You are on page 1of 10

เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย

NALCO® 7330

้ ลิตภัณฑ์และบริษัท
หมวดที:่ 1. การบ่งชีผ

่ ผลิตภัณฑ์
ชือ : NALCO® 7330

้ ้วยวิธอ
การบ่งชีด ี น
ื่ ๆ : ไม่มข
ี ้อมูล

ข ้อแนะนาในการใช ้สารเคมีและ : สารชีวฆาต


ข ้อกาจัดต่างๆในการใช ้
ข ้อจากัดในการใช ้ : ดูข ้อจากัดของวิธใี ช ้และขนาดการใช ้จากเอกสารข ้อมูลผลิตภัณฑ์หรือสอบถามจากตัวแทน
จาหน่าย

บริษัท : NALCO INDUSTRIAL SERVICES (THAILAND) CO LTD


์ ซีบอร์ด, ซอย อีซ ี่ 6, ตาบล
โรงงานระยอง, 109/19 หมู่ 4, นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน
ปลวกแดง, อาเภอ ปลวกแดง
จังหวัดระยอง
ประเทศไทย 21140
โทรศัพท์ + 66-33-109-021

หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน : 02-104-0545, +65 6542 9595 (ระหว่างประเทศ)

วันทีอ
่ อกเอกสาร : 15.03.2018

้ วามเป็ นอันตราย
หมวดที:่ 2. การบ่งชีค

การจาแนกประเภทตามระบบ GHS
อาการแพ ้ทางผิวหนัง : กลุม
่ 1
ความเป็ นพิษเฉียบพลันต่อ : กลุม่ 1
สิง่ มีชวี ต
ิ ในน้ า
การกัดกร่อน/ระคายเคืองต่อ : กลุม
่ 1
ผิวหนัง
การทาลายดวงตา/การระคาย : กลุม
่ 1
เคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง

องค์ประกอบฉลากตามระบบ GHS

สญล ักษณ์แสดงอ ันตราย :

คาสัญญาน : อันตราย

ข ้อความแสดงความเป็ นอันตราย : ทาให ้ผิวหนังไหม ้และทาอันตรายต่อดวงตา


อาจทาให ้เกิดการแพ ้ทีผ ่ วิ หนัง
เป็ นพิษร ้ายแรงต่อสิง่ มีชวี ติ ในน้ า

ข ้อความแสดงข ้อควรระวัง : การป้ องกัน:


หลีกเลีย่ งการหายใจเอาฝุ่ น / ฟูม / ก๊าซ / ละอองเหลว / ไอระเหย / ละอองลอยล ้างผิว
และมือให ้สะอาดหลังจากการใช ้งานหลีกเลีย ่ งิ่ แวดล ้อมสวมถุงมือ/ ชุด
่ งการรั่วไหลสูส
ป้ องกันอันตราย/อุปกรณ์ป้องกันตา/ ใบหน ้า
เสือ้ ทางานทีป
่ นเปื้ อนไม่ควรนาออกจากสถานทีท ่ างาน
การจัดการในกรณีได ้รับสัมผัส หรือเกิดอุบต ั เิ หตุ:
หากกลืนกิน ให ้รีบล ้างปาก ห ้ามทาให ้อาเจียนหากสัมผัสผิวหนัง(หรือ ผม) ถอดเสือ ้ ผ ้าที่
ปนเปื้ อนออกทันที ชะล ้างผิวหนังด ้วยน้ า/ฝั กบัว
หากเข ้าดวงตา ;ล ้างด ้วยน้ าสะอาดเป็ นเวลาหลายๆนาที ให ้ถอดคอนแทคเลนส์ออก หาก
สามารถถอดออกได ้ง่าย ให ้ล ้างตาต่อไป รีบโทรหาศูนย์พษ ิ วิทยาหรือแพทย์/โรงพยาบาล

1 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

ทันทีหากเกิดการระคายเคืองผิวหนังหรือผืน ่ แดงเกิดขึน ้ :รับคาแนะนาจากแพทย์ / พบ


แพทย์เก็บสารทีห ่ กรั่วไหลหากสูดดมเข ้าไปให ้ย ้ายผู ้ประสบเหตุไปยังทีท
่ ม
ี่ อ
ี ากาศบริสท
ุ ธิ์
และให ้พักผ่อนในลักษณะทีห ่ ายใจได ้สะดวก
ซักเสือ้ ผ ้าทีป
่ นเปื้ อนสารให ้สะอาดก่อนนากลับมาใช ้ใหม่
การจัดเก็บ:
เก็บปิ ดล็อคไว ้
การกาจัด:
ให ้กาจัดภาชนะบรรจุหรือสารเคมี โดยโรงกาจัดของเสียทีไ่ ด ้รับการอนุญาตแล ้ว

อันตรายอืน
่ ๆ : ไม่มข
ี ้อมูล

หมวดที:่ 3. องค์ประกอบ/ข ้อมูลเกีย


่ วกับส่วนผสม

สารเคมีบริสท
ุ ธิ/์ ผลิตภัณฑ์ : สารผสม

่ ทางเคมี
ชือ หมายเลข CAS ความเข ้มข ้น: (%)
5-คลอโร-2-เมทิล-4-ไอโซไทอะโซลิน-3-โอน 26172-55-4 1-5
2-เมทิล-4-ไอโซไทอะโซลิน-3-โอน 2682-20-4 0.1 - 1

หมวดที:่ 4. มาตรการปฐมพยาบาล

ในกรณีทเี่ ข ้าตา : ล ้างด ้วยน้ าสะอาดจานวนมากทันที รวมทัง้ ใต ้เปลือกตาด ้วย อย่า งน ้อย 15 นาทีถ ้าสวม
คอนแทคเลนส์ให ้ถอดคอนแทคเลนส์ออกก่อนหากสามารถทาได ้ และล ้างตาอย่าง
ต่อเนือ
่ ง
รีบไปพบแพทย์ทน ั ที

ในกรณีทส ั ผัสผิวหนัง
ี่ ม : ล ้างออกด ้วยน้ าปริมาณมากทันทีอย่างน ้อย 15 นาที ใช ้สบูอ
่ อ ้ ผ ้าทีป
่ นถ ้ามี ซักเสิอ ่ นเปื้ อน
ก่อนนากลับมาใช ้ใหม่ ล ้างรองเท ้าให ้สะอาดก่อนนากลับมาใช ้ใหม่ รีบไปพบแพทย์ทน ั ที

หากกลืนกิน : บ ้วนปากด ้วยน้ า ห ้ามทาให ้อาเจียน ห ้ามให ้อะไรทางปากกับผู ้หมดสติ รีบไปพบแพทย์


ทันที

หากหายใจเข ้าไป : ย ้ายผู ้ป่ วยให ้ได ้รับอากาศบริสท


ุ ธิ์ รักษาตามอาการ นาไปพบแพทย์

การป้ องกันสาหรับผู ้ปฐม : ่ ง


ในกรณีทเี่ กิดเหตุฉุกเฉินให ้ประเมินอันตรายก่อนดาเนินการ ไม่ควรดาเนินการใดๆทีเ่ สีย
พยาบาล ต่อการบาดเจ็บ หากมีข ้อสงสัยให ้ติดต่อหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
ใช ้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลตามทีก ่ าหนด

หมายเหตุถงึ แพทย์ : รักษาตามอาการ

อาการ และผลกระทบทีส ่ าค ัญ : อ่านรายละเอียดเพิม


่ เติมเกีย
่ วกับผลกระทบต่อสุขภาพและอาการได ้ในส่วนที่ 11
ทีส
่ ุดทงแบบเฉี
ั้ ยบพล ัน และ
เกิดในภายหล ัง

หมวดที:่ 5.มาตรการการผจญเพลิง

สารดับเพลิงทีเ่ หมาะสม : การใช ้มาตรการดับเพลิงทีเ่ หมาะกับสภาวะแวดล ้อมเฉพาะทีแ


่ ละสิง่ แวดล ้อมรอบๆ

สารดับเพลิงทีไ่ ม่เหมาะสม : ไม่มข


ี ้อมูล

ความเป็ นอันตรายเฉพาะขณะ : ไม่ไวไฟหรือเผาไหม ้


ผจญเพลิง

สารทีม
่ อ
ี น
ั ตรายจากการเผาไหม ้ : ผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจากการสลายตัวอาจรวมถึงสารดังต่อไปนี้ คาร์บอนออกไซด์ ไนโตรเจน
ออกไซด์(NOx)

อุปกรณ์ป้องกันเฉพาะสาหรับนั ก : ใช ้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล

2 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

ผจญเพลิง

วิธก
ี ารดับเพลิงเฉพาะ : แยกเก็บน้ าดับเพลิงทีป
่ นเปื้ อน โดยต ้องระวังไม่ปล่อยลงท่อระบายน้ าเศษซากทีเ่ หลือจาก
การเผาไหม ้และน้ าดับเพลิงทีป ่ นเปื้ อนต ้องแยกทิง้ ตามกฎระเบียบของท ้องทีใ่ นกรณีทม
ี่ ี
อัคคีภัย และ/หรือ การระเบิดเกิดขึน ้ ห ้ามสูดควันเข ้าไป

หมวดที:่ 6. มาตรการจัดการเมือ
่ มีการหกและรั่วไหลของสาร

คาเตือนสาหรับบุคคล อุปกรณ์ : ทาให ้แน่ใจว่ามีการระบายอากาศทีด ่ พ


ี ออพยพคนออกจากบริเวณทีม ่ ก
ี ารหกหรือรั่วไหล
ป้ องกัน และวิธก
ี ารสาหรับกรณี ควรอยู่บริเวณเหนือลม
ฉุกเฉิน หลีกเลีย ่ งการสูดดม กลืนกิน หรือสัมผัสกับผิวหนังและดวงตาเมือ ่ พนักงานต ้องสัมผัสกับ
สารทีม ่ คี วามเข ้มข ้นสูงกว่าค่าสูงสุดทีก ่ าหนดไว ้ จะต ้องใช ้เครือ
่ งช่วยหายใจทีเ่ หมาะสมที่
ผ่านการรับรองแล ้ว
ผู ้ทาหน ้าทีท่ าความสะอาดสารเคมีต ้องเป็ นผู ้ทีไ่ ด ้รับการฝึ กอบรมมาเท่านัน ้ อ ้างอิงตาม
มาตรการป้ องกันในหัวข ้อที่ 7 และ 8

ข ้อควรระวังด ้านสิง่ แวดล ้อม : อย่าปล่อยให ้สัมผัสกับดิน น้ าผิวดิน หรือ น้ าใต ้ดิน

วิธก
ี ารและวัสดุสาหรับการกักเก็บ : อุดรอยรั่วถ ้าทาได ้อย่างปลอดภัยบรรจุและเก็บส่วนทีห ่ กด ้วยวัสดุดด
ู ซับ ทีไ่ ม่สามารถเผา
และการทาความสะอาด ไหม ้ได ้(เช่น ทราย ดิน ดินเบา วัสดุกน ั ร ้อนเวอมิคไู ลท์ )และใส่ในภาชนะสาหรับกาจัดตาม
กฎหมายในประเทศนัน ้ ๆ หรือตามหลักสากล (ดูหมวดที่ 13)
ชะล ้างสารทีต ่ กค ้างด ้วยน้ าในกรณีทเี่ กิดการรั่วไหลเป็ นปริมาณมาก ให ้ใช ้ทีก ่ น
ั ้ เพือ
่ กัน
้ สาร
ทีร่ ั่วไหล หรือจากัดการรั่วไหลเพือ ่ ป้ องกันไม่ให ้สารไหลลงสูแ ่ หล่งน้ า*สารละลายทีไ่ ม่
ออกฤทธิ-์ เตรียมสารขึน ้ มาใหม่โดยผสมโซเดียมคาร์บอเนต 5% โซเดียมไฮโปคลอไรต์
5% ในน้ า (เติมโซเดียมไบคาร์บอเนต 50 กรัมต่อสารฟอกขาวทีใ่ ช ้ในบ ้าน 1 ลิตร, ปิ ด
ภาชนะแล ้วเขย่าให ้เข ้ากัน 1 นาที) ให ้ห่างจากบริเวณทีท ่ าสารหก เตรียมให ้เป็ น 10 เท่า
ของปริมาตรสารทีห ่ กโดยประมาณ วัตถุและอุปกรณ์สาหรับเตรียมสารควรเก็บในทีท ่ ี่
สามารถหยิบใช ้ได ้เมือ ่ มีสารหกรด

หมวดที:่ 7. การใช ้และการเก็บรักษา

ข ้อแนะนาในการจัดการอย่าง : ห ้ามกลืนกิน ห ้ามหายใจเอาฝุ่ น / ฟูม / ก๊าซ / ละอองเหลว / ไอระเหย / ละอองลอย ห ้าม


ปลอดภัย ให ้สารเข ้าตา สัมผัสผิวหนังหรือเสือ้ ผ ้า ล ้างมือให ้สะอาดภายหลังจากการหยิบจับ
สารเคมี ให ้ใช ้สารในบริ
เวณทีม่ ก
ี ารระบายอากาศทีเ่ พียงพอเท่านัน ้

สภาวะการเก็บทีป
่ ลอดภัย : เก็บให ้ห่างจากมือเด็ก ปิ ดภาชนะบรรจุให ้สนิท จัดเก็บบรรจุภัณฑ์ทต
ี่ ด
ิ ฉลากในทีท
่ ี่
เหมาะสม

วัสดุทเี่ หมาะสม : ต่อไปนีค


้ อ
ื ข ้อมูลความเข ้ากันได ้ทีแ
่ นะนา โดยขึน ้ อยูก
่ ับข ้อมูลผลิตภัณฑ์ทคี่ ล ้ายกันและ /
หรือประสบการณ์ในอุตสาหกรรม เอชดีพอ ี ี (พอลิเอทิลน ี ความหนาแน่นสูง), PTFE, เพอร์
ฟลูออโรอีลาสโตเมอร์, พอลิไวนิลด ิ น
ี ไดฟลูออไรด์, พอลิโพรพิลน ี , คลอริเนเต็ดพอลิไว
นิลคลอไรด์ (แข็ง), แผ่นกระจกทนความร ้อนซึง่ ทาจากพอลิเมอร์

วัสดุทไี่ ม่เหมาะสม : ต่อไปนีค


้ อ
ื ข ้อมูลความเข ้ากันได ้ทีแ
่ นะนา โดยขึน
้ อยูก
่ ับข ้อมูลผลิตภัณฑ์ทค
ี่ ล ้ายกันและ /
หรือประสบการณ์ในอุตสาหกรรม เหล็กคาร์บอน, เหล็กกล ้าไร ้สนิม 304, เหล็กกล ้าไร ้สนิม
316L, ไนไตรล์, ทองเหลือง, ไนลอน, นีโอพรีน, EPDM, Fluoroelastomer, เคมีภัณฑ์
เคลือบผิวคอนกรีตป้ องกันการกัดกร่อน 7122

หมวดที:่ 8. การควบคุมการรับสัมผัสสาร/การป้ องกันส่วนบุคคล

ค่าต่างๆทีใ่ ช ้ควบคุมการรับสัมผัส
ไม่มส
ี ารทีม
่ ค
ี า่ ขีดจากัดทีใ่ ห ้รับสัมผัสได ้ขณะปฏิบต
ั งิ าน

การควบคุมทางวิศวกรรมที่ : ใช ้ระบบระบายอากาศเสียทีม ่ ป
ี ระสิทธิภาพ.ควบคุมค่าความเข ้มข ้นในอากาศให ้ตา่ กว่าค่า
เหมาะสม มาตรฐานทีก ่ าหนดให ้สัมผัสได ้ในสถานทีป ่ ระกอบการ

3 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

อุปกรณ์ป้องก ันภ ัยส่วนบุคคล

การป้ องกันดวงตา : แว่นแบบก๊อกเกิลส์


หน ้ากากป้ องกันสารเคมี

การป้ องกันมือ : สวมอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลดังต่อไปนี:้


ถุงมือนีโอพรีน
ยางธรรมชาติ
ี ี
พีวซ
ควรทิง้ ถุงมือและเปลีย ่ มสลายหรือการทะลุผา่ นของสารเคมี
่ นใหม่ถ ้าเห็นว่ามีการเสือ

การป้ องกันผิวหนัง : อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลประกอบด ้วย:ถุงมือป้ องกันทีเ่ หมาะสม แว่นแบบก๊อกเกิลส์


้ คลุมป้ องกัน
และเสือ

การป้ องกันระบบทางเดินหายใจ : เมือ


่ พนักงานต ้องสัมผัสกับสารทีม่ ค ่ าหนดไว ้ จะต ้องใช ้
ี วามเข ้มข ้นสูงกว่าค่าสูงสุดทีก
เครือ่ งช่วยหายใจทีเ่ หมาะสมทีผ
่ า่ นการรับรองแล ้ว

มาตรการเกีย
่ วกับสุขอนามัย : ใช ้งานตามมาตรฐานด ้านสุขอนามัยทีด ่ ข
ี องโรงงานอุตสาหกรรมและตามแนวปฏิบต ั เิ พือ

ความปลอดภัย ถอดเสือ ้ ผ ้าทีป
่ นเปื้ อนและทาความสะอาดก่อนนามาใช ้อีกครัง้ ล ้างหน ้า มือ
และผิวหนัง ส่วนอืน
่ ๆทีส ั ผัสกับสารเคมีให ้สะอาดหลังการใช ้งานทุกครัง้ ควรจัดหา
่ ม
อุปกรณ์ทเี่ หมาะสม ซึง่ สามารถชะล ้างร่างกายและดวงตาได ้อย่างทันท่วงที ในกรณีท ี่
สัมผัสกับสาร

หมวดที:่ 9. คุณสมบัตท
ิ างกายภาพและเคมี

ลักษณะทัว่ ไป : ของเหลว
สี : ี ี
ไม่มส
กลิน
่ : ฉุน
จุดวาบไฟ : ไม่มข
ี ้อมูล
ค่าความเป็ นกรด-ด่าง : 2 - 5,(100 %), (25 °C)
ค่าขีดจากัดของกลิน
่ ทีไ่ ด ้รับ : ไม่มข
ี ้อมูล
จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง : -3 °C
จุดเดือดเริม
่ ต ้น/ช่วงของการ : 100 °C, วิธก
ี าร: ASTM D 86
เดือด
อัตราการระเหย : ไม่มข
ี ้อมูล
ความสามารถในการลุกติดไฟ : ไม่มข
ี ้อมูล
(ของแข็ง, ก๊าซ)
ค่าจากัดสูงสุดของการระเบิด : ไม่มข
ี ้อมูล
ค่าจากัดตา่ สุดของการระเบิด : ไม่มข
ี ้อมูล
ความดันไอ : คล ้ายกับน้ า
ความหนาแน่นไอ : ไม่มข
ี ้อมูล
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ : 1.026, (25 °C),
ความหนาแน่น : ไม่มข
ี ้อมูล
ความสามารถในการละลายน้ าได ้ : ละลายได ้อย่างสมบูรณ์

4 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

ความสามารถในการละลายในตัว : ไม่มข
ี ้อมูล
ทาละลายอืน

ค่าสัมประสิทธิก
์ ารละลายของ : ไม่มข
ี ้อมูล
สารในชัน้ ของ n - octanol ต่อ
น้ า
อุณหภูมท
ิ ล
ี่ ก
ุ ติดไฟได ้เอง : ไม่มข
ี ้อมูล
สารทีเ่ กิดจากการสลายตัวด ้วย : ไม่มข
ี ้อมูล
ความร ้อน
ความหนืดไดนามิก : 3 mPa.s (25 °C)
ความหนืดไคนีมาติก : ไม่มข
ี ้อมูล
น้ าหนักโมเลกุล : ไม่มข
ี ้อมูล
VOC : 0%

หมวดที:่ 10. ความเสถียรและความไวต่อปฏิกริ ย


ิ า

ความเสถียรทางเคมี : เสถียรภายใต ้สภาวะปกติ

ความเป็ นไปได ้ในเกิดปฏิกริ ย


ิ า : ไม่มป
ี ฏิกริ ย ้ ในสภาวะใช ้งานตามปกติ
ิ าอันตรายใดๆเกิดขึน
อันตราย

สภาวะทีค
่ วรหลีกเลีย
่ ง : ไม่มข
ี ้อมูล

วัสดุทเี่ ข ้ากันไม่ได ้ : เมือ


่ สัมผัสกับตัวออกซิไดส์แก่ (เช่น คลอรีน, เพอร์ออกไซด์, โครเมต, กรดไนตริก,
ออกซิเจนความเข ้มข ้นสูง, เพอร์แมงกาเนต) อาจทาให ้เกิดความร ้อน, ไฟ, การระเบิด
และ/หรือไอระเหยเป็ นพิษ

ผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวที่ : ผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจากการสลายตัวอาจรวมถึงสารดังต่อไปนี้


เป็ นอันตราย คาร์บอนออกไซด์
ไนโตรเจนออกไซด์(NOx)

หมวดที:่ 11. ข ้อมูลด ้านพิษวิทยา

ข ้อมูลของช่องทางทีน
่ ่าจะเป็ น : การสูดดม, การสัมผัสทางดวงตา, การสัมผัสกับผิวหนัง
ช่องทางสัมผัส

ผลต่อสุขภาพทีอ
่ าจเกิดขึน

ดวงตา : ทาลายดวงตาอย่ารุนแรง

ทางผิวหนัง : ทาให ้ผิวหนังไหม ้อย่างรุนแรง อาจก่อให ้เกิดอาการแพ ้ทีผ


่ วิ หนัง

การกลืนกิน : ทาให ้เกิดการระคายเคืองในทางเดินอาหาร

การสูดดม : อาจทาให ้เกิดอาการะคายเคืองกับจมูก ลาคอ และปอด

การสัมผัสแบบเรือ
้ รัง : ไม่ทราบผลกระทบด ้านสุขภาพ หรือผลทีค
่ าดว่าจะเกิดขึน ่ ใช ้งานตามปกติ
้ เมือ

ประสบการณ์จากการรับสัมผัสในมนุษย์

การสัมผัสทางดวงตา : รอยแดง, เจ็บปวด, การกัดกร่อน

การสัมผัสกับผิวหนัง : รอยแดง, เจ็บปวด, ระคายเคือง, การกัดกร่อน, อาการแพ ้

5 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

การกลืนกิน : การกัดกร่อน, ปวดในบริเวณช่องท ้อง

การสูดดม : ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ, ไอ

ความเป็ นพิษ

ผลิตภัณฑ์
ความเป็ นพิษทางปากแบบ : การประมาณความเป็ นพิษเฉียบพลัน: > 5,000 mg/kg
เฉียบพลัน
ความเป็ นพิษต่อการสูดดมแบบ : LC50: 13.7 mg/l
เฉียบพลัน บรรยากาศในการทดสอบ: ไอ
ความเป็ นพิษเฉียบพลับเมือ
่ : การประมาณความเป็ นพิษเฉียบพลัน: > 5,000 mg/kg
สัมผัสผิวหนัง
การก ัดกร่อน/ระคายเคืองต่อ : ไม่มข
ี ้อมูล
ผิวหน ัง
การทาลายดวงตา/การระคาย : ไม่มข
ี ้อมูล
เคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง
การกระตุ ้นให ้ไวต่อการแพ ้ ใน : ไม่มข
ี ้อมูล
ระบบทางเดินหายใจ หรือบน
ผิวหนัง
การก่อมะเร็ง : IARC:ไม่มอ ี งค์ประกอบในผลิตภัณฑ์นท ี้ รี่ ะดับมากกว่าหรือเท่ากับ 0.1% ทีม
่ ก ้ ด
ี ารชีช ั ว่า
น่าจะเป็ น อาจจะเป็ น หรือยืนยันว่าเป็ นสารก่อมะเร็งโดย IARC
ผลต่อระบบสืบพันธุ์ : ไม่มค
ี วามเป็ นพิษต่อการสืบพันธุ์
การก่อให้เกิดการกลายพ ันธุ ์ : ี ว่ นประกอบทีอ
ไม่มส ่ ว่าเป็ นสารกลายพันธุ์
่ ยูใ่ นรายชือ
ของเซลล์สบ ื พ ันธุ ์
การทาให้ทารกมีรูปร่าง : ไม่มข
ี ้อมูล
ผิดปกติ
ความเป็ นพิษต่อระบบอวัยวะ : ไม่มข
ี ้อมูล
เป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจาก
การรับสัมผัสครัง้ เดียว
ความเป็ นพิษต่อระบบอวัยวะ : ไม่มข
ี ้อมูล
เป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจาก
การรับสัมผัสซ้า
ความเป็นพิษจากการสาล ัก : ไม่มก
ี ารจาแนกประเภทความเป็ นพิษจากการสาลัก
ลักษณะของอันตรายต่อมนุษย์
ตามลักษณะของอันตรายต่อมนุษย์, ความเป็ นอันตรายต่อมนุษย์คอ
ื : สูง

หมวดที:่ 12.ข ้อมูลด ้านนิเวศวิทยา

ความเป็ นพิษต่อระบบนิเวศน์

ผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม : ผลิตภัณฑ์นไี้ ม่มผ


ี ลกระทบทางนิเวศพิษวิทยาทีท
่ ราบ

ผลิตภัณฑ์
ความเป็ นพิษต่อปลา : LC50 Cyprinodon variegatus (ปลาซิวหัวแกะ): 32.000 mg/l
ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

6 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

LC50 Lepomis macrochirus (ปลากะพงปากกว ้าง): 18.67 mg/l


ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

LC50 ปลาเทราต์เรนโบว์: 12.67 mg/l


ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

LC50 ปลาหัวตะกั่วอินแลนด์: 16.62 mg/l


ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

NOEC Cyprinodon variegatus (ปลาซิวหัวแกะ): 18.000 mg/l


ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

NOEC ปลาหัวตะกั่วอินแลนด์: 12.5 mg/l


ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

ความเป็ นพิษต่อไรน้ าและสัตว์น้ า : LC50 กุ ้งเคย (ไมซิดอปซิสบาเฮีย): 18.000 mg/l


ทีไ่ ม่มก
ี ระดูกสันหลังอืน
่ ๆ ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

LC50 เซอริโอแดฟเนียดูเบีย (สัตว์น้ าประเภท คลาโดเซอรา): 13


mg/l
ระยะเวลารับสัมผัส: 48 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

NOEC กุ ้งเคย (ไมซิดอปซิสบาเฮีย): < 10 mg/l


ระยะเวลารับสัมผัส: 96 hrs
สารทดสอบ: ผลิตภัณฑ์

ความเป็ นพิษต่อสาหร่าย : ไม่มข


ี ้อมูล

การตกค้างยาวนานและความสามารถในการย่อยสลาย

ปริมาณคาร์บอนทัง้ หมดทีอ
่ ยูใ่ นน้ า : 7,850 mg/l

่ ้องการใช ้กับกระบวนทางเคมี(COD): 20,000 mg/l


ปริมาณออกซิเจนทีต

ปริมาณออกซิเจนทีต ่ ้องการใช ้กับกระบวนทางชีวเคมี(BOD):


มีระยะฟั กตัว ค่า รูปแบบลักษณะการทดสอบ
20 mg/l

การเคลือ
่ นย ้ายในดิน

การแพร่กระจายสูส ่ งิ่ แวดล ้อมประเมินโดยการใช ้โมเดลการทานายการกระจายของสารพิษในสิง่ แวดล ้อมแบบ fugacity model


ระดับ III ทีฝ
่ ั งตัวอยูใ่ น EPI (โปรแกรมการประเมินทีเ่ ชือ ่ มประสานกับผู ้ใช ้) Suite TM ทีจ ่ ัดหาโดย US EPA โมเดลจะสรุป
สภาพของสภาวะคงตัวระหว่างสิง่ ทีป ่ ้ อนเข ้าและผลลัพธ์ทไี่ ด ้ทัง้ หมด โมเดลระดับ III ไม่ต ้องการความสมดุลระหว่างสือ ่ ที่
กาหนด ซึง่ ผู ้ใช ้จะได ้ข ้อมูลของการประเมินทัว่ ไปของการแพร่กระจายสูส ่ งิ่ แวดล ้อมของผลิตภัณฑ์ภายใต ้สภาวะทีก
่ าหนดของ
โมเดล หากมีการปล่อยวัตถุสส ู่ งิ่ แวดล ้อมคาดว่าวัตถุนจี้ ะกระจายไปสูอ ่ ากาศ, น้ า และดิน/ตะกอนในเปอร์เซ็นต์โดยประมาณ
ตามลาดับ;

อากาศ : <5%
น้ า : 30 - 50%

7 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

ดิน : 50 - 70%

ส่วนทีอ
่ ยูใ่ นน้ าคาดว่าจะละลายหรือกระจายตัว

ศักยภาพในการสะสมทางชีวภาพ

ไม่มข
ี ้อมูล

ข ้อมูลอืน
่ ๆ

ไม่มข
ี ้อมูล

ลักษณะอันตรายต่อสิง่ แวดล ้อมและลักษณะการสัมผัส


จากการวิเคราะห์ลักษณะอันตรายต่อสิง่ แวดล ้อมของสารเคมีนี้ โอกาสทีส ี้ ะก่อให ้เกิดอันตรายต่อสิง่ แวดล ้อมอยูใ่ น
่ ารเคมีนจ
ระดับ ตา่

หมวดที:่ 13.ข ้อพิจารณาในการกาจัด

วิธก
ี ารกาจัด : ห ้ามไม่ให ้ปล่อยผลิตภัณฑ์นล ่ อ
ี้ งสูท ่ ระบาย,แหล่งน้ าหรือดิน
หากมีระบบจัดการของเสียทีไ่ ด ้รับการรับรอง สามารถจัดการสารเคมี
แล ้วนากลับมาใช ้ใหม่ได ้หากไม่สามารถจัดการได ้ ให ้กาจัดทิง้ ตาม
กฎหมายของประเทศนัน ้ ๆ
ให ้กาจัดภาชนะบรรจุหรือสารเคมี โดยโรงกาจัดของเสียทีไ่ ด ้รับการ
อนุญาตแล ้วเท่านัน้

มาตรการการกาจัด : กาจัดโดยวิธเี ดียวกับผลิตภัณฑ์ทย ี่ ังไม่ได ้ใช ้งาน ควรส่งภาชนะเปล่า


ไปยังสถานทีจ ่ ัดการของเสียทีไ่ ด ้รับการรับรองแล ้วเพือ ่ นากลับมาใช ้
ใหม่หรือกาจัดทิง้ ห ้ามนาภาชนะเปล่ากลับมาใช ก ้อี

หมวดที:่ 14. ข ้อมูลการขนส่ง

ผู ้ขนส่งสินค ้า / ผู ้ส่งของ / ผู ้ส่ง จะเป็ นผู ้รับผิดชอบเพือ


่ ให ้แน่ใจว่าบรรจุภัณฑ์,ฉลาก และเครือ
่ งหมายเป็ นไปตามข ้อกาหนดที่
ใช ้สาหรับการขนส่ง

การขนส่งทางบก

หมายเลข UN/ID : UN 3265


่ ทีถ
ชือ ่ ก
ู ต ้องในการขนส่ง : ของเหลวกัดกร่อน, เป็ นกรด, เป็ นสารอินทรีย,์ N.O.S.(Not
Otherwise Specified-ไม่ถกู ระบุไว ้เป็ นอย่างอืน
่ )
่ ทางเทคนิค
ชือ : 5-คลอโร-2-เมทิล-4-ไอโซไทอะโซลิน-3-โอน
ประเภทของอันตรายในการขนส่ง : 8
กลุม่ การบรรจุ : II

การขนส่งทางอากาศ (IATA)

หมายเลข UN/ID : UN 3265


่ ทีถ
ชือ ่ ก
ู ต ้องในการขนส่ง : ของเหลวกัดกร่อน, เป็ นกรด, เป็ นสารอินทรีย,์ N.O.S.(Not
Otherwise Specified-ไม่ถกู ระบุไว ้เป็ นอย่างอืน
่ )
่ ทางเทคนิค
ชือ : 5-คลอโร-2-เมทิล-4-ไอโซไทอะโซลิน-3-โอน
ประเภทของอันตรายในการขนส่ง : 8
กลุม่ การบรรจุ : II

การขนส่งทางทะเล (IMDG/IMO)

หมายเลข UN/ID : UN 3265


่ ทีถ
ชือ ่ ก
ู ต ้องในการขนส่ง : ของเหลวกัดกร่อน, เป็ นกรด, เป็ นสารอินทรีย,์ N.O.S.(Not

8 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

Otherwise Specified-ไม่ถก
ู ระบุไว ้เป็ นอย่างอืน
่ )
่ ทางเทคนิค
ชือ : 5-คลอโร-2-เมทิล-4-ไอโซไทอะโซลิน-3-โอน
ประเภทของอันตรายในการขนส่ง : 8
กลุม่ การบรรจุ : II
มลภาวะทางทะเล : 5-คลอโร-2-เมทิล-4-ไอโซไทอะโซลิน-3-โอน

หมวดที:่ 15.ข ้อมูลด ้านกฎข ้อบังคับ

่ ังค ับใช,้ ประเทศไทย


กฏหมายทีบ

พระราชบัญญัตวิ ัตถุอน
ั ตราย พ.ศ. 2535

่ สารความเป็ นอันตรายของวัตถุอน
การจาแนกและการสือ ั ตราย พ.ศ. 2555

สานั กงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) กฎหมายอาหาร ยา และเครือ ่ งสาอาง :


่ ใช ้สถานการณ์ทจ
เมือ ี่ าเป็ นต ้องเป็ นไปตามข ้อบังคับ FDA ผลิตภัณฑ์นจ ี้ ะยอมรับได ้ภายใต ้ : 21 CFR 176.170 ส่วนประกอบ
ของกระดาษและกระดาษแข็งทีต ่ ้องสัมผัสกับอาหารทีเ่ ป็ นน้ าและมีไขมัน และ 21 CFR 176.180 ส่วนประกอบของกระดาษและ
กระดาษแข็งทีต ่ ้องสัมผัสกับอาหารแห ้ง

ข ้อจากัดต่อไปนีใ้ ช ้:

ปริมาณยาสูงสุด ข ้อจากัด
FOLLOW EPA-BIOCIDE LABEL.

176.170 ข ้อจากัด: ผิวทีส ั ผัสอาหารต ้องสอดคล ้องกับข ้อจากัดในการแทรกซึมตามทีร่ ะบุใน 176.170 ©


่ ม
การใช ้ผลิตภัณฑ์นใี้ นลักษณะทีไ่ ม่เป็ นไปตามฉลากทีร่ ะบุไว ้ถือเป็ นการฝ่ าฝื นกฎหมายของรัฐบาลกลาง

กฎหมายควบคุมสารเคมีระหว่างประเทศ :

บัญชีรายการสารเคมีทอ ี่ ยูใ่ นกฎหมายควบคุมสารพิษของประเทศสหรัฐอเมริกา


ผลิตภัณฑ์นไี้ ด ้รับการยกเว ้นภายใต ้ TSCA และถูกควบคุมภายใต ้ กฎหมายยาฆ่าแมลง (FIFRA) (กฎหมายอาหาร ยา และ
เครือ
่ งสาอาง) สินค ้านีข ้ ายให ้เฉพาะการนาไปผสมสูตรเครือ
่ งสาอางค์

ประเทศออสเตรเลีย กฎหมายเกีย ่ วกับสารเคมีทใี่ ช ้ในอุตสาสหกรรม (การจดแจ ้งและการประเมิน) :


สารทุกชนิดทีอ
่ ยูใ่ นผลิตภัณฑ์นเี้ ป็ นไปตาม National Industrial Chemicals Notification & Assessment Scheme
(NICNAS)

่ สารเคมีทใี่ ช ้ภายในประเทศแคนาดา
รายชือ
สารทีถ่ ก
ู ควบคุมภายใต ้กฎหมายผลิตภัณฑ์ควบคุมสัตว์รบกวน ได ้รับการยกเว ้นจาก CEPA ข ้อบังคับการแจ ้งสารใหม่

ประเทศญีป่ น ุ่ บัญชีรายการสารเคมีทม ี่ ใี ช ้อยูใ่ นปั จจุบน


ั และสารเคมีตวั ใหม่
สารทุกชนิดในผลิตภัณฑ์นี้สอดคล ้องกับกฎหมายบังคับใช ้ในการผลิตและนาเข ้าสารเคมี และได ้รับการบันทึกอยูใ่ นรายการ
สารเคมีใหม่และทีม ่ อ
ี ยูใ่ นปั จจุบน
ั (the Existing and New Chemical Substances list /ENCS

ประเทศเกาหลี บัญชีรายการสารเคมีทม ี่ ใี ช ้ในประเทศเกาหลี


่ ของ Existing
สารทุกชนิดในผลิตภัณฑ์นเี้ ป็ นไปตามกฎหมายควบคุมสารเคมีเป็ นพิษ (TCCL) และมีอยูใ่ นบัญชีรายชือ
Chemicals List (ECL)

บัญชีรายการสารเคมีของประเทศฟิ ลป ิ ปิ นส์
่ สารเคมี
สารทุกชนิดในผลิตภัณฑ์นเี้ ป็ นไปตามกฎหมายฉบับที่ 6969 (Republic Act 6969 (RA 6969)) และอยูใ่ นบัญชีรายชือ
และสารทีอ่ ยูใ่ นสารเคมีของฟิ ลป
ิ ปิ นส์ (PICCS)

ประเทศจีน บัญชีรายการสารเคมีทม ี่ ใี ช ้ในประเทศจีน


สารทุกชนิดในผลิตภัณฑ์นเี้ ป็ นไปตามกฎหมายควบคุมสารเคมีและขึน
้ บัญชีตามรายการ Existing Chemical Substances
China (IECSC)

ประเทศนิวซีแลนด์ รายการสารเคมีทถ
ี่ ก
ู ตีพม ่ งต่อสิง่ แวดล ้อมของประเทศนิวซีแลนด์
ิ พ์โดยคณะบริหารความเสีย

9 / 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
NALCO® 7330

สารเคมีทงั ้ หมดในผลิตภัณฑ์นี้เป็ นไปตามกฎหมายวัตถุอน


ั ตรายและ
New Organisms (HSNO) ในปี 1996 และอยูใ่ นรายชือ ่ หรือได ้รับการยกเว ้นในรายชือ
่ สารเคมีของนิวซีแลนด์

รายการสารเคมีของประเทศไต ้หวัน
สารทัง้ หมดทีอ
่ ยูใ่ นผลิตภัณฑ์นส
ี้ อดคล ้องกับรายการสารเคมีทม
ี่ อ
ี ยู่ของไต ้หวัน(ECSI)

หมวดที:่ 16. ข ้อมูลอืน


่ ๆ

วันทีแ
่ ก ้ไข : 15.03.2018
หมายเลขลาดับเอกสาร : 1.3
จัดทาเอกสารโดย : Regulatory Affairs

ข ้อมูลปรับปรุงใหม่: การเปลีย
่ นแปลงข ้อมูลเกีย
่ วกับระบบหรือสุขภาพร่างกายทีส
่ าคัญสาหรับฉบับปรับปรุงนี้แสดงให ้ทราบใน
แถบตรงขอบทางซ ้ายมือของ MSDS

ข ้อมูลทีป
่ รากฎอยูใ่ นเอกสารข ้อมูลความปลอดภัยนีม ้ ค
ี วามถูกต ้องมากเท่าทีอ ่ ถึง ณ วันที่
่ งค์ความรู ้ ข ้อมูล และความเชือ
จัดพิมพ์เอกสารนี้จะอานวย ข ้อมูลนีถ ้ ก
ู จัดทาขึน ่ ใช ้เป็ นแนวทางในการจัดการ ใช ้งาน ดาเนินกระบวนการ เก็บรักษา ขนย ้าย
้ เพือ
กาจัด และปลดปล่อยสารเคมีอย่างปลอดภัย โดยข ้อมูลเหล่านีไ้ ม่ใช่การรับประกันหรือบ่งบอกถึงคุณลักษณะเฉพาะเกีย ่ วกับ
คุณภาพ ข ้อมูลจะเกีย ่ วข ้องกับสารเคมีเฉพาะทีร่ ะบุไว ้ในเอกสารและไม่ครอบคลุมถึงสารเคมีดงั กล่าวทีน ่ าไปรวมกับสารเคมี
หรือกระบวนการอืน ่ เว ้นแต่มก ี ารระบุเอาไว ้ในเอกสาร

10 / 10

You might also like