You are on page 1of 9

รายงานผลการดาเนินงาน

ของเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพ


(จปว.)

ประจาเดือนมกราคม - มิถุนายน 2566

นางสาวณัฐธภา สุ นทร
เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพ
บริษัท สยามเดลมองเต้ จากัด

บริษัท สยามเดลมองเต้ จากัด


64/2 หมู่ 5 ถนนสาย 3159 ตาบลทุ่งนนทรี อาเภอเขาสมิง จังหวัดตราด 23130
โทร. 039-619091 โทรสาร.039-619097
รายงานผลการดาเนินงานของเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ
...............................................
เขียนที่บริ ษทั สยามเดลมองเต้ จากัด วันที่
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

1. ข้าพเจ้า นางสาวณัฐธภา สุนทร


ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ
2. สถานประกอบกิจการชื่อ บริ ษทั สยามเดลมองเต้ จากัด
ประเภทกิจการ ผลิตพืชผักผลไม้ ข้าวโพด บรรจุกล่องเพื่อการส่งออก
ตั้งอยูท่ ี่ 64/2 หมู่ที่ 5 ถนน สาย 3159 ตาบล ทุ่งนนทรี อาเภอ เขาสมิง จังหวัด ตราด
รหัสไปรษณีย ์ 23130 โทรศัพท์ 039-619091-4 โทรสาร 039-619097
3. มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับวิชาชีพ 1 คน
4. ขอรายงานผลการดาเนินงานตามหน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ ในรอบ 6 เดือน ในช่วงตั้งแต่
เดือน มกราคม ถึงเดือน มิถุนายน 2566 ดังต่อไปนี้

(รายละเอียดตามเอกสารแนบ)

ลงชื่อ ..............ณัฐธภา สุนทร............... ผูร้ ายงาน


(นางสาวณัฐธภา สุนทร )
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ

ลงชื่อ นายจ้าง
(นายพลพรรธ โกศัลวัฒน์ )
ผูจ้ ดั การทัว่ ไป
4.1 การตรวจสอบและการเสนอแนะให้ นายจ้ างปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน
(ตามเอกสารแนบท้าย)
4.1.1 ติดตามการปฏิบตั ิกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน ในระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2566
ดังนี้
✓ การฝึ กอบรมหลักสูตรหลักสูตรความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับพนักงานเข้าใหม่จานวน 6 ชัว่ โมง
✓ การตรวจสุขภาพก่อนเริ่ มงานตามปัจจัยเสี่ ยงตรวจสมรรถภาพการได้ยนิ สมรรถภาพปอด ตรวจตาบอดสี
✓ การจัดทาโครงการอนุรักษ์การได้ยนิ และการตรวจวัดระดับเสี ยง ( NOISE CONTOUR )
✓เลือกตั้งคณะกรรมการความปลออดภัยตามวาระ
✓การบริ หารจัดการมาตรการความปลอดภัย แจ้งออกเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริ หาร 1 คน
4.1.2 คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
✓ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย( คปอ.) เพื่อติดตามและดาเนินงานด้านความปลอดภัยของ
บริ ษทั ฯเดือนละ 1 ครั้ง
✓ การสารวจความปลอดภัยในการทางาน
✓สรุ ปวาระการดารงตาแหน่งตามวาระ 2 ปี ของคณะกรรมการความปลอดภัยชุดเก่า
4.1.3 ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภยั ในสถานประกอบการ
✓ดาเนินการตรวจถังดับเพลิงภายในบริ ษทั ฯ โดย จป.วิชาชีพ
✓ตรวจสอบระบบไฟฉุกเฉิ น สัญญาณเตือนภัย เดือนละ 1 ครั้ง
✓ตรวจสอบประตูฉุกเฉิน ทางออก ทางหนีไฟ จุดรวมพล เดือนละ 1 ครั้ง
✓ตรวจสอบการทางาน FIRE PUMP
✓ประเมินการติดตั้งระบบดับเพลิงอัติโนมัติ
✓การทดสอบสมรรถนะการทางานระบบดับเพลิงอัติโนมัติ
✓การอบรมวิธีการใช้งาน FIRE PROTECTION
4.1.4 ความปลอดภัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทางานในสถานประกอบการ
✓ ปรับปรุ งระบบพัดลมระบายอากาศ
✓ ปรับปรุ งแสงสว่างในพื้นที่ทางาน

4.2 แผนงาน โครงการ มาตรการด้านความปลอดภัยในการทางานเสนอต่อนายจ้ าง (ตามเอกสารแนบท้าย)


4.2.1 สรุ ปผลการปฏิบตั ิงานตามแผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานไตรมาสที่1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2566
4.3 ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทางาน (ตามเอกสารแนบท้าย)
4.3.1 ตรวจสอบความปลอดภัยในการทางานของแต่ละแผนก เดือนละ 1 ครั้ง
โดยคณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
4.4 แนะนาให้ ลูกจ้ างปฏิบัติตามข้ อบังคับและคู่มือว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน (ตามเอกสารแนบท้าย)
4.4.1 ตรวจสอบการสวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ตามที่กาหนด
4.4.2 ตักเตือนพนักงาน และแจ้งหัวหน้างาน เมื่อพบเห็นพนักงานที่ไม่ได้สวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน
บุคคล
4.5 แนะนา ฝึ กสอน อบรมลูกจ้ างให้ การปฏิบัติงานปลอดภัยจากเหตุอนั จะทาให้ เกิดความไม่ ปลอดภัยในการ
ทางาน
4.5.1 จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ ความรู ้เรื่ องความปลอดภัยในการทางานและการป้องกัน
4.5.2 อบรมความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับสารเคมี
4.5.3 อบรมพนักงานใหม่เรื่ องความปลอดภัยในการทางาน
4.5.4 อบรมการทางานอันตรายจากของมีคม ของแหลม และลักษณะการบาดจากการทางาน
4.5.5 อบรมความปลอดภัยในการทางานสาหรับผูร้ ับเหมา
4.6 ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอัน
เนื่องมาจากการทางาน และรายงานผลรวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้ องกันการเกิดเหตุโดยมิชกั ช้า
( ตามเอกสารแนบท้าย)
4.6.1 ในรอบเดือน มกราคม ถึง มิถุนายน 2566
อุบตั ิเหตุจานวน 5 ราย
4.7 การรวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล สถิติและจัดทารายงาน ข้ อเสนอแนะเกีย่ วกับการประสบอันตราย การเจ็บป่ วยหรื อ
การเกิดเหตุเดือดร้ อนราคาญอันเนื่องจากการทางาน

4.7.1 สรุ ปสถิติการประสบอันตราย ระหว่างเดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2566

จานวนลูกจ้างที่ประสบอันตราย ( คน )
จานวนลูกจ้าง สูญเสี ย หยุดงาน
เดือน หยุดงาน ไม่หยุด
ทั้งหมด ( คน ) ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ ไม่เกิน รวม
เกิน 3 วัน งาน
บางส่วน 3 วัน
-
มกราคม 270 - - - - 1
-
กุมภาพันธ์ 270 - - - - 2
-
มีนาคม 270 - - - - -
เมษายน 270 - - - - - 1 -
พฤษภาคม 270 - - - - - - -
มิถุนายน 270 - - - - 1 1 2
รวม - - - - 1 5 2
4.7.2 จานวนลูกจ้างที่ประสบอันตราย จาแนกตามสิ่ งที่ทาให้ประสบอันตรายและความร้ายแรง
ระหว่างเดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2566

หยุดงาน
สิ่ งที่ทาให้ประสบ ทุพพล หยุดงาน ไม่หยุด
ตาย สูญเสี ยอวัยวะ ไม่เกิน รวม
อันตราย ภาพ เกิน 3 วัน งาน
บางส่วน 3 วัน
ยานพาหนะ - - - - - - -
เครื่ องจักร - - - - - 1 1
เครื่ องมือ - - - - - 1 1
ตกจากที่สูง - - - - - - -
ของหล่นทับ - - - - - - -
ลื่นล้ม - - - - - 1 1
ความร้อน - - - - - 1 1
ไฟฟ้า - - - - - - -
สิ่ งมีพิษ สารเคมี - - - - - - -
ระเบิด - - - - - - -
เศษวัสดุ - - - - - - -
ถูกทาร้ายร่ างกาย - - - - - - -
เสี ยงในโรงงาน - - - - - - -
วัตถุหรื อสิ่ งของกระแทก - - - - - - -
โรคเนื่องจากการทางาน - - - - - - -
ยกของหนัก - - - - - - -
อื่น ๆ ระบุ แฮนด์ลิฟทับ - - - - - 1 1
รวม - - - - - 5 5
4.7.3 จานวนลูกจ้างที่ประสบอันตราย จาแนกตามลักษณะการประสบอันตรายและความร้ายแรง
ระหว่างเดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2566
สูญเสี ย หยุดงาน
ลักษณะการประสบอันตราย ทุพพล หยุดงาน ไม่หยุด
ตาย อวัยวะ ไม่เกิน รวม
ภาพ เกิน 3 วัน งาน
บางส่วน 3 วัน
ตกจากที่สูง - - - - - - -
หกล้ม ลื่นล้ม - - - - - 1 1
อาคารหรื อสิ่ งก่อสร้างพังทับ - - - - - - -
วัตถุหรื อสิ่ งของพังทลาย/หล่นทับ - - - - - - -
วัตถุหรื อสิ่ งของกระแทกหรื อชน - - - - - 2 2
วัตถุหรื อสิ่ งของหนีบหรื อดึง - - - - - - -
วัตถุหรื อสิ่ งของตัด/บาด/ทิ่ม/แทง - - - - - 1 1
วัตถุหรื อสิ่ งของกระเด็นเข้าตา - - - - - - 1
ยกหรื อเคลื่อนย้ายของหนัก - - - - - - -
อาการเจ็บป่ วยจากท่าทางการทางาน - - - - - - -
อุบตั ิเหตุจากยานพาหนะ - - - - - - -
วัตถุหรื อสิ่ งของระเบิด - - - - - - -
ไฟฟ้าช๊อต - - - - - - -
ผลจากความร้อนสู งหรื อสัมผัสของร้อน - - - - - 1 1
ผลจากความเย็นจัดหรื อสัมผัสความเย็น - - - - - - -
สัมผัสสิ่ งมีพิษ สารเคมี - - - - - - -
แพ้จากการสัมผัสสิ่ งของ - - - - - - -
(ยกเว้น สิ่ งมีพิษ สารเคมี)
อันตรายจากแสง - - - - - - -
อันตรายจากรังสี - - - - - - -
ถูกทาร้ายร่ างกาย - - - - - - -
ถูกสัตว์ทาร้าย - - - - - - -
โรคเนื่องจากการทางาน - - - - - - -
อื่น ๆ (ระบุ - - - - - - -
รวม - - - - - 5 5
4.7.4 จานวนลูกจ้างที่ประสบอันตราย จาแนกตามส่วนของร่ างกายที่ประสบอันตรายและความร้ายแรง
ระหว่างเดือนเมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2565

สูญเสี ย หยุดงาน
ส่วนของร่ างกายที่ประสบ ทุพพล หยุดงาน ไม่หยุด
ตาย อวัยวะ ไม่เกิน รวม
อันตราย ภาพ เกิน 3 วัน งาน
บางส่วน 3 วัน
ตา - - - - - - -
หู - - - - - - -
คอ ศีรษะ - - - - - - -
ใบหน้า - - - - - - -
มือ - - - - - 1 1
นิ้วมือ - - - - - 1 1
แขน - - - - - 1 1
ลาตัว - - - - - 1 1
หลัง - - - - - - -
ไหล่ - - - - - - -
เท้า - - - - - 1 1
นิ้วเท้า - - - - - - -
ขา - - - - - - -
อวัยวะอื่น ๆ (คิ้ว) - - - - - - -
บาดเจ็บหลายส่วน - - - - - - -
รวม - - - - - 5 5
4.8 กิจกรรมด้านความปลอดภัยตามเอกสารแนบท้าย

เอกสารแนบท้าย
4.8.1 เลือกตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
เอกสารแนบท้าย
4.8.2 การจัดทามาตรการอนุรักษ์ การได้ ยินและการตรวจวัดระดับเสี ยง

You might also like