You are on page 1of 10

เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย

Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017


1. การบ่งชสารเดี
ย  วหรือสารผสม และผูผ
้ ลิต

ชือ ผลิต ภัณฑ์ : นํ ายาลอกสี ตราเอทีเอ็ม เบอร์ PR600


ATM PAINT REMOVER no. PR600
การใช้ ป ระโยชน์ : ใช้ ลอกสีเก่าทุกชนิด เช่น สีเคลือบแอลคีด, แลคเกอร์ , วาร์ นิช, อีพ๊อกซี3, สีอบ และสีเคลือบ
โพลียรู ี เธน เป็ นต้ น
ผู้ผ ลิต / ผู้จ าํ หน่ าย : บริ ษัท ยู. อาร์ . เคมีคอล จํากัด
ทีอ ยู่ : 81 หมู่ 11 ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี
สมุทรปราการ 10540
โทรศัพ ท์ : +66 2 312 1415-9
โทรสาร : +66 2 312 1048
โทรศัพ ท์ ฉ ุก เฉิน : +66 2 312 1415


2. การบ่งชความเป็ นอ ันตราย

การจําแนกประเภทตามระบบ GHS : - ของเหลวไวไฟ, ประเภทย่อย 3


- ความเป็ นพิษเฉียบพลันทางปาก, ประเภทย่อย 4
- ความเป็ นพิษเฉียบพลันทางผิวหนัง, ประเภทย่อย 5
- การกัดกร่อนและระคายเคืองทางผิวหนัง, ประเภทย่อย 2
- การทําลายดวงตาอย่างรุนแรงและการระคายเคืองดวงตา, ประเภทย่อย 2A
- การก่อมะเร็ง, ประเภทย่อย 2
- ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสครัง เดียว,
ประเภทย่อย 1 (CNS & Respiratory)
ประเภทย่อย 3 (Narcotic effect)
- ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสซํ า,
ประเภทย่อย 2 (CNS, Respiratory, Kidney & Liver)
- ความเป็ นอันตรายเฉียบพลันต่อสิง3 แวดล้ อมในนํ า, ประเภทย่อย 2
- ความเป็ นอันตรายระยะยาวต่อสิง3 แวดล้ อมในนํ า, ประเภทย่อย 2
องค์ประกอบฉลากตามระบบ GHS :
รูปสัญลักษณ์ :

หน ้า 1 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

คําสัญญาณ : อ ันตราย

ข้ อความแสดงความเป็ นอันตราย :
ความเป็ นอันตรายทางกายภาพ : - H226: ของเหลวและไอระเหยไวไฟ
ความเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ : - H302: เป็ นอันตรายเมื3อกลืนกิน
- H313: อาจเป็ นอันตรายเมื3อสัมผัสผิวหนัง
- H315: ระคายเคืองต่อผิวหนังมาก
- H319: ระคายเคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง
- H351: มีข้อสงสัยว่าอาจก่อให้ เกิดมะเร็ ง
- H370: ทําอันตรายต่อ ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบทางเดินหายใจ
- H336: อาจทําให้ งว่ งซึม หรื อมึนงง
- H373: ทําอันตรายต่อ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบทางเดินหายใจ ตับ และไต เมื3อ
สัมผัสเป็ นเวลานาน หรื อสัมผัสซํ า
ความเป็ นอันตรายต่อสิง3 แวดล้ อม : - H411: เป็ นพิษต่อสิง3 มีชีวิตในนํ า และมีผลกระทบระยะยาว
ข้ อความที3แสดงข้ อควรระวัง
การป้องกัน : - P210: เก็บให้ หา่ งจากความร้ อน/ ประกายไฟ/ เปลวไฟ – ห้ ามสูบบุหรี3
- P240: ให้ ตอ่ สายดิน/ เชื3อมประจุและอุปกรณ์รองรับ
- P241: ใช้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าที3ปอ้ งกันการระเบิด/ การระบาย/ แสงสว่าง และอุปกรณ์อื3นๆ
- P242: ใช้ อปุ กรณ์ที3ไม่เกิดประกายไฟ
- P243: ใช้ มาตรการป้องกันประจุไฟฟ้าสถิตย์
- P201: รับคําแนะนําเป็ นพิเศษก่อนใช้
- P202: ห้ ามใช้ จนกว่าจะอ่านและทําความเข้ าใจคําเตือนด้ านความปลอดภัยทังหมด 
- P270: ห้ ามกิน ดื3มหรื อสูบบุหรี3 เมื3อใช้ ผลิตภัณฑ์นี 
- Plmn: สวมถุงมือป้องกัน/ ชุดป้องกัน/ อุปกรณ์ปอ้ งกันดวงตา/ อุปกรณ์ปอ้ งกันหน้ า
- P260: ห้ ามหายใจเอาฝุ่ นละออง/ ไอระเหย/ ละอองเหลว/ ก๊ าซ/ ฟูม
- P264: ล้ างมือและส่วนต่างๆ ของร่างกายที3สมั ผัสสารหลังจากการใช้ งาน
- Plpq: หลีกเลีย3 งการปล่อยสารสูส่ งิ3 แวดล้ อม
การตอบโต้ : - P301+P312+P330: หากกลืนกิน ให้ บ้วนปาก โทรหาศูนย์พิษวิทยาหรื อแพทย์/
โรงพยาบาล หากรู้สกึ ไม่สบาย
- P303+P352: หากสัมผัสผิวหนัง (หรื อเส้ นผม) ล้ างด้ วยสบูแ่ ละนํ าปริ มาณมาก
- P321: บําบัดรักษาเป็ นพิเศษ (ดูรายละเอียดบนฉลาก)
- P332+P313: หากเกิดระคายเคืองผิวหนังขึ น ให้ ขอคําปรึกษาแพทย์/ พบแพทย์
- P361+P362: ถอดเสื อผ้ าที3ปนเปื อ นทังหมดออกทั
 นที และซักเสื อผ้ าก่อนนํามาใช้
- P305+P351+P338: หากเข้ าตา : ล้ างตาด้ วยนํ าสะอาดเป็ นเวลาหลายนาที
ถอดคอนแทคเลนส์ถ้าถอดได้ งา่ ย ล้ างตาต่อไป

หน ้า 2 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

- P337+P313: หากเกิดการระคายเคืองดวงตาขึ น ให้ ขอคําปรึกษาแพทย์/ พบแพทย์


- P304+P340: หากหายใจเข้ าไป ให้ เคลือ3 นย้ ายผู้ป่วยไปยังบริ เวณที3มมีอากาศบริ สทุ ธิr
และให้ พกั ในท่าที3หายใจได้ สะดวก
- P312: โทรหาศูนย์พิษวิทยาหรือแพทย์/ โรงพยาบาล หากรู้สกึ ไม่สบาย
- P391: เก็บสารที3หกรั3วไหล
- P370+Pqpm: ในกรณีของเพลิงไหม้ : ใช้ สารดับเพลิงที3เหมาะสมเพื3อการดับเพลิง
การจัดเก็บ : - P403+P235: เก็บในสถานที3ทมี3 ีการระบายอากาศดี เก็บในที3เย็น
- P233+P405: ปิ ดภาชนะบรรจุให้ สนิท เก็บปิ ดล็อกไว้
การกําจัด : - Psnt: กําจัดสาร/ ภาชนะบรรจุให้ สอดคล้ องกับกฎข้ อบังคับของท้ องถิ3น/
ระดับภูมิภาค/ ระดับประเทศ/ นานาชาติ

 วก ับสว่ นผสม
3. องค์ประกอบและข้อมูลเกีย

ส่ วนผสมทีเ ป็ นอัน ตราย

ชือ สารเคมี CAS No. % w/w ประเภทความเป็ นอัน ตราย


Methylene Chloride 75-09-2 70 – 85 % - Acute toxicity – oral, cat. 4
- Skin corrosion/ irritation, cat. 2
- Serious eye damage/ irritation, cat. 2A
- Carcinogenicity, cat. 2
- STOT (single), cat. 1 ( CNS & respiratory)
- STOT (single), cat. 3 (narcotic effect)
- STOT (repeated), cat. 1 (CNS, respiratory,
kidney & liver)
- Acute hazards to the aquatic environment, cat. 2
- Long-term hazards to the aquatic environment,
cat.2
Methanol 67-56-1 5 – 20 % - Flammable liquids, cat. 2
- Acute toxicity – oral, cat. 3
- Acute toxicity – dermal, cat. 3
- Acute toxicity – inhalation, cat. 3
- STOT (single), cat. 1 (CNS & Visual organ)

หมายเหตุ: STOT = Specific Target Organ Toxicity / ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง


CNS = Central Nervous System / ระบบประสาทส่วนกลาง

4. มาตรฐานการปฐมพยาบาล

การหายใจเข้ าไป : ให้ เคลือ3 นย้ ายออกไปที3อากาศบริสทุ ธิr หากอาการไม่ดีขึ น ให้ นาํ ตัวส่ง
ศูนย์พยาบาลที3ใกล้ ที3สดุ
หน ้า 3 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

การสัม ผัส ทางผิวหนัง : ถอดเสื อผ้ าทีเ3 ปื อ นสารเคมีออก ฉีดล้ างผิวหนังทันทีด้วยนํ าสะอาดปริ มาณ
มากๆ อย่างน้ อย 15 นาทีและล้ างต่อด้ วยนํ าและสบู่
ถ้ ามี อาการบวมแดง ปวด หรื อมีแผลให้ นําตัวส่งศูนย์พยาบาล
การสัม ผัส ทางดวงตา : ล้ างตาด้ วยนํ าสะอาดปริ มาณมากๆ หากยังคงมีอาการระคายเคือง หรื อบวมแดง
ให้ ปรึกษาแพทย์
การกลืน กิน : หากกลืนเข้ าไป ห้ ามล้ วงคอให้ อาเจียน : ให้ นําตัวส่งศูนย์พยาบาลที3ใกล้ ที3สดุ
เพื3อรับการรักษาต่อไป หากอาเจียนขึ นมาทันที ให้ ก้มหัวลงตํา3 กว่าระดับสะโพก
เพื3อกันการหายใจเอาอาเจียนเข้ าปอด
อาการและผลกระทบทีส าํ คัญ : การระคายเคืองต่อผิวหนังอาจทําให้ มีอาการต่างๆ เช่น ปวดแสบปวดร้ อน ผิวแดง
ทัง: ทีเ กิด เฉียบพลัน และเกิด ขึน: ภายหลัง บวม และ/หรื อ พุพอง
การระคายเคืองต่อดวงตา อาจทําให้ ตาแดง ปวดตา หรื อปวดแสบปวดร้ อนได้
การหายใจเอาไอระเหยเข้ าไปเป็ นจํานวนมากอาจก่อให้ เกิดการกดระบบประสาท
ส่วนกลาง (CNS) ทําให้ เวียนศีรษะ มึนงง ปวดศีรษะ คลืน3 ไส้ และระบบประสาท
ความเคลือ3 นไหวผิดปกติ
การรับสัมผัสสารเป็ นเวลานาน หรื อรับสัมผัสซํ า อาจส่งผลต่อการทํางานของระบบ
ประสาทส่วนกลาง ระบบทางเดินหายใจ รวมทังตั  บและไต

5. มาตรการผจญเพลิง

สารดับ เพลิงทีเ หมาะสม : โฟม สเปรย์นํ าหรื อม่านนํ า ผงเคมีแห้ ง คาร์ บอนไดออกไซด์ อาจใช้ ทรายหรื อดิน
กับไฟที3ไหม้ เพียงเล็กน้ อยเท่านัน
สารดับ เพลิงทีห้ ามใช้ : ห้ ามใช้ นํ าฉีดเป็ นลําโดยตรง
ความเป็ นอัน ตรายเฉพาะ : คาร์ บอนมอนอกไซด์อาจก่อตัวขึ นหากการเผาไหม้ ไม่สมบูรณ์ จะลอยตัวและอาจ
ทีเ กิด ขึน: กับ สารเคมี ติดไฟได้ อีกบนผิวนํ าที3ขงั อยูต่ ามพื นดิน ไอระเหยที3สะสมในปริ มาณมาก เมื3อผสมกับอากาศ
และอยูใ่ นสภาวะทีเ3 หมาะสม อาจก่อให้ เกิดการลุกไหม้ หรื อเกิดระเบิดขึ นได้
อุป กรณ์ ป้ อ งกัน พิเ ศษและ : สวมใส่ชดุ ป้องกันอันตรายและเครื3 องมือช่วยหายใจในตัว
ข้ อ ควรระวังสําหรับ นัก ผจญเพลิง
คําแนะนําเพิม เติม : ให้ ฉีดนํ าหล่อเย็นภาชนะบรรจุในบริ เวณใกล้ เคียง

หน ้า 4 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

6. มาตรการจ ัดการเมือ
 มีการหกรวไหลของสาร
ั

ข้ อ ควรระวังส่ วนบุคคล, : หยุดการรั3วไหล กําจัดแหล่งกําเนิดประกายไฟในบริ เวณโดยรอบ ห้ ามให้ บคุ ลที3ไม่


อุป กรณ์ ป้ อ งกัน อัน ตราย เกี3ยวข้ องเดินผ่านบริเวณที3ผลิตภัณฑ์หกรั3วไหล ระวังอย่าสัมผัสกับสารที3หก หรื อระเหย
และขัน: ตอนการปฏิบ ัต งิ านฉุก เฉิน ออกมา ให้ ถอดเสื อผ้ าที3ปนเปื อ นสารออกทันที สวมอุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายให้ เหมาะสม
กับสภาพพื นที3การทํางาน สามารถดูรายละเอียดเพิ3มเติมได้ ในบทที3 m
ควรแจ้ งให้ ทางการทราบหากมี หรื ออาจมีเหตุการณ์ที3ประชาชนทัว3 ไปหรื อ สิง3 แวดล้ อม
สัมผัส/ได้ รับสาร ไอระเหยอาจรวมตัวกับอากาศเป็ นส่วนผสมที3สามารถระเบิดได้
ข้ อ ควรระวังด้ านสิงแวดล้ อ ม : ควบคุมการดับเพลิง (ทังที  3เป็ นผลิตภัณฑ์และนํ าที3ใช้ ดบั เพลิง) เพือ3 หลีกเลีย3 ง การปนเปื อ น
ต่อสิง3 แวดล้ อม ป้องกันการกระจายตัว หรื อการไหลเข้ าสูท่ อ่ นํ าทิ ง, คูคลอง หรื อแม่นํ า
โดยการใช้ ทราย ดิน หรื อสิง3 กันที 3เหมาะสม พยายามกระจายไอจากสารเคมีไปยังพื นที3 ที3
มีความปลอดภัยโดยใช้ อปุ กรณ์ เช่น ม่านนํ า เป็ นต้ น ดําเนินมาตรการล่วงหน้ าเพื3อกัน
การเกิดประกายไฟฟ้าสถิตย์ ดูแลให้ ไฟฟ้าเดินต่อเนื3องกันโดยตลอด โดยเชื3อมและต่อ
อุปกรณ์ทงหมดลงดิ
ั น
มาตรการป้ อ งกัน : รั3วไหลเล็กน้ อย (< t ถัง) – ให้ ถ่ายเทสารเคมีด้วยวิธีกลไกเข้ าสูภ่ าชนะบรรจุที3ติดป้ายและ
เมือ ผลิต ภัณฑ์ ร ัวไหล ปิ ดผนึกอย่างดี เพื3อนํามาใช้ ประโยชน์ใหม่หรื อกําจัดทิ งอย่างปลอดภัย สําหรับสารเคมีที3
ตกค้ าง อาจปล่อยไว้ ให้ ระเหยไปเอง หรื อใช้ วสั ดุดดู ซับที3ซบั ได้ ดี ซับออก แล้ วนําไปกําจัด
ทิ งอย่างปลอดภัย

รั3วไหลปริ มาณมาก (> t ถัง) – ให้ ถ่ายเทสารเคมีด้วยวิธีกลไก เช่น ใช้ รถบรรทุก สูบ
สารเคมีจากถังที3หกเพื3อนํามาใช้ ประโยชน์ใหม่หรื อกําจัดทิ งอย่างปลอดภัย ห้ ามใช้ นํ าสาด
ของเหลวทีต3 กค้ าง แต่ให้ เก็บทิ งไว้ ให้ ระเหยไปเองหรื อใช้ วสั ดุ ดูดซับที3ซบั ได้ ดีซบั ออก แล้ ว
นําไปกําจัดทิ งอย่างปลอดภัย ขุดดินที3ปนเปื อ นออก แล้ วนําไปกําจัดทิ งอย่างปลอดภัย

 นย้าย ใชง้ าน และการเก็บร ักษา


7. การขนถ่าย เคลือ

ข้ อ ควรระวังในการขนถ่ าย เคลือ นย้ าย : ระวังอย่าให้ สมั ผัสกับผิวหนัง ดวงตา หรื อเสื อผ้ า ดับเปลวไฟ ห้ ามสูบบุหรี3 หลีกเลีย3 ง
ใช้ งาน และการเก็บ รัก ษา กิจกรรมที3ทาํ ให้ เกิดประกายไฟ ดูแลให้ ไฟฟ้าเดินต่อเนื3องกันตลอด โดยเชื3อมอุปกรณ์
ทังหมดเข้
 าด้ วยกันและต่อลงดิน ไอระเหยหนักกว่าอากาศ ขยายตัวไปตามพื นดิน และ
อาจลุกติดไฟในระยะ ทางไกลได้ จับและเปิ ดถังบรรจุอย่างระมัดระวังในบริ เวณที3มี
อากาศถ่ายเทได้ ดี ระบายอากาศสถานที3ทํางานด้ วยวิธีที3ทําให้ ไม่สมั ผัส/ได้ รับสาร ในการ
ประกอบอาชีพเกินขีดจํากัดที3กําหนดไว้ (Occupational Exposure Limit/ OEL)
อย่าทิ งลงไปในท่อระบายนํ า

หน ้า 5 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

สภาวะการเก็บ รัก ษาอย่ างปลอดภัย/ : ต้ องเก็บไว้ ในบริเวณซึง3 มีทกี3 นั  มีการถ่ายเทอากาศอย่างดี ห่างไกลจากแสงแดด


คําแนะนําสําหรับ ภาชนะ/ แหล่งติดไฟ และแหล่งความร้ อนอื3นๆ
รวมทัง: ข้ อ ห้ ามในการเก็บ รัก ษาสารที อุณหภูมิการเก็บ : สภาพแวดล้ อมปกติ
เข้ ากัน ไม่ ไ ด้ เก็บให้ หา่ งจากสารออกซิไดซิ3ง สารไวไฟ และสารกัดกร่อน
ภาชนะบรรจุอาจมีไอสารที3ระเบิดได้ แม้ จะไม่มีสารอยูใ่ นภาชนะอีกแล้ วก็ตาม
อย่าตัด เจาะ บด เชื3อม หรื อ ทํางานที3คล้ ายคลึงกันบนภาชนะบรรจุ หรื อในบริ เวณ
ใกล้ ภาชนะบรรจุ

ั ัสและการป้องก ันสว่ นบุคคล


8. การควบคุมการร ับสมผ

ค่ าทีใ ช้ ค วบคุม การรับ สัม ผัส

ค่าขีดจํากัดที3ยอมให้ รับสัมผัสได้ ขณะปฏิบตั ิงาน

ACGIH TLV
ชือ สารเคมี หมายเหตุ
TWA STEL
Methylene Chloride 50 ppm - ACGIH

Methylene Chloride 25 PPM 125 ppm OSHA

Methanol 200 ppm 250 ppm ACGIH

การควบคุม ทางวิศวกรรม : ในสถานที3อบั อากาศ ควรรักษาความเข้ มข้ นของสารลอยตัวในอากาศ ให้ คงอยูใ่ นระดับที3
เหมาะสมด้ วยระบบควบคุมทางวิศวกรรม
การป้ อ งกัน ส่ วนบุค คล :
อุปกรณ์ปอ้ งกันการหายใจ : หากไม่สามารถรักษาความเข้ มข้ นของสารลอยตัวในอากาศ ให้ คงอยูใ่ น ระดับที3เหมาะสม
ด้ วยระบบควบคุมวิศวกรรมเพื3อปกป้องสุขภาพของคนงาน ให้ เลือกอุปกรณ์ปอ้ งกัน
อันตรายต่อระบบเดินหายใจที3เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และเป็ นไปตามกฎหมาย
ข้ อบังคับที3เกี3ยวข้ อง ในกรณีที3สมควรใช้ หน้ ากากช่วยหายใจแบบกรองอากาศ ควรเลือก
หน้ ากากนริ ภยั ที3มีกรองรวมกัน เลือกกรองที3เหมาะสําหรับก๊ าซอินทรี ย์ และไอระเหย (จุด
เดือด > 65° C / 149° F ) และได้ มาตรฐาน EN 14387 ในกรณีที3ไม่สมควรใช้ หน้ ากาก
ช่วยหายใจ แบบกรองอากาศ (ตัวอย่างเช่น ความเข้ มข้ นของสารลอยตัวในอากาศมีสงู
เสีย3 งต่อการขาดออกซิเจน พื นที3จํากัด) ควรใช้ เครื3 องช่วยหายใจระบบความดันที3
เหมาะสม
อุปกรณ์ปอ้ งกันมือ : การป้องกันระยะยาว: ถุงมือยางเทียมไนไตรล์
การสัมผัสโดยบังเอิญ/ การป้องกันสารกระเด็น: ถุงมือนีโอพรี น/ ถุงมือ PVC

หน ้า 6 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

สุขลักษณะส่วนบุคคลเป็ นองค์ประกอบที3สาํ คัญของการดูแลมืออย่างมีประสิทธิภาพ


จะต้ องสวมถุงมือบนมือที3สะอาดเท่านัน
หลังจากการใช้ ถงุ มือควรล้ างมือและทํามือให้ แห้ ง
อุปกรณ์ปอ้ งกันตา : แว่นตานิรภัยที3สามารถป้องกันใบหน้ าและทนสารเคมี คอนแทคเลนส์ไม่ควรสวมใส่
อุปกรณ์ล้างตาและฝักบัวชําระล้ างควรจะตังอยู  ใ่ กล้ กบั พื นที3ทาํ งาน
อุปกรณ์ปอ้ งกันร่างกาย : ถุงมือ รองเท้ าบู๊ต และผ้ ากันเปื อ นสําหรับสวมใส่ปอ้ งกันสารเคมี ปกติแล้ ว ไม่จําเป็ นต้ อง
ใส่เครื3 องป้องกันผิว นอกจากเสื อผ้ าชุดทํางานมาตรฐานที3จดั ไว้ ให้

หมายเหตุ : การใช้ อปุ กรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคลไม่ถกู พิจารณาว่าเป็ นวิธีการแก้ ปัญหา


ในระยะยาวเพื3อการควบคุมการสัมผัส

9. คุณสมบ ัติทางกายภาพและทางเคมี

ลักษณะทัว3 ไป : ของเหลวข้ น สีขาวขุน่


กลิน3 : กลิน3 ฉุนเล็กน้ อย
จุดเดือด : ไม่มีข้อมูล
จุดหลอมเหลว : ไม่มีข้อมูล
จุดวาบไฟ : 24 – 25 °C (ASTM 7094)
ความหนืดจลน์ : > 300 mm2/s @ 40 °C
ความถ่วงจําเพาะ (นํ า = 1) : 1.1 – 1.2
ความสามารถในการละลายนํ า : ละลายได้ เล็กน้ อย

10. ความเสถียรและการเกิดปฏิกริ ย
ิ า

ความเสถียรทางเคมี : คงตัวในสภาพการใช้ งานตามปกติ


ความเป็ นไปได้ ในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย : ทําปฏิกิริยารุนแรงกับสารออกซิไดส์ซิ3งอย่างแรง เบสแก่ โลหะ (เช่น Potassium,
Magnesium, Sodium, Aluminum) ทําให้ เกิดเพลิงไหม้ และระเบิด
สภาวะที3ควรหลีกเลีย3 ง : หลีกเลีย3 งความร้ อน แสงแดด
สารที3ควรหลีกเลีย3 ง : สารออกซิไดส์ซงิ3 แก่
ความเป็ นอันตรายของสารที3เกิดจาก : ส่วนผสมเชิงซ้ อนซึง3 มีคาร์ บอนไดออกไซด์ คาร์ บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนคลอไรด์ ฟอส
การสลายตัว จีน และส่วนประกอบอินทรี ย์สารอื3นๆ

หน ้า 7 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

11. ข้อมูลด้านพิษวิทยา

พื นฐานการประเมิน : ที3มาของข้ อมูลได้ มาจากการทดสอบผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์


และ/หรื อ ผลิตผลที3คล้ ายกัน และ/หรื อ ส่วนประกอบ
พิษเฉียบพลันโดยทางปาก : มีความเป็ นพิษ: LD50 > 300 แต่ ≤ 2000 mg/kg (หนู)
พิษเฉียบพลันโดยทางผิวหนัง : มีความเป็ นพิษตํา3 : LD50 > 2000 แต่ ≤ 5000 mg/kg (กระต่าย)
พิษเฉียบพลันโดยทางการหายใจ : คาดว่ามีความเป็ นพิษตํ3า
พิษต่อผิวหนัง : ทําให้ เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง หากสัมผัสบ่อยๆ หรื อเป็ นระยะเวลานาน
พิษต่อดวงตา : ทําให้ ดวงตาเกิดการระคายเคือง
พิษต่อระบบหายใจ : การสูดดมไอระเหยหรื อละอองฝอยเข้ าไปอาจทําเกิดการระคายเคืองต่อระบบ
ทางเดินหายใจ
พิษที3เกิดจากการสําลัก : ไม่มีข้อมูล
พิษต่อการเปลีย3 นแปลงทางพันธุกรรม : ไม่มีหลักฐานแสดงว่ามีการเกิดการเปลีย3 นแปลงของยีน
พิษในการก่อมะเร็ ง : มีข้อสงสัยว่าอาจก่อให้ เกิดมะเร็ ง โดยอ้ างอิงจากข้ อมูลสาร Methylene Chloride.
พิษที3ทําให้ ตวั อ่อนผิดปกติ/ หรื อ : ไม่มีหลักฐานว่ามีอนั ตรายต่อการเจริ ญพันธุ์
มีผลต่อการสืบพันธุ์ ไม่คาดว่าจะทําให้ ความสามารถในการมีลกู ลดลง
พิษต่ออวัยวะเป้าหมาย เมื3อสัมผัสครัง เดียว : ไอระเหยอาจทําให้ ง่วงซึม หรื อมึนงง และอาจก่อให้ เกิดอาการระคายเคืองต่อระบบ
ทางเดินหายใจ
พิษต่ออวัยวะเป้าหมาย เมื3อสัมผัสซํ า : - ทําลายตับ ไต ทําให้ เอนไซม์ในตับเพิ3มขึ น เมื3อสัมผัสเป็ นเวลานานหรื อสัมผัสซํ า
- ระบบประสาทส่วนกลาง : การสัมผัสหรื อได้ รับสารติดต่อกันบ่อยครัง จะมีผลต่อระบบ
ประสาทส่วนกลาง ซึง3 จะเห็นผลเมื3อสัมผัส/ได้ รับสารในปริ มาณที3สงู มากเท่านัน
- ระบบทางเดินหายใจ : การสัมผัส/ได้ รับสารบ่อยๆ มีผลต่อระบบทางเดินหายใจ
ซึง3 จะเห็นผลได้ เมื3อสัมผัส/ได้ รับ ในปริ มาณที3สงู เท่านัน

12. ข้อมูลด้านนิเวศวิทยา

ความเป็ นพิษต่อสิง3 แวดล้ อม


พิษเฉียบพลัน
- ปลา : มีความเป็ นพิษ : LC/ EC/ IC50 1 - 10 mg/l/ 96 hrs
พิษเรื อ รัง
- ปลา : NOEC > 0.1 but ≤ 1.0 mg/l (ข้ อมูลได้ มาจากการจําลอง)
การเคลือ3 นย้ ายในดิน : หากผลิตภัณฑ์รั3วไหลลงไปในดิน องค์ประกอบของสารเคมีบางส่วนสามารถ
ซึมผ่านดิน และอาจทําให้ นํ าใต้ ดนิ เกิดการปนเปื อ น

หน ้า 8 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

ความคงอยู/่ การสลายตัวของสาร : ไม่ยอ่ ยสลายทางชีวภาพได้ อย่างรวดเร็ว


การสะสมของสารในสิง3 มีชีวิต : ไม่คาดว่าจะสะสมในสิง3 มีชีวิตอย่างมีนยั สําคัญ (log Kow : 1.25)

13. ข้อพิจารณาในการกําจ ัด

การกําจัดกากของเสีย : ควรนํากลับไปใช้ หมุนเวียนใหม่ ผู้ที3ทําให้ เกิดขยะของเสียมีหน้ าทีร3 ับผิดชอบ ในการ


พิจารณาความเป็ นพิษและคุณสมบัติทางกายภาพของสารที3เกิดขึ น เพื3อพิจารณา จัดแยก
ประเภทของเสียและวิธีการกําจัดที3 เหมาะสมตามระเบียบข้ อบังคับที3เกี3ยวข้ อง อย่ากําจัด
ทิ งลงไปในสิง3 แวดล้ อม ในท่อระบายนํ า หรื อในแม่นํ าลําคลองต่างๆ ไม่ควรให้ ผลิตผลของ
เสียปนเปื อ นดินหรื อนํ า
การกําจัดภาชนะบรรจุ : ถ่ายสารเคมีออกให้ หมดจากภาชนะบรรจุ เมื3อถ่ายสารเคมีออกแล้ ว ให้ ระบายอากาศ
ในที3ที3ปลอดภัยห่างไกลจากประกายไฟ สารตกค้ างอาจก่อให้ เกิดอันตรายระเบิดขึ น
อย่าเจาะ ตัด หรื อเชื3อมถังที3ยงั ไม่ได้ ทําความสะอาด ส่งไปให้ ผ้ ใู ช้ ถงั หมุนเวียน หรื อผู้ทํา
ประโยชน์จากของเสียโลหะ


14. ข้อมูลการขนสง

ADR /RID (การขนส่ งทางบก) IMDG (การขนส่ งทางเรือ ) IATA (การขนส่ งทางอากาศ)
UN Number 2810 UN 2810 2810
TOXIC, LIQUIDS, ORGANICS,
Toxic, Liquids, Organics, N.O.S. Toxic, Liquids. Organics, N.O.S.
Proper Shipping Name N.O.S. (METHYLENE
(Methylene Chloride) (Methylene Chloride)
CHLORIDE)
Class 6.1 6.1 6.1
Packing group II II II
Environmentally Hazardous Yes YES No

15. ข้อมูลด้านกฎข้อบ ังค ับ

พระราชบัญญัตวิ ตั ถุอนั ตราย พ.ศ.2535


ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอนั ตราย เรื3 อง การขนส่งวัตถุอนั ตรายทางบก พ.ศ. 2545

หน ้า 9 จาก 10
เอกสารข ้อมูลความปลอดภัย
Version: 2.0
นํ ายาลอกส ี ตรา เอทีเอ็ม เบอร์ PR600
Date of issue: 23.08.2017

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื3 อง การเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายทีก3 รมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื3 อง ระบบการจําแนกและการสือ3 สารความเป็ นอันตรายของวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2555

16. ข้อมูลอืน
 ๆ

ปรับปรุงครัง ที3 : 2.0


วันที3จดั ทํา : 23.08.2017
ข้ อมูลอ้ างอิง : 1) ข้ อมูลความปลอดภัย Methylene Chloride
จัดทําโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม
วันที3จดั ทําเอกสาร : 7 มีนาคม 2554
2) Safety Data Sheet of Methanol
จัดทําโดย บริ ษัท ท็อป โซลเว้ นท์ จํากัด
MSDS version 2.1 / Effective date: June 1, 2012

การปฏิเสธสิทธิ : ข้ อมูลข้ างต้ นได้ มาจากความรู้ที3มีอยูใ่ นปัจจุบนั ซึง3 ใช้ สาํ หรับอธิบาย ลักษณะผลิตภัณฑ์
เพื3อวัตถุประสงค์ด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิง3 แวดล้ อมเท่านัน ไม่ได้ ใช้ เป็ น
หลักประกันคุณสมบัตเิ ฉพาะใดๆ

บริ ษัทขอสงวนสิทธิในการเปิ ดเผยข้ อมูลที3แน่นอนขององค์ประกอบของสารผสมเนื3องจาก


ข้ อมูลดังกล่าวถือเป็ นความลับขององค์กรซึง3 มิอาจเปิ ดเผย หรื อเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนได้

หน ้า 10 จาก 10

You might also like