You are on page 1of 97

หลักสูตร

เจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัย


ในการทางาน ระดับ หัวหน้ างาน
ประวัตวิ ทิ ยากร
ชื่อ - สกุล : นายวันเฉลิม ขุมทรัพย์
ตำแหน่ งปัจจุบนั : วิทยากร และทีป่ รึกษาด้านความปลอดภัย
กำรศึกษำ : วทบ.สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย มหาวิทยาลัย บูรพา
ประสบกำรณ์ทำงำน :
- หัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัย และเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพ อาวุโส
บริษทั sews-components (thailand) Siam plant
- เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพ
บริษทั sews-components (thailand) Amata plant
- ศึกษาดูงาน,ประชุมและสัมมนา ด้านความปลอดภัย ทีป่ ระเทศ ญีป่ ่ นุ
- ศึกษาดูงาน,ประชุมและสัมมนา ด้านความปลอดภัย ทีป่ ระเทศ อินโดนิเซีย 087-6061094
- ศึกษาดูงาน,ประชุมและสัมมนา ด้านความปลอดภัย ทีป่ ระเทศ เวียดนาม Wanchaloem_km@Hotmail.com
หัวข้ อการบรรยาย
หมวดวิชาที่ 1 หมวดวิชาที่ 3
ความรู้เกีย่ วกับความปลอดภัย
ในการทางานและบทบาทหน้าที่ การค้นหาอันตรายจากการทางาน
ของหัวหน้างาน

หมวดวิชาที่ 2 หมวดวิชาที่ 4
กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนา
มัยและสภาพแวดล้อมในการ การป้ องกันและควบคุมอันตราย
ทางาน
หัวข้ อการบรรยาย
หมวดวิชาที่ 1 หมวดวิชาที่ 3
ความรู้เกีย่ วกับความปลอดภัย
ในการทางานและบทบาทหน้าที่ การค้นหาอันตรายจากการทางาน
ของหัวหน้างาน

หมวดวิชาที่ 2 หมวดวิชาที่ 4
กฎหมายความปลอดภัยอาชีวอนา
มัยและสภาพแวดล้อมในการ การป้ องกันและควบคุมอันตราย
ทางาน
หมวดที่ 1

ก.ความรู้เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
และบทบาทหน้าทีข่ องหัวหน้างาน
วัตถุประสงค์
1.อธิบายสาเหตุของอุบัตเิ หตุและการเจ็บป่ วยจากการทางานได้
2.อธิบายแนวทางการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใน
สถานประกอบกิจการได้
3.อธิ บายบทบาทของหัวหน้ างานด้า นความปลอดภัย ในสถาน
ประกอบกิจการและหน้ าที่ของเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการ
ทางานระดับหัวหน้างาน รวมถึงแนวทางการปฏิบัตหิ น้าทีไ่ ด้
ความหมายพืน้ ฐาน
ความปลอดภัย อุบัตเิ หตุ

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน :


การกระทาหรือสภาพการทางาน ซึง่ ปลอดจากเหตุอนั จะทาให้เกิดการประสบ
อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากการทางานหรือ
เกี่ยวกับงาน
ความหมายพืน้ ฐาน
ความปลอดภัย อุบัตเิ หตุ
อุบัตกิ ารณ์ (Incident): เหตุการณ์ท่ีเกี่ยวเนื่องจากการทางานซึ่งทาให้เกิด
หรืออาจเกิดการบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่ วยจากการทางาน หรือ เสียชีวิต
เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัตเิ หตุ (Near miss): เหตุการณ์ท่ีไม่พงึ ประสงค์แต่เมื่อ
เกิดขึน้ แล้วมีแนวโน้มก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุ (ยังไม่มีการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย)
อุบัตเิ หตุ (Accident): เหตุการณ์ท่ีไม่พงึ ประสงค์ท่ีไม่ได้คิดไว้ลว่ งหน้า ไม่ทราบ
เกิดขึน้ เมื่อเกิดแล้วมีผลทาให้เกิดการบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่ วย หรือการสูญเสีย
ทรัพย์สนิ
อัตราการเกิดอุบัตเิ หตุ
1
2
3

3 1
2

1
3
2

3
2

3
3
1
2
สาเหตุของการเกิดอุบัตเิ หตุ
และ
การควบคุม
อุบัตเิ หตุเกิดขึน้ จาก…..
1. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ

H.W. Heinrich : นาย เฮ็นริช (พ.ศ.2463)


วิจยั สาเหตุท่ีทาให้เกิดอุบตั ิเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ สรุปได้
ดังต่อไปนี ้
สาเหตุของอุบตั ิเหตุท่ีสาคัญมีดว้ ยกัน 3 ประการ

1.สาเหตุทเ่ี กิดจากคน : ร้อยละ 88


2.สาเหตุทเี่ กิดจากความผิดพลาดของเครื่องจักร : ร้อยละ 10
3.สาเหตุทเี่ กิดจากดวงชะตา : ร้อยละ 2
1. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
1.การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย 2.สภาพการณ์ทไี่ ม่ปลอดภัย
(Unsafe Acts) (Unsafe Conditions)
นาย เฮ็นริช ได้สรุปสาเหตุสาคัญของการเกิดอุบตั ิเหตุไว้เป็ น 2 ประการ คือ
1.การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย
(Unsafe Acts)
85 %
2.สภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย
(Unsafe Conditions)
15 %
(ตีพิมพ์ลงในหนังสือเรื่อง Industrial Accident Prevention เมื่อปี พ.ศ. 2474)
ตัวอย่าง : การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย (Unsafe Acts) มีดังนี้
1. ความประมาท พลัง้ เผลอ เหม่อลอย
2. การมีทศั นคติท่ีไม่ถกู ต้อง เช่น อุบตั ิเหตุเป็ นเรื่องของเคราะห์กรรม แก้ไข ป้องกันไม่ได้
3. การทางานโดยที่รา่ งกายและจิตใจไม่พร้อมหรือผิดปกติ
4. การทางานไม่ถกู วิธี และใช้เครื่องมือไม่เหมาะกับงาน
5. การไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของความปลอดภัยในการทางาน
6. การทางานโดยไม่ใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตรายส่วนบุคคล
7. การแต่งกายไม่เหมาะสม
8. การมีนิสยั ชอบเสี่ยง
9. การหยอกล้อกันระหว่างทางาน
ตัวอย่าง : สภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย (Unsafe Conditions) มีดังนี้

1. การวางผังโรงงานทีไ่ ม่ถูกต้อง
2. พืน้ โรงงานขรุ ขระ เป็ นหลุมเป็ นบ่อ
3. บริเวณทีท่ างานไม่ปลอดภัย เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ ความร้อนสูง ฝุ่ นละออง
เสียงดัง ไม่เป็ นระเบียบเรียบร้อย ในการจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ
4. เครื่องจักรกล เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือระบบไฟฟ้ าชารุ ดบกพร่อง ขาดการ
ซ่อมแซมหรือบารุ งรักษาอย่างเหมาะสม
ทฤษฎีโดมิโน : เปรียบเทียบโดยใช้โดมิโนที่เรียงกันอยู่ 5 ตัวใกล้กนั เมื่อตัวที่หนึ่ง
ล้ม ตัวโดมิโนที่อยูถ่ ดั ไปก็จะล้มตาม โดยการบาดเจ็บและความเสียหายต่าง ๆ
เป็ นผลมาจากอุบตั ิเหตุ ซึง่ มีสาเหตุมาจากการกระทาหรือสภาพการณ์ท่ีไม่ปลอดภัย
การกระทา/
สภาพแวดล้อม/ ความบกพร่อง สภาพ แวดล้อม การบาดเจ็บหรือ
ภูมิหลังของ ของบุคคล ทีไ่ ม่ปลอดภัย อุบัตเิ หตุ ความสูญเสีย
บุคคล
องค์ประกอบของอุบ ัติเหตุ คำอธิบำย
1. ภูมห
ิ ลังของบุคคล ความสะเพร่า ความดือ ้ ความละโมบและคุณสมบัตท ิ ไี่ ม่ดอ
ี ย่างอืน ่ ทีอ ่ าจถ่ายทอด
ได ้ตามกรรมพันธุ์ สงิ่ แวดล ้อมอาจชว่ ยกระตุ ้นให ้เกิดคุณสมบัตท ิ ไี่ ม่ดดี งั กล่าวได ้ ทัง้
สองประการนีเ้ ป็ นต ้นเหตุของความบกพร่องของบุคคล
2. ความบกพร่องของบุคคล นิสยั ไม่ดท
ี ถ
ี่ ก ่ ความสะเพร่า ความใจร ้อน ความเป็ นผู ้
ู ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ เชน
ตืน
่ เต ้นตกใจง่าย ความไม่รู ้จักเกรงใจคน การไม่สนใจต่อความปลอดภัย เป็ นต ้น

3.การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยและ/หรือ การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยของพนักงาน เชน ่ การยืนอยูใ่ ต ้รถยกของทีก


่ าลังเคลือ่ นที่
สภาพงานทีไ่ ม่ปลอดภัย ไปมา การวิง่ ไล่จับในทีท ่ างาน หรือสภาพงานทีไ่ ม่ปลอดภัย เชน ่ มอเตอร์สายพาน
หมุนโดยไม่มอ ี ป
ุ กรณ์ป้องกันหรือครอบสายพาน เป็ นต ้น ล ้วนแล ้วแต่เป็ นต ้นเหตุแห่ง
การเกิดอุบต ิ้
ั เิ หตุทงั ้ สน
4. อุบต
ั เิ หตุ ่ การหกล ้ม การปะทะชนกัน การถูกสะเก็ดชน
เหตุการณ์ใดๆ เชน ิ้ งาน ชุดรอกเหนือ
ศรี ษะหล่นลงมาบนพืน
้ โรงงาน เป็ นเหตุอบ
ุ ต ิ้
ั เิ หตุทงั ้ สน

5.การบาดเจ็บ การฟกชา้ ดาเขียว บาดแผล ชุดรอกชารุด พืน ้ โรงงานแตก คนหยุดงานมา


และ/หรือ ชว่ ยเหลือ แนะนา มุงดู เป็ นผลทีเ่ กิดจากอุบต
ั เิ หตุ
ิ เสย
ทรัพย์สน ี หาย
สภาพแวดล้อม ความบกพร่อง การบาดเจ็บ
/ภูมิหลังของ ของบุคคล อุบัตเิ หตุ หรือความ
บุคคล สูญเสีย
แบบจาลองสาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุและความสูญเสีย
โดย Frank E. Bird : แฟร้ง อี เบริด ์ (พ.ศ.2512)ซึง่ จะมีลกั ษณะคล้าย โดมิโน ของ H.W. Henrich
อธิบายผลหรือความสูญเสียจากเหตุการณ์ผิดปกติท่ีเกิดขึน้ ซึง่ เกิดมาจากสาเหตุ การขาดการ
ควบคุมที่ดี ส่งผลกับปั จจัยที่เป็ นสาเหตุพืน้ ฐานและส่งผลต่อสาเหตุท่ีเกิดขึน้ ในขณะนัน้ ๆ ได้แก่

การขาดการควบคุม
สาเหตุพืน้ ฐาน เหตุการณ์ผิดปกติ ความสูญเสีย
สาเหตุในขณะนัน้
By Frank E.Bird
อุบัตกิ ารณ์/
ขาดการควบคุม สาเหตุพนื้ ฐาน สาเหตุเบือ้ งต้น เหตุการณ์ผิดปกติ ความสูญเสีย

• โครงการ การปฏิบัติ
ไม่เพียงพอ ปั จจัยทีเ่ กี่ยวกับ คน
คน ต่ากว่า
• มาตรฐาน ทรัพย์สิน
มาตรฐาน/
โครงการ สัมผัสกับ
ไม่เพียงพอ ปั จจัยทีเ่ กี่ยวกับ สภาพการ
พลังงาน กระบวนการ
• การปฏิบัติ งาน ต่ากว่ามาตรฐาน ผลิต
หรือวัตถุ
ตามมาตรฐาน
ไม่เพียงพอ
สาเหตุนาของอุบตั ิเหตุ
ความผิดพลาดของเครือ่ งจักร สภาวะทางด้านร่างกายและจิตใจของคนงาน

สาเหตุตรง
การกระทา / สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

อุบัตเิ หตุ

ความเสียหาย บาดเจ็บ
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ

1.สาเหตุนาหรือสาเหตุทแี่ ท้จริง
- ความผิดพลาดของการจัดการ
- สภาวะทางด้านร่างกายและจิตใจของคนงานไม่เหมาะสม
2. สาเหตุโดยตรง
- การปฏิบตั ิงานที่ไม่ปลอดภัย
- สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัย
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
ความผิดพลาดของการจัดการ
➢ ไม่มีการสอนหรืออบรมเกีย่ วกับความปลอดภัย
➢ ไม่มีการบังคับให้ปฏิบัตติ ามกฎหมายความปลอดภัย
➢ ไม่มีการวางแผนและเตรียมงานด้านความปลอดภัยไว้
➢ ไม่มีการแก้ไขจุดอันตรายต่างๆ
➢ ไม่มีการจัดหาอุปกรณ์ความปลอดภัยให้
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
สภาวะทางด้านจิตใจของคนงานไม่เหมาะสม
➢ ขาดความระมัดระวัง
➢ มีทศั นคติไม่ถกู ต้อง
➢ ขาดความตัง้ อกตัง้ ใจ
➢ อารมณ์ออ่ นไหวง่าย และขีโ้ มโห
➢ เกิดความรูส้ กึ หวาดกลัว ขวัญอ่อน ตกใจง่าย
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
สภาวะทางด้านร่างกายของคนงานไม่เหมาะสม
➢ อ่อนเพลียมาก
➢ หูหนวก
➢ สายตาไม่ดี
➢ มีร่างกายไม่เหมาะสมกับงานทีท่ า
➢ เป็ นโรค ร่างกายมีความพิการ
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
สภาพทีไ่ ม่ปลอดภัย
➢ ไม่มคี รอบหรือเซฟการ์ดส่วนของเครื่องจักรทีเ่ ป็ นอันตราย
➢ เครื่องจักร เครื่องมือทีใ่ ช้ออกแบบไม่เหมาะสม
➢ บริเวณพืน้ ทีท่ างานลืน่ ขรุ ขระ
➢ สถานทีท่ างานสกปรก รกรุ งรัง วางของไม่เป็ นระเบียบ
➢ กองวัสดุสูงเกินไป และการซ้อนวัสดุไม่ถกู วิธี
➢ แสงสว่างไม่เหมาะสม เช่น แสงไม่เพียงพอ หรือจ้าเกินไป
➢ ไม่มรี ะบบระบายและถ่ายเทอากาศทีเ่ หมาะสม
➢ ไม่มรี ะบบเตือนภัยทีเ่ หมาะสม
ความสูญเสียจากการเกิดอุบตั ิเหตุ
ความสูญเสีย
จากการเกิดอุบตั ิเหตุ
ความสูญเสียอันเนื่องมาจากอุบตั ิเหตุจากการทางานแบ่ง ออกเป็ น 2 ประเภท
ความสูญเสียทางตรง ความสูญเสียทางอ้ อม
ค่ารักษาพยาบาล ค่าเสียเวลา โอกาส เสียขวัญ
ค่าทดแทน และกาลังใจ ค่าซ่อมแซม
ค่าวัตถุดบิ ค่าผลผลิต ค่าเสีย
ค่าทาขวัญทาศพ
ชือ่ เสียง
ค่าประกันชีวิต ภาระสังคม
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าทดแทน
ทฤษฏี : ภูเขานา้ แข็ง
ค่าประกัน

-อาคาร/อุปกรณ์เครื่องมือชารุ ด
-วัตถุดบิ เสียหาย
-ค่าใช้จ่ายทางกฎหมาย
เงินค่าจ้างสูญเปล่า
-
-ค่าล่วงเวลา
-ผลผลิตลดลงจากการเกิดเหตุ
การเจ็บป่ วยจากสิ่งแวดล้อมในการทางาน

(โรคจากการทางาน)
ตัวคนทีท่ างาน

สิ่งแวดล้อมทีท่ าให้ โรค สภาพการทางานและ


เกิดการเจ็บป่ วย สภาพแวดล้อม

องค์ประกอบทีท่ าให้เกิดการเจ็บป่ วยจากการทางาน มี 3 ปั จจัย


องค์ประกอบทีท่ าให้เกิดการเจ็บป่ วยจากการทางาน
- สิง่ แวดล้อมทีท่ าให้เกิดการเจ็บป่ วย คือสาเหตุท่ีสาคัญของการเจ็บป่ วย/โรค ซึง่ แบ่ง
ออกเป็ นกลุม่ ใหญ่ คือ สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ และทางด้านจิตวิทยา

- ตัวผู้ปฏิบัตงิ าน ปั จจัยที่เกี่ยวกับกับผูป้ ฏิบตั ิงาน เช่น อายุ เพศ กรรมพันธุ์ เชือ้ ชาติ
พืน้ ฐานทางการศึกษา พฤติกรรม เป็ นต้น
- สภาพการทางานและสภาพแวดล้อม เป็ นปั จจัยกระตุน้ และส่งเสริมทัง้ ทางตรงและ
ทางอ้อมที่ทาให้โรคเกิดเร็วขึน้ หรือลดคามรุนแรงลง
สิ่งแวดล้อมในการทางาน รอบๆตัวผู้ปฏิบตั งิ าน แบ่งเป็ น 5 ด้าน คือ
1.ทางด้านกายภาพ
2.ทางด้านเคมี
3.ทางด้านชีวภาพ
4.ทางด้านการยศาสตร์
5.ทางด้านจิตวิทยาสังคม
เคมี

กายภาพ ปั จจัยในการ ชีวภาพ


ทางานทีเ่ ป็ น
อันตรายต่อ
สุขภาพ
การย
จิตสังคม
ศาสตร์
1. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ที่อยูร่ อบๆตัวผูป้ ระกอบอาชีพในขณะทางานนีม้ ี
หลายชนิด เช่น เสียงดัง ความสั่นสะเทือน ความร้อน ความเย็น รังสี แสงสว่าง
ความกดดันอากาศ บรรยากาศ รวมถึง เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ อุปกรณ์ตา่ งๆ
ผลกระทบจากเสียงดัง
- ทาให้สญ
ู เสียการได้ยิน แบบชั่วคราว, แบบถาวร
- ผลต่อความปลอดภัย เกิดการรบกวนการดสนทนา สัญญาณต่างๆ
ผลกระทบจากแสงสว่าง
- แสงสว่างที่นอ้ ยเกินไป กล้ามเนือ้ ตา ม่านตาเปิ ดกว้าง ปวดตา มึนศีรษะ หยิบจับใช้เครื่องมือเครื่องจักรผิดพลาด
- แสงสว่างที่มากเกินไป เมื่อยล้า ปวด แสบตา มึนศีรษะ วิงเวียน และอาจก่อให้เกิด

ผลกระทบจากความร้อน
- เป็ นตะคริว, อ่อนเพลีย ,เป็ นลม ,ผดผื่น ,ขาดนา้ , มีผลกระทบต่อจิตใจ ของผูป้ ฏิบตั ิงาน

ผลกระทบจากสั่นสะเทือน
- โครงสร้างของกระดูกหลัง อักเสบ นา้ ตาล โคเลสเตอรอลมีระดับต่า ทาให้เนือ้ เยื่อของมือด้านและแข็ง
ทาให้ปวดข้อ ข้อต่อต่างๆข้อศอก ความผิดปกติของหลอดเลือด ที่เรียกว่ามือตายหรือนิว้ ซีด
2. สิง่ แวดล้อมทางเคมี สารเคมีชนิดต่างๆที่ใช้เป็ นวัตถุดิบ หรือผลผลิต หรือของเสียที่ตอ้ ง
กาจัด โดยทั่วไปสารเคมีดงั กล่าวอาจอยูใ่ นรูปของก๊าซ ไอ สาร ฝุ่ น ฟูม ควัน ละออง ตัวทา
ละลาย
3. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ มีทงั้ สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ตัวอย่างสิ่งที่มีชีวิต คือ ไวรัส แบคทีเรีย พยาธิ เชือ้
รา และสัตว์อ่ืนๆ ได้แก่ การทางานในโรงพยาบาล ในโรงแรม ภัตตาคาร โรงงานอาหารสัตว์ โรงบาบัดนา้
เสียโรงงาน ห้องทดลองเครือ่ งปรับอากาศที่เป็ นแหล่งเพาะเชือ้ โรค เป็ นต้น

- เชือ้ ไวรัส โรคตับอักเสบ โรคพิษสุนขั บ้า โรคเอดส์


- เชือ้ รา พบในอาชีพเกษตรกร ผูท้ ่ีทางานกลางแจ้ง อาชีพเลีย้ งสัตว์
- เชือ้ แบคทีเรีย เกิดจากการติดเชือ้ ในบุคคลอาชีพต่างๆ ส่วนมากเกิดเนื่องจากการปล่อยปละละเลย
บาดแผลหรือรอยถลอกเล็กๆ น้อยๆ เช่น โรคฉี่หนู , วัณโรค , บาดทะยัก
4. สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม บางครัง้ เรียกว่า ปั จจัยจิตวิทยาสังคมในการทางาน ซึ่งเกี่ยวกับจิตวิทยา
สังคม และเศรษฐกิจในการทางานงานที่เร่งรัดต้องทาแข่งกับเวลา การทางานล่วงเวลา การร่วมทางานกับ
เพื่อนร่วมงานที่แปลกหน้า การทางานซา้ ซาก การทางานที่ไม่เหมาะกับความสามารถทางร่ายกายและจิตใจ

1.สถานีงาน 5.เครื่องมือ
2.เก้าอีน้ ่ัง 6.การยกเคลื่อนย้าย
3.สถานีงานกับการปฏิบัตงิ าน 7.สิ่งแวดล้อมการทางาน
4.หน้าจอ แผงควบคุม 8.ตารางงาน
โรคจากการทางาน (Occupational Diseases)
หมายถึง โรคจากการประกอบอาชีพ หรือโรคอันเกิดขึน้
เกี่ยวเนื่องกับการทางานในสถานทีท่ างาน
❖ โรคบางโรคอาจปรากฏอาการ เฉียบพลัน เนื่องจากรับสารอันตราย ใน
ปริมาณมากในเวลาอันสั้น
❖ โรคบางโรคอาจปรากฏอาการ เรือ้ รัง เพราะค่อยๆ รับสารเป็ นระยะ
เวลานานๆ
1. โรคทีเ่ กิดจากสารเคมี (38 ชนิด)
2. โรคทีเ่ กิดขึน้ จากสาเหตุทางกายภาพ (10 ชนิด)
3. โรคทีเ่ กิดขึน้ จากสาเหตุทางชีวภาพ (โรคติดเชือ้ ,โรคปรสิต)
4. โรคระบบทางเดินหายใจทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการทางาน (10 ชนิด)
5. โรคผิวหนังทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการทางาน (3 ชนิด)
6. โรคระบบกล้ามเนือ้ และโครงสร้างกระดูกทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการทางาน
7. โรคมะเร็งเนื่องจากการทางาน (16 ชนิด)
8. โรคอืน่ ๆ ซึง่ พิสูจน์ได้ว่าเกิดขึน้ ตามลักษณะการทางาน
คุณสมบัตขิ องหัวหน้างาน

1. มีความรู้ในงาน
2. มีความรู้ในหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ
3. มีความเป็ นผู้นา
4. มีทกั ษะการปรับปรุ งงานให้มีประสิทธิภาพ
5. มีทกั ษะการป้ องกันอุบัตเิ หตุ
6. มีทกั ษะในการสอนงาน
• Think positive คิดบวก และมีทศั นคติท่ีดี มองหาโอกาสใหม่ๆ
• Be Honest มีความซื่อสัตย์ ซึ่งตรงโปร่งใส กับการทางาน และกับพนักงานที่ตนดูแลอยู่
• Delegate รูจ้ กั ที่จะมอบหมายงานให้กบั ลูกน้องให้ตรงกับความรูค้ วามสามารถ
• Communicate ต้องรูจ้ กั การสื่อความ ในด้านต่างๆ กับลูกน้อง และทีมงานของตนเอง
• Inspire ต้องเป็ นคนที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กบั ลูกน้องของตนได้อย่างดี
• Align the team ต้องเป็ นคนที่สามารถสร้างทีมงาน และกระตุน้ ให้ทีมงานทางานเป็ นทีมได้อยูเ่ สมอ
• Balanced ต้องเป็ นคนที่สามารถสร้างความสมดุลในการทางานได้ระหว่าง
• Give credit ให้ความดีความชอบแก่ลกู น้องของตนเอง
• Encourage Growth ส่งเสริมให้ลกู น้องเติบโตตามสายอาชีพ
• Praise ให้คาชมกับลูกน้องของตนเอง ชื่นชอบผลงานของลูกน้องด้วยความจริงใจ
• Mentor เป็ นพี่เลีย้ งให้กบั พนักงานของตนเอง ทัง้ นีร้ วมถึงการสอนงาน (Coaching)
• Fair มีความเป็ นธรรม ก็คือ บริหารงานทุกคน ปฏิบตั ิต่อทุกคนด้วยความเป็ นธรรม
บทบาทหน้าที่
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
ระดับหัวหน้างาน 9 ข้อ ตามกฎหมาย...
1.กากับดูแลให้ลกู จ้างในหน่วยงานที่รบั ผิดชอบปฏิบตั ิตามข้อบังคับ
และคูม่ ือความปลอดภัยในการทางาน
• กากับ ดูแล
• ข้อบังคับ
• คู่มอื ว่าด้วยความปลอดภัยในการทางาน
• กฎ ระเบียบ มาตรฐานการปฏิบัตงิ านทีป่ ลอดภัย
• ถ้าไม่มี ร่วมจัดทา
• ถ้าพบว่าผิดพลาด ต้องให้คาแนะนา ตักเตือน ให้ถูกต้อง ปลอดภัย
2.วิเคราะห์งานในหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบเพือ่ ค้นหาความเสี่ยงหรือ
อันตรายเบือ้ งต้นโดยอาจร่วมดาเนินการกับเจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยใน
การทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขัน้ สูง หรือระดับวิชาชีพ

• วิเคราะห์งาน ร่วมกับ จป.เทคนิค,เทคนิคขั้นสูง,วิชาชีพ เพือ่ ค้นหา


ความเสี่ยง
• ขจัด ป้ องกัน หรือควบคุม ความเสี่ยงหรืออันตราย
3.สอนวิธีการปฏิบัตงิ านทีถ่ ูกต้องแก่ลูกจ้างในหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบเพือ่
ให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน

• สอนงาน พนักงานใหม่ – เก่า


• สอนวิธีการทางานทีป่ ลอดภัย
• รู ปแบบการสอน ชีแ้ จง อธิบาย สาธิต
• ให้พนักงานทดลองปฏิบัตงิ าน (ระวังเกิดอุบัตเิ หตุ)
• การติดตามผล
• เตรียมความพร้อมผู้ปฏิบตั งิ าน ชีแ้ จง สร้างความเป็ กันเอง
• สอนวิธีการปฏิบัตงิ าน
• ให้ผู้ปฏิบตั งิ านทดลองปฏิบตั ิ ทบทวน
• ติดตาม ตรวจสอบผลงาน
4.ตรวจสอบสภาพการทางาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ใน
สภาพที่ปลอดภัยก่อนลงมือปฏิบัติงานประจาวัน

• ตรวจสอบ เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์


• กาหนดเป็ นมาตรฐาน , ใบตรวจเช็ค
• บันทึก หากผิดปกติ หยุดการใช้งาน แจ้งส่วนที่เกี่ยวข้อง
5.กากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความ
ปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานที่
รับผิดชอบ
• ต้องรู้ ว่าลักษณะงาน ต้องใส่อุปกรณ์อะไรบ้าง
• กากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์ (การสวมใส่,ดูแล
จัดเก็บ)
• สอน แนะนาการใช้อุปกรณ์
• ตรวจสอบการสวมใส่ตลอดเวลาปฏิบัติงาน
6.รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการ
ทางานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดับเทคนิค
ระดับเทคนิคชั้นสูง ระดับวิชาชีพ หรือหน่วยงานความปลอดภัยทันทีทเี่ กิดเหตุ

• แจ้ง รายงาน ตามลาดับ ทีก่ าหนด


• รู ปแบบการรายงาน วาจา, เอกสาร, E-mail, Social network
• แจ้ง รายงาน ทันทีทเี่ กิดเหตุ
• รวมทุกเหตุการณ์ที่ผิดปกติ เช่น อุบัติเหตุ ไฟไหม้ สารเคมี
รั่วไหล เสียงดัง อันตรายจากสารเคมี เป็ นต้น
7.ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วยหรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอั น
เนื่องจากการทางานของลูกจ้างร่ วมกับเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับเทคนิ ค
ระดับเทคนิ คชั้นสูง ระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปั ญหาต่อ
นายจ้างโดยไม่ชักช้า

• ตรวจสอบ / ร่วมกับ จป.ระดับอืน่


• ร่วมสอบสวนอุบัตเิ หตุ
• เสนอแนะการแก้ไข
• ติดตามผลการดาเนินการแก้ไข
8.ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน
• ร่วมจัด สนับสนุน มีส่วนร่วมดาเนินกิจกรรม ด้านความ
ปลอดภัย ฯ
• แจ้ง ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ พนักงาน
• สนับสนุน ให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ได้มสี ่วนร่วมกับกิจกรรม ฯ
9.ปฏิ บั ติ ง านด้ า นความปลอดภั ย ในการท างานอื่ น ตามที่
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับบริหารมอบหมาย
บทบาทหน้าที่ จป.
หัวหน้างาน
1.กากับ ดูแล ให้ปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ 3
2.วิเคราะห์งานในหน่วยงานเพือ่ ค้นหาความเสี่ยง
3.สอนวิธีการปฏิบตั งิ านทีถ่ ูกต้องแก่ลูกจ้าง
4.ตรวจสอบสภาพการทางาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์
5.กากับ ดูแล การใช้ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE)
6.รายงานการประสบอันตราย
7.ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย
8.ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน
9.ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอืน่ ตามทีเ่ จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
ระดับบริหารมอบหมาย
กิจกรรมความปลอดภัย
1. การจัดนิ ทรรศการ
2. การบรรยายพิเศษ
3. การสนทนาความปลอดภัย
4. การประกวดคาขวัญความปลอดภัย
5. การประกวดภาพโปสเตอร์
6. การประกวดรายงานสภาพงานที่ไม่ปลอดภัย
7. การประกวดความสะอาด
8. การจัดฉายวิดีโอความปลอดภัย
กิจกรรมความปลอดภัย
9. การรณรงค์การใช้อปุ กรณ์คมุ ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
10. การรณรงค์กจิ กรรม 5 ส
11. การรณรงค์ลดอุบตั เิ หตุให้เป็ นศูนย์ดว้ ย KYT
12. การทาแผ่นป้ ายแสดงสถิตอิ บุ ตั เิ หตุหรือป้ ายประกาศ
13. การตอบปัญหาชิงรางวัล
14. การกระจายเสียงบทความ
15. การจัดทาเอกสาร หรือบทความ
16. การทัศนศึกษาในสถานประกอบกิจการอืน่

You might also like