You are on page 1of 34

รายงาน

รถไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV)

จัดทาโดย

คณะทางานกลุ่ม A

คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขา วิศวกรรมเครื่ องกล และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

เสนอ

คณะอาจารย์ผสู ้ อน

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา


Manufacturing Process (PRE141) และ Production Technology (PRE103)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ราชบุรี
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
1

สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ 3
ที่มำและควำมสำคัญ
วัตถุประสงค์
บันทึกกำรทำงำนรำยสัปดำห์
บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 9
มอเตอร์ไฟฟ้ำ
งำนเชื่อม
แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่
บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินกำร 16
วิธีกำรดำเนินงำน
วิธีกำรแก้ปัญหำ
งบประมำณ
เค้ำโครงแบบงำน
บทที่4 สรุ ปและอภิปลำยผล 21
สรุ ปผลกำรดำเนินงำน
ข้อเสนอแนะ
ภำพผนวก 22
2

คานา
รำยงำนฉบับนี้จดั ทำขึ้นเพื่อนำเสนอขั้นตอนกำรทำงำนรถไฟฟ้ำ 3 ล้อ (Electric Vehicle) ประจำวิชำ
Manufacturing Process (PRE 141) และ Production Technology (PRE 103) ภำคเรี ยนที่ 1 ปี กำรศึกษำ 2565
โดยมีจุดประสงค์เพื่อ ให้นกั ศึกษำได้ลองปฏิบตั ิงำนจริ งและฝึ กกำรใช้เครื่ องมือในโรงประลอง กำรวำงแผน
และกระบวนกำรกำรทำงำนเป็ นกลุ่ม ตำมจุดประสงค์ของรำยวิชำ หำกมีขอ้ เสนอแนะประกำรใด คณะ
ผูจ้ ดั ทำจะปรับปรุ งและพัฒนำต่อไป

คณะผูจ้ ดั ทำ
4 ธันวำคม 2565
3

บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ในสภำวะกำรขยำยตัวทำงเศรฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นทัว่ โลกรวมไปถึงประเทศไทย ทำให้ปัญหำ
พลังงำนที่ได้มำจำกแหล่งพลังงำนจำกน้ ำมัน ก๊ำซธรรมชำติ ได้ถูกยกมำศึกษำกันอย่ำงกว้ำงขวำง ตั้งแต่
กำรศึกษำหำแหล่งพลังงำนใหม่ๆ รวมไปถึงกำรสรรหำพลังงำนทดแทน เช่น พลังงำนจำก แสงอำทิตย์
ลม คลื่นในทะเล เข้ำมำใช้กนั อย่ำงกว้ำงขวำง
พลังงำนที่ถูกนำไปใช้ในภำคกำรขนส่ง ถูกแบ่งออกเป็ นทั้งก๊ำซปิ โตรเลียมเหลว (Liquid Petroleum
Gas; LPG),ก๊ำซธรรมชำติอดั (Compressed Natural Gas: CNG) รวมไปถึง น้ ำมันเบนซิ น และดีเซล ที่
มักถูกนำไปใช้ในกำรขับเคลื่อนยำนยนต์ โดยมีเครื่ องยนต์ สันดำปภำยใน (Internal Combustion
Engines: ICEs) เป็ นหลัก ทั้งนี้กำรเปลี่ยนสภำพจำกพลังงำนเคมี ซึ่งใด้จำกก๊ำซธรรมชำติและน้ ำมัน ไป
เป็ นพลังงำนกล โดยที่เครื่ องยนต์สันดำปภำยในนี้ยงั มีขอ้ ด้อยในส่ วนของกำรสู ญเสี ยพลังงำน โดยเทียบ
กับยำนยนต์ที่ใช้พลังงำนไฟฟ้ำ และอีกทั้งยังมีมลพิษซึ่งเกิดจำกกำรใช้เครื่ องยนต์สันดำปภำยใน
ในแง่ของสิ่ งแวดล้อม กำรหันมำใช้พลังงำนไฟฟ้ำแทนนับว่ำเป็ นสิ่ งที่น่ำสนใจอย่ำงยิง่ เนื่องจำก
กำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำไม่ก่อให้มีมลพิษเกิดขึ้นแม้แต่นิดเดียว อีกทั้งกำรหำแหล่งในกำรเติมพลังงำนยังหำ
ได้ง่ำยเนื่องจำกสำมำรถใช้ไฟฟ้ำในบ้ำนเรื อนทัว่ ไปในกำรชำร์ จไฟฟ้ำได้ดว้ ย
อย่ำงไรก็ดีในบำงประเทศได้นำพำหนะที่ใช้ไฟฟ้ำนำมำใช้กนั อย่ำงแพร่ หลำยแล้วบ้ำง เช่น ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริ กำ เป็ นต้น สำหรับในประเทศไทยได้มีกำรนำมำใช้แล้วบ้ำงแต่ยงั เป็ นส่วนน้อย เนื่องจำกติด
ปัญหำตรงที่ยงั มีรำคำแพงและยังไม่มีควำมรู ้ หรื อข้อมูลในตัวยำนพำหนะเอง
โครงกำรนี้จึงมีควำมเห็นที่จะรณรงค์ให้คนทัว่ ไปหันมำประหยัดพลังงำนน้ ำมัน โดยกำรหันมำใช้
พลังงำนไฟฟ้ำแทน เพื่อทดแทนพลังงำนน้ ำมัน อีกทั้งยังช่วยทำให้ลดมลพิษจำกไอเสี ยตำมท้องถนนอีก
ด้วย
4

ซึ่งจำกบทนำข้ำงต้นนั้น เรำจะสำมำรถสรุ ปเหตุผลที่ตอ้ งหันมำใช้พำหนะที่ใช้พลังงำนไฟฟ้ำเป็ นข้อ ๆ


ได้ดงั นี้
1. นำมำทดแทนเชื้อเพลิงน้ ำมันและก๊ำซ ซึ่งมีรำคำต่อหน่วยสู งขึ้น
2. มีน้ ำหนักเบำกว่ำกำรใช้เครื่ องสันดำปใน
3. ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่ งแวดล้อมขณะใช้งำน
4. สำมำรถจำกัดควำมเร็วได้ง่ำยกว่ำ
5. สำมำรถเรี ยกแรงบิดได้โดยไม่ตอ้ งรอรอบ

วัตถุประสงค์
1. ฝึ กกำรใช้ เครื่ องจักร เครื่ องมือและอุปกรณ์ในโรงงำน
2. ฝึ กกำรทำงำนเป็ นกลุ่ม
3. ออกแบบและสร้ำงรถไฟฟ้ำตำมโจทย์ที่ได้รับมอบหมำย
4. เข้ำใจกระบวนกำรผลิตตำมจุดประสงค์วิชำ (PRE141 & PRE103)
5

บันทึกการทางานรายสัปดาห์
ตำรำงที่ 1 ตำรำงกำรทำงำนสัปดำห์ที่ 1
กำรทำงำน ผูร้ ับผิดชอบ สิ่ งที่ได้ทำ ผลกำรทำงำน ปัญหำและอุปสรรค
ระบบ -นำยกฤษฎำ ฉำยแก้ว -ต่อวงจรไฟฟ้ำเข้ำกับ มอเตอร์ สำเร็จลุล่วง -ฟิ วส์ขำดจึงต้องเปลี่ยน
ไฟฟ้ำ -นำยหลักเพชร สกุลร่ มเย็น ฟิ วส์ใหม
-นำยธนภัทรไทยกิ่ง
-นำงสำวประภัสสร แสงรอด
งำน -นำยพิศุทธ์ สุขวำณิชวิชยั -เจำะรู แผ่น plateยึดกับ shock สำเร็จลุล่วง -
Machine -นำงสำวณัฏฐ์ชำภำ กำเนิดทอง -ตะไบลับคม
-นำงสำววัชลำวลี วัชระ
-นำยอัคริ ณม์รุ่งสว่ำง
-นำยพงศกร ศรี มงั
-นำยธนวิศว์ เลิศธนรัฐโภคิน
งำน -นำยธนวัฒน์ อังคะหิ รัญ -ออกแบบแผ่น plateยึดกับ ประกอบ -ปรับควำมสูงตัวรถ
ออกแบบ -นำยแทนไทย เหล่ำวัฒนะไพศำล shock shockกับตัว ขณะประกอบมอเตอร์
-นำยชยพล ตันพิชยั รถ กับ shock ให้มนั พอดี
-นำยศุภณัฐ เสื อคล้ำย
-นำยปิ ยพงษ์ เทียมจันทร์
งำนเชื่อม -นำยศุภณัฐ ขำวงำม -เชื่อม swing arm เข้ำกับโครงรถ เชื่อมโครง -เชื่อมแผ่น plate ไม่ฉำก
และงำน -นำยชยพล ทองดำดำษ -เชื่อมโครงกระบะ กระบะสำเร็จ ต้องเอำออกเชื่อมใหม่
เจีย -นำยณัฐ รัตนมงคล ลุล่วง
-นำงสำวปิ ยะฉัตร ศรี คงสรนะ
เย็บเบำะ -นำงสำวสิ รินทิพย์ ทัศนเสวี -ตัดฟองน้ ำ สำเร็จลุล่วง -แม็กพัง
-นำยปกรณ์ เพียงดวงใจ -ตัดแผ่นไม้ -เครื่ องจักรมีปัญหำเย็บ
-นำยปัณณทัต วรวุฒิเวคิน -ตัดหนังหุม้ เบำะ ไม่ ค่อยได้
-นำงสำวสขิลำ ใสเอี่ยม
งำนตัด -นำยพัทธพล ตันสกุล -ตัดเหล็กส่วน สำเร็จลุล่วง -
-นำงสำวกันตินนั ท์ อุ่นเรื อน -กระบะ ตัดแผ่น plate
6

ตำรำงที่ 2 ตำรำงกำรทำงำนสัปดำห์ที่ 2
กำรทำงำน ผูร้ ับผิดชอบ สิ่ งที่ได้ทำ ผลกำรทำงำน ปัญหำและอุปสรรค
ระบบ -นำยกฤษฎำ ฉำยแก้ว -ต่อมอเตอร์เข้ำกับรถและวำง สำเร็จลุล่วง -ยังไม่มีเบรค
ไฟฟ้ำ -นำยหลักเพชร สกุลร่ มเย็น ระบบไฟฟ้ำ
-นำยธนภัทร ไทยกิ่ง
-นำงสำวประภัสสร แสงรอด
งำน -นำยธนวัฒน์ อังคะหิ รัญ -ขึ้นโครงหลังคำ สำเร็จลุล่วง -สัง่ งำนเชื่อมพลำด
ออกแบบ -นำยแทนไทย เหล่ำวัฒนะไพศำล -ออกแบบ cover วำงเท้ำ
-นำยชยพล ตันพิชยั -ออกแบบแผ่นเหล็กสำหรับวำง
-นำยศุภณัฐ เสื อคล้ำย แบตเตอรี่
-นำยปิ ยพงษ์ เทียมจันทร์
งำนเชื่อม -นำยศุภณัฐ ขำวงำม -เชื่อมเสำค้ ำหลังคำ สำเร็จลุล่วง -เชื่อมทะลุแต่แก้ไข
และงำน -นำยชยพล ทองดำดำษ -เชื่อม cover วำงเท้ำ เรี ยบร้อย
เจีย -นำยณัฐ รัตนมงคล -เชื่อมโครงกระบะเสริ มควำม -เชื่อมผิด
-นำงสำวปิ ยะฉัตร ศรี คงสรนะ แข็งแรง
-เชื่อมแผ่นโลหะสำหรับวำง
แบตเตอรี่
เย็บเบำะ -นำงสำวสิ รินทิพย์ ทัศนเสวี -แม็กเบำะ สำเร็จลุล่วง -
-นำยปกรณ์ เพียงดวงใจ
-นำยปัณณทัต วรวุฒิเวคิน
-นำงสำวสขิลำ ใสเอี่ยม
งำนตัด -นำยพัทธพล ตันสกุล -ตัดเสำค้ ำหลังคำ สำเร็จลุล่วง -
-นำงสำวกันตินนั ท์ อุ่นเรื อน -ตัดเหล็กประกอบโครงกระบะ
-นำยพิศุทธ์ สุขวำณิชวิชยั -ตะไบลับคม
-นำงสำวณัฏฐ์ชำภำ กำเนิดทอง -ตัด cover วำงเท้ำ
-นำงสำววัชลำวลี วัชระ -ตัดแผ่นเหล็กสำหรับวำง
แบตเตอรี่
7

ตำรำงที่ 3 ตำรำงกำรทำงำนสัปดำห์ที่ 3
กำรทำงำน ผูร้ ับผิดชอบ สิ่ งที่ได้ทำ ผลกำรทำงำน ปัญหำและอุปสรรค
ระบบ -นำยกฤษฎำ ฉำยแก้ว -เดินสำยไฟกับโครงรถทั้งหมด -เหลือติดตั้ง -
ไฟฟ้ำ -นำยหลักเพชร สกุลร่ มเย็น สำยเบรค
-นำยธนภัทร ไทยกิ่ง
-นำงสำวประภัสสร แสงรอด
-นำยชยพล ตันพิชยั
งำน -นำยแทนไทย เหล่ำวัฒนะไพศำล -ออกแบบ cover ทั้งหมด สำเร็จลุล่วง -
ออกแบบ -นำยศุภณัฐ เสื อคล้ำย -ออกแบบ support มำติดกับ
-นำยปิ ยพงษ์ เทียมจันทร์ ระบบไฟฟ้ำ
งำนเชื่อม -นำยศุภณัฐ ขำวงำม -เชื่อมกระบะ สำเร็จลุล่วง -
และงำน -นำยชยพล ทองดำดำษ
เจีย -นำยณัฐ รัตนมงคล
-นำงสำวปิ ยะฉัตร ศรี คงสรนะ
งำน -นำยอัคริ ณม์ รุ่ งสว่ำง -เจำะรู cover สำเร็จลุล่วง -เจำะไม่ตรง
machine -นำยพงศกร ศรี มงั -เจำะรู support ให้ตรงกับไฟ -เจำะผิดขนำด
-นำยธนวิศว์ เลิศธนรัฐโภคิน เลี้ยว ไฟหน้ำและไฟท้ำย
-นำยธนวัฒน์ อังคะหิ รัญ
เย็บเบำะ -นำงสำวสิ รินทิพย์ ทัศนเสวี -ที่วำงแก้วน้ ำ สำเร็จลุล่วง -
-นำยปกรณ์ เพียงดวงใจ
-นำงสำวสขิลำ ใสเอี่ยม

งำนตัด -นำยพัทธพล ตันสกุล -ตัด cover สำเร็จลุล่วง -


-นำงสำวกันตินนั ท์ อุ่นเรื อน -ตัด support ติดกับระบบไฟฟ้ำ
-นำยพิศุทธ์ สุขวำณิชวิชยั -ตะไบลับคม
-นำงสำวณัฏฐ์ชำภำ กำเนิดทอง
-นำงสำววัชลำวลี วัชระ
-นำยปัณณทัต วรวุฒิเวคิน
8

ตำรำงที่ 4 ตำรำงกำรทำงำนนอกเวลำสัปดำห์ที่ 3
ทำงำน วันจันทร์
นอกเวลำ -นำยแทนไทย เหล่ำวัฒนะไพศำล -โครงหน้ำรถ -ไม่สำเร็จ -
-นำยศุภณัฐ เสื อคล้ำย -โครงหลังคำ ลุล่วง
-นำยปิ ยพงษ์ เทียมจันทร์ -Cover
วันพุธ
-นำยแทนไทย เหล่ำวัฒนะไพศำล -โครงหน้ำรถ -สำเร็จลุล่วง -
-นำยศุภณัฐ เสื อคล้ำย -โครงหลังคำ
-นำยปิ ยพงษ์ เทียมจันทร์ -Cover
-นำงสำวปิ ยะฉัตร ศรี คงสรนะ
-นำยธนวัฒน์ อังคะหิ รัญ
-นำงสำวณัฏฐ์ชำภำ กำเนิดทอง
-นำยพงศกร ศรี มงั
-นำยชยพล ทองดำดำษ
วันศุกร์
-นำยแทนไทย เหล่ำวัฒนะไพศำล -ตัวยึดไฟหน้ำ -สำเร็จลุล่วง -
-นำยศุภณัฐ เสื อคล้ำย -ตัวล็อคเพลำ
-นำยปิ ยพงษ์ เทียมจันทร์ -ต่อระบบไฟฟ้ำเข้ำกับรถ
-นำยชยพล ทองดำดำษ
-นำยธนวัฒน์ อังคะหิ รัญ
-นำยกฤษฎำ ฉำยแก้ว
-นำยหลักเพชร สกุลร่ มเย็น
-นำยธนภัทร ไทยกิ่ง
-นำงสำวประภัสสร แสงรอด
-นำงสำววัชลำวลี วัชระ
-นำงสำวปิ ยะฉัตร ศรี คงสรนะ
9

บทที่ 2
ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
2.1 มอเตอร์ ไฟฟ้ า
มอเตอร์ไฟฟ้ำ คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำเป็ นพลังงำนกล โดยอำศัยหลักกำร ที่
กล่ำวว่ำ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ำไหลในขดลวดตัวนำซึ่งอยูต่ ดั ผ่ำนสนำมแม่เหล็กจะทำให้เกิดแรงกลโดยจะ
เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้าเป็ นสนำมแม่เหล็กเพื่อเหนี่ยวนำให้โรเตอร์เกิดกำรหมุนกำลังของมอเตอร์จะขึ้นอยู่
กับพลังดูดหรื อผลักของสนำมแม่เหล็กที่เกิดขึ้นภำยในมอเตอร์ ตัวนำที่ให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนเมื่อวำง ไว้
ใกล้กนั จะให้แรงดูดและแรงผลักต่อกัน ตัวนำที่ให้กระแสไหลทำงเดียวกันจะให้แรงดูดต่อกัน ตัวนำที่ ให้
กระแสไหลสวนทำงกันจะให้แรงผลักต่อกัน กำรหำกำลังมอเตอร์ ในกำรเลือกใช้งำนมอเตอร์จะต้อง
คำนึงถึงภำระของงำนที่ทำซึ่งจะสำมำรถกำหนดคุณสมบัติของมอเตอร์ที่จะเลือกใช้ในงำนได้ ส่วนสำคัญที่
ต้องพิจำรณำเป็ นหลักในกำรเลือกมอเตอร์คือ กำลังของมอเตอร์และแรงบิดของมอเตอร์ โดยสำมำรถหำ
แรงบิดของมอเตอร์ได้จำกสมกำร
T=Fxr
โดย T คือ แรงบิด หน่วย (N.m)
F คือ แรงที่กระทำในระบบส่ งกำลัง หน่วย(N)
r คือ รัศมีของแกนมอเตอร์ หน่วย(m)

2.1.1 มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง


มอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสตรง เป็ นต้นกำลังขับเคลื่อนที่สำคัญอย่ำงหนึ่งในโรงงำนอุตสำหกรรม เพรำะ
มีคุณสมบัติที่ดีเด่นในด้ำนกำรปรับควำมเร็ วได้ต้ งั แต่ควำมเร็ วต่ำสุ ดจนถึงสู งสุ ด นิยมใช้กนั มำกใน โรงงำน
อุตสำหกรรม เช่นโรงงำนทอผ้ำ โรงงำนเส้นใยโพลีเอสเตอร์ โรงงำนถลุงโลหะหรื อให้ เป็ นต้น กำลังในกำร
ขับเคลื่อนรถไฟฟ้ำ ในกำรศึกษำเกี่ยวกับมอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสตรงจึงควรรู ้จกั อุปกรณ์ต่ำงๆ ของมอเตอร์
ไฟฟ้ำกระแสตรงและเข้ำใจถึงหลักกำรทำงำนของมอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสตรงแบบต่ำงๆ
10

2.1.2 หลักการของมอเตอร์ กระแสไฟฟ้าตรง


หลักกำรของมอเตอร์ไฟฟ้ำกระแสตรง ( Motor Action) เมื่อเป็ นแรงดันกระแสไฟฟ้ำตรงเข้ำไปใน
มอเตอร์ ส่ วนหนึ่งจะ แปรงถ่ำนผ่ำนคอมมิวเตเตอร์ เข้ำไปในขดลวดอำร์มำเจอร์สร้ำงสนำมแม่เหล็กขึ้น และ
กระแสไฟฟ้ำอีกส่วนหนึ่งจะไหลเข้ำไปในขดลวดสนำมแม่เหล็ก ( Field coil) สร้ำงขั้วเหนือใต้ข้ ึน จะเกิด
สนำมแม่เหล็ก2 สนำม ในขณะเดียวกัน ตำมคุณสมบัติของเส้นแรงแม่เหล็ก จะไม่ตดั กันทิศทำงตรง ข้ำมจะ
หักล้ำงกัน และทิศทำงเดียวจะเสริ มแรงกัน ทำให้เกิดแรงบิดในตัวอำร์มำเจอร์ ซึ่งวำงแกนเพลำ และ
แกนเพลำนี้สวมอยูก่ บั ตลับลุกปื นของมอเตอร์ ทำให้อำร์มำเจอร์น้ ีหมุนได้ ขณะที่ตวั อำร์มำเจอร์ทำ หน้ำที่
หมุนได้น้ ีเรี ยกว่ำ โรเตอร์ (Rotor) ซึ่งหมำยควำมว่ำตัวหมุน กำรที่อำนำจเส้นแรงแม่เหล็กทั้งสองมี ปฏิกิริยำ
ต่อกัน ทำให้ขดลวดอำร์มำเจอร์ หรื อโรเตอร์หมุนไปนั้นเป็ นไปตำมกฎซ้ำยของเฟลมมิ่ง (Fleming left hand
rule)
2.2 งานเชื่ อม
กำรเชื่อม (Weld) หมำยถึงกำรประสำนใหชิ้นส่ วนโลหะหลอมรวมเป็ นเนื้ อเดียวกันบริ เวณ รอยต่อ
ชิ้นงำนที่ตอ้ งกำรให้ ประสำนติดกัน ชนิดของรอยเชื่อมที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไป กำรเชื่อมต่อที่นิยมมี 3 แบบ
ได้แก่ กำรเชื่อมด้วยไฟฟ้ำ กำรเชื่อมด้วยแก๊ส กำรเชื่อมด้วยควำมต้ำนทำน

รู ปที่ 2.1 รอยเชื่อมชนิดต่ำงๆ [ชำญ ถนัดงำน,และ วริ ทธิ์ อึ้งภำกร,2522]

ชนิดของรอยเชื่อมที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปมีดงั รู ปที่ 2.1 กำรเชื่อมมุม(Fillet Weld)และกำรเชื่อมต่อชน ในกำร


เชื่อมมุมนั้น ควำมหนำของรอยเชื่อมมุมไม่จำเป็ นจะต้องเท่ำกับควำมหนำของแผ่นโลหะ และโดยปกติแล้ว
ผิวบนของรอยเชื่อมมุมจะมีลกั ษณะดังรู ป ส่ วนเกินนี้เรี ยกว่ำส่ วนเสริ ม (Reinforcement)ซึ่งถ้ำไม่ตอ้ งกำรให้
มีก็อำจจะตะไบออกได้ ขนำดของรอยเชื่อมมุมจะบอกด้วยขนำดของขำ (Leg) ว่ำมีควำม ยำวเท่ำใด ซึ่ง
โดยทัว่ ไปแล้วมักจะเชื่อมให้มีควำมยำวของขำเท่ำกัน ส่ วนขนำดของคอ (Throat) เป็ น ขนำดที่จะใช้ดงั รู ปที่
2.2
11

รู ปที่ 2.2 รอยเชื่อมมุม [ชำญ ถนัดงำน,และ วริ ทธิ์ อึ้งภำกร,2522]

แสดงถึงกำรเชื่อมต่อชนิดอื่นๆที่อำจกระทำได้ดงั รู ปที่ 2.3 แต่ถำ้ ไม่มีควำมจำเป็ นแล้วควรใช้กำร


เชื่อมต่อ ที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปดังรู ปที่ 2.1

รู ปที่ 2.3 รอยเชื่อมชนิดอื่นๆ [ชำญ ถนัดงำน,และ วริ ทธิ์ อึ้งภำกร,2522]

2.3 แรงต้านการเคลื่อนที่
แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ เป็ นแรงที่ออกแรงตรงข้ำมกับแรงที่ส่งกำลังมำ ซึ่งกำลังจำกมอเตอร์ที่นำมำ
รับเคลื่อนอำงนำมำใช้ประโยชน์ใด้ไม่เต็มที่ท้ งั หมด เนื่องจำกเกิดกำรสูญเสี ยในกำรส่งกำลัง และกำลังส่วนที่
เหลือจะนำมำใช้ประโยชน์เพื่อเอำชนะแรงด้ำนกำรเคลื่อนที่เพื่อที่จะสำมำรถเคลื่อนที่รถไฟฟ้ำได้ แรง
ต้ำนกำรเคลื่อนที่สำมำรถแบ่งออกได้เป็ น ตังนี้
1.) แรงต้ำนกำรหมุนของล้อ
2.) แรงต้ำนอำกำศ
3.) แรงต้ำนจำกทำงชัน
โดยแรงต้ำนเหล่ำนี้จะมีมำกหรื อน้อย ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะกำรเคลื่อนที่ของรถไฟฟ้ำซึ่งกำรเคลื่อนที่
ของรถไฟฟ้ำมีกำรเคลื่อนที่ 3 แบบ คือ กำรเคลื่อนที่ในแนวรำบ กำรเคลื่อนที่ข้ ึนทำงชัน และ กำรเคลื่อนที่
ลงทำงลำด
12

2.3.1 แรงต้ านการหมุนของล้ อ


แรงต้ำนกำรหมุนของล้อเป็ นแรงที่มีควำมจำเป็ นมำกที่สุดชึ่ งจำเป็ นกับกำรส่งกำลัง เนื่องจำกทำให้
รถ
สำมำรถเคลื่อนที่ออกไปได้ โดยอำศัยแรงเสี ยดทำนที่ลอ้ กระทำกับพื้นเพื่อทำให้รถสำมำรถเคลื่อนที่ไป
ข้ำงหน้ำ
ได้ โดยปัจจัยที่มีผลต่อแรงต้ำนกำรหมุนของล้อ ได้แก่
1. สภำพของยำงล้อรถ ซึ่งหมำยถึงวัสดุที่นำมำทำยำง รู ปทรงของยำง ควำมกว้ำงและขนำดของ
ยำง ควำมดันของลมยำง รวมถึงดอกยำงอีกด้วย ซึ่งยำงที่มีขนำดวงล้อที่มีเส้นผ่ำนศูนย์กลำงโต จะมีแรงต้ำน
กำร
หมุนของล้อที่นอ้ ยกว่ำยำงที่มีเส้นผ่ำนศูนย์กลำงเล็ก
2. สภำพของผิวที่ขบั ขี่ ซึ่งบริ เวณผิวที่ขรุ ขระจะทำให้แรงต้ำนกำรหมุนของล้อมำก และบริ เวณที่มี
ผิว
เรี ยบจะทำให้แรงต้ำนกำรหมุนมีค่ำน้อย
3. น้ ำหนักของรถรถไฟฟ้ำ และผูข้ บั ขี่ซ่ ึงเป็ นปัจจัยที่มีผลมำก ในกำรขับเคลื่อนของรถ
ไฟฟ้ำ ซึ่งถ้ำรถไฟฟ้ำและผูข้ บั ขี่มีน้ ำหนักมำก จะส่งผลให้แรงต้ำนจำกำรหมุนมำกตำมไปด้วย
4. อัตรำเร็วของรถไฟฟ้ำ แรงต้ำนกำรหมุนของรถจะมำกที่สุดในช่วงเริ่ มเคลื่อนที่ เนื่องจำก
จำเป็ นต้องเอำชนะแรงต้ำนควำมเฉื่อยด้วย และจะมีแรงต้ำนกำรหมุนน้อยลงเมื่ออัตรำเร็ วของรถไฟฟ้ำ
เพิ่มขึ้น
13

ซึ่งค่ำ Kr เป็ นค่ำคงที่ซ่ ึงขึ้นอบู่กบั สภำพผิวถนนขับขี่ ดังนี้

2.3.2 แรงต้านอากาศ
แรงต้ำนอำกำศ เป็ นแรงที่เกิดจำกกำรที่วตั ถุเคลื่อนที่ผำ่ นเข้ำไปในอำกำศด้วยควำมเร็วทำให้เมื่อ
14

เคลื่อนที่ไปจะมีอตั รำเร็ วสัมพัทธ์ของอำกำศมำกระทำกับวัตถุที่เคลื่อนที่น้ นั ซึ่งค่ำแรงต้ำนอำกำศจะมำกหรื อ


น้อย ขึ้นอยูก่ บั พื้นที่หน้ำตัด และรู ปทรงของพำหนะ

ปัจจุบนั กำรออกแบบรู ปทรงตำมหลัก อำกำศพลศำสตร์ จะส่งผลให้แรงต้ำนอำกำศลดลงได้ ซึ่งเป็ น


ผลให้เกิดข้อดีหลำยประกำร คือ ทำให้อตั รำเร็ วสู งสุ ดของพำหนะเพิ่มขึ้น และยังทำให้ประหยัดพลังงำนมำก
ขึ้น
อีกด้วย โดยปัจจัยที่มีผลต่อแรงต้ำนอำกำศ
1. ควำมเร็วลม ถ้ำควำมเร็วลมมีทิศทำงสวนทำงกับกำรเคลื่อนที่จะทำให้เกิดแรงต้ำน และในทำง
กลับกัน ถ้ำทิศทำงของลมเป็ นทิศทำงเดียวกับกำรเคลื่อนที่จะทำให้เกิดแรงเสริ ม
2.ลักษณะรู ปทรงของพำหนะ แรงต้ำนที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยูก่ บั รู ปทรงที่อำกำศมำกระทบ แรงต้ำน
อำกำศ
ที่เกิดขึ้นนั้น เกิดจำกกำรที่เกิดควำมดันระหว่ำงด้ำนหน้ำ และด้ำนหลังของรถแตกต่ำงกัน ทำให้เกิดแรง
กระทำ
จำกบริ เวณที่มีควำมดันที่สูงกว่ำ ผลักต้ำนกำรเคลื่อนที่ของรถเอำไว้

สำหรับกำรขับเคลื่อนของรถไฟฟ้ำนั้น รู ปทรงที่เกิดขึ้นไม่เป็ นรู ปทรงเรขำคณิ ตแบบปกติ แต่เรำ


สำมำรถตำนวณแรงต้ำนทำนจำกอำกำศได้ โดยประมำณ จำกสมกำร
15

จำกแรงต้ำนทั้ง 2 ที่กล่ำวมำข้ำงต้นนั้น สำมำรถนำมำวิเครำะห์แรงต้ำนทั้งหมดเพื่อใช้ในกำรเลือก


แบตเตอรี่ และตัวส่งกำลัง
16

บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
วิธีการดาเนินงาน
1 ออกแบบและวำงแผนในกำรดำเนินงำน โดยมีกำรแบ่งหน้ำที่กำรทำงำนในส่วนต่ำงๆ
2 ลงมือปฏิบตั ิงำน หน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย
3 แก้ปัญหำที่เกิดขึ้นหน้ำงำน พร้อมปรึ กษำหำรื อ
4 ตรวจสอบแต่ละชิ้นงำนทุกชิ้นก่อนทำกำรประกอบ
5 นำชิ้นงำนและอุปกรณ์ไฟฟ้ำมำประกอบ
6 ตรวจสอบกำรประกอบของรถ
7 ทดลองขับขี่
ปัญหาและอุปสรรค
1 เครื่ องมือเสี ยหำยเกิดอำกำรชำรุ ด
2 อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3 ทำงำนผิดพลำด
วิธีการแก้ปัญหา
1 ซ่อมเครื่ องมือที่ชำรุ ด
2 ซื้ออุปกรณ์ที่ขำด
3 ทำงำนที่พลำดใหม่
งบประมาณ
คันเร่ งสำมระดับ 129 บำท
ไฟหน้ำ 249 บำท
ไฟท้ำย 1 คู่ 209 บำท
17

กล่อง speed control 990 บำท


ฟิ วส์ 40 บำท
เกียร์ 3 จังหวะ 145 บำท
แบตเตอร์รี่ 22,400 บำท
เบรก 1,000 บำท
พวงมำลัย 6,00 บำท
มอเตอร์และเพลำล้อรถ 5,500 บำท
ไฟเลี้ยว 240 บำท
ล้อ 3 ล้อ 4,500 บำท
รวมทั้งสิ้ น 36,002 บำท
18

เค้าโครงแบบงาน

ภาพที่ 1 ภำพรวมรถ

ภาพที่ 2 ช่วงล่ำง(คัซซี)
19

ภาพที่ 3 สวิงอำร์ม

ภาพที่ 4 ส่วนกระบะหลัง

ภาพที่ 5 สลักและแบริ่ ง
20

ภาพที่ 6 โครงรถ

ภาพที่ 7 ส่วนอื่นๆ
21

บทที่ 4
สรุปและอภิปลายผล
4.1 สรุปผลการดาเนินงาน
จำกกำรออกแบบรถ สำมล้อไฟฟ้ำของทำงกลุ่มผูจ้ ดั ทำโดยใช้พลังงำนจำกแบตเตอรี่ 48 โวลล์
สำมำรถขับเคลื่อนให้มอเตอร์หมุนได้จริ ง โดยมีควำมเร็วสูงสุดอยูท่ ี่ 27 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง และสำมำรถ
บรรทุกได้ถึง 300 กิโลกรัม

4.2 ข้อเสนอแนะ
1) ผูข้ บั ขี่ควรศึกษำวิธีกำรขับ และต้องมีควำมชำนำญในกำรขับขี่
2) ระยะกำรบอกแบบรถค่อนข้ำงยำว ทำให้มีกำรยุบตัวเล็กน้อยเมื่อขึ้นขับ
3) ระวังไม่ให้ระบบไฟฟ้ำสัมผัสกับน้ ำ เพรำะอำจทำให้เกิดกำรช็อตได้
22

ภาคผนวก
23

ภาพที่ 1 กำรออกแบบในกระดำษ

ภาพที่ 2 กำรออกแบบในโปรแกรม
24

ภาพที่ 3 กำรคำนวณแบตเตอร์รี่

ภาพที่ 4 แบบสั่งงำน
25

ภาพที่ 5 กำรวัดขนำดเหล็ก

ภาพที่ 6 กำรตัดเหล็ก
26

ภาพที่ 7 กำรเจียระไนด้วยเครื่ องเจียระไนตั้งพื้น

ภาพทื่ 8 กำรปำดหน้ำชิ้นงำน
27

ภาพที่ 9 กำรกลึงชิ้นงำน

ภาพที่ 10 กำรวัดขนำดชิ้นงำน
28

ภาพที่ 11 กำรเชื่อม

ภาพที่ 12 กำรเจียระไนด้วยเครื่ องเจียรมือ


29

ภาพที่ 13 กำรตัดแผ่นเหล็กด้วยเครื่ องเลื่อยสำยพำนแนวตั้ง

ภาพที่ 14 กำรตัดแผ่นเหล็กด้วยเครื่ อง shearing


30

ภาพที่ 15 กำรตัดไม้

ภาพที่ 16 กำรทำกำวทินเนอร์
31

ภาพที่ 17 กำรเย็บ

ภาพที่ 18 กำรยึดเบำะ
32

ภาพที่ 19 กำรประกอบรถ

ภาพที่ 20 กำรเจำะรู
33

ภาพที่ 21 กำรต่อระบบไฟฟ้ำ

ภาพที่ 22 กำรทดสอบเรื่ องกำรรับน้ ำหนัก

You might also like