You are on page 1of 4

กรณี ลูกจางถูกเหล็กเสนกลมหลุดจากมัด ดีดตัวแรงฟาดศีรษะและลำคอเสียชีวิต

๑. ขอมูลสถานประกอบกิจการ/นายจาง
นาย จ ผูประกอบการรานเชาไมแบบเทคอนกรีต ไมมีเลขที่ ติดถนนนครพนม – ธาตุพนม ตำบลทาคอ
อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ประกอบกิจการ เชาไมแบบเทคอนกรีต
๒. ขอมูลทั่วไป/รายละเอียดและลำดับเหตุการณการเกิดอุบัติเหตุ
ลูกจางชื่อนาย ส อายุ 70 ป ตำแหนง พนักงานทั่วไป คาจางวันละ 400 บาท
วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 ลูกจางไดมาปฏิ บัติงานตามปกติ เวลาประมาณ 11.00 น. ลูกจางและ
บุต รสาวของนายจาง ได ไปซื้อเหล็กเสน กลมขนาด 9 มิ ลลิ เมตร และขนาด 12 มิ ล ลิเมตร จำนวน 2 มั ด
ขณะที่ ก ำลั งทำการขนย า ยเหล็ ก เส น ลงจากรถกระบะเพื่ อ นำมาเก็ บ ไว ที่ ร า น ลู ก จ างเห็ น เพื่ อ นร ว มงาน
ขนเหล็ ก เส น กลมขนาด 9 มิ ล ลิ เมตร ลงไปแล ว แต ยั งเหลื อ เหล็ ก เส น กลมมั ด ขนาด 12 มิ ล ลิ เมตร ซึ่ งมี
ขนาดใหญ ลูกจางจึงเขาไปชวยซึ่งลูกจางไมไดมีหนาที่ในการทำงานตำแหนงนี้ จังหวะที่ลูกจางกำลังชวยขน
เหล็กเสนกลมลงนั้นเชือกที่รัดปลายเหล็กเสนกลมไดฉีกขาด เนื่องจากเปนเชือกฟางเกิดการเสียดสีกับเหล็กเสน
กลมอีกมัดหนึ่งและขนาดของเหล็กเสนกลมมัดนี้มีขนาดใหญเชือกฟางรัดรับแรงดีดตัวของเหล็กไมได ทำให
เชื อกรัดขาดเหล็กเสน กลมดังกลาวดีด ตัวอยางรวดเร็วกระทบเขาบริเวณลำคอและศีรษะของลูกจางทำให
ลูกจางลมลงไปที่พื้นและเหล็กเสนกลมไดรวงลงมาทับตัวลูกจางอีกจนทำใหเสียชีวิตในเวลาตอมา
2.2 ขั้นตอนการทำงานและหนาที่ของลูกจาง
- เดินทางไปซื้อวัสดุ (เหล็กเสน) ลูกจางตำแหนงพนักงานทั่วไป
- ทำแบบพิมพเทคอนกรีตและงานตางๆตามคำสั่งของนายจาง
- ยกขน แบกหาม งานที่ไมหนักมาก

ลักษณะการประกอบกิจการของนายจาง
-2-

รูปภาพ สถานที่เกิดเหตุ
3. รายละเอียดการประสบอันตรายหรือความสูญเสียหรือหยุดการผลิตจากอุบัติเหตุ
3.1 จำนวนผูเสียชีวิต 1 คน
3.2 จำนวนผูบาดเจ็บ - คน
4. การวิ เคราะห ป จ จั ยที่ ค าดว า จะเป น สาเหตุ ก ารเกิ ด อุ บั ติเหตุ (ที่ ส งผลให เกิด อุ บั ติเหตุ เช น อธิบ าย
ลักษณะการกระทำที่ไมปลอดภัย สภาพการณที่ไมปลอดภัย หรือสาเหตุอื่น ๆ )
4.1 ปจจัยดานคน/การกระทำที่ไมปลอดภัย เปนสาเหตุใหญหลักที่นำมาสูการเกิดอุบัติเหตุ
- การกระทำที่ขาดความรู ปฏิบัติงานไมถูกตอง ไมถูกขั้นตอน ไมปฏิบัติตามกฎระเบียบดานความ
ปลอดภัยในการทำงาน
- รีบรอนเพราะตองการใหงานเสร็จเร็ว
- ขาดการประสานงานกับเพื่อนรวมงาน
4.2 ปจจัยดานสิ่งแวดลอม ที่คาดวาจะเกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุ
- ไมมีพื้นที่หรือชองทางในการวางวัสดุสิ่งของเหมือนโรงงานขนาดใหญซึ่งจะทำใหสามารถประเมินถึง
อุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นได
4.3 ปจจัยดานเครื่องจักร/เครื่องมือ ที่คาดวาจะเกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุ
- งานประเภทนี้ตองไมใชแรงงานคน ควรใชเครื่องมือในการยกที่ไดมาตรฐานความปลอดภัย
- ไมใชรถกระบะที่มีคอกกั้นกันเวลาเหล็กไหลหรือดีดตัว
4.4 ปจจัยดานการบริหารจัดการ ที่คาดวาจะเกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุ
- ไมมีการแจงขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือแจงถึงอันตรายกอนการทำงานใหลูกจางทราบ
- ไมมีเครื่องมือที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน เครน โฟลคลิฟทในการชวยทำงาน
-3-

- ไม ได จั ดให ลู กจ า งสวมใส อุป กรณ ป กป องอวัย วะตางๆ ของรางกาย เช น ศีร ษะ ตา เท า ในการ
ปฎิบัติงาน

รูปภาพ การเกิดอุบัติเหตุลักษณะเดียวกัน
ขอสังเกต อุบัติเหตุทั้ง 3 เรื่องนี้ เกิดจากการใชรถกระบะที่ไมมีคอกกั้นบรรทุกเหล็กเสนและลวดที่มัด
ปลายเหล็กขาดขณะขนเหล็กเสนลงจากรถและเหล็กดีดเขาบริเวณจุดที่สำคัญของรางกาย เชน คอ ศีรษะ ทำ
ใหผูประสบเหตุเกิดอันตรายรายแรงถึงขั้นเสียชีวิต
5. ขอเสนอแนะหรือมาตรการสำหรับการแกไขปองกัน
- การใหการศึกษา หรือการฝกอบรมแนะนําลูกจางและผูที่เกี่ยวของในการทํางานใหมีความรูความ
เขาใจในการป องกั น อุ บั ติเหตุ และการสรางความปลอดภัย ในงานใหรูวาอุบัติเหตุจะเกิดขึ้น และป องกัน ได
อยางไรและจะทํางานวิธีใดจะปลอดภัย
- การใชมาตรการบังคับควบคุม คือ การกําหนดวิธีการทํางานอยางปลอดภัย และการควบคุมบังคับ
อยางจริงจังและเขมงวดกวดขันใหคนงานปฏิบัติตามเปนกฎระเบียบปฏิบัติ และหลีกเลี่ยง การกระทําที่ไม
ถูกตอง หรือเปนอันตราย
- ศึกษาและปฏิบัติตามอยางเครงครัด และการทํางานจริงจําเปนตองศึกษารายละเอียดเพิ่มมากขึ้น
เพื่ อ ความปลอดภั ย สู งสุ ด ซึ่ งเกี่ ย วข องกั บ ด านบุ คคลผู ป ฏิ บั ติงาน สถานที่ ป ฏิ บั ติงาน เครื่ องจั ก รอุ ป กรณ
และสิ่งแวดลอมในสถานที่ปฏิบัติงาน
- การอบรมใหความรูความเขาใจ ที่ถูกตองกอนเขาปฏิบัติงาน
- การนํ า เอาอุ ป กรณ ภ ายนอกมาปกป อ งอวั ย วะ เพื่ อ ผ อ นหนั ก ให เบาลงเพื่ อ เป น การสรางความ
ปลอดภัยในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ
- การนำเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณการทำงานที่เหมาะสมจะชวยใหผูปฏิบัติงานปลอดภัยยิ่งขึ้น
-4-

การใชเครื่องมือ เครื่องจักรใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน

การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยพื่อลดความรุนแรงของอุบัติเหตุ
รูปภาพ การแกไขเพื่อปองกัน

6. กฎหมายที่เกี่ยวของกับอุบัติเหตุ (ระบุ พ.ร.บ. พรอมมาตราที่เกี่ยวของ/กฎกระทรวง พรอมขอที่เกี่ยวของ)


6.1 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ.2554
มาตรา ๑๔ ในกรณีที่นายจางใหลูกจางทํางานในสภาพการทํางานหรือสภาพแวดลอมในการทํางาน
ที่อาจทําใหลูกจางไดรับอันตรายตอชีวิต รางกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ใหนายจางแจง ใหลูกจางทราบถึง
อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทํางานและแจกคูมือปฏิบัติงานใหลูกจางทุกคนกอนที่ ลูกจางจะเขาทํางาน
เปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนสถานที่ทํางาน
7. ผูจัดทำรายงานการวิเคราะหอุบัติเหตุ
ศูนยความปลอดภัยในการทำงานเขต 4 (อุดรธานี)
กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

You might also like