You are on page 1of 5

ปัญหายาเสพติดของประเทศไทยในปัจจุบัน

ในปัจจุบนั ปัญหายาเสพติดได้มีการแพร่ ระบาดอย่างกว้างขวางเเละรุ นเเรงมากขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสี ยกับ


ประเทศชาติหลายด้าน ส่งผลกระทบทางด้านสังคมเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศต่อเยาวชนและคนในสังคม
มีผลกระทบโดยตรงต่อผูเ้ สพ ทั้งด้านพฤติกรรมร่ างกายจิตใจความคิดอารมณ์ ทาให้เกิดปัญหาทางสังคม
ก่อให้เกิดปัญหาวิกฤตทางศีลธรรม เกิดอาชญากรรม เนื่องจากยาเสพติดทุกชนิดเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายจะออก
ฤทธิ์โดยตรงต่อสมองและร่ างกายส่งผลให้เกิดความพึงพอใจและเสพติดทาให้ผเู ้ สพเกิดการเสพที่ติดถี่ข้ นึ และยัง
ึ งมีการกาหนดนโยบาย
ต้องเพิ่มปริ มาณที่สูงขึ้นเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ รัฐบาลได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาที่เกิดข้นจึ
เร่ งด่วน เพื่อลดการระบาดของยาเสพติด โดยใช้กลยุทธ์ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการ ร่ วมกันแก้ไข
ปัญหาเกี่ยวกับการแพร่ ระบาดยาเสพติดภายในประเทศ เเละใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเฉียบขาดกับผูท้ ี่
กระทาผิดเเละผูเ้ สพยาเสพติด

ในส่วนของสภาพการณ์ของปัญหา ปัญหายาเสพติดนับวันยิ่งรุ นเเรงมากขึ้น ก่อให้เกิดความเสี ยหายมากมาย


มหาศาล มีเเนวโน้มจะขยายตัวต่อเนื่องตามสภาพเศรษฐกิจ ด้านกลุ่มผูเ้ สพมีการเเพร่ ขยายฐานจากกลุ่มผูใ้ ช้เเรง
งาน เกษตรกร ผูว้ ่างงานเเละกลุ่มนักเรี ยน นักศึกษา ทาให้ประเทศชาติเสี ยกาลังเยาวชนไปมาก เพราะยาเสพติด
ทาลายสุขภาพเเละอนาคต ตลอดจนถึงขั้นเสี ยชีวิต ปัญหายาเสพติดเป็ นปัญหาท่ีบัน่ ทอนเสถียรภาพของประเทศ

ท้งทางด้ านเศรษฐกิจและความมัน่ คงของชาติ ตลอดจนทาลายวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมและ ประเทศชาติ
การกาหนดนโยบายเร่ งด่วนเพื่อจะลดการระบาดและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยใช้กลยุทธ์ให้ประชาชนเข้ามามี
ส่วนร่ วมในการร่ วมกันแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการแพร่ ระบาดยาเสพติดภายในประเทศ รวมท้งใช้ ั มาตรการทาง
กฎหมายอย่างเฉียบขาดกับผูท้ ี่กระทาผิด ในการค้ายาเสพติดและผูเ้ สพยาเสพติด เป็ นต้น และจากการ ประเมิน
สถานการณ์การแพร่ ระบาดของยาเสพติด พบว่า ยาเสพติดที่มีการแพร่ ระบาดอย่างมาก ใน ประเทศไทยได้แก่
เฮโรอีน และยาบ้า (แอมเฟตามีน) พื้นที่ที่มีปัญหาเฮโรอีนรุ นแรง ได้แก่ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนื อและภาคใต้
ส่วนการแพร่ ระบาดของยาบ้ามีมากในภาคกลาง โดยเฉพาะในกลุ่ม นักเรี ยนนักศึกษาและจากการรวบรวมสถิติ
ของสานักงานป.ป.ส. พบว่าปี พ.ศ. 2533 มีนกั เรี ยน นักศึกษา สมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษา จานวน 447 คนและ
ึ กปี จนในปี พ.ศ. 2540 พบว่า มีจานวนถึง 6,542 คน และจากสถิติขอ้ มูลผูเ้ ข้ารับการ
มีจานวนเพิ่มข้นทุ
บาบัดรักษาพบว่าในช่วงปี พ.ศ. 2535 – 2543 การแพร่ ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มนักศึกษามีแนวโน้มเพิ่มข้นอ ึ
ั ปี พ.ศ. 2545 เป็ นต้นไป มีแนวโน้มทวีความรุ นแรงมากย่งขึ
ย่างต่อเนื่องและคาดว่าต้งแต่ ิ ้ นจากการสารวจ
ประมาณการจานวน นักเรี ยน นักศึกษาท่ีเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปี ที่ 6 - ปริ ญญา
ตรี ในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทยในปี พ.ศ. 2542 โดยสานักวิจยั เอแบคโพลล์ พบว่า จาก
นักเรี ยน นักศึกษา จานวน 5,365,942 คน ทัว่ ประเทศมีนกั เรี ยน นักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดถึง 663,290 คน
(สุปรานี พลแสง.)
อย่างไรก็ตามจากข้อมูลของศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดชายแดนภาคเหนือ (ศอ.ปส.ชน.)
พบว่ากลุ่มนักค้าประเทศเพื่อนบ้าน หรื อ พื้นที่ชายแดนยังคงมีศกั ยภาพในการผลิตยาเสพ ติด และพร้อมจะส่งยา
เสพติดเข้ามาตามชายแดนภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และยังคงมี การจับกุม การลักลอบนา
เคมีภณ ั ฑ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เข้าไปใน สปป.ลาว และประเทศเมียนมาร์ ซึ่งสามารถนาไป ผลิตยาบ้า ไอซ์
หรื อเฮโรอีน จานวนมาก ส่วนการ ลักลอบนาเข้ายาเสพติดตาม ชายแดนภาคเหนือ มีปริ มาณนาเข้ายาบ้าของแต่
ละกลุม่ อยูใ่ นระดับล้านเม็ด เฮโรอีน คร้ังละ 10 - 70 กิโลกรัม ไอซ์ ครั้งละ 5 - 10 กิโลกรัม และการลักลอบ
นาเข้ายาเสพติดตามชายแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ยาบ้าอยูใ่ นระดับแสนเม็ด ไอซ์ คร้ังละ 5 -10 กิโลกรัม
กัญชา ครั้งละ 300 - 500 กิโลกรัม ยังคงมีเครื อข่ายการค้าท่ีเคลื่อนไหวมากที่ส่งผลต่อประเทศไทย คาดว่า
แนวโน้มของการลักลอบนาเข้ายาเสพติดมาในประเทศไทยจะเพิ่มมากยิ่งขึ้น และ วิธีการลาเลียงที่หลากหลาย
มากขึ้น(สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.2560) สถานการณ์ยาเสพติดของประเทศไทย
ในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี งบประมาณ 2561 มีลกั ษณะ เด่นคือการลักลอบยาเสพติดประเภทสังเคราะห์จาก
พื้นที่ผลิตในสามเหลี่ยมทองคาเข้าสู่ประเทศไทยในปริ มาณสูงมาก ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสานักงาน
สหประชาชาติดา้ นยาเสพติดและอาชญากรรม (United Nations Office on Drugs and Crime : UNODC) ที่ช้ ีว่า
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็ นต้นมาการจับกุมเมทแอมเฟตามีนในภูมิภาคนี้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่การ
จับกุมเฮโรอีนมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากความต้องการเฮโรอีนของโลกลดลง นอกจากนี้ ความต้องการใช้ยา
ประเภทเมทแอทเฟตามีนกลับเพิ่มสูงขึ้นในหลายประเทศได้ ส่งผลต่อไทยในฐานะประเทศทางผ่านยาเสพติด
ทาให้มีการลาเลียงยาเสพติดผ่านประเทศไทยสูงขึ้นมาก ซึ่งในปัจจุบนั ไอซ์ เฮโรอีน และกัญชา ส่วนมากที่ยึดได้
ในประเทศไทย จะถูกลาเลียงต่อไปยังประเทศที่สาม ส่วนสถานการณ์ภายในประเทศไทย พบว่า ยาบ้า ยังเป็ นตัว
ยาหลักที่มีการแพร่ ระบาดมากที่สุดส่วนยาเสพติดที่ตอ้ งมีการเฝ้าระวังมากขึ้น ได้แก่ เฮโรอีนและคีตามีน
เนื่องจากมีการแพร่ ระบาดเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน รวมถึงอาจ
ส่งผลให้เกิดผูเ้ สพรายใหม่
สาเหตุของปัญหายาเสพติด ความอยากรู้อยากลองของคนมีผลอย่างมากในกระบวนการการตัดสิ นใจที่จะใช้
ยาเสพติดนอกจากนี้ความต้องการเป็ นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนและสังคมรอบข้างที่เป็ นการ ” กดดัน “โดยปริ ยาย
ก็เป็ นปัจจัยหลักที่ทาให้ใช้สารเสพติดอย่างไรก็ตามการขาดความรู้ดา้ นผลลัพธ์ของสารเสพติดและการประสบ
ความล้มเหลวในชีวิตก็เป็ นสิ่ งที่ทาให้ใช้สารเสพติดได้ ในส่วนของปัจจัยด้านปัจเจกบุคคลนี้ การใช้สารเสพติด
อาจเกิดขึ้นได้จากความอยากทดลอง ความไม่รู้ถงึ ผลเสี ยของสารเสพติดแต่ละชนิด หรื อแม้กระทัง่ การถูก
หลอกลวง เป็ นหนทางสาคัญที่ทาให้ คนหลาย ๆ คน ติดยาเสพติด สารเสพติดหลายชนิดที่แพร่ หลายอยูใ่ น
สังคมไทยมีความรุ นแรงไม่มากพอที่จะทาให้เกิดการติดสารเสพติดในครั้งแรกของการใช้ ซึ่งเมื่อประกอบกับ
ความประมาท หรื อความขาดสติของบุคคล จะทาให้เกิดการใช้ในครั้งที่สอง และด้วยเหตุน้ ีเอง เมื่อร่ างกายเกิด
การปรับตัวกับสารกระตุน้ ที่เกิดจากการใช้สารเสพติดแล้วนั้น ร่ างกายคนเราจะ “ต้องการ” สารกระตุน้ ที่สารเสพ
ติดแต่ละชนิดผลิตขึ้นอีก เกิดเป็ นกิจวัตรของร่ างกายที่ตอ้ งการใช้สารเสพติดเป็ นประจา อย่างไรก็ตาม มีสารเสพ
ติดหลายชนิด ยกตัวอย่างที่เด่นชัดที่สุดคือ “เฮโรอีน” (Heroin) ที่สามารถทาให้ผใู ้ ช้งาน เสพติดสารชนิดนี้ ได้
ภายในการใช้งานแค่ครั้งแรกครอบครัวคือสถาบันทางสังคมที่สาคัญที่สุดในสังคมมีขนาดเล็กแต่จานวนเยอะ
ที่สุดสาเหตุที่ครอบครัวกลายเป็ นปัจจัยหลักที่ทาให้เกิดการใช้สารเสพติดนั้นยึดโยงกับการที่ครอบครัวคือส่วน
สาคัญในการใช้ชีวิตบุคคลๆ หนึ่งจะสังเกตพฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัวและยึดถือปรับตัวไปโดย
อัตโนมัติเช่นบุคคลในครอบครัวติดสารเสพติดอยูแ่ ล้วจึงเรี ยนแบบและหาช่องทางการเข้าถึงได้ง่ายหรื อ
ครอบครัวที่มีการทะเลาะเบาะแว้งเป็ นประจา ครอบครัวไม่ให้ความอบอุน่ แก่กนั การไม่เข้าใจของสมาชิกใน
ครอบครัว จนไปถึงการหย่าร้างหรื อเเต่งงานใหม่ก็มีส่วน เหตุการณ์ท้งั หมดนี้ที่ทาให้เกิดความระหองระแหง
ความทุกข์ใจ ความไม่เข้าใจ ความไม่อบอุน่ ผูใ้ ช้สารเสพติดจึงมีพฤติกรรมที่จะหาที่พ่งึ เเละเเหล่งความสุขใหม่ ที่
ไม่สามารถหาได้จากครอบครัวตนเอง
สิ่ งเเวดล้อมเป็ นปัจจัยที่สาคัญที่ทาให้เกิดการใช้สารเสพติดคือสิ่ งแวดล้อมของบุคคล เช่น ในละแวกบ้านหรื อ
แหล่งที่อยูม่ ีการใช้สารเสพติดอย่างแพร่ หลายและเป็ นปรกติ หรื อ การปิ ดกั้นโอกาสของผูเ้ คยใช้สารเสพติดที่มี
การ เลิกยาเสพติด แล้ว จึงเป็ นแนวโน้มที่ทาให้เกิดการกลับไปใช้ซ้ าได้
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจการเงิน และการงาน ก็อาจเป็ นสาเหตุที่ทาให้คนส่วนใหญ่หันไปใช้สารเสพติดได้ สาเหตุ
เช่น การว่างงาน การขาดรายได้ การมีหนี้สิน ทั้งหลายเหล่านี้เป็ นปัจจัยที่ทาให้คนส่วนใหญ่กลุม้ ใจ และเกิด
ความเครี ยด เมื่อเกิดความทุกข์ใจและความเครี ยดมาก ๆ ผนวกกับการไม่สังเกตถึงข้อเสี ยของยาเสพติด ก็เป็ น
สาเหตุสาคัญสาเหตุหนึ่งที่ทาให้หันไปใช้สารเสพติดได้
ความด้อยประสิ ทธิภาพของเจ้าหน้าที่รัฐในการป้ องกันและปราบปรามการดูแลของการแพร่ ระบาดยาเสพติด
และบทลงโทษกฎหมายที่ไม่มีประสิ ทธิภาพมากพอ ทาให้บุคคลไม่เกรงกลัวต่อรัฐบาล
แนวทางการเเก้ไขปัญหาคือการป้องกันตนเองไม่ทดลองเสพสิ่ งที่รู้ว่ามีภยั เพราะอาจจะทาให้เกิดการติดรู้จกั
ใช้วิจารณญาณในการแก้ปัญหาปรึ กษาครอบครัวหรื อญาติผใู ้ หญ่ที่ไว้ใจได้เลือกคบเพื่อนที่ดีพยายามหลีกเลี่ยง
เพื่อนที่ชอบชักจูงไปในทางเสื่ อมเสี ยการป้องกันในครอบครัวรู้และปฏิบตั ิตามบทหน้าที่ของตนเองดูแลสมาชิก
ในครอบครัวไม่ขอ้ งเกี่ยวกับยาเสพติดให้ความรักความใส่ใจกันภายในครอบครัวเมื่อมีปัญหาหมัน่ คอยให้
คาปรึ กษาบุตรเสมอ การป้องกันในชุมชนการให้ความรู้เรื่ องการอบรมแก่ทุกคนในชุมชนให้เห็นโทษหรื อ
อันตรายจากสิ่ งเสพติดตั้งศูนย์รับแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับสิ่ งเสพติดเมื่อพบว่ามีการซื้อขายหรื อเสพสิ่ งเสพติดภายใน
ชุมชน รัฐบาลควรให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างทัว่ ถึงและการ บังคับใช้กฎหมายอย่างจริ งจังแก้ไขปัญหา
เศรษฐกิจและสังคมและจัดสรรงบประมาณในการป้องกันและปราบปรามสิ่ งเสพติด
สุดท้ายนี้การที่จะทาให้เเนวทางการเเก้ปัญหายาเสพติน้ นั เกิดประสิ ทธิภาพสูงสุดนั้น สิ่ งแวดล้อมสถาบัน
ครอบครัวและตัวเราเองรวมไปถึงรัฐบาลจะต้องทาหน้าที่ให้มีประสิ ทธิภาพมากที่สุด จะต้องปฏิบตั ิตามนโยบาย
และกฎต่างๆทีไ่ ด้วางไว้อย่างเคร่ งครัด มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้กบั ประชาชนมีการป้องกัน
และแก้ปัญหาอย่างใกล้ชิด มีการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลภายในครอบครัวหรื อสภาพแวดล้อมที่ดี
เพื่อนาไปสู่ความร่ วมมือในการแก้ปัญหา
บรรณานุกรม

บทวิเคราะห์ สถานการณ์ ปัญหายาเสพติดในปั จจุบัน (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2560)


สื บค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565, จาก https://so03.tci-
thaijo.org/index.php/rdirmu/article/download/209737/145197/658418
4 ปั จจัยหลักที่ทาให้ คนหันไปใช้ ยาเสพติด (กรกฎาคม พ.ศ.2565)
สื บค้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.phufaresthome.com/blog/4-reasons-for-using-
drugs/

You might also like