You are on page 1of 82

กรอบแนวคิดการดาเนินงาน EHA

สาหรับ “Practitioner”
ผศ.ดร.ศิราณี ศรีใส
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเด็นปรึกษาและแลกเปลี่ยน
1. งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
2. หลักการและแนวคิดระบบ EHA, ระบบคุณภาพกับ EHA
3. บทบาทของ Practitioner
4. SOP ของระบบ EHA
5. การประเมินตนเอง
6. แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ต้องรู้จักและเข้าใจ
• Environmental Health Scopes & Works
• Career Path
• Tools
• Ultimate Goal
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
(Environmental Sanitation)
สุข: สบาย
อภิบาล: บารุงรักษา
สุขาภิบาล: การระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หมายถึง การควบคุมองค์ประกอบ
ต่างๆ ที่เป็นสิ่งแวดล้อมทางกายภาพของมนุษย์ ซึ่งทาให้หรืออาจทาให้
เกิดเป็นพิษเป็นภัยต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์ต่อการ เจริญเติบโตและ
ต่อการดารงชีวิตที่ปลอดภัยของมนุษย์
WHO: Environmental Sanitation
Activities aimed at improving or maintaining
the standard of basic environmental
conditions affecting the well-being of people.
WHO: Environmental Health
Environmental health addresses all the physical, chemical,
and biological factors external to a person, and all the
related factors impacting behaviors. It encompasses the
assessment and control of those environmental factors
that can potentially affect health. It is targeted towards
preventing disease and creating health-supportive
environments.
Determinants of Health
Environmental
Determinants
Water Air Eco-balance

Social Health Economic&


Determinants Trade Determinants
Poverty Gender relations Status Globalization
Vulnerability

Health Systems
Access
Financing Financing
Human resources
Community participation
เป้าประสงค์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
คุ้มครองสิทธิ

มีคุณภาพชีวิต

ไม่เป็นโรค/สุขภาพดี
WHO(1970)

ขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 17 งาน
1. การจัดหานาสะอาด
2. การจัดการมูลฝอย
3. การบาบัดนาเสียและการควบคุมมลพิษทางนา
4. การควบคุมพาหะนาโรค
5. การควบคุมหรือการป้องกันมลพิษทางดิน
6. สุขวิทยาอาหาร
7. การควบคุมมลพิษทางอากาศ
Ref:WHO.Techn.Rep.Serial.,1970
8. การอนามัยกัมมันตภาพรังสี
9. อาชีวอนามัย
10. การควบคุมเสียง
11. การจัดการสิ่งแวดล้อมของบ้านอยู่อาศัย
12. การวางผังเมือง
13. การจัดการสิ่งแวดล้อมของการคมนาคม
ทังทางอากาศ ทางนา หรือทางบก
Ref:WHO.Techn.Rep.Serl.,1970
14. การป้องกันอุบัติภัยต่างๆ
15. การจัดการสิ่งแวดล้อมของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
16. การดาเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด
17. มาตรการป้องกันเพื่อให้สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปให้
ปราศจากความเสี่ยงหรืออันตรายใดๆ.
ขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม(ใหม่) (WHO 2010)

1.คุณภาพความปลอดภัยด้านอาหาร 11.มลพิษข้ามพรมแดน
2.การป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ 12.สาธารณภัย
3.การสุขาภิบาล 13.การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
4.คุณภาพนาบริโภค 14.เหตุราคาญ
5.การจัดการของเสียและมลพิษทางดิน 15.ที่อยู่อาศัย
6.การควบคุมมลพิษทางเสียง
7.การอาชีวอนามัย
8.การควบคุมสัตว์และแมลงนาโรค 16.การวางแผนการใช้ที่ดิน
9.คุณภาพอากาศ 17.การจัดการด้านการขนส่ง
18.การท่องเที่ยว & การพักผ่อนหย่อนใจ
10.รังสีที่แตกตัว และ รังสีที่ไม่แตกตัว 19.นิเวศวิทยาและการตังถิ่นฐานมนุษย์
20.พลังงาน
•การผลักใสให้อยู่ชายขอบ •การค้าและตลาด
ปัจจัยกาหนดส ุขภาพ •กลุม่ ชนดัง่ เดิม •การไหลของทุน
•การกดขี่ •วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความขัดแย้ง
ความรุนแรง การกีดกันทางสังคม ความ •สิทธิบตั ร
ยากจน โลกาภิวตั น์
ผูส้ งู อายุ
พัฒนาเด็กปฐมวัย นโยบายสาธารณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แอลกอฮอล์ วิถีชีวิต กายภาพ/ชีวภาพ บรรยากาศ ทางการเมือง
ยาสูบ พฤติกรรม เศรษฐกิจ/การเมือง
ความเชื่อ ปจเจกบ ุคคล วัฒนธรรม/ศาสนา
ยาเสพติด ั สิ่งแวดล้อม ประชากร ภัยธรรมชาติ
พันธ ุกรรม
เพศสภาพ จิตวิญญาณ การศึกษา ภาวะโลก

สตรี
ส ุขภาพ ความมัง่ คงปลอดภัย ร้อน
การขนส่ง ทุนทาง
สังคม
การศึกษาทาง เมือง/ชนบท
วิชาชีพ
สิทธิมนุษยชน
การแพทย์ทางเลือก ความเท่าเทียม/ความ ระบบ ค ุณภาพและประสิทธิภาพ อาหาร
ครอบคล ุม/ ชนิดและ บริการส ุขภาพ บริการสาธารณะ/
และการแพทย์พื้นบ้าน การจ้างงาน
ระดับการบริการ บริการเอกชน
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
การสาธารณสุขมูลฐาน สุขภาวะทางกายและจิตใจ
สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
โจทย์ที่ต้องการคาตอบ
• สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมและความเชื่อมโยงต่อสุขภาพของแต่ละ
Setting เป็นอย่างไร
• ความเสี่ยงที่ “ยอมรับได้” หรือ “รับมือได้” คืออะไร
• แนวทางบริหาร+จัดการเชิงรุกสาหรับอนาคต เป็นเช่นไร
• ........
งานอนามัยสิ่งแวดล้อม คาตอบอยู่ที่
ท้องถิ่น
Environmental Health Accreditation (EHA)

•คุณภาพ
•ระบบบริการ
•อนามัยสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิเท่าไหร่ถึงยอมให้เข้าตลาดได้??
Forehead Thermometer Strip
เครื่องมือ
Ear Thermometer
Glass Thermometer

Digital Thermometer
Practitioner
•คุณวุฒิหลากหลาย (คือ ความกว้างไกลทางวิชาการ)
•คุณสมบัติหลากหลาย (คือ ความสวยงาม)
•หน้าที่หลากหลายบทบาท (คือความเชี่ยวชาญ)
•แนวปฏิบัติหลากหลาย (คือ ..................)
ความมุ่งหวังในการดาเนินงาน EHA
•ทราบสถานการณ์จัดบริการของตนเอง
•เข้าใจกระบวนการและขันตอนการทางาน
•เรียนรู้และเพิ่มทักษะการดาเนินงาน
•ค้นหาโอกาสการพัฒนา
•สร้างระบบติดตาม ตรวจสอบ และทวนสอบการทางาน
What is “quality” ?

TQM:
Total Quality Management
TQM
Total Quality Management
QA:
QA Quality Assurance
Quality assurance
TQM
QC:
QC Quality Control
QA
QC
Inspection
Inspection

What is you measure is what you manage.


ระบบคุณภาพ
• คุณภาพ (คุณสมบัติ+สามารถตอบสนองต่อความต้องการและเป็นที่ยอมรับ)
• การตรวจสอบ (วัดลักษณะเฉพาะทางคุณภาพของผลิตภัณฑ์หรือบริการ เพื่อ
ประเมินหาความสอดคล้องกับข้อกาหนด)
• การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) (การดาเนินการให้เกิดความสอดคล้อง
กับข้อที่กาหนดด้านคุณภาพ)
• การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) (ทาให้เกิดความมั่นใจว่า ผลิตภัณฑ์
หรือบริการจะสามารถตอบสนองความต้องการด้านคุณภาพตามที่ตกลงไว้)
• การบริหารคุณภาพ (กระบวนการจัดการคุณภาพทังหมด)
ระบบคุณภาพ
• ความชัดเจนของคุณภาพ
• ระดับมาตรฐานหรือคุณลักษณะเฉพาะ
• ความคาดเคลื่อนที่ยอมรับได้
Standard VS Specification
Standard Specification
• คาแนะนาหรือหลักเกณฑ์ใน การ • ข้อกาหนดระหว่างผู้ขายและผู้ซือว่า
กาหนดหรือแบ่งสินค้า/บริการ ด้วย รูปร่าง ลักษณะ คุณภาพ ความ
ตามขนาดและชันคุณภาพ ปลอดภัย การบรรจุ หีบห่อ และ
• คาแนะนาในบรรจุ หีบห่อ ลักษณะอื่นๆของสินค้า/บริการ
สุขอนามัยและความปลอดภัยของ • เจาะจงเฉพาะขนาดและคุณภาพ ของ
สินค้านัน สินค้า/บริการที่ผู้ซือต้องการ
• คลอบคลุมขนาดและ คุณภาพ
ต่างๆของสินค้านันทังหมดที่มีอยู่
ในตลาด
คุณภาพในการจัดการมูลฝอย มีอะไรบ้าง??
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
…….
คุณภาพ
•Classical Concept
ระดับของการทาได้ตามมาตรฐาน
•Modern Concept
ความพึงพอใจของลูกค้า
หลักสาคัญของคุณภาพ

1. Customer Oriented
2. Continuous Improvement
3. Employees Involvement
Customer Satisfaction
•Perception Value
•User Experiences
อยากให้ลองเรียนรู้ค่ะ
“วัดคุณภาพไม่ได้ ก็จดั การไม่ได้”
EHA 1000-9000
การบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ
Total Quality Management (TQM)
• รางวัลเดมมิ่งของประเทศญี่ปุ่น ปี 1951(Deming Prize or Deming
Award)
• รางวัลคุณภาพแห่งชาติมัลคอล์มบอลดริจ ปี 1987 (Malcolm Baldrige
National Quality Award : MBNQP)
• รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย ปี 2003 (Thailand Quality
Award-TQA)
“Quality is never an
accident , it is always the
result of intelligent effort”

John Ruskin, 1985


การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Public Sector Management Quality Award: PMQA
(1) การนาองค์การ (ทิศทาง+สื่อสาร+ความรับผิดชอบ+จริยธรรม)
(2) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (แผน+เป้าหมายตรง+ถ่ายทอด)
(3) การให้ความสาคัญกับผูร้ ับบริการและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย (เรียนรู้ความต้องการ+สื่อสาร+วัด
ความพึงพอใจ)
(4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (ฐานข้อมูล+KM+HL)
(5) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (ระบบงาน+ความผาสุก)
(6) การจัดการกระบวนการ (คุณค่า+คุณภาพ+ผลผลิต)
(7) ผลลัพธ์การดาเนินการ (มาตรฐาน+คุณภาพ+ตรงความต้องการ)
PMQA กับ PMQA 4.0
PMQA 2558 PMQA 4.0
• ประเมินจากบริบทของหน่วยงาน • ยึดเป้าหมายการพัฒนาไปสู่ราชการ 4.0
• อธิบายความท้าทายขององค์กร • เข้าใจความท้าทายทังของส่วนราชการและการพัฒนาประเทศ
และตังเป้ายุทธศาสตร์ ในการตังเป้ายุทธศาสตร์ที่ท้าทาย
• ยึดค่านิยมของเกณฑ์และของ • ยึดปัจจความสาเร็จ 3 ประเด็นของราชการ 4.0 เป็นตัว
องค์กรในการปรับปรุง ขับเคลื่อน
• ประเมินเพื่อตอบสนองผลลัพธ์ • ประเมินเพื่อตอบสนองพันธกิจตามหน้าที่ส่วนราชการ และการ
ขององค์กร เชื่อมโยงสู่ยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ด้านการพัฒนาของประเทศ
ระบบราชการ 4.0
ฝากศึกษาข้อมูลของกพร.ค่ะ
Essential Environmental Health Services
ระบบคุณภาพกับ EHA
• ใช้แนวคิด TQM, PMQA 7 หมวด
• เน้นการพัฒนาภายในองค์กร เพื่อการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
• ประเมินตนเองภายในองค์กร, PDCA
• ประเมินจากภายนอกเพื่อรับรอง
• ขับเคลื่อนระบบงานทุกภาคส่วน
การประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
• Input

• Process
• Output: Vision+Mission+Standards
บทบาทที่เกี่ยวข้องกับระบบ EHA
• Auditor, Inspector, Practitioner
• Policy maker, Deployment, Practice
• Profession Criticism, Consultant, Learner
• Director, Manager, Worker
• Ethic&Spiritual developer, Leader, follower
• Ambassador, Negotiator, Speaker
• Role model, Benchmark, Copier
แบบไหนดีกว่ากัน
Input ที่สาคัญ คือ บุคลากรทุกภาคส่วน
•ปริมาณงานที่ทา •ยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม
•คุณภาพงานที่ทา •เป็นนายแห่งตน
•รู้จักสร้างระบบ •มีสัมพันธ์ภาพ
•รู้จักมองภาพเล็ก ภาพกว้าง - ภายในหน่วยงาน
•รู้จักวางแผน - ภายในองค์กร
Important Input
•Stakeholder competencies
•Public health competencies
การบริหารงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
•ทาคนเดียวไม่ได้
•ทาด้านเดียวไม่ได้
•ทาชั่วคราว ไม่ได้
•ไม่เข้าใจ ทาไม่ได้
ทบทวน เรียนรู้สมาชิกในทีม
•คุณสมบัติที่มีอยู่ และคุณสมบัติที่ต้องแสวงหาเพิ่ม
•รู้จักบทบาท และดาเนินบทบาทได้
•เทคนิคในการตรวจ
•การสร้างพลังในการตรวจ
•การบริหารจัดการ
EHA Norm??
• บรรทัดฐาน หรือ ปทัสถาน หรือ ปทัฏฐาน หมายถึง พฤติกรรมและบทบาท
ภายในสังคมหรือกลุ่ม
• เป็น"กฎซึ่งกลุ่มใช้สาหรับแยกแยะค่านิยม ทัศนคติและพฤติกรรมที่เหมาะสม
และไม่เหมาะสม”
• เป็น "กฎธรรมเนียมของพฤติกรรมที่ประสานปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น"
• การปฏิบัติตามบรรทัดฐานนามาซึ่งการได้รับความยอมรับและความเป็นที่นิยม
ภายในกลุ่ม การเพิกเฉยต่อบรรทัดฐานของสังคมอาจทาให้ผู้หนึ่งไม่ได้รับการ
ยอมรับจากกลุ่ม
Essential Norms (Re-branding)
1. การสร้างคุณค่าในงาน
2. การดาเนินงานอย่างมีคุณภาพ
3. การวิเคราะห์และตัดสินใจ
4. การพัฒนาความรู้ ทักษะ การประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องาน
5. การสร้างความน่าเชือ่ ถือส่วนบุคคล
6. การทางานเป็นทีม
7. การรับมือกับความขัดแย้งและความตึงเครียด
8. การสร้างและรักษาความพึงพอใจของลูกค้า
9. การเจรจาเพื่อเสนอทางออกและแก้ไขความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
Essential Norms (Re-branding)
• ขวนขวาย นาระบบงาน และเครื่องมือที่มีอยู่มาใช้ เพื่อพัฒนาอัตราการผลิตผลงาน
(Productivity) และคุณภาพให้ดีขึน (1)
• มีการกาหนดแนวทางเพื่อลดความเสี่ยง และโอกาสผิดพลาดของงาน เช่น การนาเสนอ
ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ หรืองานฉบับร่าง เพื่อขอความคิดเห็นจากหัวหน้า ทีมงาน
หรือลูกค้าก่อน (2)
• อธิบายประเด็น หรือแนวคิดที่เข้าใจยาก ให้เข้าใจง่าย โดยการใช้แผนภาพ แผนภูมิ
กราฟ และอื่น ๆ (3)
• สร้างเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญทังภายใน และภายนอกองค์กร (4)
Essential Norms (Re-branding)
• สื่อสารด้วยความชัดเจน กระชับรัดกุม ใช้ถ้อยคา และใช้รูปแบบที่เหมาะสมตามระดับของ
ผู้รับสาร (5)
• Feedback การปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์และทันเวลา (6)
• ยกปัญหาวิกฤตขึนมานาเสนอต่อลูกค้าหรือผู้บริหาร เพื่อให้รับทราบ และช่วยกาหนด
แนวทางแก้ปัญหานัน (7)
• เสนอทางเลือกที่ดีที่สุดและหาข้อสรุปร่วมกับลูกค้า นาข้อร้องเรียนของลูกค้ามาปรับปรุง
แก้ไขจนกระทั่งลูกค้าพึงพอใจ (8)
• คิดอย่างรอบคอบ ทะลุปรุโปร่ง (think through) และจัดเตรียมข้อคัดค้าน โต้แย้ง ที่
อาจจะเกิดขึน (9)
แนวทางการประเมินและรับรองระบบ
• การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์
• การเลือก/สุ่มตัวอย่าง
• การวิเคราะห์ข้อมูล (ตัวชีวัดและความคลาดเคลื่อน)
• การประมวลความคิดรวบยอด
• เสนอแนะการนาไปใช้
SOP ของ EHA
• การยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ และข้อ บัญญัติต่างๆ
• การใช้หลักวิชาการเป็นแนวทาง
• การใช้หลักการบริหารจัดการ
• อื่นๆ กระบวนการ+ผลลัพธ์

***SOP สามารถวนกลับมาทากระบวนการเริ่มต้นได้***
SOP ของระบบ EHA

เตรียมการ ดาเนินการ ประเมินผล


ขันเตรียมการ
•Hardware; ผู้ปฏิบัติงาน, อุปกรณ์
•Software; ระบบ, กลไกการขับเคลื่อนงาน
ขันดาเนินการ
•หลักอนามัยสิ่งแวดล้อม
•ระบบเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม
•การดาเนินการทางกฎหมาย
•การพัฒนาผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
•การบริหารจัดการอื่นๆ
ขันประเมินผล
• ผลที่เกิดจากการดาเนินงาน(จริงๆ)
• สถานการณ์ใหม่
• Customer satisfaction (ไม่ต้องรอให้เกิดการร้องเรียน)
• Opportunity of Improvement (OFI)
ระบบงานด้านสุขาภิบาลอาหาร
(EHA 1001-1003)
ระบบงานด้านการจัดการคุณภาพนา
(EHA 2001-2003)
ระบบงานด้านการจัดการส้วมสาธารณะ
(EHA 3001)
หลักสาคัญของ

1. SOP ของทุกระบบ เชื่อมโยงและส่งผลถึงกัน


2. SOP แต่ละขันสามารถวนกลับมายังจุดเริ่มต้นใหม่ได้
3. SOP ย่อย ยึดหลักการเดียวกัน แต่วิธีการต้องปรับเปลี่ยนตามบริบทของพืนที่
4. SOP ที่ชัดเจน จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่วัดได้ พัฒนาการดาเนินงานได้
5. SOP ต้องมีการเปลี่ยนแปลง/พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
SOP
ความสาเร็จของระบบการประเมินรับรอง EHA อยู่ที่ไหน????
งานที่ต้องทาในอนาคต

สร้างสรรค์

ประจาโดยคน ประจาโดยเครื่องมือ
โมเดลของการบริหารจัดการ
1. การเข้าใจบริบทของสิ่งแวดล้อมขององค์การ: สังคม(ไทย) การเมือง เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหาร
2. การจัดองค์การ:เพื่อให้สามารถบริหารคน จัดการคน จัดการความรู้ จัดการเทคโนโลยี
การวางแผน การนาพาองค์การของผู้บริหาร และการประเมินผลการทางาน
3. การรู้จักนาเครื่องมือทางการบริหารเข้ามาบริหารจัดการ เพื่อเป็นทางด่วนในการ
บริหาร เรียนรู้ความสาเร็จและความผิดพลาดของผู้อื่น แทนที่จะมาย่าเท้าอยู่กับที่
การเตรียมการเพื่อขอรับรองระบบ EHA
1. ศึกษาและทาความเข้าใจระบบ EHA, SOP
2. เตรียมทีมงาน บทบาท ความรับผิดชอบ
3. ประเมินตนเอง ครังที่ 1
4. ปรับปรุงการดาเนินงาน
5. เตรียมเอกสารและหลักฐาน
6. ประเมินตนเอง ครังที่ 2 (ไปข้อ4+5ใหม่)
7. สมัครและดาเนินการตามระบบฯ
การเลือกระบบเพื่อขอการรับรอง
• EHA 1000 คือระบบสุขาภิบาลอาหาร
• EHA 2000 คือระบบคุณภาพนาบริโภค
• EHA 3000 คือระบบสิ่งปฏิกูล
• EHA 4000 คือระบบมูลฝอย
• EHA 5000 คือระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
• EHA 6000 คือระบบเหตุราคาญ
• EHA 7000 คือระบบภัยพิบัติและสาธารณภัย
• EHA 8000 คือระบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
• EHA 9000 คือระบบกฎหมายสาธารณสุข
ปัจจัยในการเลือกขอรับรองระบบ EHA
• ผู้บริหาร
• องค์กร
• ผู้ปฏิบัติงาน
• ประชาชน
• อื่น ๆ
หลักสาคัญของการดาเนินงาน EHA
• ค้นหาปัญหาและสะท้อนภาพที่แท้จริงขององค์กรได้
• พบประเด็นพัฒนา
• กระตุ้น&สร้างแรงแรงจูงใจในการทางาน
เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหา
1. แตกตัวแปรย่อยของปัญหาให้เล็กลง
2. ใช้หลักตรรกศาสตร์ของ John Stuart Mills (Agreement, Different,
Residue, Co-commitment variation)
3. ใช้หลักตรรกศาสตร์ของ Aristotle (Deductive method) หาความจริง
จากข้อเสนอหลักและข้อเสนอรองที่มีความสัมพันธ์กัน (อนุมาน)
4. ใช้หลักตรรกศาสตร์ของ Francis Bacon (Inductive method) หาความ
จริงจากส่วนย่อย สรุปอ้างอิงขยายความ (นิรมัย)
ความคิดเชิงตรรก
•อ่านเป็น
•คิดเชิงตรรก/วิทยาศาสตร์
•วิเคราะห์ประเด็น
•ประมวลความคิดรวบยอด
•เรียบเรียงและเสนอแนวทาง
ค้นหาและวิเคราะห์ตัวชีวัด
•lag indicators ตัวชีวัดที่เป็นผลการทางานที่สามารถวัดได้
อย่างเป็นรูปธรรม และเป็นผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานของ
องค์กร
•Lead indicators ตัวชีวัดถึงเงื่อนไข หรือ ปัจจัยที่เป็นตัว
ขับเคลื่อนให้เกิดผลการปฏิบัติที่ดี
ตัวอย่างกรณีตัวชีวัดเชิงคุณภาพ
• ความพร้อมที่จะพัฒนาส้วมสาธารณะ
(EHA3001)
• ความร่วมมือของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย • ทาความเข้าใจและศึกษาให้ถี่ถ้วน
(EHA 4001)
• ปรึกษา Inspector และผู้เกี่ยวข้อง
• การสื่อสารความเสี่ยง (EHA 5000)
• จัดทาหลักฐานเชิงประจักษ์
• ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากปัญหา
เหตุราคาญ (EHA 6000)
• อื่นๆ
การเตรียมความพร้อมสาหรับการตรวจประเมิน
1. เอกสารและหลักฐาน (รูปธรรม+นามธรรม)
2. ทีมบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง
3. แนวการตอบคาถามของผู้ประเมิน
4. บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการประเมิน
5. ทวนสอบ ปรับปรุง และพัฒนา
การสื่อสาร
•สร้างสัมพันธภาพที่ดี
•ยืนยันเจตนาและอุดมการณ์ให้ชัด
•พร้อมรับการเรียนรู้และพัฒนา
•สร้างเครือข่าย+ต้นแบบ
•สร้าง+เสริม+สนับสนุนการดาเนินงานทุกฝ่าย
การบริหารจัดการ
•บริหารเวลาให้เหมาะสม
•มีแนวทางการจัดทาเอกสารและข้อมูล
•สรุปสาระสาคัญการดาเนินงาน
•ฝึกฝนการเขียนเรียบเรียง เชื่อมโยงข้อมูล
และแสวงหาแนวทางการพัฒนา
Signal of Change
•นโยบาย งบประมาณ
•ระบบคุณภาพ
•พลังการมีส่วนร่วม เครือข่าย
•เป้าประสงค์
•อื่น ๆ

You might also like