You are on page 1of 11

เอกสารข อ

้ มูลความปลอดภัย

Chemflake Special

1. การบ่งชีผ
� ลิตภัณฑ์
ตัวบ่งชีผ
� ลิตภัณฑ์ตามระบบ GHS : Chemflake Special
(GHS product identifier)
การบ่งชีด
� ว้ ยวิธอ
ี น
ื� ๆ : ไม่มข
ี อ
้ มูล
รหัสผลิตภัณฑ์ : 408
คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ : สี
ชนิดผลิตภัณฑ์ : ของเหลว

ขอ
้ แนะนํ าและข อ
้ จํากัดต่างๆ ในการใช ้สารเดีย
� วหรือสารผสม

การใช ้ทีร� ะบุไว ้


Use in coatings - การใช ้ทางอุตสาหกรรม
Use in coatings - Professional use

รายละเอียดผู ้ผลิต : Jotun Thailand Limited


700/353 Amata Nakorn Industrial Estate (BIP 2)
Moo 6, Tumbol Donhualoh, Amphur Muang Chonburi
Chonburi 20000 Thailand

Phone: + 66 2 022 9888


Fax: + 66 2 022 9888 , + 66 38 214 375

SDSJotun@jotun.com

้ ม : Jotun Thailand Limited


หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน (พร อ
ด ว้ ยเวลาทําการ) Phone: + 66 2 022 9888 ext. 2100, 2400, 2402

408 1,2 408


^(ValidationDate) 1
Approved

หมวดที� 2. การบ่งชีค
� วามเป็ นอันตราย
การจําแนกประเภทสารหรือสาร : ของเหลวไวไฟ - หมวด ๓
ผสม การกัดกร่อนและการระคายเคืองต่อผิวหนัง - หมวด ๒
การทําลายดวงตาอย่างรุนแรงและการระคายเคืองต่อดวงตา - หมวด ๒A
เป็ นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ (Toxic to reproduction) - หมวด ๒
ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสครัง� เดียว (การระคายเคือง
ต่อระบบทางเดินหายใจ) - หมวด ๓
ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสซํ�า - หมวด ๑
ความเป็ นอันตรายระยะยาวต่อสิง� แวดล อ้ มในนํ� า - หมวด ๓

องค์ประกอบฉลากตามระบบ GHS
รูปสัญลักษณ์ความเป็ นอันตราย :

คําสัญญาณ : อันตราย.

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 1/11
Chemflake Special

หมวดที� 2. การบ่งชีค
� วามเป็ นอันตราย
ขอ
้ ความแสดงความเป็ นอันตราย : H226 - ของเหลวและไอระเหยไวไฟ
H315 - ระคายเคืองต่อผิวหนังมาก
H319 - ระคายเคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง
H335 - อาจระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ
H361 - มีข อ้ สงสัยว่าอาจเกิดอันตรายต่อการเจริญพันธุห ์ รือทารกในครรภ์
H372 - ทําอันตรายต่ออวัยวะเมือ � รับสัมผัสเป็ นเวลานานหรือรับสัมผัสซํ�า (อวัยวะการได ้ยิน)
H412 - เป็ นอันตรายต่อสิง� มีชวี ต
ิ ในนํ� าและมีผลกระทบระยะยาว
ขอ
้ ควรระวัง
การป้ องกัน : P201 - ขอคําแนะนํ าพิเศษก่อนการใช ้งาน
P281 - ใช ้อุปกรณ์ปกป้ องส่วนบุคคตามทีร� ะบุไว ้
P280 - สวมถุงมือป้ องกัน สวมใส่อป ุ กรณ์ป้องกันดวงตาหรือใบหน า้
P210 - เก็บให ้ห่างจากความร อ้ น พืน
� ผิวทีร� อ
้ น เปลวไฟและแหล่งกําเนิดประกายไฟอืน
� ๆ ห า้ ม
สูบบุหรี�
P273 - หลีกเลีย � งการปล่อยสารออกสูส ่ งิ� แวดล อ ้ ม
P260 - ห า้ มหายใจเอาไอหรือสเปรย์เข า้ ไป
P270 - ห า้ มรับประทาน ดืม � หรือสูบบุหรี� ในขณะทีใ� ช ้ผลิตภัณฑ์นี�
การตอบสนอง : P308 + P313 - หากได ้รับสารหรือมีข อ ้ สงสัย: ให ้ติดต่อ/ปรึกษาแพทย์
P304 + P312 - หากสูดดม: โทรศัพท์ตด ิ ต่อศูนย์ควบคุมสารพิษหรือแพทย์ หากท่านรู ส้ ก
ึ ไม่
สบาย
P362 - ถอดเสือ � ผ า้ ทีเ� ปื� อนและล า้ งก่อนทีจ � ะนํ ามาใช ้อีกครัง�
P302 + P352 - หากสัมผัสผิวหนัง: ล า้ งด ว้ ยนํ� า
P305 + P351 + P338 - หากเข า้ ดวงตา: ล า้ งด ว้ ยความระมัดระวังด ว้ ยนํ� าหลายนาที ถอด
คอนแทคเลนส์ออก หากมีอยูแ ่ ละสามารถทําได ้ง่าย ให ้ล า้ งต่อ
P337 + P313 - หากยังคงมีอาการระคายเคืองดวงตา: ให ้ติดต่อ/ปรึกษาแพทย์
การจัดเก็บ : P403 + P233 - เก็บในสถานทีร� ะบายอากาศได ้ดี เก็บในภาชนะปิ ดสนิท
P403 + P235 - เก็บให ้อยูใ่ นสภาพเย็น
การกําจัด : P501 - กําจัดสารทีบ � รรจุและภาชนะบรรจุ ตามกฎระเบียบทัง� หมดในระดับท อ ้ งถิน
� ภูมภ
ิ าค
ประเทศ และระหว่างประเทศ

ความเป็ นอันตรายอืน
� ทีไ� ม่ได ้เป็ น : ไม่มข
ี อ
้ มูล
ผลจากการจําแนกตามระบบ GHS
เช่น

หมวดที� 3. องค์ประกอบและข อ
้ มูลเกีย
� วกับส่วนผสม
สารเดีย
� ว/สารผสม : สารผสม
การบ่งชีด
� ว้ ยวิธอ
ี น
ื� ๆ : ไม่มข
ี อ
้ มูล

หมายเลข CAS/ตัวบ่งชีอ
� น
ื� ๆ
หมายเลข CAS : ไม่มผ
ี ลบังคับใช ้
หมายเลข EC : สารผสม
รหัสผลิตภัณฑ์ : 408
ชือ
� ส่วนผสม % หมายเลข CAS
สไตรีน ≥25 - ≤50 100-42-5
กรดเมทธาครีลค
ิ <3 79-41-4
tetramethylammonium chloride ≤0.3 75-57-0
ภายในขอบเขตความรู ้ปั จจุบันของผู ้จัดจําหน่ายและเกีย � วกับความเข ม
้ ขน
้ ทีส
� ามารถใช ้ได ้ ไม่มส
ี ว่ นผสมเพิม
� เติมทีป
� รากฎ ทีถ
� ก
ู จัดว่าเป็ น
อันตรายต่อสุขภาพหรือสิง� แวดล อ
้ ม ดังนัน� จึงต อ
้ งรายงานในส่วนนี�

ขีดจํากัดการรับสารในการทํางาน หากมีอยู่ จะระบุไว ้ในหมวดที� 8

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 2/11
Chemflake Special

หมวดที� 4. มาตรการปฐมพยาบาล
คําอธิบายเกีย
� วกับมาตรการด า้ นการปฐมพยายามทีจ � ําเป็ น
การสัมผัสถูกดวงตา : ใช ้นํ� าจํานวนมากล า้ งตาทันที ยกเปลือกตาล่างและเปลือกตาบนเป็ นครัง� คราว ตรวจหาคอน
แทคเลนส์ แล ว้ ทําการถอดออก ให ้ชะล า้ งต่ออย่างน อ ้ ย 10 นาที ให ้ไปพบแพทย์
การสูดดม : ให ้เคลือ � นย า้ ยผู ้ได ้รับสารไปยังทีอ � ากาศบริสท ุ ธิแ� ละให ้พักผ่อนในท่าทางทีห � ายใจได ้สบาย ถ า้
สงสัยว่ายังมีควันของสารหลงเหลืออยู่ ผู ้ช่วยชีวต ิ ควรสวมหน า้ กาก หรือใช ้อุปกรณ์ชว่ ยหายใจ
ทีเ� หมาะสม หากไม่หายใจ หายใจไม่เป็ นปกติ หรือระบบหายใจล ม ้ เหลว ให ้ทําการช่วยหายใจ
หรือให ้ออกซิเจนโดยผู ้ทีไ� ด ้รับการฝึ กอบรมในเรือ � งดังกล่าวมาแล ว้ การช่วยชีวต ิ ด ว้ ยวิธปี ากต่อ
ปากอาจก่อให ้เกิดอันตรายได ้ ให ้ไปพบแพทย์ หากจําเป็ น โทรถึงศูนย์ควบคุมสารพิษหรือ
แพทย์ หากหมดสติ ให ้จัดผู ้ประสบภัยในท่าช่วยชีวต ิ และนํ าตัวส่งแพทย์ทันที ทําให ้อากาศ
โล่งไว ้ คลายเสือ � ผ า้ ส่วนทีร� ัดแน่นออก เช่น ปกเสือ � , เนคไท, เข็มขัด หรือสายรัดเอว
การสัมผัสทางผิวหนัง : ล า้ งผิวหนังทีส � กปรกด ว้ ยนํ� าจํานวนมาก ถอดเสือ � ผ า้ และรองเท า้ ทีม � เี ชือ
� โรคหรือสกปรก ให ้ชะ
ล า้ งต่ออย่างน อ ้ ย 10 นาที ให ้ไปพบแพทย์ ซักเสือ � ผ า้ ก่อนนํ ากลับมาใช ้ใหม่ ทําความสะอาด
รองเท า้ ให ้ทั�วก่อนนํ ามาใส่ใหม่
การกลืนกิน : บ ว้ นปากด ว้ ยนํ� า ถอดฟั นปลอมออกถ า้ มี หากกลืนกินสารเข า้ ไปและผู ้ทีไ� ด ้รับสารพิษนัน � ยังมีสติ
รู ส
้ กึ ตัว ให ้ดืม� นํ� าเล็กน อ ้ ย หยุดให ้นํ� าหากผู ้ได ้รับสารพิษรู ส ้ ก
ึ คลืน
� ไส ้เพราะอาจเป็ นอันตรายจาก
การอาเจียนได ้ ห า้ มทําให ้อาเจียนจนกว่าจะมีคําสัง� จากแพทย์ หากเกิดการอาเจียน ให ้ศีรษะ
อยูใ่ นระดับตํา� เพือ � ไม่ให ้อาเจียนเข า้ ไปสูป
่ อด ให ้ไปพบแพทย์ ห า้ มป้ อนสิง� ใดๆ ทางปากแก่ผู ้
ทีห � มดสติ หากหมดสติ ให ้จัดผู ้ประสบภัยในท่าช่วยชีวต ิ และนํ าตัวส่งแพทย์ทันที ทําให ้อากาศ
โล่งไว ้ คลายเสือ � ผ า้ ส่วนทีร� ัดแน่นออก เช่น ปกเสือ � , เนคไท, เข็มขัด หรือสายรัดเอว

อาการหรือผลกระทบทีส
� ําคัญ ทัง� ทีเ� กิดเฉียบพลันและทีเ� กิดขึน
� ภายหลัง (acute and delayed)
ผลร า้ ยแรงทีอ
� าจเกิดขึน
� ต่อสุขภาพ
การสัมผัสถูกดวงตา : ระคายเคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง
การสูดดม : อาจระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ
การสัมผัสทางผิวหนัง : ระคายเคืองต่อผิวหนังมาก
การกลืนกิน : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง
สัญญาณ/อาการของการได ้รับสารมากเกินไป
การสัมผัสถูกดวงตา : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
อาการปวดหรือระคายเคือง
น า้ ตาไหล
อาการผืน � แดง
การสูดดม : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
การระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ
การไอ
นํ� าหนักทารกลดลง
ทารกเสียชีวต ิ เพิม� ขึน �
โครงกระดูกผิดรูป
การสัมผัสทางผิวหนัง : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
การระคายเคือง
อาการผืน � แดง
นํ� าหนักทารกลดลง
ทารกเสียชีวต ิ เพิม� ขึน �
โครงกระดูกผิดรูป
การกลืนกิน : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
นํ� าหนักทารกลดลง
ทารกเสียชีวต ิ เพิม� ขึน �
โครงกระดูกผิดรูป

ระบุถงึ ข อ
้ ควรพิจารณาทางการแพทย์ทต
ี� อ
้ งทําทันที และการดูแลรักษาเฉพาะทีส
� ําคัญทีค � วรดําเนินการ
หมายเหตุถงึ แพทย์ : รักษาตามอาการ หากสูดดมหรือรับสารนีเ� ข า้ สูร่ ่างกายเป็ นปริมาณมาก ให ้รีบติดต่อผู ้เชีย
� วชาญ
ด า้ นการรักษายาพิษในทันที
การบําบัดเฉพาะ : ไม่มวี ธิ รี ักษาเฉพาะ
การป้ องกันของผู ้ให ้การปฐม : ไม่ควรดําเนินการใดๆ ทีจ � ะก่อให ้เกิดอันตราย หรือกระทําโดยไม่ได ้ผ่านการฝึ กอบรมทีเ� หมาะสม
พยาบาล ถ า้ สงสัยว่ายังมีควันของสารหลงเหลืออยู่ ผู ้ช่วยชีวติ ควรสวมหน า้ กาก หรือใช ้อุปกรณ์ชว่ ย
หายใจทีเ� หมาะสม การช่วยชีวต ิ ด ว้ ยวิธป
ี ากต่อปากอาจก่อให ้เกิดอันตรายได ้

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 3/11
Chemflake Special

หมวดที� 4. มาตรการปฐมพยาบาล
โปรดดูข อ
้ มูลด า้ นพิษวิทยา (หมวดที� 11)

หมวดที� 5. มาตรการผจญเพลิง
สารทีใ� ช ้ในการดับเพลิง
สารดับเพลิงทีเ� หมาะสม : ใช ้สารเคมีแห ง้ , CO₂, ละอองนํ� าหรือโฟม
สารดับเพลิงทีไ� ม่เหมาะสม : ห า้ มใช ้เครือ
� งฉีดนํ� า

ความเป็ นอันตรายเฉพาะทีเ� กิดขึน


� : ของเหลวและไอระเหยไวไฟ สารทีไ� หลลงสูท ่ อ
่ ระบายนํ� าอาจทําให ้เกิดเพลิงไหม ้หรือการ
จากสารเคมี ระเบิดขึน � ได ้ เมือ
� อยูใ่ นไฟหรือได ้รับความร อ ้ น จะเกิดความกดดันเพิม � ขึน
� และภาชนะอาจแตก
ออก และอาจมีการระเบิดตามมา สารนีเ� ป็ นอันตรายต่อสิง� มีชวี ต ิ ในนํ� า และมีผลกระทบเป็ นเวลา
นาน ต อ ้ งควบคุมนํ� าทีใ� ช ้ดับเพลิงทีเ� ปรอะเปื� อนสารชนิดนีไ� ว ้ และป้ องกันไม่ให ้ไหลลงสูท
่ างนํ� า,
ท่อนํ� าทิง� หรือท่อระบายนํ� า
สารอันตรายทีเ� กิดจากการสลาย : ผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวอาจมีวัสดุดงั ต่อไปนี�
ตัวของความร อ
้ น คาร์บอนไดออกไซด์
คาร์บอนมอนนอกไซด์
สารประกอบทีเ� ติมฮาโลเจน
ออกไซด์/ออกไซด์ตา่ งๆของโลหะ

ขอ้ ปฏิบัตพ
ิ เิ ศษในการป้ องกัน : ให ้ปิ ดกัน
� บริเวณทีเ� กิดเหตุในทันที โดยอพยพผู ้คนทีอ � ยูใ่ นบริเวณนัน
� ออกไป หากมีเพลิงไหม ้
สําหรับนักผจญเพลิง เกิดขึน � ไม่ควรดําเนินการใดๆ ทีจ � ะก่อให ้เกิดอันตราย หรือกระทําโดยไม่ได ้ผ่านการฝึ กอบรมที�
เหมาะสม เคลือ � นย า้ ยภาชนะบรรจุให ้พ น
้ จากบริเวณทีเ� กิดเพลิงไหม ้หากทําได ้โดยไม่เสีย
� ง ใช ้
สเปรย์ฉีดนํ� าเพือ� รักษาความเย็นให ้กับภาชนะทีเ� สีย � งต่อการเกิดเพลิงไหม ้
อุปกรณ์ป้องกันพิเศษสําหรับนัก : นักดับเพลิงควรสวมอุปกรณ์ป้องกันทีเ� หมาะสม และเครือ � งช่วยหายใจบรรจุอากาศในตัว
ผจญเพลิง (SCBA) หน า้ กากแบบครบชุดทีท � ํางานด ว้ ยโหมดความดันแบบโพซิทพ ี

หมวดที� 6. มาตรการจัดการเมือ
� มีการหกรั�วไหลของสาร
ขอ
้ ควรระวังส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันอันตราย และขัน � ตอนการปฏิบัตงิ านฉุกเฉิน
สําหรับเจ า้ หน า้ ทีท
� ไี� ม่ใช่ฝ่าย : ไม่ควรดําเนินการใดๆ ทีจ � ะก่อให ้เกิดอันตราย หรือกระทําโดยไม่ได ้ผ่านการฝึ กอบรมทีเ� หมาะสม
ปฏิบัตกิ ารฉุกเฉิน อพยพผู ้คนออกจากบริเวณโดยรอบ ห า้ มบุคคลทีไ� ม่เกีย � วข อ ้ งและไม่มก
ี ารป้ องกันทีด � เี ข า้ มาใน
พืน
� ที� ห า้ มสัมผัสหรือเดินผ่านสารทีห � ก ปิ ดแหล่งทีท � ําให ้เกิดประกายไฟทัง� หมด ห า้ มจุดพลุ
ส่องสว่าง สูบบุหรี� หรือมีเปลวไฟในพืน � ทีอ
� ันตราย หลีกเลีย � งการหายใจเอาไอหรือละอองไอเข า้
ไป มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ สวมอุปกรณ์ชว่ ยหายใจทีเ� หมาะสม เมือ � มีการระบายที�
อากาศไม่เพียงพอ สวมใส่อป ุ กรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลทีเ� หมาะสม
สําหรับผู ้ปฏิบัตก ิ ารตอบโต ้ภาวะ : หากจําเป็ นต อ ้ งใช ้เครือ
� งแต่งกายชนิดพิเศษเพือ � จัดการกับการหกรั�วไหล ให ้พิจารณาข อ ้ มูลจาก
ฉุกเฉิน หัวข อ
้ ที� 8 เกีย� วกับวัสดุทเี� หมาะสมและไม่เหมาะสม ดูข อ ้ มูลใน "สําหรับเจ า้ หน า้ ทีท
� ไี� ม่ใช่ฝ่าย
ปฏิบัตก ิ ารฉุกเฉิน" ด ว้ ย

ขอ
้ ควรระวังด า้ นสิง� แวดล อ
้ ม : หลีกเลีย� งการทําให ้วัตถุแตกกระจาย และสัมผัสกับพืน � ดิน ทางเดินนํ� า ท่อระบายนํ� าและท่อ
ระบายของเสียต่างๆ หากผลิตภัณฑ์นท ี� ําให ้เกิดมลภาวะในสิง� แวดล อ ้ ม (ระบบบําบัดนํ� าเสีย,
ทางนํ� า, ดินหรืออากาศ) กรุณาแจ ง้ หน่วยงานทีร� ับผิดชอบในด า้ นนี� วัตถุกอ ่ มลพิษในนํ� า อาจ
เป็ นอันตรายต่อสิง� แวดล อ้ ม หากทิง� ออกไปในปริมาณมาก

วิธก
ี ารและวัสดุสําหรับกักเก็บและทําความสะอาด
การหกในปริมาณน อ ้ ย : หยุดการรั�วไหลหากทําได ้โดยไม่ต อ ้ งเสีย � งอันตราย เคลือ � นย า้ ยภาชนะบรรจุออกจากบริเวณทีม � ี
การหก ใช ้อุปกรณ์ทท ี� นต่อประกายไฟหรือเครือ � งมือทีท � นต่อแรงระเบิด ทําให ้เจือจางลงด ว้ ย
นํ� าและทําความสะอาดด ว้ ยไม ้ถูพน ื� หากเป็ นสารทีล � ะลายนํ� า อีกวิธห ี นึง� หรือในกรณีทเี� ป็ นสาร
ไม่ละลายนํ� า ให ้ดูดซับด ว้ ยวัสดุเฉือ � ยและแห ง้ แล ว้ นํ าไปใส่ลงในภาชนะบรรจุสงิ� ปฏิกล ู เพือ� กําจัด
ทิง� กําจัดทิง� โดยผ่านบริษัทผู ้รับเหมากําจัดขยะทีไ� ด ้รับอนุญาตแล ว้
การหกในปริมาณมาก : หยุดการรั�วไหลหากทําได ้โดยไม่ต อ ้ งเสีย � งอันตราย เคลือ � นย า้ ยภาชนะบรรจุออกจากบริเวณทีม � ี
การหก ใช ้อุปกรณ์ทท ี� นต่อประกายไฟหรือเครือ � งมือทีท � นต่อแรงระเบิด ได ้รับสารทีป � ล่อยออมา
จากเหนือลม กันไม่ให ้ไหลเข า้ ไปในท่อนํ� าทิง� ทางนํ� าไหล ชัน � ใต ้ดิน หรือบริเวณพืน � ทีจ� ํากัด
ล า้ งสิง� หกเปื� อนไปทีโ� รงงานบําบัดสารทีป � ล่อยออกมา หรือปฎิบต ัิ ต ิ ามขัน � ตอนต่อไปนี� เก็บและ
รวบรวมสารทีห � กด ว้ ยวัสดุทม ี� ค
ี ณ
ุ สมบัตด ิ ด ู ซับและไม่ตด ิ ไฟ เช่น ทราย, ดิน, แร่หน ิ ทราย, ดิน
เบา แล ว้ จัดเก็บไว ้ในภาชนะเพือ � นํ าไปกําจัดตามข อ ้ บังคับของท อ ้ งถิน � (ดูหัวข อ้ ที� 13) กําจัดทิง�
โดยผ่านบริษัทผู ้รับเหมากําจัดขยะทีไ� ด ้รับอนุญาตแล ว้ วัสดุดด ู ซับทีป � นเปื� อนอาจมีอันตรายเช่น
เดียวกับผลิตภัณฑ์ทห ี� กเปื� อน หมายเหตุ: ดูหมวดที� 1 สําหรับข อ ้ มูลติดต่อกรณีฉุกเฉิน และ

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 4/11
Chemflake Special

หมวดที� 6. มาตรการจัดการเมือ
� มีการหกรั�วไหลของสาร
หมวดที� 13 สําหรับการกําจัดของเสีย

หมวดที� 7. การขนถ่าย เคลือ


� นย า้ ย ใช ้งาน และเก็บรักษา
ขอ ้ ควรระวังในการขนถ่ายเคลือ� น : ห า้ มรับประทานอาหาร ดืม � นํ� า หรือสูบบุหรี� ในบริเวณทีม � กี ารใช ้งาน จัดเก็บ หรือแปรรูปสารชนิด
ย า้ ย ใช ้งาน และการเก็บรักษา นีอ
� ยู่ ก่อนรับประทานอาหาร ดืม � นํ� า และสูบบุหรี� คนงานควรล า้ งมือและใบหน า้ ให ้สะอาด
อย่างปลอดภัย ถอดเสือ � ผ า้ และอุปกรณ์ป้องกันภัยทีป � นเปื� อนก่อนเข า้ สูบ
่ ริเวณรับประทานอาหาร ดูหัวข อ ้ 8 เพือ

อ่านข อ ้ มูลเพิม � เติมเกีย
� วกับมาตรการทางสุขศาสตร์

สภาวะการเก็บรักษาอย่าง : จัดเก็บตามข อ ้ บังคับภายในประเทศ เก็บไว ้ในบริเวณทีแ � ยกต่างหากและได ้รับการรับรอง เก็บ


ปลอดภัย รวมทัง� ข อ ้ ห า้ มในการ รักษาในภาชนะบรรจุดัง� เดิมให ้พ น ้ จากการได ้รับแสงอาทิตย์โดยตรง ในพืน � ทีท� แ
ี� ห ง้ เย็น และมี
เก็บรักษาสารทีเ� ข า้ กันไม่ได ้ อากาศถ่ายเทได ้ดี และให ้พ น ้ จากวัสดุทเี� ข า้ กันไม่ได ้ (ดูบทที� 10) และให ้ห่างจากอาหารและ
เครือ� งดืม
� เก็บโดยปิ ดล็อกไว ้ กําจัดแหล่งทีส � ามารถจุดไฟติดได ้ แยกให ้พ น ้ จากสารออกซิ
ไดซ์ เก็บภาชนะบรรจุให ้มิดชิด และปิ ดผนึกไว ้จนกว่าจะพร อ ้ มใช ้งาน ควรปิ ดผนึกภาชนะทีเ� ปิ ด
ออกใช ้แล ว้ ให ้สนิท และเก็บในแนวตัง� เพือ � ป้ องกันการรั�วหก ห า้ มเก็บไว ้ในภาชนะทีไ� ม่ตด ิ ฉลาก
ใช ้หลักการทีถ � ก
ู ตอ
้ งเพือ
� ป้ องกันการปนเปื� อนสิง� แวดล อ ้ ม ดูหมวดที� 10 สําหรับสารทีเ� ข า้ กันไม่
ได ้ก่อนการจัดการหรือการใช ้งาน

หมวดที� 8. การควบคุมการรับสัมผัสและการป้ องกันส่วนบุคคล


ค่าต่างๆ ทีใ� ช ้ควบคุม
การรับสัมผัส เช่นค่าขีดจํากัดทีย
� อมให ้รับสัมผัสได ้ในขณะปฏิบัตงิ าน
ชือ
� ส่วนผสม ขีดจํากัดการเกิดไอสารอันตราย
styrene กระทรวงแรงงาน (ประเทศไทย, 8/2017).
ปริมาณความเข ม ้ ขน ้ ทีอ� าจยอมให ม้ ไี ด :้ 200 ppm
ปริมาณความเข ม ้ ขน ้ สูงสุดในช่วงเวลาทีจ � ํากัด:
600 ppm, 3 ครัง� ต่อรอบ, 5 นาที.
ความเข ม
้ ขน
้ เฉลีย � ตลอดระยะเวลาทํางานปกติ:
100 ppm 8 ชัว� โมง.
กรดเมทธาครีลค
ิ ACGIH TLV (สหร ฐ ั อเมริกา, 1/2021).
TWA: 20 ppm 8 ชัว� โมง.
TWA: 70 mg/m³ 8 ชัว� โมง.
กระบวนการเฝ้ าระวังทีแ
� นะนํ า : ถ า้ ผลิตภัณฑ์นป
ี� ระกอบด ว้ ยส่วนประกอบทีม� ข
ี อ้ จํากัดในการได ้รับสาร ก็จะต อ
้ งจัดให ้มีการ
ติดตามตรวจสอบบุคลากร อากาศในสถานทีท � ํางาน หรือการติดตามตรวจสอบทางชีวภาพ เพือ �
ดูประสิทธิภาพของระบบถ่ายเทอากาศ หรือระบบควบคุม และ/หรือความจําเป็ นในการใช ้
อุปกรณ์ปกป้ องระบบหายใจ มาตรฐานในการตรวจสอบควรมีการอ า้ งอิง นอกจากนี� ยังต อ ้ งอ า้ ง
อิงเอกสารคําแนะนํ าระดับชาติสําหรับวิธกี ารทีใ� ช ้เพือ
� กําหนดสารอันตรายด ว้ ย

การควบคุมทางวิศวกรรมทีเ� หมาะ : ใช ้ได ้เฉพาะทีท


� ม ี� กี ารระบายอากาศเพียงพอ ให ้ใช ้กระบวนการในระบบปิ ด ใช ้การระบายอากาศ
สม เฉพาะที� หรือใช ้การควบคุมทางวิศวกรรมอืน � ๆเพือ
� ให ้ค่าการได ้รับสัมผัสสารปนเปื� อนในอากาศ
ของคนงานตํา� กว่าค่าทีแ � นะนํ าหรือค่าทีก
� ฎหมายกําหนด การออกแบบควบคุมทางวิศวกรรมยัง
ตอ้ งรักษาปริมาณแก๊ส ไอนํ� า หรือฝุ่นละอองให ้อยูใ่ นระดับทีต � าํ� กว่าขีดทีท
� ําให ้ระเบิดได ้ ใช ้
อุปกรณ์ระบายอากาศทีป � ้ องกันการระเบิด
การควบคุมการปล่อยสารทีม ี ลต่อ : ต อ
� ผ ้ งตรวจสอบสารทีป � ล่อยออกจากระบบระบายอากาศหรืออุปกรณ์ในกระบวนการทํางาน เพือ � ให ้
สิง� แวดล อ
้ ม แน่ใจว่าสอดคล อ ้ งกับบัญญัตข ิ องกฎหมายป้ องกันสิง� แวดล อ ้ ม ในบางกรณี จําเป็ นต อ ้ งใช ้เครือ� ง
กําจัดควัน เครือ � งกรอง หรือการดัดแปลงทางวิศวกรรมของอุปกรณ์ในกระบวนการทํางาน เพือ �
ลดระดับสารทีป � ล่อยออกมาให ้อยูใ่ นระดับทีย � อมรับได ้

มาตรการป้ องกันส่วนบุคคล
มาตรการด า้ นสุขอนามัย : ล า้ งมือ แขนช่วงล่าง และหน า้ ให ้สะอาดหลังการทํางานเกีย � วกับเคมีภัณฑ์ ก่อนรับประทาน
อาหาร ก่อนสูบบุหรี� ก่อนการใช ้ห อ ้ งนํ� า และหลังจากหมดชัว� โมงทํางานแล ว้ ควรใช ้เทคนิคที�
เหมาะสมในการกําจัดเสือ � ผ า้ ทีอ
� าจมีการปนเปื� อน ซักเสือ � ผ า้ ทีป
� นเปื� อนสารก่อนนํ ามาใช ้ใหม่
จัดให ้มีสถานทีส� ําหรับล า้ งตาและมีฝักบัวชําระเพือ � ความปลอดภัยใกล ้กับบริเวณพืน � ทีป
� ฏิบัตงิ าน
การป้ องกันดวงตา/ใบหน า้ : ควรสวมแว่นตาป้ องกันอันตรายทีม � มี าตรฐาน เพือ� หลีกเลีย � งการได ้รับของเหลวทีอ � าจกระเด็นใส่
ไอละออง หรือฝุ่นละอองต่างๆ ตามการประเมินความเสีย � งทีร� ะบุไว ้ว่าจําเป็ น ถ า้ มีโอกาสสัมผัส
ได ้ ควรสวมใส่อป ุ กรณ์ป้องกันภัยดังต่อไปนี� ยกเว น ้ การประเมินผลระบุให ้ใช ้อุปกรณ์ป้องกันทีม � ี
ประสิทธิภาพสูงกว่า: แว่นตาป้ องกันการกระเด็นของสารเคมี
การป้ องกันผิวหนัง

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 5/11
Chemflake Special

หมวดที� 8. การควบคุมการรับสัมผัสและการป้ องกันส่วนบุคคล


การป้ องกันมือ : ควรสวมถุงมือทีท � นสารเคมี และกันการซึมผ่านทีไ� ด ้มาตรฐานตลอดเวลาทีต � อ ้ งทํางานเกีย � วขัอ
งกับวัตถุเคมี หากการประเมินความเสีย � งระบุไว ้ว่าเป็ นสิง� จําเป็ น ตรวจสอบในระหว่างการใช ้งาน
ว่า ถุงมือยังคงมีคณ ุ สมบัตใิ นการป้ องกันภัย โดยพิจารณาจากพารามิเตอร์ทผ ี� ู ้ผลิตถุงมือกําหนด
ไว ้ โปรดทราบว่าระยะเวลาการแทรกผ่านผนังของถุงมือแต่ละชนิดอาจมีความแตกต่างกันโดย
ขึน
� อยูก
่ ับผู ้ผลิตถุงมือแต่ละแห่ง ในกรณีของสารผสมทีป � ระกอบด ว้ ยสารหลายชนิด อาจไม่
สามารถคาดคะเนได ้อย่างแม่นยําว่าถุงมือสามารถป้ องกันภัยได ้นานเพียงใด
ไม่มถี งุ มือชนิดใดทีแ � ม ้จะผลิตจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิด ทีจ � ะมีความต า้ นทานต่อสารเคมี
ได ้ไม่จํากัดชนิด
ระยะเวลาในการแทรกผ่านถุงมือต อ ้ งยาวนานกว่าเวลาทีใ� ช ้ผลิตภัณฑ์จนเสร็จสิน �
ตอ้ งปฏิบัตต ิ ามคําแนะนํ าและข อ ้ มูลทีผ
� ู ้ผลิตถุงมือจัดไว ้ให ้เกีย
� วกับการใช ้งาน การจัดเก็บ การ
ดูแลรักษา และการเปลีย � น
ควรเปลีย � นถุงมือเป็ นประจํา และหากถุงมือมีร่องรอยความเสียหาย
โปรดตรวจสอบให ้แน่ใจว่า ถุงมือไม่มข ี อ ้ บกพร่อง และมีการจัดเก็บและใช ้งานอย่างถูกต อ ้ ง
ความเสียหายทางกายภาพ/เคมีและการดูแลรักษาทีไ� ม่ถก ู ตอ ้ งอาจทําให ้ถุงมือมีสมรรถนะหรือ
ประสิทธิผลตํา� ลง
ครีมป้ องกันผิวอาจช่วยปกป้ องผิวในส่วนทีส � ม
ั ผัสกับสารได ้ แต่ไม่ควรใช ้ทาผิวหลังจากทีส � มั ผัส
กับสารแล ว้
Wear suitable gloves tested to EN374.
แนะนํ า, ถุงมือ(เวลาทีบ � รรลุผล) > 8 ชัว� โมง: Tychem 10000, Teflon, โพลีไวนิล
แอลกอฮอล์ (PVA), Responder
อาจใช ้ได,้ ถุงมือ(เวลาทีบ � รรลุผล) 4 - 8 ชัว� โมง: Viton®, 4H, Barricade, CPF 3,
Trellchen HPS, ยางบิวทิล
ไม่แนะนํ า, ถุงมือ(เวลาทีบ � รรลุผล) < 1 ชัว� โมง: ยางไนตริล, นีโอพรีน, PVC, PE, Saranex

การป้ องกันร่างกาย : ควรเลือกใช ้อุปกรณ์ป้องกันร่างกายให ้เหมาะสมตามลักษณะงานและความเสีย � งทีอ � าจเกิดขึน �


และควรได ้รับการอนุมัตจิ ากผู ้เชีย � วชาญก่อนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ ในกรณีทม ี� โี อกาสเสีย � ง
ต่อการจุดระเบิดจากไฟฟ้ าสถิต ต อ ้ งสวมใส่ชด ุ ป้ องกันไฟฟ้ าสถิต ชุดแต่งกายควรประกอบด ว้ ย
ชุดหมี รองเท า้ บูต และถุงมือแบบป้ องกันไฟฟ้ าสถิตได ้ เพือ � ให ้สามารถป้ องกันประจุไฟฟ้ าสถิต
ได ้มากทีส � ดุ
การป้ องกันผิวหนังส่วนอืน
� : ก่อนทีจ � ะจับต อ้ งเคลือ
� นย า้ ยผลิตภัณฑ์นี� ควรเลือกใช ้รองเท า้ และมีการป้ องกันผิวหนังเพิม � เติม
ตามลักษณะของงานและความเสีย � งทีเ� กีย
� วข อ
้ ง พร อ้ มทัง� ควรได ้รับการอนุมัตจิ ากผู ้เชีย � วชาญ
เฉพาะทาง
การป้ องกันระบบทางเดินหายใจ : อ า้ งอิงตามอันตรายและความเป็ นไปได ้จากการระเบิด เลือกหน า้ กากป้ องกันก๊าซพิษทีม � ี
คุณสมบัตต ิ รงตามมาตรฐานหรือใบรับรอง หน า้ กากป้ องกันก๊าซพิษจะต อ ้ งใช ้งานตามโปรแกรม
การป้ องกันระบบหายใจเพือ � เป็ นการรับรองการสวมใส่ การอบรม และการใช ้งานทีส � ําคัญอืน � ๆ
ถ า้ คนงานสัมผัสกับความเข ม ้ ขน
้ ทีเ� กินกว่าขีดจํากัดการรับสาร คนงานนัน � ตอ ้ งใช ้เครือ
� งช่วย
หายใจทีไ� ด ้รับการรับรองทีเ� หมาะสม ใช ้หน า้ กากทีม � ผ
ี งถ่านกัมมันต์และมีตวั กรองฝุ่นเมือ � มีการ
พ่นชิน � งาน.(เช่น เครือ
� งกรองป้ องกันรังสีอัลตราไวโอเลต A2-P2) ในสถานทีป � ิ ด ให ้ใช ้เครือ � ง
ช่วยหายใจแบบอัดอากาศหรืออากาศบริสท ุ ธิ� เมือ
� ทําการกลิง� หรือทาควรใช ้หน า้ กากทีม � ถี า่ นกัม
มันต์.

หมวดที� 9. คุณสมบัตท
ิ างกายภาพและทางเคมี
ลักษณะภายนอก
สถานะทางกายภาพ : ของเหลว
สี : สีแดง, ขาว
กลิน
� : ลักษณะเฉพาะ
ค่าขีดจํากัดของกลิน
� ทีร� ับได ้ : ไม่มข
ี อ้ มูล
ค่าความเป็ นกรด ด่าง
- : ไม่มผี ลบังคับใช ้
จุดหลอมเหลว : ไม่มผ ี ลบังคับใช ้
จุดเดือด : ค่าตํา� สุดเท่าทีท
� ราบกัน 145°C (293°F) (สไตรีน). ค่าเฉลีย
� ถ่วงนํ� าหนัก: 145.83°C
(294.5°F)
จุดวาบไฟ : การทดสอบด ว้ ยวิธถ ี ว้ ยปิ ด: 34°C (93.2°F)
เวลาในการเผา : ไม่มผ
ี ลบังคับใช ้
อัตราการเผา : ไม่มผี ลบังคับใช ้
อัตราการระเหย : 0.536 (สไตรีน) เปรียบเทียบกับ บิวทิล อะซีเตท

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 6/11
Chemflake Special

หมวดที� 9. คุณสมบัตท
ิ างกายภาพและทางเคมี
ความสามารถในการลุกติดไฟได ้ : ไม่มผ
ี ลบังคับใช ้
ของของแข็ง และก๊าซ
ค่าจํากัดการระเบิด (การติดไฟ) : 0.9 - 8.8%
ตํา� สุดและสูงสุด
ความดันไอ : ค่าสูงสุดเท่าทีท� ราบกัน 0.9 กิโลปาสคาล (6.4 มม.ปรอท) (ทีอ � ณุ หภูม ิ 20°C) (สไตรีน). ค่า
เฉลีย
� ถ่วงนํ� าหนัก : 0.86 กิโลปาสคาล (6.45 มม ปรอท ทีอ
. ) ( � ณ
ุ หภูม ิ 20°C)
ความหนาแน่นไอ : ค่าสูงสุดเท่าทีท � ราบกัน 3.6 (อากาศ = 1) (สไตรีน). ค่าเฉลีย � ถ่วงนํ� าหนัก: 3.57 (อากาศ =
1)
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ : 1.24 ถึง 1.241 g/cm³
ความสามารถในการละลายได ้ : ไม่ละลายในวัสดุตอ ่ ไปนี� นํ� าเย็น และ นํ� าร อ
้ น.
ค่าสัมประสิทธิก � ารละลายของสาร : ไม่มข
ี อ
้ มูล
ในชัน� ของ ต่อนํ� า
อุณหภูมท ิ ล
ี� ก
ุ ติดไฟได ้เอง : ค่าตํา� สุดเท่าทีท
� ราบกัน 400°C (752°F) (กรดเมทธาครีลค
ิ ).
อุณหภูมข
ิ องการสลายตัว : ไม่มข ี อ
้ มูล
SADT : ไม่มข
ี อ
้ มูล
ความหนืด : กลศาสตร์ (40°C): >20.5 mm2/s (>20.5 cSt)
ผลิตภัณฑ์ละอองลอย

หมวดที� 10. ความเสถียรและการเกิดปฏิกริ ย


ิ า
การเกิดปฏิกริ ย
ิ า : ขณะนีย� ังไม่มข ี อ
้ มูลการทดสอบเฉพาะด า้ นใดๆ ทีเ� กีย
� วข อ
้ งกับความไวต่อปฏิกริ ย
ิ าของ
ผลิตภัณฑ์นห ี� รือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
ความเสถียรทางเคมี : ผลิตภัณฑ์นม
ี� ค
ี วามเสถียร
ิ า : การเก็บรักษาและการใช ้งานภายใต ้สภาวะปกติจะไม่ทําให ้เกิดปฏิกริ ย
ความเป็ นไปได ้ในการเกิดปฏิกริ ย ิ าทีเ� ป็ นอันตราย
อันตราย
สภาวะทีค
� วรหลีกเลีย
� ง : หลีกเลีย
� งแหล่งทีอ � าจเกิดการติดไฟทัง� หลาย (ไม่วา่ จะเป็ นประกายไฟหรือเปลวไฟ) ห า้ มใช ้
ความกดดัน ตัด เชือ
, , � มต่อ, เชือ
� มด ว้ ยทองเหลือง, บัดกรี, เจาะ, บด, หรือปล่อยให ้ภาชนะ
บรรจุได ้รับความร อ
้ นหรืออยูใ่ กล ้แหล่งจุดไฟ
วัสดุทเี� ข า้ กันไม่ได ้ : เก็บให ้ห่างจากวัสดุตอ ่ ไปนีเ� พือ
� ป้ องกันปฏิกริ ย
ิ าเคมีทเี� กิดความร อ
้ นสูง: สารออกซิไดซิง� , ด่าง
เข ม
้ ขน
้ , กรดเข ม
้ ขน
้ .
ความเป็ นอันตรายของสารทีเ� กิด : เมือ
� เก็บและใช ้งานในสภาพปกติ ไม่ควรมีผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวทีเ� ป็ นอันตรายเกิดขึน

จากการสลายตัว

หมวดที� 11. ข อ
้ มูลด า้ นพิษวิทยา
ขอ
้ มูลเกีย
� วกับผลกระทบทางพิษวิทยา
ความเป็ นพิษเฉียบพลัน
ชือ
� ผลิตภัณฑ์/ส่วนประกอบ ผลการทดสอบ สายพันธุ์ ขนาดความเข ม
้ ขน
้ การได ้รับสัมผัส
styrene LC50 การสูดดม ไอ หนู 11.8 มก./ลิตร 4 ชัว� โมง
LD50 เกีย
� วกับผิวหนัง หนู 2000 มก./กก. -
LD50 ทางปาก หนู 5000 มก./กก. -
กรดเมทธาครีลค
ิ LD50 ทางปาก หนู 1060 มก./กก. -
tetramethylammonium LD50 ทางปาก หนู 50 มก./กก. -
chloride
อาการระคายเคือง/การกัดกร่อน
ชือ
� ผลิตภัณฑ์/ส่วนประกอบ ผลการทดสอบ สายพันธุ์ คะแนน การได ้รับ การสังเกต
สัมผัส
styrene ตา - ระคายเคืองปานกลาง กระต่าย - 24 ชัว� โมง -
100
milligrams
ผิวหนัง - ระคายเคือง กระต่าย - 100 Percent -
ปานกลาง
ทําให ้เกิดการแพ ้

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 7/11
Chemflake Special

หมวดที� 11. ข อ
้ มูลด า้ นพิษวิทยา
ไม่มข
ี อ
้ มูล

การกลายพันธุ์
ไม่มข
ี อ
้ มูล

มีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ นสารก่อมะเร็ง
ไม่มข
ี อ
้ มูล
ความเป็ นพิษต่อระบบสืบพันธุ์
ไม่มข
ี อ
้ มูล
การก่อวิรูป
ไม่มข
ี อ
้ มูล
ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้ าหมายเฉพาะเจาะจง (เมือ
� ได ้รับสัมผัสครัง� เดียว)
ชือ
� หมวด วิถท
ี างทีไ� ด ้รับ อวัยวะเป้ าหมาย
สัมผัส
styrene หมวด ๓ - การระคายเคืองต่อ
ระบบทางเดินหายใจ
กรดเมทธาครีลค
ิ หมวด ๓ - การระคายเคืองต่อ
ระบบทางเดินหายใจ
tetramethylammonium chloride หมวด ๑ ทางปาก ระบบประสาทส่วน
กลาง (CNS)
ความเป็ นพิษต่ออวัยวะเป้ าหมายเฉพาะเจาะจง (เมือ
� ได ้รับสัมผัสซํ�า)
ชือ
� หมวด วิถท
ี างทีไ� ด ้รับ อวัยวะเป้ าหมาย
สัมผัส
styrene หมวด ๑ - อวัยวะการได ้ยิน
อันตรายจากการสําลักเข า้ สูท
่ างเดินหายใจ
ชือ
� ผลการทดสอบ
สไตรีน ความเป็ นอันตรายจากการสําลัก (Aspiration
hazard) - หมวด ๑

ผลร า้ ยแรงทีอ
� าจเกิดขึน
� ต่อสุขภาพ
การสัมผัสถูกดวงตา : ระคายเคืองต่อดวงตาอย่างรุนแรง
การสูดดม : อาจระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ
การสัมผัสทางผิวหนัง : ระคายเคืองต่อผิวหนังมาก
การกลืนกิน : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง

อาการปรากฏทีม� ค
ี วามสัมพันธ์กับคุณลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี และทางพิษวิทยา
การสูดดม : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
การระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ
การไอ
นํ� าหนักทารกลดลง
ทารกเสียชีวต ิ เพิม � ขึน �
โครงกระดูกผิดรูป
การกลืนกิน : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
นํ� าหนักทารกลดลง
ทารกเสียชีวต ิ เพิม � ขึน �
โครงกระดูกผิดรูป
การสัมผัสทางผิวหนัง : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด ี งั ต่อไปนี�
การระคายเคือง
อาการผืน � แดง
นํ� าหนักทารกลดลง
ทารกเสียชีวต ิ เพิม � ขึน �
โครงกระดูกผิดรูป

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 8/11
Chemflake Special

หมวดที� 11. ข อ
้ มูลด า้ นพิษวิทยา
การสัมผัสถูกดวงตา : อาจมีอาการทีไ� ม่ดด
ี งั ต่อไปนี�
อาการปวดหรือระคายเคือง
น า้ ตาไหล
อาการผืน � แดง

ผลเรือ
� รังทีอ
� าจเกิดขึน
� ต่อสุขภาพ
ทั�วไป : ทําอันตรายต่ออวัยวะเมือ� รับสัมผัสเป็ นเวลานานหรือรับสัมผัสซํ�า
มีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ นสารก่อมะเร็ง : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง
การกลายพันธุ์ : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง
การก่อวิรูป : สงสัยว่าจะทําลายเด็กในครรภ์
ผลต่อพัฒนาการในเด็ก : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส
� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง
ผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง

ค่าความเป็ นพิษทีว� ัดเป็ นตัวเลข


ค่าความเป็ นพิษเฉียบพลันโดยประมาณ
เส น
้ ทาง ค่า ATE
ทางปาก 72762.22 มก./กก.
เกีย
� วกับผิวหนัง 75507.96 มก./กก.
การสูดดม (ไอระเหย) 39.13 มก./ลิตร

หมวดที� 12. ข อ
้ มูลด า้ นนิเวศวิทยา
ความเป็ นพิษต่อระบบนิเวศ
ชือ
� ผลิตภัณฑ์/ส่วนประกอบ ผลการทดสอบ สายพันธุ์ การได ้รับ
สัมผัส
กรดเมทธาครีลค
ิ เรือ
� รัง NOEC 53 มก./ลิตร นํ� าจืด แดฟเนีย - Daphnia magna - 21 วัน
แรกเกิด
tetramethylammonium เฉียบพลัน LC50 462000 µg/l นํ� าจืด ปลา - Pimephales promelas 96 ชัว� โมง
chloride

การตกค า้ งยาวนาน และความสามารถในการย่อยสลาย


ไม่มข
ี อ
้ มูล

ศักยภาพในการสะสมทางชีวภาพ
ชือ
� ผลิตภัณฑ์/ส่วนประกอบ LogPow BCF มีแนวโน ม

styrene 0.35 13.49 ตํา�
กรดเมทธาครีลค
ิ 0.93 - ตํา�

การเคลือ
� นย า้ ยในดิน
สัมประสิทธิก
� ารแบ่งส่วนดิน/นํ� า : ไม่มข
ี อ
้ มูล
(KOC)

ผลกระทบในทางเสียหายอืน
� ๆ : ยังไม่พบผลใดๆ ทีส
� ําคัญหรืออันตรายร า้ ยแรง

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 9/11
Chemflake Special

หมวดที� 13. ข อ
้ พิจารณาในการกําจัด
วิธก
ี ําจัดทิง� : ควรหลีกเลีย � งและลดการสร า้ งขยะหากเป็ นไปได ้ การกําจัดผลิตภัณฑ์ สารละลาย และผล
พลอยได ้จากการผลิตควรเป็ นไปตามข อ ้ กําหนดการป้ องกันสิง� แวดล อ ้ มและการกําจัดของเสีย
รวมทัง� ข อ ้ กําหนดของท อ ้ งถิน
� ด ว้ ย การทิง� ผลิตภัณฑ์ทม ี� ม
ี ากเกินพอและไม่สามารถรีไซเคิล
ผ่านบริษัทผู ้รับกําจัดขยะทีไ� ด ้รับอนุญาต ของเสียทีย � ังไม่ได ้รับการบําบัดให ้เป็ นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานทัง� หมดของหน่วยงานทีม � อ
ี ํานาจไม่ควรทิง� ทางท่อระบายนํ� าทิง� บรรจุภัณฑ์ทใี� ช ้กับ
ของเสียควรนํ ากลับมาใช ้ใหม่ หากไม่สามารถนํ ากลับมาใช ้ใหม่ได ้ ควรนํ าไปเผาหรือการฝั ง
กลบเท่านัน � ตอ ้ งทิง� สารและภาชนะนีด � ว้ ยวิธก
ี ารทีป
� ลอดภัย ควรใช ้ความระมัดระวังเมือ � จับต อ
้ ง
เคลือ� นย า้ ยภาชนะบรรจุทวี� า่ งเปล่าซึง� ยังไม่ได ้ผ่านการทําความสะอาดหรือการชะล า้ ง ภาชนะ
บรรจุหรือถุงบรรจุภายในทีว� า่ งเปล่าแล ว้ อาจมีผลิตภัณฑ์ตกค า้ งอยู่ ไอระเหยจากผลิตภัณฑ์ท ี�
ตกค า้ งอาจทําให ้บรรยากาศภายในภาชนะบรรจุมล ี กั ษณะไวไฟสูงหรือระเบิดได ้ง่าย ห า้ มตัด
เชือ
� ม หรือบดภาชนะบรรจุทใี� ช ้แล ว้ หากยังไม่ได ้ทําความสะอาดภายในอย่างทั�วถึง หลีกเลีย � ง
การทําให ้วัตถุแตกกระจาย และสัมผัสกับพืน � ดิน ทางเดินนํ� า ท่อระบายนํ� าและท่อระบายของเสีย
ต่างๆ

หมวดที� 14. ข อ
้ มูลการขนส่ง
UN IMDG IATA

หมายเลขสหประชา UN1263 UN1263 UN1263


ชาติ
ชือ
� ทีถ
� ก
ู ตอ
้ งในการขน สี สี สี
ส่งของสหประชาชาติ
ประเภทความเป็ น 3 3 3
อันตรายสําหรับการขน
ส่ง

กลุม
่ การบรรจุ III III III

อันตรายต่อสิง� แวด ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่


ลอ้ ม
ขอ้ ควรระวังพิเศษ การขนส่งภายในอาณาบริเวณ การขนส่งภายในอาณาบริเวณ การขนส่งภายในอาณาบริเวณ
สําหรับผู ้ใช ้งาน ของผูใ้ ช้:ต อ ้ งขนส่งภายในภาชนะ ของผูใ้ ช้:ต อ ้ งขนส่งภายในภาชนะ ของผูใ้ ช้:ต อ
้ งขนส่งภายใน
ปิ ดเสมอ โดยวางในลักษณะตัง� ตรง ปิ ดเสมอ โดยวางในลักษณะตัง� ตรง ภาชนะปิ ดเสมอ โดยวางใน
และยึดให ม ้ �น
ั คง ขอให ต ้ รวจสอบ และยึดให ม ้ �น
ั คง ขอให ต ้ รวจสอบ ลักษณะตัง� ตรงและยึดให ม ้ �น
ั คง
จนแน่ใจว่า บุคคลทีข � นส่ง จนแน่ใจว่า บุคคลทีข � นส่ง ขอให ต้ รวจสอบจนแน่ใจว่า บุคคล
ผลิตภัณฑ์นท ี� ราบว่าต อ้ งทําอย่าง ผลิตภัณฑ์นท ี� ราบว่าต อ้ งทําอย่าง ทีข
� นส่งผลิตภัณฑ์นท ี� ราบว่าต อ้ ง
ไรในกรณีทเี� กิดอุบัตเิ หตุหรือเกิด ไรในกรณีทเี� กิดอุบัตเิ หตุหรือเกิด ทําอย่างไรในกรณีทเี� กิดอุบัตเิ หตุ
การรั�วหก การรั�วหก หรือเกิดการรั�วหก
ขอ
้ มูลเพิม
� เติม - มาตรการฉุกเฉิน F-E, S-E เครือ � งหมายสําหรับสารเดีย� วทีเ� ป็ น
อันตรายต่อสิง� แวดล อ้ มอาจปรากฏ
ให เ้ ห็นหากกําหนดไว ใ้ นระเบียบ
ขอ้ บังคับการขนส่งฉบับอืน � ๆ

การขนส่งในปริมาณมากตาม : ไม่มข
ี อ
้ มูล
เอกสารของ IMO
ADR / RID : Tunnel restriction code: (D/E)
หมายเลขสารอันตราย: 30
ADR/RID: สารทีม � ค
ี วามหนืดไม่ควรถูกจํากัดตาม บทที� 2.2.3.1.5 (ภาชนะทีเ� หมาะสมควรจุ
นอ้ ยกว่า 450 ลิตร).
IMDG : IMDG: ในการขนส่งสารซึง� มีความหนืด ดูยอ ่ หน า้ ที� 2.3.2.5 (ภาชนะทีเ� หมาะสม ควรจุ น อ
้ ย
กว่า 450 ลิตร).

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 10/11
Chemflake Special

หมวดที� 15. ข อ
้ มูลด า้ นกฎข อ
้ บังคับ
พระราชบัญญัตวิ ัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ค.ศ. 1992
ชนิด
ชือ
� ส่วนผสม ชนิด หน่วยงานทีร� ับผิดชอบ เงือ
� นไขต่างๆ
สไตรีน 2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม -
ไฮโดรควิโนน 3 กรมโรงงานอุตสาหกรรม -
ไม่มก
ี ฎหมายระดับชาติและ/หรือระดับภูมภ
ิ าคต่อไปนีอ
� าจเกีย
� วข อ
้ งกับผลิตภัณฑ์นี� (รวมถึงส่วน
ประกอบของผลิตภัณฑ์ )

หมวดที� 16. ข อ
้ มูลอืน
� ๆ
ประวัต ิ
วันทีต
� พ ี มิ พ์ : 09.05.2022
วันทีอ� อก/วันทีม � ก ี ารปรับปรุง : 09.05.2022
เอกสาร
วันทีพ � มิ พ์ครัง� ทีแ� ล ว้ : 09.05.2022
เวอร์ชน
ั : 1.21
คําอธิบายคําย่อ : ADN=ขอตกลงของยุโรปวาดวยการขนสงสินคาอันตรายระหวางประเทศโดยทางนํ� าภายใน
ประเทศ
ADR=ข อ ้ ตกลงของยุโรปวาดวยการขนสงสินคาอันตรายระหวางประเทศทางถนน
ATE=ค่าความเป็ นพิษเฉียบพลันขององค์ประกอบในสารผสม
BCF=ค่าปั จจัยความเข ม ้ ขน้ ทางชีวภาพ
GHS=การจําแนกประเภทและติดฉลากสารเคมีทเี� ป็ นระบบเดียวกันทั�วโลก
IATA=สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ
IBC=บรรจุภัณฑ์ IBC
IMDG=การขนส่งสินค า้ อันตรายทางทะเล
MARPOL=อนุสญ ั ญาระหว่างประเทศว่าด ว้ ยการป้ องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ.1973 และพิธส
ี าร
ค.ศ.1978
RID=ข อ ้ กําหนดเกีย
� วกับการขนส่งสินค า้ อันตรายทางรถไฟ
UN=องค์การสหประชาชาติ
LogPow=ค่าสัมประสิทธิก � ารกระจายตัวของสารในชัน � ออกทานอลและชัน � นํ� า
ขอ
้ มูลอ า้ งอิง : ไม่มข
ี อ
้ มูล
แสดงข อ
้ มูลทีเ� ปลีย
� นจากฉบับตีพม
ิ พ์ครัง� ทีแ
� ล ว้
หมายเหตุถงึ ผู ้อ่าน
รายละเอียดในเอกสารข อ ้ มูลทางเทคนิคนีเ� ป็ นข อ้ มูลทีไ� ด ้มาบนพืน
� ฐานความรู ้จากการทดลองในห อ
้ งปฏิบัตก
ิ าร และจากประสบการณ์
ทีผ � ่านมา อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ได ้ถูกนํ าไปใช ้ในภาวะต่างกัน บริษัทฯ จึงสามารถรับประกันเฉพาะคุณภาพของสินค า้ เท่านัน �
ผลิตภัณฑ์อาจมีความแตกต่างกันทัง� นีเ� พือ � ให ้สอดคล อ ้ งกับความต อ ้ งการในแต่ละประเทศ โจตันขอสงวนสิทธิใ� นการเปลีย
� นแปลง
ขอ ้ มูลโดยมิต อ
้ งแจ ง้ ให ้ทราบล่วงหน า้
ผู ้ใช ้ควรปรึกษาโจตันสําหรับเกีย � วกับคําแนะนํ าในการใช ้งานผลิตภัณฑ์ให ้ตรงกับความต อ ้ งการ
หากมีข อ ้ ความทีไ� ม่สอดคล อ ้ งกันเนือ
� งจากความแตกต่างของภาษาในเอกสารนี� ให ้ยึดถือฉบับภาษาอังกฤษ (United Kingdom) เป็ น
สําคัญ

วันทีอ
� อก : 09.05.2022 11/11

You might also like