคมที่ทนต^อการเจาะ (Puncture-resistant)
• วัสดุอุปกรณ7ที่สามารถนำกลับมาใช(ใหม^ ให(ใส^ลงในภาชนะบรรจุที่มีความแข็งแรง
สำหรับขนส^งเพื่อนำไปลดการปนเปàâอน หากเปWนไปได(ควรลดการปนเปàâอนโดยการ
Autoclave
• ห(ามใช(มือจับวัสดุมีคมที่แตก ควรใช(อุปกรณ7 เช^น แปรง ที่โกยผง แหนบ หรือคีมคีบ
ในการเก็บ
ข*อกำหนดเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตวP พ.ศ. 2558
1• ต(องมีเครื่องมือและอุปกรณ7ในการทำลายเชื้อโรค เช^น หม(อนึ่งอัดไอน้ำ
(Autoclave) หรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม
เพื่อทำลายเชื้อโรค 2

2• ต(องมีชุดปฐมพยาบาล

3• ต(องมีชุดจัดการสารชีวภาพหกรั่วไหล
(Biological Spill Kit) 1

3
ลักษณะการปฏิบัติงานในห*อง BSL1

A สามารถทำงานบนโต•ะ
ปฏิบัติการไดX
B
B PPE ที่จำเปgน ไดXแกU เสื้อ
A กาวน, ถุงมือ แวUนตาเซฟตี้
และรองเทXาแบบป~ด
BSL2 เหมาะสำหรับงานที่มีอันตรายปานกลางต^อผู(ปฏิบัติงาน
แต^มีอันตรายต่ำต^อชุมชน และสิ่งแวดล(อม
ดำเนินการเช^นเดียวกับ BSL1 โดยเพิ่มเติม
การปฏิบัติงาน (Practice)
มาตรการควบคุมผู(มีสิทธิ์เข(าออก, ปcายสัญลักษณ7อันตรายทาง
ชีวภาพ (Biohazard Sign) หน(าห(องปฏิบัติการ
การควบคุมระดับปฐมภูมิ (Primary Barrier)
ตู(ชีวนิรภัย (Biological Safety Cabinet-BSC) Class I
หรือ Class II ภายในห(องปฏิบัติการ
การควบคุมระดับทุติยภูมิ (Secondary Barrier)
Autoclave อยู^ใกล(บริเวณ
ที่มา: http://www.smittskyddsinstitutet.se/upload/biosakerhet/BSL2.jpg
ข*อกำหนดเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตวP พ.ศ. 2558

• รายละเอียดของปcายสัญลักษณ7อันตรายทางชีวภาพ พร(อม
ผู(รับผิดชอบ และหมายเลขโทรศัพท7
• รายละเอียดของบัญชีรายชื่อเชื้อโรคและพิษจากสัตว7 โดยกำหนดให(
เก็บข(อมูลอย^างน(อยสามปî ภายหลังได(รับหนังสือรับรองการแจ(งหรือ
ใบอนุญาต และให(มีข(อมูลอย^างน(อย ดังต^อไปนี้
(ก) ชื่อวิทยาศาสตร7ของเชื้อโรคและพิษจากสัตว7เปWนภาษาอังกฤษ
(ข) ระดับความเสี่ยงหรือความอันตรายของเชื้อโรคและพิษจาก
สัตว7ตามประกาศฯ
(ค) จำนวนภาชนะบรรจุซึ่งระบุปริมาตรหรือน้ำหนักของเชื้อโรค
และพิษจากสัตว7
(ง) สถานที่จัดเก็บของเชื้อโรคและพิษจากสัตว7
ลักษณะการปฏิบัติงานในห*อง BSL2

A PPE ที่จำเปWน ได(แก^


B เสื้อกาวน7 ถุงมือ แว^นเซฟตี้
A และหน(ากากปcองกัน
(Face Shield)

B การดำเนินงานทุกขั้นตอน
ที่อาจมีการฟุcงกระจายของเชื้อ
ต(องทำใน BSC
ข*อกำหนดเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตวP พ.ศ. 2558

BSL2 Enhanced
เชื้อในกลุ9มเสี่ยง 3 (แบคทีเรีย, รา, ไวรัส และสารชีวภาพ) ที่มีเงื่อนไขเพิ่มเติมภายใตd พ.ร.บ.เชื้อโรคฯ สามารถดำเนินการใน
หdองปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 2 เสริมสมรรถนะ (BSL2 enhanced) ยกเวdนกรณีการเพาะเลี้ยงหรือเพิ่มจำนวน
เชื้อ (กรณีไวรัสเพาะเลี้ยงมากกว9า 30 มิลลิลิตร/ครั้ง) ตdองดำเนินการใน BSL3

ดำเนินการเช^นเดียวกับ BSL2 โดยเพิ่มเติม


การปฏิบัติงาน (Practice)
แยกห(องสำหรับดำเนินการกับเชื้อโรคนั้น ๆ และปฎิบตั ิ
**สามารถตรวจสอบรายการเชื้อโนกลุ6มเสี่ยง 3 ที่มี
เช^นเดียวกับ BSL3
เงื่อนไขเพิ่มเติมไดBจาก ประกาศกระทรวง การควบคุมระดับปฐมภูมิ (Primary Barrier)
สาธารณสุข เรื่อง รายการเชื้อโรคที่ประสงคIควบคุม
ตามมาตรา 18 พ.ศ. 2561 PPE ที่มิดชิดและเหมาะสม
BSL3 เหมาะสำหรับงานที่มีอันตรายสูงต^อผู(ปฏิบัติงาน
แต^มีอันตรายต่ำต^อชุมชน และสิ่งแวดล(อม
ดำเนินการเช^นเดียวกับ BSL2 โดยเพิ่มเติม
การปฏิบัติงาน (Practice)
การฝÑกอบรม BSL3, ควบคุมการเข(าออกอย^างเข(มงวด
และมีระบบเฝcาระวังระหว^างปฏิบัติงาน
การควบคุมระดับปฐมภูมิ (Primary Barrier)
ระบบควบคุมการไหลเวียนของอากาศในทิศทางเดียว ประตู
2 ชั้น ระบบแรงดันอากาศติดลบ (Negative Pressure),
ระบบลดการปนเปàâอนของอากาศและน้ำทิ้ง เช^น กรองด(วย
แผ^นกรองประสิทธิภาพสูง (HEPA Filter) หรือ Kill Tank
ที่มา: http://www.smittskyddsinstitutet.se/upload/biosakerhet/BSL3.jpg
และ Autoclave อยู^ภายในห(องปฏิบัติการ
ลักษณะการปฏิบัติงานในห*อง BSL3

A PPE ที่จำเปWน ได(แก^ เสื้อกาวน7 ถุงมือ


แว^นเซฟตึ้ และหน(ากากที่สามารถ
กรองอนุภาคก^อโรค อาทิ N95 หรือ
A Respirator
B
B การดำเนินงานทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข(อง
กับเชื้อต(องทำใน BSC
ประตูเข(าห(องปฏิบัติการสองชั้น แบบ
C
C ปåดและล็อคอัตโนมัติ
BSC Class II
BSL4 เหมาะสำหรับงานที่มีอันตรายสูงต^อผู(ปฏิบัติงาน
ชุมชน และสิ่งแวดล(อม
ดำเนินการเช^นเดียวกับ BSL3 โดยเพิ่มเติม
การปฏิบัติงาน (Practice)
การฝ%กอบรมการปฏิบัติงานกับเชื้ออันตรายร5ายแรง, เปลี่ยนเสื้อผ5าก>อน
เข5าห5องปฏิบัติการ, อาบน้ำก>อนออกจากห5องปฏิบัติการ
การควบคุมระดับปฐมภูมิ (Primary Barrier)
BSC class III หรือ class II ร^วมกับชุดปฏิบัติการแบบ
Full Body, Air-supply, Positive Pressure Suit
การควบคุมระดับทุติยภูมิ (Secondary Barrier)
แยกจากอาคารหรือพื้นที่อื่นอย>างชัดเจน, ระบบแรงดันอากาศติดลบ
(Negative Pressure), Autoclave แบบ 2 ประตู,
ที่มา: http://www.smittskyddsinstitutet.se/upload/biosakerhet/BSL4.jpg
ห5องเปลี่ยนเสื้อผ5า, ห5องอาบน้ำ
ลักษณะการปฏิบัติงานในห*อง BSL4
A การดำเนินงานทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข(อง
A กับเชื้อต(องทำในตู( BSC
B
ควรสวม PPE ที่เหมาะสมเพื่อลด
B ความเสี่ยง เช^น ชุดปฏิบัติการแบบ
Full Body, Air-supply, Positive
Pressure Suit

**หมายเหตุ ในปÉจจุบันประเทศไทยยังไม9มี
หdองปฏิบัติการ BSL4
สรุปข*อแตกตQางของ BSL แตQละระดับ
- ไม9จำเป~นตdองมี ™ ควรมี ˜ ตdองมี BSL1 BSL2 BSL3 BSL4
1. ความเขdมงวดในการอนุญาตเขdาออกของผูdไม9เกี่ยวขdอง - ™ ˜ ˜
2. การฝÜกอบรมเทคนิคดdานจุลชีววิทยา ˜ ˜ ˜ ˜
3. โตáะปฏิบัติการ อ9างลdางมือ ˜ ˜ ˜ ˜
4. ตูdชีวนิรภัย (BSC) ™ ˜ ˜ ˜
5. ระบบลดการปนเปâäอนดdวย Autoclave ™ ˜ ˜ ˜
6. ระบบลดการปนเปâäอนของอากาศ - ™ ˜ ˜
7. การอาบน้ำ เปลี่ยนเสื้อผdา ก9อนเขdา-ออกหdองปฏิบัติการ - - ™ ˜
8. การแยกอาคาร - - - ˜
**กรณีมีการดำเนินงานกับสัตว^ทดลอง ศพ ชิ้นส9วนอวัยวะ หรือวัตถุตัวอย9างอื่นใดของคนหรือสัตว^ที่อาจปนเปâäอนเชื้อโรค สามารถศึกษา
ขdอกำหนดเกี่ยวกับสภาพควบคุมเพิ่มเติมไดdจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ลักษณะของสถานที่ผลิตหรือมีไวdในครอบครอง และ
การดำเนินการเกี่ยวกับเชื้อโรคและพิษจากสัตว^ พ.ศ. 2561
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
หมายถึง มาตรการเพื่อป@องกันความผิดพลาดที่เกิดจาก
ความตั้งใจ (Intentional) กUอใหXเกิดการสูญหาย การ
ขโมย หรือลักลอบนำสารชีวภาพ เชื้อกUอโรค สารพิษ
และสิ่งที่เกี่ยวขXอง เชUน อุปกรณ,ที่ใชXในงานวิจัยที่มีการ
ปนเปÇÉอน สัตว,ทดลองที่ไดXรับเชื้อ เปgนตXน รวมถึงการ
ปลดปลUอยสูUสิ่งแวดลXอม และการนำไปใชXผิด
วัตถุประสงค, จนอาจกUอใหXเกิดอันตรายตUอคน สัตว,
สิ่งแวดลXอม และเศรษฐกิจ
หลักการกำกับดูแลการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การจัดระบบการปcองกัน การควบคุมกำกับ และจัดทำบัญชี หรือมอบหมายผู(รับผิดชอบสารชีวภาพอันตราย
และการเข(าถึงข(อมูลสำคัญของสารชีวภาพอันตราย

สารชีวภาพอันตราย มาตรการควบคุม
กำกับดูแล ที่เหมาะสม

**นักวิจัยเปgนผูXที่มีความสำคัญที่สุด และมีองค,ความรูXที่สุด ในการประเมินมาตรการป@องกันความปลอดภัย**


องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การจัดการโปรแกรม (Program Management)
การรักษาความปลอดภัยของโครงสรXางและสถานที่ (Physical Security)
การรักษาความปลอดภัยดXานบุคลากร (Personal Security)
การรักษาความปลอดภัยของสารชีวภาพ (Material Control
and Accountability)
การรักษาความปลอดภัยในการขนสUง หรือเคลื่อนยXาย
สารชีวภาพ (Transport/ transfer Security)
การรักษาความปลอดภัยของขXอมูล
(Information Security)
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การจัดการโปรแกรม (Program Management)
1. กำหนดโปรแกรมความมั่นคงทางชีวภาพเปgนนโยบายและ
แผนขององค,กร
2. กำหนดโครงสรXางองค,กร สายบังคับบัญชา และหนXาที่ความ
รับผิดชอบในสUวนตUางๆ ที่เกี่ยวขXองอยUางชัดเจน
3. มีงบประมาณสำหรับดำเนินงานโดยเฉพาะ
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การรักษาความปลอดภัยของโครงสร*างและสถานที่ (Physical Security)
1. เลือกสถานที่ในการจัดตั้งหXองปฏิบัติการที่เหมาะสม
2. ออกแบบ และสรXางหXองปฏิบัติการที่มีคุณลักษณะตรงตามขXอกำหนด
ภายในประเทศ และมาตรฐานสากล
3. จัดหามาตรการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ และการเฝ@าระวัง เชUน
พนักงานรักษาความปลอดภัย ป@ายชื่อสำหรับผูXปฏิบัติงาน กลXองวงจรป~ด
4. จัดแบUงพื้นที่ตามระดับความเสี่ยงของวัสดุที่มีการจัดเก็บ อาทิ
หXองปฏิบัติการ พื้นที่จัดเก็บวัสดุ ตูXเย็นสำหรับเก็บจุลินทรีย, และกำหนด
สิทธิในการเขXาถึงพื้นที่ตUางๆ โดยใชXการล็อคประตูหรือระบบคีย,การ,ด
เฉพาะพนักงานที่ไดXรับอนุญาตหรือที่ไดXรับมอบหมายเทUานั้น
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การรักษาความปลอดภัยของโครงสร*างและสถานที่ (Physical Security) (ตQอ)
การจัดแบUงพื้นที่ตามระดับความเสี่ยงของวัสดุที่มีการจัดเก็บ

1. Property Protection Area จัดเก็บวัสดุ/ สารที่มี Property Protection Area


ความเสี่ยงต่ำ (low risk assets) Limited Area
2. Limited Area จัดเก็บวัสดุ/ สารที่มีความเสี่ยงปาน
Exclusion Area
กลาง (moderate risk assets)
3. Exclusion Area จัดเก็บวัสดุ/ สารที่มีความเสี่ยงสูง
(high risk assets)
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การรักษาความปลอดภัยด*านบุคลากร (Personal Security)
1. บุคลากร
• ต(องเปWนผู(มีคุณวุฒิตามสาขาที่กำหนด
• มีการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมก^อนเข(าปฏิบัติงาน
• กำหนดบทบาทและความรับผิดชอบของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในส^วนต^างๆ
ของห(องปฏิบัติการ โดยเฉพาะอย^างยิ่งที่เกี่ยวข(องกับการจัดการ จัดเก็บ
และขนส^งจุลินทรีย7 รวมถึงอุปกรณ7และข(อมูลสำคัญ
2. ผู(เข(าเยี่ยมชม
• กำหนดสิทธิในการเข(าถึงพื้นที่ต^างๆ อย^างเหมาะสม
• มีผู(รับผิดชอบทำหน(าที่เปWนพี่เลี้ยง (Escort) ตลอดเวลาที่อยู^ในพื้นที่
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การรักษาความปลอดภัยของสารชีวภาพ
(Material Control and Accountability)

1. จัดเก็บในพื้นที่ที่มีมาตรการควบคุมตามระดับความเสี่ยงของสารชีวภาพ
2. กำหนดลำดับของผู(รับผิดชอบจุลินทรีย7และวัสดุอุปกรณ7ที่ใช(ในการวิจัย
ที่มีความรู(ความสามารถสอดคล(องกับหน(าที่ที่กำหนด
3. จัดทำบัญชีรายการ การจัดเก็บ การขนส^งเคลื่อนย(าย และการทำลายวัสดุ
ชีวภาพที่มีอันตราย ให(สามารถติดตามสถานที่เก็บและผู(รับผิดชอบ
สารชีวภาพนั้นได(ในทุกขั้นตอน
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การรักษาความปลอดภัยในการขนสQง หรือเคลื่อนย*ายสารชีวภาพ
(Transport/ transfer Security)
1. จัดทำแผนการขนส^งสารชีวภาพและวัสดุ ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ที่
สอดคล(องตามมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพ โดยกำหนดรายละเอียดของ
• วิธีการในการบรรจุ และขนส^ง
• เอกสารกำกับ
• ผู(รับผิดชอบทั้งต(นทาง/ปลายทาง
2. มีการบันทึกข(อมูลการขนส^ง และจัดเก็บประวัติเอกสารการขนส^งเคลื่อนย(าย
3. แผนการขนส^งเคลื่อนย(ายต(องได(รับความเห็นชอบจากผู(มีอำนาจและเผยแพร^ให(
ผู(ที่เกี่ยวข(องได(รับทราบ
4. บุคลากรที่เกี่ยวข(องควรได(รับการอบรมเกี่ยวกับการบรรจุและการแสดงฉลาก
เอกสารเพื่อการขนส^งของวัสดุชีวภาพอย^างเพียงพอ
องคPประกอบของการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
การรักษาความปลอดภัยของข*อมูล (Information Security)
1. มีนโยบายในการชี้จำแนกและแผนจัดการข(อมูลที่มีความสำคัญและอ^อนไหว
ได(แก^
• ข(อมูลเชื้อโรคและสารพิษที่มีในครอบครอง
• ข(อมูลโครงสร(างพื้นฐานที่สำคัญ อาทิ สถานที่จัดเก็บ
• ข(อมูลรหัสเพื่อเข(าถึงสถานที่จัดเก็บเชื้อ รวมถึงคอมพิวเตอร7หรืออุปกรณ7ที่
ใช(จัดเก็บข(อมูล
• ข(อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ7อำนวยความปลอดภัย เช^น จุดติดตั้งกล(องวงจรปåด
2. กำหนดผู(ที่สามารถเข(าถึงข(อมูลและรหัสผ^านตามลำดับชั้นของข(อมูล
การเตรียมความพร*อมสำหรับการดำเนินงาน
และการรับมือกับสถานการณPฉุกเฉิน
• กำหนดมาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (SOPs) สำหรับแผนรับเหตุฉุกเฉิน
ต^างๆ อาทิ อุบัติเหตุ การบาดเจ็บ/การเจ็บป†วยเฉียบพลัน ภัยธรรมชาติ หรือ
อุบัติการณ7อื่นๆ เช^น การโจรกรรม เพื่อให(มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
• จัดให(มีการฝÑกอบรมที่เกี่ยวข(องกับความมั่นคงทางชีวภาพแก^บุคลากรกลุ^ม
ต^างๆ ในหน^วยงาน และมีการฝÑกซ(อมอย^างสม่ำเสมอ
• กำหนดลำดับชั้นของการแจ(งเตือนและการสื่อสาร ทั้งส^วนห(องปฏิบัติการ
ส^วนสำนักงานบริหารจัดการ และหน^วยงานภายนอกที่เกี่ยวข(อง โดยระบุ
บทบาทและความรับผิดชอบของเจ(าหน(าที่ที่เกี่ยวข(องทั้งหมดอย^างชัดเจน
• ทบทวนประเมินผล และปรับปรุงโปรแกรมความมั่นคงทางชีวภาพที่ได(จัดทำ
ขึ้นเปWนระยะ
สรุปสิ่งที่ได*เรียนรู*:
ระยะเวลาการบรรยาย 1 ชั่วโมง 30 นาที
ความรู(เกี่ยวกับหลักการ องค7ประกอบ และวิธีปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพและ
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ

เนื้อหา
1. ความหมาย องค7ประกอบ และหลักการด(านความปลอดภัยทางชีวภาพ
(อันตรายในห+องปฏิบัติการ, การจำแนกเชื้อโรคและพิษจากสัตวCตามความเสี่ยง, Biosafety Level และ
การปฏิบัติที่ดีทางจุลชีววิทยา)
2. ความหมาย องค7ประกอบ และหลักการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
(การรักษาความปลอดภัยของโครงสร+างและสถานที่, บุคคล, สารชีวภาพ, การขนสZงหรือ
เคลื่อนย+ายสารชีวภาพ และข+อมูล)

You might also like