You are on page 1of 12

เรื่อง สาเหตุที่เกิดปั ญหาและโทษของสิ่ง

เสพติด

เสนอ

ครูครรชิต วงศ์เทพ

จัดทำโดย

เด็กชายคุณัชพุฒิ ศรีเทพ

เด็กชายพีรภัทร น้อยแย้ม

เด็กชายกิตติพงษ์ แสงชัย

เด็กหญิงพละธิดา พิมพา

เด็กหญิงลลิตา พิกุล
เด็กหญิงกนกวรรณ บัวผาย

โรงเรียนพรเมตตาคริสเตียน
คำนำ

รายงานเล่มนีจ
้ ัดทำขึน
้ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของวิชา คริสต์ศาสนา ชัน

ม.3/1 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องสาเหตุที่เกิดปั ญหาและโทษ
ของสิง่ เสพติด และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กับการ
เรียน

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนีจ
้ ะเป็ นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือ
นักเรียน  ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนีอ
้ ยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิด
พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นด
ี ้ ้วย
สารบัญ
หน้า

คำนำ

สารบัญ

บทที่ 1 สาเหตุที่เกิดปั ญหาและโทษของสิ่งเสพติด


1
1.1 สาเหตุปัญหายาเสพติด
1

1.2 โทษของยาเสพติด
2

1.3 ประเภทยาเสพติด
3

บทที่ 2 วิธีการแก้ปัญหาการติดสารเสพติด
4

บรรณานุกรม 5
บทที่ 1 สาเหตุที่เกิดปั ญหาและโทษ
ของสิ่งเสพติด

1.1 สาเหตุปัญหายาเสพติด

1. สาเหตุทางด้านบุคคล

1.1 ถูกชักชวน

1.2 สภาพความกดดันทางครอบครัว  เช่น การทะเลาะกันของพ่อแม่

1.3 ความจำเป็ นในการประกอบอาชีพ เช่น คนขับรถหรือลูกเรือในทะเล

1.4 เกิดความเจ็บป่ วยทางกายหรือทางจิตใจ อาจมีการใช้สารเสพติดเพื่อ


บรรเทาอาการป่ วยทางกายและทางจิตบางชนิดนานติดต่อกันจนติดยาได้

1.5 ถูกหลอกลวงโดยผู้รับไม่ทราบว่าสิ่งที่ตนรับมาเป็ นสารเสพติดหรือโดยการ


ผสมปลอมปนกับอาหาร ของขบเคีย
้ ว

2.  สาเหตุจากตัวยาหรือสารเสพติด

            ตามปกติแล้วตัวยาหรือสารเสพติดจะไม่ก่อให้เกิดปั ญหาใดๆ ถ้าคนไม่


นำมาใช้ แต่เมื่อบุคคลใช้ยาหรือสารเสพติด คุณสมบัติเฉพาะของสารนัน
้ จะ
ทำให้เกิดการเสพติดได้ ทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับชนิดและขนาดของสารเสพติดที่ใช้
3. สาเหตุจากสภาพแวดล้อม

            3.1 อยู่ในแหล่งที่มีการซื้อ-ขาย หรือเสพ สารเสพติด

            3.2 สภาพแวดล้อมบังคับ โดยเฉพาะผู้ที่ติดสารเสพติดแล้วต้องการจะ


เลิกเสพเมื่อเข้ารับการรักษาหายแล้ว สังคมอาจจะไม่ยอมรับ แหล่งงาน
ปฏิเสธการรับเข้าทำงาน เนื่องจากมีประวัติติดสารเสพติด จึงทำให้ต้องกลับ
ไปอยู่ในสังคมสารเสพติดเช่นเดิม

1.2 โทษของยาเสพติด

โทษต่อร่างกายและจิตใจ

ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และ


เป็ นโรคจิตจากพิษยานัน
้ ๆ

เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะ

ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย

พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกได้ง่าย

ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบ
ประสาทบกพร่อง

โทษต่อครอบครัว
ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง

เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว

ขาดหลักประกันของครอบครัว ทำงานไม่ได้ ไม่เป็ นที่วางใจ ของคน


ทั่วไป นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง

โทษต่อสังคม

เป็ นภัยต่อสังคม

มีโอกาสเป็ นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง

โทษต่อส่วนรวมและประเทศชาติ

เป็ นภัยอันตรายต่อผู้อ่ น
ื ชุมชนและประเทศชาติ เพิ่มงบประมาณ
ของประเทศในการป้ องกันปราบปรามและบำบัดรักษา

ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประเทศ

1.3 ประเภทยาเสพติด

์ ดประสาท เช่น ฝิ่ น มอร์ฟิ่น เฮโรอีน เซโคบาร์ทิบาท (บาร์บิทู


ออกฤทธิก
เรต) เหล้าแห้ง หรือโซโคบาล ทำให้ประสาทมึนชา สมอง อารมณ์ จิตใจ
เฉื่อยชา
์ ระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคเคน พวกยาม้า
ออกฤทธิก
ยาขยัน กระตุ้นเร่งประสาททำให้เกิดนิ่ว ตื่นตัว กระวนกระวาย ประสาทไหว
ตัวอยู่เสมอ

์ ลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ทำให้เกิดประสาทหลอนเห็น


ออกฤทธิห
ภาพผิดไปจากปกติ

์ สมผสานกัน ทัง้ กดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอน


ออกฤทธิผ
ประสาท เช่น กัญชา
บทที่ 2 วิธีแก้ปัญหาการติดยาเสพติด

1. การแก้ไขเด็กติดยาเสพติด ต้องการกำลังใจจาก ผู้ปกครองและครูเป็ น


อย่างมาก ฉะนัน
้ ผู้ปกครองและครูจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยเด็กของ
ตนให้หายจากการติดยาเสพติดซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี ้

2. สร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความสุข พ่อแม่ควรปรองดองกัน จะ
ทำให้เด็ก มีความมั่นคงทาง
จิตใจ รู้สึกอบอุ่น

3. พ่อแม่และครูต้องให้ความเป็ นกันเองกับเด็ก จะทำให้เด็กแน่ใจว่า


ผู้ใหญ่พยายาม ที่จะเข้าใจเขาพร้อมที่จะช่วยเหลือเขาเด็กจะรู้สึกเป็ น
กันเองที่จะพูดคุยถึงปั ญหา ของตนโดยไม่มีการซ่อนเร้นและควรพูดจา
ซักถามสาเหตุ เวลาที่เสพติดนานแค่ไหน อย่าประนามดุด่าเด็กและ
ควรหาทางช่วยเหลืออย่างรีบด่วน 4

4. อธิบายให้เด็กเข้าใจและรู้โทษตามกฎหมายที่จะได้รับจากการใช้ยาเสพ
ติด

5. ให้เด็กได้ร้โู ทษของยาเสพติด
6. ร่วมมือกับครูประจำชัน
้ เพื่อหาทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มอภิปรายกับเด็ก
นักเรียน ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ครูที่สนใจปั ญหาต่างๆเหล่า
นีแ
้ ละรับฟั งเด็กด้วยท่าทีที่เห็นใจ จะช่วยเด็กได้อย่างมาก

7. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังใจ อารมณ์ ความนึกคิดไปในทางที่มีความ


หมาย เช่น ชมรมกีฬา ชมรมดนตรี

8. พาเด็กไปพบแพทย์ตามสถานที่รับรักษาผู้ติดยาเสพติด หรือสถานที่
บางแห่งรักษาด้วยสมุนไพรเช่น ที่ถ้ำกระบอก จังหวัดสระบุรี

9. ควรแยกเด็กจากสิ่งแวดล้อมเดิมหรือให้ห่างจากเพื่อนที่ติดยาเสพติด
ด้วยกัน เพื่อป้ องกันไม่ให้กลับไปเสพอีก

10. อธิบายให้เด็กเข้าใจว่าการเลิกยาเสพติดนัน
้ อยู่ที่การตัดสินใจของเขา
เอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขา
เอง การที่เขาเลิกยาเสพติดได้จะทำให้อนาคตของเขาดีขน
ึ้

บรรณานุกรม

1. ชูทิตย์ ปานปรีชา. คู่มือสุขภาพจิตสำหรับเจ้าหน้าที่


สาธารณสุข. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์การศาสนา, 2530.
2. ศูนย์สุขวิทยาจิต. อนุสารวัยรุ่นกับยาเสพติด. พิมพ์ครัง้
ที่ 2, ก.ค.2522.
3. ศิริวิไล. คู่มืออ่านพฤติกรรมเด็ก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
อ.อิทธิพล, 2526.

You might also like