You are on page 1of 58

โรงเรียนวิทยาศาสตร์ทหารบก

หลักสูตรนายทหาร คชรน
.
มาตรารป้ องกันป้ องกัน
เป็ นบุคคล
ป. ๑๑๐
การป้ องกันระดับบุคคลมีความมุ่งหมาย เพื่อให้

 ทหารสามารถเอาชีวิตรอด

 สามารถช่วยเพื่อนให้มีชีวิตอยู่
รอด
 สามารถมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
ภารกิจของหน่วย
มีโอกาส
รอดชีวิต
ภัย มีและสามารถใช้
ถูกต้อง
คุกคาม ยุทธภัณฑ์ป้ องกัน
จาก ประจำกาย ทันเวลา
อาวุธ
นชค. สามารถปฏิบัติตามมาตรการป้ องกันได้
อย่างถูกต้อง

ก่อนการโจมตี ขณะเกิดการโจมตี หลังการโจมตี


 ทางระบบทางเดินลม
หายใจ
 ทางผิวหนัง

ทางระบบทางเดิน
อาหาร
Individual หรือ Personal Protective Equipment, IPE หรือ PPE
ทหารอเมริกันเรียก
“ยุทธภัณฑ์สำหรับลักษณะป้องกันตามภารกิจ”
(Mission-Oriented Protective Posture Gear, MOPP Gear)
เป็นยุทธภัณฑ์ป้ องกันประจำกาย ใช้สำหรับป้ องกันร่างกาย
 จ่ายให้เมื่อให้กำลังพลเมื่อมีภัยคุกคามจากอาวุธ
เคมี/อาวุธชีวะ
 เมื่อได้รับแล้วต้องนำติดตัวไปหรือเก็บไว้ใกล้ตัว
ยุทธภัณฑ์ป้องกันตน มีอยู่ 5 อย่าง
(Individual หรือ Personal Protective Equipment- IPE,
PPE) ยุทธภัณฑ์ป้องกันตน

เครื่องแต่งกายป้องกัน หน้ากากป้ องกันเคมี-ชีวะ

ยาป้องกันและยาแก้พิษ ยาทำลายล้างพิษบุคคล

เครื่องวัดปริมาณรังสี
ยุทธภัณฑ์ป้องกัน
ตน
หน้ากากป้องกัน
เครื่องแต่งกาย เคมี-ชีวะ
ป้องกัน ยาทำลายล้าง
พิษบุคคล
ยาป้องกันและยา
แก้พิษ
เครื่องวัดปริมาณ
รังสี
เครื่องแต่งกาย
ป้องกัน
(Protective Garment หรือ
Protective Clothing)

เสื้อ กางเกง ผ้าคลุมศรีษะ


ป้องกัน (Hood)
(Overgarment, Protective Suit)
ถุงมือป้องกัน รองเท้าป้องกัน
(Propective Gloves) (Protective Footware, Overboots)
ผ้าคลุม
เสื้อ ศรีษะ
กางเกง
ป้ องกัน

ถุงมือ
ป้ องกัน รองเท้า
ป้ องกัน
หน้ากากป้องกัน ใช้
เคมี-ชีวะ ป้ องกัน
- ใบหน้า สำหรับฝุ่ น
- นัยน์ตา กัมมันตรังสี แอโร
- ระบบทาง ซอลของสารเคมี-
เดินหายใจ ชีวะ
คิดเป็และสารเคมีที่
น 5 % ของ
- ระบบทาง เป็ นแก๊ส-ไอ
ผิวกาย
เดินอาหาร
เครื่องแต่งกาย
ป้องกัน
ใช้ป้องกันร่างกายส่วนเหลือ
ใช้ป้องกันร่างกายส่วนเหลือ
ยาป้องกันและยาแก้พิษ (Prophylactic Drug
and Antidote)
 ใช้เพื่อป้ องกันหรือใช้ในขั้นการปฐมพยาบาล
เพื่อบรรเทาอาการป่ วยเนื่องจากพิษของสารเคมี
 อาจเป็นยาที่ให้ล่วงหน้าเพื่อป้ องกันหรือบรรเทา
อาการป่ วย
 อาจเป็นยาแก้พิษ เมื่อเกิดอาการป่ วยแล้ว

เมื่อได้รับยาเหล่านี้แล้ว
ต้องเก็บไว้ในกระเป๋ าย่าม
หน้ากากป้องกันเสมอ
ยาทำลายล้างพิษส่วนบุคล (Individual
ยาทำลายล้างพิษส่วนบุคล (Individual
DecontaminationKit)
Decontamination Kit)
ใช้เพื่อทำลายล้างพิษสารเคมีที่เปรอะเปื้ อน
 ผิวหนัง
 เสื้อผ้า
 อาวุธยุทธภัณฑ์
ประจำกาย
เมื่อได้รับยาเหล่านี้แล้ว
ต้องเก็บไว้ในกระเป๋ าย่ามหน้ากาก
เครื่องมือวัดกัมมันตภาพรังสีส่วนบุคล
เครื่องมือวัดกัมมันตภาพรังสีส่วนบุคล
(IndividualDosimeter)
(Individual Dosimeter)
ใช้สำหรับวัดปริมาณรังสี 
และอนุภาค  ที่ร่างกายได้
รับ
เมื่อได้รับเครื่องมือนี้แล้ว จะต้องพกพาไปด้วยเสมอ
 เสียบติดติดสายโยงเป้
 เหน็บกระเป๋ าเสื้อ
 ใส่ช่องเหน็บที่แขนเสื้อ
การใช้ยุทธภัณฑ์ป้องกันตน
(ลภ.)

สวมได้โดยไม่ต้องรอฟังคำสั่ง
เมื่อสวมแล้วให้ส่งสัญญาแจ้ง
ภัยเฉพาะตำบล
ข้อกำหนดสำหรับการสวมหน้ากาก

 ทหารทุกชั้นยศที่มีหน้ากากอยู่กับตัว ต้อง
สวมทันที เมื่อ
 ได้ยินหรือเห็นสัญญาณเฉพาะตำบล
 ระบบสัญญาณแจ้งภัยสารเคมีอัตโนมัติที่ติดตั้งไว้
ส่งสัญญาณแจ้งภัย
ข้อกำหนดสำหรับการสวมหน้ากาก

 เมื่อฝ่ ายตรงข้ามนำอาวุธเคมี/ชีวะเข้า
มาในพื้นที่การรบ และสถานการณ์บ่งชี้ว่า
มีเจตนาจะใช้อาวุธเหล่านั้น
 เมื่อได้รับรายงานว่าหน่วยอื่นฝ่ าย
เดียวกันถูกโจมตีด้วยอาวุธเคมี/ชีวะ

สวมทันทีโดยไม่ต้องรอสัญญาณแจ้งภัย
หรือคำสั่ง
ข้อกำหนดสำหรับการถอด
หน้ากาก

เมื่อสวมแล้วจะถอดออกไม่ได้
จนกว่าผู้ยศสูงสุด ณ ที่นั้นจะสั่ง

ผบ. จะสั่งให้ถอดหน้ากากได้ ก็ต่อเมื่อมั่นใจว่ามีความ


ปลอดภัยแล้วเท่านั้น
กรรมวิธีถอดหน้ากาก
ป้องกัน
สั่งให้ดำเนินกรรมวิธี
จนท.ป้องกั
ผบ. น นชค.ของ
รายงานผลให้ ผบ. หน่วย

ดำเนิน
กรรมวิธีถอด
หน้ากาก
ป้องกัน
กรรมวิธีถอด เมื่อมีเครื่องตรวจ
หน้ากากป้องกัน สารเคมี
ขั้นเตรียมการ

จนท. ป้องกัน จนท. แพทย์


นชค. พร้อมยาแก้
เลือ พิษ
ก เฝ้าดูอาการ
กำลังพล 2-3 ป่ วย
นาย ที่มียศ
วัย และ
เข้าในที่
ขนาดร่างกาย ร่ม
กรรมวิธีถอด เมื่อมีเครื่องตรวจสารเคมี
หน้ากากป้องกัน
ขั้นดำเนินกรรมวิธี

จนท. ป้ องกัน นชค. ใช้ ตรวจพบ หยุดดำเนิน


เครื่องตรวจสารเคมี กรรมวิธี
ตรวจบรรยากาศรอบ
ตัว รายงาน

ผบ.
กรรมวิธีถอด เมื่อมีเครื่องตรวจสารเคมี
หน้ากากป้องกัน
ขั้นดำเนินกรรมวิธี จนท. แพทย์รอดูอาการ

จนท. ป้ องกัน นชค. ใช้


ไม่พบ สั่งให้กำลังพลที่ได้เลือกไว้
เครื่องตรวจสารเคมี ถอดหน้ากากป้ องกัน ลืมตาทั้ง
ตรวจบรรยากาศรอบตัว 2 ข้าง หายใจปกติ 5 นาที
ผบ.สั่ง
ถอด รายงาน ไม่มีอาการ ครบ 5 นาที ให้สวม
หน้ากาก ปลอด ป่ วย หน้ากาก สังเกต
ได้ ภัย อาการต่ออีก 10 นาที
กรรมวิธีถอด เมื่อไม่มีเครื่องตรวจสารเคมี
หน้ากากป้องกัน
ผบ. นำหน่วยไปอยู่ใน
พื้นที่ซึ่งคาดไม่มี
อันตราย แล้วจึงสั่งให้
จนท. ดำเนินกรรมวิธี
กรรมวิธีถอด เมื่อไม่มีเครื่อง
หน้ากากป้องกัน ตรวจสารเคมี
ขั้นเตรียมการ

จนท. ป้องกัน จนท. แพทย์


นชค. พร้อมยาแก้
เลือ พิษ
ก เฝ้ าดูอาการป่ วย
กำลังพล 2-3
นาย ที่มียศ
วัย และ
เข้าในที่
ขนาดร่างกาย ร่ม
กรรมวิธีถอด เมื่อไม่มีเครื่อง
หน้ากากป้องกัน ตรวจสารเคมี
ขั้นดำเนินกรรมวิธี จนท. แพทย์รอดูอาการ

สั่ง สวมหน้ากาก
กำลังพลที่เลือกไว้ ป้ องกันให้แนบ
สูดหายใจเข้าปอด สนิทดังเดิม
จนท. ป้ องกัน
ให้เต็มที่ กลั้น หายใจปกติ
นชค.
หายใจ ลืมตาทั้ง
สองข้าง สังเกตอาการ 10
นาที โดยเฉพาะ
นัยน์ตา
กรรมวิธีถอด เมื่อไม่มีเครื่อง
หน้ากากป้องกัน ตรวจสารเคมี
ขั้นดำเนินกรรมวิธี (ต่อ)

ถ้าไม่มี จนท. ป้ องกัน ให้แง้มหน้ากาก


อาการใด ๆ นชค. ลืมตา สูดหายใจ
เข้า-ออก 3-4 ครั้ง

สั่ง สวมหน้ากากแนบ
สนิทดังเดิม หายใจ
ปกติ สังเกตอากา
ร 10 นาที
กรรมวิธีถอด เมื่อไม่มีเครื่อง
หน้ากากป้องกัน ตรวจสารเคมี
ขั้นดำเนินกรรมวิธี (ต่อ) สั่ง

ถ้าไม่มี จนท. ป้ องกัน ให้กำลังพลที่เลือก


อาการใด ๆ นชค. ไว้ถอดหน้ากาก
หายใจปกติ 5 นาที

แพทย์เฝ้ า
สังเกตอาการ ให้สวมหน้ากาก
สังเกตอาการ แนบสนิทดังเดิม
10 นาที
กรรมวิธีถอด เมื่อไม่มีเครื่อง
หน้ากากป้องกัน ตรวจสารเคมี
ขั้นดำเนินกรรมวิธี (ต่อ)
ถ้าแพทย์ จนท. ป้ องกัน รายงาน
แจ้งว่าไม่ นชค. “ปลอดภัย”
พบอาการ
ป่ วย ผบ.สั่ง
ให้ถอดหน้ากาก
ป้ องกันได้
ลักษณะป้องกันตามภารกิจ
(ลภ.)
Mission – Oriented Protective Posture , MOPP
“ การกำหนดให้กำลังพลสวม
ยุทธภัณฑ์ป้องกันตนให้
สอดคล้องกับระดับภัยคุกคาม
จากอาวุธเคมี ภารกิจของ
หน่วย และอุณหภูมิ ”
ลักษณะป้องกันตามภารกิจ (ลภ.)

ผบ. จะเป็ นผู้กำหนดระดับ ลภ. ให้กำลังพล ต้องคำนึงถึง


 เพียงพอที่จะป้องกันอันตรายจากสาร
เคมี
 สวมแล้วยังสามารถปฏิบัติภารกิจได้เป็ น
ผลสำเร็จ
 เกิดการสูญเสียกำลังพลน้อยที่สุด ทั้ง
จากสารเคมี และความร้อน
ระดับ ลภ. (MOPP Levels)
ผบ. จะเป็ นผู้กำหนดระดับ ลภ. ให้กำลังพลได้ถึง 5 ระดับ เริ่ม
จากระดับ 0 ถึงระดับ 4
ระดับ ลภ. 0

ลภ.ระดับนี้จะใช้เมื่อทราบว่า ฝ่ ายตรง
ข้ามมีอาวุธเคมีแต่ยังไม่ได้ใช้ หรือเมื่อ
หน่วยวางกำลังในสนามรบครั้งแรกและ
ข่าวสารทาง นชค. ของฝ่ ายตรงข้ามยัง
ไม่กระจ่างชัด
ระดับ ลภ. 1

ลภ.ระดับนี้จะใช้เมื่อได้รับสัญญาณเตือน
ภัยทั่วไปจากหน่วยเหนือ
(ฝ่ ายตรงข้ามอาจใช้อาวุธเคมีโจมตีใน
พื้นที่กว้าง แต่ยังไม่สามารถเจาะจง
ตำบลหรือหน่วยที่ถูกโจมตีได้)
ระดับ ลภ. 2

ลภ.ระดับนี้จะใช้เมื่อหน่วยเคลื่อนที่โดย
เฉพาะด้วยการเดินผ่านพื้นที่ซึ่งไม่ได้รับ
รายงานว่ามีการเปื้ อนพิษ
ระดับ ลภ. 3

ลภ.ระดับนี้จะใช้เมื่อมีการเคลื่อนย้าย
กำลัง และมีความล่อแหลมมากต่อการ
ถูกโจมตีด้วยอาวุธเคมี
ระดับ ลภ. 4

ลภ.ระดับนี้จะใช้เมื่อจะต้องเข้าไปใน
พื้นที่เปื้ อนพิษ หรือเมื่อการโจมตีด้วย
อาวุธเคมีใกล้จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
การสวมหน้ากากป้ องกันเพียงอย่างเดียว
ในสภาพแวดล้อมที่เป็ นพิษ บางครั้งอาจไม่จำเป็ นต้องสวม
เครื่องแต่งกายป้ องกัน เพราะทหารอาจสัมผัสเพียงเฉพาะ
แก๊สหรือไอของสารเคมีเท่านั้น
แต่ในกรณีที่เป็ นไอของสารพุพองและไอของสารประสาท
ความเข้มข้นสูง การสวมหน้ากากเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียง
พอสำหรับการป้ องกัน
การอ่อนตัวของระบบ
การเลือกใช้ระดับ ลภ. เป็ นไปในลักษณะอ่อนตัว เช่นภายใน
หน่วย ผบ.อาจกำหนดให้ใช้ ลภ. แตกต่างกันได้ หรือในระดับ
ลภ. เดียวกัน อาจกำหนดรายละเอียดแตกต่างกันได้ เช่น
 เปิ ด/ปิ ดอกเสื้อป้ องกันได้ใน ลภ. 1 ถึง 3
 ยังไม่สวมผ้าคลุมศีรษะใน ลภ. 3
 ก่อนสวมเสื้อ-กางเกงป้ องกันจะถอดเครื่องแบบก่อน
หรือไม่ก็ได้
 อาจเพิ่มการสวมถุงมือป้ องกันใน ลภ. 1 ถึง 3
การวิเคราะห์ ลภ.
 เป็ นกรรมวิธีที่ใช้สำหรับเลือกระดับ ลภ. ที่เหมาะสม
กับสถานการณ์
 เพื่อหาความสมดุลระหว่างการสูญเสียกับการบรรลุ
ภารกิจ
 ผบ. ต้องวิเคราะห์ ลภ.ทุกครั้ง ก่อนที่จะตัดสินใน
เลือกใช้ ลภ.
 การวิเคราะห์ ลภ. ต้องพิจารณาปัจจัย ดังนี้
ปัจจัยการวิเคราะห์ ลภ.
 ภารกิจที่หน่วยต้องปฏิบัติ
 ประเภทของงานตามภารกิจ
 เวลาในการปฏิบัติภารกิจ
 ความล่อแหลมในการถูกโจมตี
 ระยะเวลาก่อนที่จะได้รับการเตือนภัย
 สภาพอากาศ
 การป้ องกันที่จะได้รับเพิ่มเติม
 ความพร้อมของกำลังพล
 ห้วงเวลาของวัน
ผู้กำหนดระดับ ลภ.
 ผบ. ตั้งแต่แม่ทัพน้อยขึ้นไป เป็ นผู้มีอำนาจสั่งให้ทุก
หน่วยในพื้นที่รับผิดชอบใช้ “ลภ.ระดับ ต่ำสุด”
 ผบ.พล./ผบ.หน่วยรองลงมา มีอำนาจเพิ่มระดับ ลภ.
สูงกว่าระดับต่ำสุดที่แม่ทัพน้อยกำหนด
 ผบ.พัน., ผบ.ร้อย., ผบ.มว., และ ผบ.หมู่ มีสิทธิที่จะ
ตัดสินใจเพิ่มหรือลดระดับ ลภ. สำหรับหน่วยของตน
ผบ.หน่วยรอง ไม่มีสิทธิลดระดับ ลภ.ต่ำ
กว่าระดับต่ำสุดที่แม่ทัพน้อยกำหนด
การลดระดับ ลภ.
เมื่อไม่มีอันตรายใด ๆ ในพื้นที่รอบ ๆ ผบ.หน่วยอาจสับ
เปลี่ยนหมุนเวียนให้กำลังพลบางส่วนลดระดับ ลภ. ลง
เพื่อคลายร้อน หรืออาจอนุญาตให้กำลังพลบางส่วน
สามารถถอดเสื้อผ้าป้ องกันออกได้ชั่วคราว โดยมีข้อ
พิจารณาดังนี้
ข้อพิจารณาในการลด ลภ. สำหรับกำลังพลบางส่วน
 จำนวนกำลังพลที่อนุญาตให้ ลด ลภ. ลงได้ ขึ้นอยู่การ
ประเมินสถานการณ์ในพื้นที่นั้น
 กำลังพลที่ต้องใช้สายตา ประสาทสัมผัสปลายนิ้ว หรือ
ใช้เสียงในการสื่อสาร
 กำลังพลที่ใช้ ลภ.ระดับสูงมาแล้วเป็ นเวลานาน
 เมื่อตรวจไม่พบสารเคมี อาจให้กำลังพลที่ต้องปฏิบัติงานปาน
กลางถึงหนักมากลดระดับลงมา
- ถอดถุงมือป้ องกัน - เปิ ดผ้าคลุมศีรษะ
- ถอดหน้ากากป้ องกัน - คลายหรือถอดเครื่องหมาย
- ถอดเสื้อหรือกางเกงป้ องกันหรือถอดทั้งเสื้อและกางเกงป้ องกัน
ก่อนการโจมตี
การป้ องกันที่ดีที่สุดคือ การเข้าที่กำบัง ซึ่งต้องจัดทำไว้ล่วงหน้าในทุก
โอกาสที่สถานการณ์ทางยุทธวิธีอำนวย
 ขุดหลุมบุคคล (fox hole) พร้อมเครื่องกำบังเหนือศีรษะ
 สำรวจหาที่กำบัง (shelter) ซึ่งเป็ นวัตถุธรรมชาติ ที่สร้าง
ขึ้น หรือสภาพภูมิประเทศในพื้นที่ เช่น ถ้ำ คู และท่อ
ระบายน้ำ
 ป้ องกันยุทโธปกรณ์และสิ่งอุปกรณ์ โดยเก็บสิ่งต่าง ๆ ให้ดี
อย่าให้ปลิวใส่เมื่อคลื่นแรงระเบิดเคลื่อนที่มาถึง อาจจะเก็บ
ในหลุมบุคคลที่ขุดขึ้นมาใหม่ก็ได้
 สวมเสื้อผ้าเต็มที่เสมอ เพื่อลดอันตรายจากรังสีความร้อน
 จดจำมาตรการป้ องกันและสัญญาณเตือนภัยเฉพาะตำบล
ขณะเกิดการโจมตี เมื่อถูกโจมตีโดยไม่รู้ตัว
ทหารทุกนายต้องป้ องกันโดยอัตโนมัติ และโดยสัญชาตญาณ
 หาที่พักกำบังหรือหลุมบุคคลภายในระยะ 3 ก้าว ให้เข้าไปหลบ
ทันที อย่าเคลื่อนที่เกินกว่า 3 ก้าว
 หากที่กำบังอยู่ไกลเกินกว่า 3 ก้าว ให้ทิ้งตัวนอนคว่ำราบกับพื้น
ทันที หันศีรษะที่สวมหมวกเหล็กไปทางทิศการระเบิด ก้มหน้า
หลับตา เก็บคาง เหยียดแขนข้างลำตัวหรือซุกไว้ใต้ลำตัว
 หมอบนิ่ง ๆ จนกว่าแรงระเบิดจะผ่านพ้นไปแล้ว และเศษ
ปรักหักพังหยุดตกใส่
 อยู่ในความสงบ ตรวจหาบาดแผล ตรวจความเสียหายของ
อาวุธยุทธภัณฑ์ประจำกาย และรอคำสั่งเตรียมการปฏิบัติต่อไป
ขณะเกิดการ เมื่อได้รับการเตือน
โจมตี ภัยล่วงหน้า
 เข้าที่พักกำบังที่ให้การป้ องกันได้ดีและอยู่ใกล้ที่สุด ถ้าไม่มีให้
รีบขุดหลุมบุคคลถ้ามีเวลาเพียงพอ
 ทันทีที่อาวุธนิวเคลียร์ระเบิด หมอบนิ่งและหลับตานานอย่าง
น้อย 10 วินาที รอจนกว่าแรงระเบิดจะผ่านพ้นไปแล้ว และ เศษปรัก
หักพังหยุดตก
ภายหลังการโจมตี
 ถ้าบรรยากาศมีฝุ่ นละออง ทำให้หายใจลำบากให้ใช้ผ้าปิ ดปาก
ปิ ดจมูก
 ถ้าจำเป็ นต้องเข้าไปในพื้นที่ซึ่งฝุ่ นกัมมันตรังสีกำลังตก ให้
เดินทางเข้าไปโดยเร็ว
 ถ้าฝุ่ นกัมมันตรังสีใกล้จะตกใส่ และหน่วยไม่ได้รับคำสั่งให้
เคลื่อนย้ายออกนอกพื้นที่ จะต้องขุดหลุมบุคคล ทำเครื่องกำบัง
เหนือศีรษะ
ภายหลังการโจมตี
 เมื่อฝุ่ นกัมมันตรังสีหยุดตกแล้ว ให้ทำลายล้างพิษร่างกาย
หลุมบุคคล และยุทโธปกรณ์
 ช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
 รอรับคำสั่งและเตรียมปฏิบัติภารกิจต่อไป
ก่อนการโจมตี
 เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค โดยการปลูกภูมิคุ้มกันโรคตามที่
แพทย์กำหนด
 รักษาสุขวิทยาส่วนบุคคล เพื่อเพิ่มความต้านโรค
 จัดให้มีการสุขาภิบาลพื้นที่ เพื่อกำจัดแหล่งอาศัยของพาหะ
นำโรคและแหล่งสะสมเชื้อโรค
 ป้ องกันอาวุธยุทธภัณฑ์ อาหารและน้ำสำรอง ไม่ให้เปื้ อนพิษ
 ป้ องกันผิวหนัง ปกปิ ดบาดแผล ใช้ยาทากันแมลง ปล่อยแขน
เสื้อลง ใส่ปลายขากางเกงในรองเท้า และสวมหมวกเสมอ
ขณะเกิดการโจมตี
 สวมหน้ากากป้ องกันทันที ถ้ายังไม่ได้สวม
 ถ้าถูกโจมตีด้วยการปล่อยกระจายสัตว์พาหะ ให้ใช้ยาฆ่าแมลง
 ถ้าถูกโจมตีด้วยการพ่นละอองทางอากาศ ให้ใช้มาตรการ
ป้ องกันเพิ่มเติม เช่นเดียวกับการป้ องกันเคมี
ภายหลังการโจมตี
 ทำลายล้างพิษเครื่องแต่ง อาวุธยุทธภัณฑ์ประจำกาย
และร่างกาย
 บริโภคแต่อาหารและน้ำที่ไม่เปื้ อนพิษ หากจำเป็ นต้องบริโภค
ก็ให้ทำลายล้างพิษนั้นนั้นเสียก่อน
 รายงานอาการป่ วยที่เกิดขึ้นทันที ไม่ว่าจะมีอาการเล็กน้อย
เพียงใด
ก่อนการโจมตี
 สวมเครื่องกายอย่างเต็มที่ รวมทั้งหมวกและปล่อยแขนเสื้อลง
 ใช้ ลภ. เมื่อได้รับคำสั่ง
 ป้ องกันอาวุธยุทธภัณฑ์ประจำกาย อาหารและน้ำ โดยปิ ดคลุม
หรือบรรจุในภาชนะที่ปิ ดได้สนิท
 ทำเครื่องกำบังศีรษะเหนือหลุมบุคคล เพื่อป้ องกันไม่ให้
สารเคมีตกใส่
ขณะเกิดการโจมตี ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนตามลำดับดังนี้
 สวมหน้ากากป้ องกันทันที ถ้ายังไม่ได้สวม
 ส่งสัญญาณแจ้งภัยเฉพาะตำบล
③ ปฏิบัติภารกิจต่อไป
④ เมื่อจำเป็ นหรือสถานการณ์ทางยุทธวิธีอำนวย ให้ปฏิบัติเพิ่มเติม
- สวมเครื่องแต่งกายป้ องกันที่เหลือ (เพิ่มระดับ ลภ.)
- เข้าที่พักกำบัง นชค.
- ปฐมพยาบาลตนเองหรือเพื่อนที่อยู่ข้างเคียง
- ทำลายล้างพิษผิวหนังที่เปื้ อนสารเคมีทันที
ขณะเกิดการโจมตี ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนตามลำดับดังนี้

 การปฏิบัติเมื่อถูกโจมตีด้วยการพ่นละอองทางอากาศ
หรือด้วยกระสุนเคมีแตกอากาศ
- สวมหน้ากากป้ องกันทันที ถ้ายังไม่ได้สวม
- ปกคลุมร่างกายด้วยผ้าปอนโจ ผ้าเต็นท์กระแบะ หรือผ้า
พลาสติก หรือเข้าไปหลบในอาคาร ยาน
พาหนะ ใต้ต้นไม้ ใหญ่หรือพุ่มไม้ เช่นเดียวกับการ
หลบฝน
- เมื่อละอองหรือหยดสารเคมีหยุดตกใส่แล้ว เอาสิ่งปิ ด
คลุมร่างกายออก ระวังอย่าให้ผิวหนังหรือยุทธภัณฑ์เปื้ อนสารเคมี
ภายหลังการโจมตี
 สวมหน้ากากป้ องกันต่อไปจนกว่าจะมีคำสั่งให้ถอดได้
 ปฐมพยาบาลผู้ป่ วยที่อยู่ใกล้เคียง
 ทำลายล้างพิษผิวหนัง เสื้อผ้า และอาวุธยุทธภัณฑ์ประจำ
กาย

You might also like