You are on page 1of 14

รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ทัศนีย์ อรรถารส พยด.*
จุไร อภัยจิรรัตน์ กศ.ม.*

บทคัดย่อ : การวิจัยเชิงวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการดูแล


ต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย ประกอบด้วย เด็กที่ป่วย
ด้วยโรคเรื้อรัง จ�ำนวน 7 คน มารดาของเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จ�ำนวน 10 คน
พยาบาลทีท่ ำ� งานในโรงพยาบาล จ�ำนวน10 คน และหน่วยบริการปฐมภูมิ จ�ำนวน 16
คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์เจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วยด้วย
โรคเรื้อรัง ประกอบด้วย 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การดูแลที่โรงพยาบาล ประกอบด้วย
การตอบสนองความต้องการของเด็กและครอบครัว การให้มารดามีส่วนร่วม การสร้าง
ความเข้มแข็งให้ครอบครัว การเตรียมก่อนกลับบ้าน ระยะที่ 2 การส่งต่อการดูแล
ประกอบด้วย การมีผู้จัดการส่งต่อ การส่งต่อข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร ระยะที่ 3
การดูแลที่บ้าน ประกอบด้วย การให้ครอบครัวมีส่วนร่วม และการท�ำงานร่วมกันใน
แต่ละระดับการดูแล
ผลการวิจัยสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
และสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางการวิจัยทดสอบรูปแบบการดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วย
ด้วยโรคเรื้อรังต่อไป
วารสารสภาการพยาบาล 2554; 26 (ฉบับพิเศษ) 112-125

ค�ำส�ำคัญ : รูปแบบการดูแลต่อเนื่อง เด็กที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

*ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาการพยาบาลเด็กและการผดุงครรภ์ วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย


112 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554
ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การติดตามต่อเนือ่ ง โดยสอดคล้องกับภาวะสุขภาพ


ความก้าวหน้าทางการแพทย์ท�ำให้เด็กรอด ของผู้ใช้บริการ
ชีวิตและเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่ต้องการการดูแล ในสถานการณ์ทมี่ กี ารปรับปรุงบริการสุขภาพ
ที่ซับซ้อนและต่อเนื่อง จากรายงานปี 2551 พบว่า ให้ มี คุ ณ ภาพสู ง สุ ด ภายใต้ ค ่ า ใช้ จ ่ า ยที่ เ หมาะสม
เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังในประเทศสหรัฐอเมริกา ท�ำให้การจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลเร็ว
จ�ำนวน 4 ล้านคน1 ส�ำหรับประเทศไทย พบว่าสถิติ ที่สุดเมื่ออาการผู้ป่วยดีขึ้น ซึ่งถ้าผู้ป่วยไม่พร้อมอาจ
เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่ป่วยด้วยโรคไต หัวใจ เกิดความยากล�ำบากแก่ครอบครัว ประกอบกับใน
และโรคมะเร็ง ที่มีอายุ 1- 15 ปี ที่เข้ารับการรักษา ปัจจุบนั ระบบการดูแลต่อเนือ่ งยังไม่เป็นรูปธรรมชัดเจน
ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2548 ทรัพยากรด้านสาธารณสุขการส่งต่อมีไม่เพียงพอ
มีจ�ำนวน 871 คน2 การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมี เครือข่ายสาธารณสุขที่ประกอบด้วยระดับต่างๆ ยัง
ผลต่อเด็กและครอบครัว มีผลต่อการเจริญเติบโตและ ไม่เชื่อมโยงกัน ท�ำให้เกิดความยุ่งยากในการส่งต่อ
พัฒนาการ และอาจมีปัญหาทางอารมณ์3 คุณภาพ ถ้าผูป้ ว่ ยมีปญ ั หาเกินความสามารถของสถานบริการ
ชีวิตไม่ด4ี และมีผลกระทบต่อ การท�ำหน้าที่ของ และส่งต่อไปยังสถานบริการในระดับทีส่ งู กว่า ภาระ
ครอบครัว5 พยาบาลเป็นบุคลากรหนึง่ ในทีมสุขภาพ การส่งต่อจะตกทีผ่ ปู้ ว่ ยและญาติ ท�ำให้ได้รบั การดูแล
จะต้องให้การดูแลเด็กต่อเนือ่ งจากโรงพยาบาลสูบ่ า้ น รักษาไม่ต่อเนื่อง และเกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรง
ทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน มากขึ้น7 ดังนั้นจึงจ�ำเป็นที่จะต้องเตรียมครอบครัว
การดูแลและฟืน้ ฟูสภาพ โดยพยาบาลในระดับทุตยิ ภูมิ ให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะสามารถดูแลผูป้ ว่ ยได้8 ในขณะ
และตติยภูมิประสานงานและร่วมมือกับพยาบาล เดียวกันจะต้องจัดการดูแลที่บ้านให้มีประสิทธิภาพ
ระดับปฐมภูมิเพื่อให้เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและ เพิม่ ขึน้ ทัง้ นีจ้ ากผลการศึกษาความต้องการของครอบครัว
ครอบครัวได้รับการดูแลต่อเนื่อง อันจะท�ำให้เด็กมี หลังจากที่เด็กกลับบ้าน พบว่ามารดาเด็กมีความ
คุณภาพชีวติ ทีด่ แี ม้เจ็บป่วย และครอบครัวปรับตัวได้ ต้องการด้านข้อมูลเกีย่ วกับความเจ็บป่วย การป้องกัน
การดูแลต่อเนือ่ งเป็นกระบวนการการประเมิน การกลับเป็นซ�้ำ ต้องการการสนับสนุนช่วยเหลือ
วางแผน การประสานความร่วมมือกันเพือ่ ตอบสนอง เนือ่ งจากความเครียด9 จากการทบทวนวรรณกรรม
ความต้องการการดูแลสุขภาพของผู้ใช้บริการอย่าง ส่วนใหญ่ศึกษาประสิทธิภาพของการวางแผนก่อน
ต่อเนือ่ ง และเอือ้ อ�ำนวยให้ผใู้ ช้บริการสามารถเปลีย่ น กลับบ้าน10,11,12 การศึกษาความคิดเห็นของบุคลากร
ผ่านจากการดูแลระดับหนึง่ ไปยังอีกระดับหนึง่ หรือ ทีมสุขภาพ พบว่า การวางแผนจ�ำหน่าย มีอุปสรรค
จากสถานทีห่ นึง่ ไปยังอีกสถานทีห่ นึง่ การดูแลต่อเนือ่ ง ทีเ่ กิดจากพยาบาลมีงานมาก ไม่มเี วลา ไม่มรี ปู แบบ
ท� ำ ให้ ผู ้ ป ่ ว ยเกิ ด พฤติ ก รรมการดู แ ลตนเองดี ขึ้ น6 การวางแผนจ�ำหน่าย ขาดผู้ประสานงาน และขาด
ซึ่งสภาการพยาบาลก�ำหนดมาตรฐานการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมของครอบครัว13 ส�ำหรับการศึกษา
การพยาบาลและผดุงครรภ์ ระดับทุตยิ ภูมแิ ละตติยภูมิ เกีย่ วกับการดูแลต่อเนือ่ งยังมีนอ้ ย จากการศึกษาพบว่า
พ.ศ. 2549 ให้ผใ้ ู ช้บริการได้รบั การรักษาอย่างต่อเนือ่ ง การดู แ ลต่ อ เนื่ อ งมี ค วามส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ เด็ ก และ
ตัง้ แต่ระยะแรกรับจนกระทัง่ ถึงการจ�ำหน่าย รวมถึง ครอบครัว อย่างไรก็ตามพบว่ารูปแบบการดูแลต่อ
Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 113
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

เนื่องยังไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน14 ดังนั้นผู้วิจัยจึงมี ผู้ให้ข้อมูล คือ เด็กที่ป่วยด้วยโรคมะเร็ง


ความสนใจทีศ่ กึ ษารูปแบบการดูแลต่อเนือ่ งส�ำหรับ และโรคไต จ�ำนวน 7 คน มารดาเด็กที่ป่วยด้วยโรค
เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังว่าควรมีรูปแบบอย่างไร ดังกล่าว จ�ำนวน 10 คน พยาบาลวิชาชีพทั้งระดับ
โดยศึกษาจากประสบการณ์และความคาดหวังของ บริหารและระดับผูป้ ฏิบตั กิ ารทีห่ น่วยบริการปฐมภูมิ
เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและครอบครัว พยาบาลที่ จ�ำนวน 16 คน และตติยภูมิ จ�ำนวน 10 คน มีเกณฑ์
ปฏิ บั ติ ง านในหน่ ว ยบริ ก ารตติ ย ภู มิ แ ละปฐมภู มิ ในการเลือกผู้ให้ข้อมูล ดังนี้
โดยใช้การวิจยั เชิงคุณภาพ ผลการศึกษาได้รูปแบบ 1. เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคมะเร็ง
การดูแล ต่อเนื่องส�ำหรับเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง โรคไต ทีไ่ ด้รบั ความยินยอมจากผูป้ กครองให้เข้าร่วม
ซึ่งจะช่วยให้พยาบาลมีแนวทางในการดูแลเด็กที่ การวิจัย
ป่วยด้วยโรคเรือ้ รังและ เป็นการสร้างองค์ความรูด้ า้ นการ 2. บิดามารดาหรือผู้ดูแลหลักของเด็กที่ป่วย
พยาบาลต่อเนือ่ งในเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รัง ซึง่ เป็น ด้วยโรคเรื้อรัง ที่ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย
การป้องกันตติยภูมิคือหยุดยั้งภาวะแทรกซ้อนหลัง 3. พยาบาลระดับผูบ้ ริหารและระดับปฏิบตั กิ าร
จากทีโ่ รคปรากฏและสร้างเสริมสุขภาพของครอบครัว ทีด่ แู ลเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รังในโรงพยาบาล ทีย่ นิ ยอม
ด้านความสมบูรณ์ในการท�ำหน้าที่ของครอบครัว เข้าร่วมการวิจัย
นับเป็นยุทธศาสตร์การสร้างองค์ความรู้ด้านการ 4. พยาบาลระดับผูบ้ ริหารและระดับปฏิบตั กิ าร
สร้างเสริมสุขภาพอันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพยาบาล ที่ท�ำงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่ยินยอมเข้าร่วม
เด็ก และเกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพต่อไป การวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. เพือ่ ศึกษาประสบการณ์ และความต้องการ เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย ผู้วิจัยเป็นเครื่อง
การดูแลต่อเนื่องของเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและ มือหลัก (ผูว้ จิ ยั มีประสบการณ์ศกึ ษารายวิชาการวิจยั
ครอบครัว เชิงคุณภาพ หลักสูตรพยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต
2. เพือ่ ศึกษาประสบการณ์ และความต้องการ จ�ำนวน 3 หน่วยกิต หลังจบการศึกษามีประสบการณ์
ของพยาบาลในระดับปฐมภูมิและตติยภูมิในการ วิจยั เชิงคุณภาพทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารพยาบาล)
ดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และแนวค�ำถาม ทีใ่ ช้ในการสัมภาษณ์ และสนทนากลุม่
3. เพื่อศึกษารูปแบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง สร้างจากแนวคิดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม
ส�ำหรับเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และการวิจัย มีลักษณะเป็นค�ำถามปลายเปิด วิธี
วิธีดำ�เนินการวิจัย การรั ก ษาจะได้ ต ามคาดหวั ง มองส่วนร่วมของ
ครอบครัวว่ามีรปู แนวทางการสัมภาษณ์และสนทนา
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ กลุ่มทดลองใช้กับผู้ให้ข้อมูลแต่ละกลุ่ม คือ เด็กที่
(Qualitative research) ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและครอบครัว พยาบาลวิชาชีพ
ด้วยการสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ทัง้ ระดับบริหารและระดับปฏิบตั กิ ารทีห่ น่วยบริการ

114 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554


ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

ปฐมภูมแิ ละตติยภูมิ เพือ่ ทดสอบความชัดเจน และ ระดับผูบ้ ริหารและระดับปฏิบตั กิ ารทีท่ ำ� งานในหน่วย


ความครอบคลุม และน�ำมาปรับแนวค�ำถามก่อนน�ำไป บริการปฐมภูมิ และตติยภูมิ โดยบันทึกแถบเสียง
ใช้จริงต่อไป 1. เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่มที่
ตัวอย่างแนวค� ำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ละกลุ่ม ในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ครอบครัวของ
เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง คือ หนูรู้สึกอย่างไร และ เด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รัง พยาบาลทีท่ ำ� งานในหน่วย
ต้องการให้ดแู ลหนูอย่างไรขณะทีป่ ว่ ยในโรงพยาบาล บริการตติยภูมิ และปฐมภูมิ ใช้เวลาสนทนากลุ่ม
และเมื่ออยู่ที่บ้าน ตัวอย่างค�ำถามมารดาเด็กที่ป่วย ประมาณ 1-1/2 ชั่วโมง ในห้องที่เป็นสัดส่วน และ
เรื้อรัง คือ ท่านรู้สึกอย่างไรที่ลูกป่วย และคาดหวัง บันทึกเทปการสนทนากลุ่ม โดยมีรายละเอียดของ
การดู แ ลต่ อ เนื่ อ งจากโรงพยาบาลสู ่ บ้านอย่างไร การสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม ดังนี้ คือ สนทนา
ค�ำถามส�ำหรับพยาบาลทัง้ ระดับปฐมภูมิและตติยภูมิ กลุ่มเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จ�ำนวน 2 กลุ่มๆ ละ
คือ ท่านดูแลเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รังอย่างไรบ้าง และ 3-4 คน สัมภาษณ์รายบุคคลมารดาเด็กทีป่ ว่ ยเรือ้ รัง
และคาดหวังให้การดูแลต่อเนื่องอย่างไร เมื่อพบประเด็นไม่ชัดเจน จึงจัดสนทนากลุ่ม เป็น
การปกป้องสิทธิผู้ให้ข้อมูล ค�ำถามเดียวกันทีส่ มั ภาษณ์รายบุคคล ส�ำหรับพยาบาล
ระดับปฐมภูมแิ ละตติยภูมิ ใช้การสนทนากลุม่ จ�ำนวน
โครงการวิจัยได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ 3 กลุ่มๆ ละ 5-8 คน
จริยธรรมการวิจยั วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย 2. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์และ
และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความคาดหวังการดูแลต่อเนื่องของเด็กที่ป่วยด้วย
การเข้าร่วมการวิจัยเป็นไปตามความสมัครใจของ โรคเรือ้ รังและครอบครัว พยาบาลทีท่ ำ� งานในหน่วย
ผู้ให้ข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลที่เป็นเด็กได้รับความยินยอม บริการตติยภูมิ และปฐมภูมิ และสังเคราะห์รา่ งรูปแบบ
จากเด็กและผู้ปกครอง เมื่ อ ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล หลั ก และ การดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ผูป้ กครองยินยอม ผูว้ จิ ยั ติดต่อผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก แนะน�ำ 3. น�ำร่างรูปแบบการดูแลต่อเนือ่ งเด็กทีป่ ว่ ย
ตัวในฐานะผู้วิจัย และอธิบายเกี่ยวกับโครงการวิจัย ด้ ว ยโรคเรื้ อ รั ง เสนอต่ อ กลุ ่ ม เด็ ก ที่ ป ่ ว ยด้ ว ยโรค
อย่างละเอียด เปิดโอกาสให้ผู้ให้ข้อมูลหลักซักถาม มะเร็ง และโรคไตจ�ำนวน 4 คน มารดาของเด็กที่
และให้อิสระในการตัดสินใจเข้าร่วมวิจัย ผู้ให้ข้อมูล ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จ�ำนวน 4 คน และพยาบาล
หลักรับทราบสิทธิ์ในการให้ข้อมูล สามารถปฏิเสธ จ�ำนวน 5 คน
การสัมภาษณ์ในเรือ่ งทีไ่ ม่สบายใจหรือหยุดสนทนาได้ 4. สรุปรูปแบบการดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วย
ด้วยโรคเรื้อรัง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึ ก ษาครั้ ง นี้ ผู ้ วิ จั ย เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล
ด้วยตนเอง ระหว่างเดือนมีนาคม ถึงตุลาคม 2550 ข้อมูลจากเทปบันทึกเสียงถูกถอดค�ำต่อค�ำ
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธกี ารสัมภาษณ์ การสนทนา น�ำมาวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) เพื่อให้
กลุม่ เด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รังและครอบครัว พยาบาล ได้ประสบการณ์และความต้องการของเด็กที่ป่วย

Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 115
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

ด้วยโรคเรื้อรังและครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลต่อ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นพยาบาลวิชาชีพระดับตติยภูมิ


เนื่อง ประสบการณ์และความต้องการของพยาบาล จ�ำนวน 10 คน อายุเฉลี่ย 34.8 ปี (SD=8.377)
ที่ดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังทั้งในระดับปฐมภูมิ สถานภาพคู่ จ�ำนวน 3 คน โสด 7 คน การศึกษา
และตติยภูมิ ระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 7 คน ปริญญาโท 3 คน
มีระยะปฏิบัติงาน 1-5 ปี จ�ำนวน 3 คน 6-10 ปี
ความเชื่อถือได้ของข้อมูล 3 คน 11-20 ปี 2 คน และมากกว่า 20 ปี 2 คน
ผู้วิจัยด�ำเนินการเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฐมภูมิ
เชื่อถือได้ (credibility) โดยผู้วิจัยเลือกผู้ให้ข้อมูลที่ จ�ำนวน 16 คน อายุเฉลี่ย 44.31 ปี (SD=8.754)
มีความส�ำคัญ เป็นผู้ที่มีประสบการณ์การเจ็บป่วย สถานภาพคู่ จ�ำนวน 12 คน โสด 3 คน หม้าย 1 คน
ด้วยด้วยโรคเรื้อรัง ผู้ดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 15 คน
มีการด�ำเนินการวิจัยอย่างมีขั้นตอน มีการบันทึก ปริญญาโท 1 คน มีระยะปฏิบตั งิ าน 1-5 ปี จ�ำนวน
เทปการสนทนากลุ่ม ถอดเทปค�ำต่อค�ำ ตรวจสอบ 1 คน 6-10 ปี 2 คน 11-20 ปี 3 คน และ
ความถูกต้อง และน�ำผลมาวิเคราะห์ให้ผู้ให้ข้อมูล มากกว่า 20 ปี 10 คน
หลักตรวจสอบผลสรุปการวิจยั เพือ่ ยืนยันความถูกต้อง ประสบการณ์ แ ละความต้ อ งการการ
ผลการวิจัย ดู แ ลต่ อ เนื่ อ งของเด็ ก ที่ ป่ ว ยด้ ว ยโรคเรื้ อ รั ง
และครอบครัว พยาบาลที่ปฏิบัติงานที่หน่วย
ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้ข้อมูล บริการตติยภูมิและปฐมภูมิ
ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย เด็กที่ป่วยด้วยโรค ประสบการณ์และความต้องการการดูแล
เรือ้ รังและครอบครัว พยาบาลทีป่ ฏิบตั กิ ารพยาบาล ต่อเนื่องของเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ในโรงพยาบาลซึง่ เป็นหน่วยบริการตติยภูมิ และพยาบาล เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีประสบการณ์และ
ทีป่ ฏิบตั กิ ารพยาบาลในหน่วยบริการปฐมภูมิ
ความคาดหวังในการดูแลต่อเนือ่ ง คือ ไม่สบายกาย
ผู้ให้ข้อมูลที่เป็นเด็กที่ป่วยด้วยโรคไตเรื้อรัง
ทุกข์ใจ ปรับตัวต่อการเจ็บป่วย และหวังให้มีชีวิต
และโรคมะเร็ง จ�ำนวน 7 คน อายุเฉลี่ย 12.43 ปี
ที่ปกติ
(SD=1.902) เป็นเพศหญิง จ�ำนวน 4 คน เพศชาย
ไม่สบายกาย
3 คน เป็นโรคไต จ�ำนวน 5 คน โรคมะเร็ง จ�ำนวน
การเจ็บป่วยท�ำให้ไม่สุขสบายกายเนื่องจาก
2 คน มีระยะเวลาการเจ็บป่วยระหว่าง 3 เดือน -
ได้รับความเจ็บปวดจากหัตถการ ร�ำคาญสายสวน
5 ปี จ�ำนวน 4 คน และมากกว่า 5 ปี จ�ำนวน 3 คน
ต่างๆ และมีชีวิตที่ไม่ปกติ
ผู้ให้ข้อมูลที่เป็นมารดาเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
เด็กได้รบั หัตถการทีไ่ ด้รบั ความเจ็บปวดบ่อยครัง้
จ�ำนวน 10 คน อายุเฉลี่ย 34.4 ปี (SD=9.442)
ดังคำ�กล่าวผู้ให้ข้อมูลว่า
ทัง้ หมดเป็นเพศหญิง ทัง้ หมดมีการศึกษาอยูใ่ นระดับ
“บอกไปซิว่าเบื่อเจาะเลือด มันเจ็บมาก เจ็บ
ประถมศึกษา รายได้ต�่ำกว่า 10,000 บาท จ�ำนวน
บ่อยด้วย เวลาเจาะท้อง เจาะคอ”
9 คน รายได้มากกว่า 10,000 บาท จ�ำนวน 1 คน

116 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554


ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

เด็กร�ำคาญสายสวนต่างๆ ทีค่ าไว้ตามร่างกาย “กลับไปโรงเรียน ถามมากจนน่ารำ�คาญ”


ดังค�ำกล่าวผู้ให้ข้อมูลว่า ปรับตัวต่อการเจ็บป่วย
“ตลอด 24 ชั่วโมงเหมือนใครมาจั๊กกะจี้คอ เด็กปรับตัวต่อการเจ็บป่วยด้วยการท�ำกิจกรรม
สายอะไรก็ไม่รู้มันรำ�คาญ มันหงุดหงิด นอน ทีช่ อบ ดูแลตนเอง และสร้างความเข้มแข็งให้ตนเอง
ควํ่าก็ไม่ได้ระแวงกลัวสายหลุด” ความเครียดที่เกิดจากความเจ็บป่วย เด็กจึง
เด็กมีชวี ติ ทีไ่ ม่เหมือนเดิม รับประทานอาหาร ท�ำกิจกรรมที่ท�ำให้คลายเครียด ดังค�ำกล่าวผู้ให้
ไม่ได้ตามที่ต้องการ วิ่งเล่นก็ไม่ได้ ดังค�ำกล่าวผู้ให้ ข้อมูลว่า
ข้อมูลว่า “หาเรือ่ งทีไ่ ม่เครียดทำ� นัง่ วาดรูป วาดรูปเสร็จ
“เวลาอยูบ่ า้ นอยากกินอะไรก็ไม่ได้ ออกกำ�ลัง
จึงกินข้าว”
ก็ไม่ได้อยากทำ�อะไรก็ไม่ได้”
เด็กดูแลตนเองเป็นอย่างดี ท�ำตามค�ำสัง่ แพทย์
ทุกข์ใจ
การเจ็บป่วยท�ำให้เด็กท้อใจ เหงาเมื่ออยู่ และการรับประทานอาหาร ดังค�ำกล่าวผูใ้ ห้ขอ้ มูลว่า
โรงพยาบาล รู้สึกผิด และอายเพื่อน “ทำ�ตามคำ�สั่งหมอ กินข้าวตรงเวลา กินยา
เด็ ก รู ้ สึ ก ท้ อ แท้ ใ จเนื่ อ งจากร่ า งกายทรุ ด ตามเวลา”
โทรมลง ดังค�ำกล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า เด็กมีการท�ำใจให้เข้มแข็ง เพือ่ อยูก่ บั โรคทีเ่ ป็นอยู่
“ไม่สบายใจเท่าไร เป็นโรคอย่างนี้ มันท้อ ดังค�ำกล่าวผู้ให้ข้อมูลว่า
เหมือนมันหมดกำ�ลังใจ ถอยอย่างเดียว เดิน “พยายามสู้ต่อไปตราบเท่าที่มีลมหายใจสู้
หน้าไม่ได้แล้ว พยายามเข้มแข็ง ไม่ท้อ” ต่อไปให้ได้”
เมื่อต้องรักษาในโรงพยาบาล รู้สึกเหงา ไม่ได้ท�ำ “พยายามเดินหน้าต่อไปพยายามเข้มแข็ง
กิจกรรม ดังค�ำกล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า ไม่ท้อ”
“เหงา ไม่มีที่วิ่งเล่น มีแต่นอน” หวังให้มีชีวิตที่ปกติ
เด็ ก มี ค วามรู ้ สึ ก ผิ ด ที่ ก ารเจ็ บ ป่ ว ยของตน เด็กมีความหวังจะหายป่วย และอยูก่ บั ครอบครัว
ท�ำให้ครอบครัวถูกต�ำหนิจากบุคคลอื่น ดังค�ำกล่าว และเพื่อน
ของผู้ให้ข้อมูลว่า “อยากให้รักษาหาย ครอบครัวอยู่อย่างมี
“บางครั้งก็ว่าตนเอง ทำ�ไมต้องเป็นโรคอย่าง ความสุข”
นี้ด้วย ก็เวลาคนในครอบครัวเป็นชอบมีคน
“ขอให้ครอบครัวกลับไปเหมือนเดิม รักษา
มาถาม มาบอกแม่ว่าเลี้ยงลูกอย่างไร ปล่อย
ให้เป็นโรคนี้ ทีคนอื่นเขาไม่เป็นกัน เขาชอบ หาย ให้พ่อแม่อยู่กับเรานานๆ”
มาว่าแม่” “อยากวิง่ เล่น มันห่างพ่อแม่ อยูไ่ ม่ครบ อยาก
เมื่อไปโรงเรียน เพื่อนๆมักล้อเลียน ท�ำให้ กลับบ้านอยู่เหมือนเดิม กลับไปหาเพื่อน”
รูส้ กึ อายและร�ำคาญ ดังค�ำกล่าว ผูใ้ ห้ข้อมูลว่า ประสบการณ์และความต้องการของมารดา
“เวลาไปโรงเรียนเพื่อนชอบหัวเราะเยาะ หา เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ว่าเป็นเด็กพิเศษ เล่นก็ไม่ได้ ไม่ทำ�การบ้าน มารดาของเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รัง มีประสบการณ์
ก็ไม่โดนตี” และความต้องการการดูแลบุตรทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รัง
Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 117
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

ดังนี้ คือ หวังให้ลูกหายป่วย ต้องการอยู่ใกล้ชิดลูก “จริงๆแล้วต้องให้ก�ำ ลังใจกันนะ เพราะว่าลูก


เพื่อให้ก�ำลังใจ ได้รับข้อมูลที่ความเจ็บป่วยของบุตร ก็นอนแม็บ อยู่ด้วยกัน ต้องพูดให้กำ�ลังใจกัน
ต้องการก�ำลังใจ การส่งต่อข้อมูลที่เขียนเป็นลาย จะได้มีกำ�ลังใจ ถึงแม้ลูกเขาจะอาการหนักก็
ลักษณ์อักษร ต้องพูดให้กำ�ลังใจกัน ”
หวังให้ลูกหายป่วย การส่งต่อข้อมูลทีเ่ ขียนเป็นลายลักษณ์อกั ษร
มารดาทุกคนมีความหวังว่าลูกจะหายจาก เมื่อเด็กกลับบ้าน บางครั้งมีการเจ็บป่วยที่
ความเจ็บป่วย ไม่วา่ เด็กจะเจ็บป่วยในระยะใดก็ตาม ไม่รนุ แรง จ�ำเป็นต้องรักษาอาการในสถานทีบ่ ริการ
ดังค�ำกล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า ใกล้บ้าน แพทย์มักถามอาการของบุตร ท�ำให้บาง
“ต้องการให้ลกู หายป่วย อย่างอืน่ ก็ไม่ตอ้ งการ ครั้งตอบไม่ได้ ไม่ชัดเจน มารดาต้องการให้แพทย์
อีกแล้ว” ที่รักษาในโรงพยาบาลเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับ
ต้องการอยู่ใกล้ชิดลูกเพื่อให้ก�ำลังใจ ความเจ็บป่วยของบุตร เพื่อให้แพทย์ในต่างจังหวัด
การที่เด็กป่วยต้องนอนพักในโรงพยาบาล เข้าใจเพิม่ ขึน้ มารดาของเด็กทีป่ ว่ ยเป็นมะเร็งเม็ดเลือด
มารดาเด็กรู้สึกว่าเด็กเหงาต้องการอยู่ดูแลลูกเพื่อ ขาวคนหนึ่งกล่าวดังนี้
ให้ก�ำลังใจ โดยให้เหตุผลว่าลูกจะเบื่อจึงต้องการที่ “อยากให้โรงพยาบาลเขียนไปว่าเด็กป่วย
จะอยู่ใกล้ๆ ลูกเพื่อให้ก�ำลังใจ ดังค�ำกล่าวของผู้ให้ เป็นโรคนี้ถ้าเขามีอาการป่วยกะทันหันมา
ข้อมูลว่า ก็ให้เขาดูแลดีกว่านี้”
“เราให้กำ�ลังใจเขา ตัวแม่เองอย่างไรก็ได้ ประสบการณ์และความต้องการของพยาบาล
เขาก็อนุ่ ใจเมือ่ แม่มา คนป่วยทุกคนไม่วา่ ลูกหนู ที่ดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่หน่วยปฐมภูมิ
หรือคนอื่น เค้าต้องการให้แม่มาดูแล แม่นะ และตติยภูมิ
กำ�ลังใจดีที่สุด” พยาบาลมีประสบการณ์และความคาดหวัง
ต้องการได้รบั ข้อมูลความเจ็บป่วยของลูก ว่าการดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีดังนี้
มารดาของเด็กทีป่ ว่ ยสนใจอยากรูเ้ กีย่ วกับความ
คือ การเตรียมผู้ป่วยก่อนออกจากโรงพยาบาล การ
เจ็บป่วยของลูก สนใจที่จะอ่านเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ส่งต่อข้อมูลให้ดูแลต่อเนื่อง การท�ำงานร่วมกันของ
ให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของลูก ดังค�ำ
พยาบาลแต่ละระดับ การให้ครอบครัวมีส่วนร่วม
กล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า
การมีผู้จัดการส่งต่อ การมีนโยบายสนับสนุน
การเตรียมผูป้ ว่ ยก่อนออกจากโรงพยาบาล
พยาบาลระดับปฐมภูมิคาดหวังให้พยาบาลที่ดูแล
ต้องการก�ำลังใจ ผู ้ ป ่ ว ยเด็ ก ในโรงพยาบาลมี ก ารเตรี ย มเด็ ก และ
มารดาต้องการก�ำลังใจซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญส�ำหรับ ครอบครัวก่อนออกจากโรงพยาบาล เพือ่ ให้ครอบครัว
มารดาที่มีบุตรป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ดังค�ำกล่าวของ สามารถที่จะดูแลผู้ป่วยที่บ้านได้ พยาบาลที่ศูนย์
ผู้ให้ข้อมูลว่า สาธารณสุขแห่งหนึ่งกล่าวว่า

118 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554


ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

“ก่อน discharge ต้องวางแผนกับครอบครัว ผูป้ ว่ ยด้วยกัน เพือ่ ส่งต่อข้อมูลการดูแล และเมือ่ ดูแล


นำ�ครอบครัวไปพูดคุยก่อนว่าเด็กมีปัญหา ต่อเนื่องแล้วก็รายงานให้พยาบาลที่โรงพยาบาล
อะไร พ่อแม่ต้องดูแลเด็กอย่างไร” ทราบด้วย พยาบาลระดับปฐมภูมิให้ข้อมูลว่า
ส่วนพยาบาลที่ดูแลเด็กในโรงพยาบาล เห็น “นัดวันที่จะไปดูครั้งแรกด้วยกัน จากนั้นเรา
ว่าจะต้องวางแผนก่อนกลับบ้าน โดยเริ่มตั้งแต่เด็ก ก็ไปดูแลต่อ เมื่อมีปัญหาอะไรต้องประสาน
รับไว้ในโรงพยาบาล มีการประเมิน การให้คำ� แนะน�ำ งานกัน”
และให้มารดาฝึกหัดการดูแล การให้ครอบคร้วมีสว่ นร่วม พยาบาลตระหนัก
“เราประเมินตั้งแต่วันแรกนะ เราหาปัญหา ความส�ำคัญของครอบครัวในการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ว่าเกิดจากอะไร ค้นหาว่ากลับมาเพราะอะไร โดยให้ครอบครัวมีส่วนร่วมตั้งแต่อยู่ในโรงพยาบาล
สอนเขาไปว่าเพราะอะไร ลูกจึงเป็นแบบนี้ แล้ว และถึงบ้าน พยาบาลระดับปฐมภูมิให้ข้อมูลว่า
ถามกลับว่าแม่ดูแลลูกอย่างไรเมื่ออยู่บ้าน “กระตุน้ ให้ครอบครัวมีสว่ นร่วม ก่อนออกจาก
ถ้าตอบไม่ถกู ก็ตอ้ งประเมิน สอน แล้วแก้กนั ใหม่” โรงพยาบาล พยาบาลควรแนะนำ�ครอบครัว
การส่งต่อข้อมูลให้ดูแลต่อเนื่อง ว่าควรมีส่วนอย่างไร”
การสื่อสารข้อมูลของผู้ป่วยจากโรงพยาบาล การมีผจู้ ดั การส่งต่อ การปฏิบตั ใิ นปัจจุบนั ไม่มี
ใช้โทรศัพท์ โทรสาร ข้อมูลที่ได้รับไม่ชัดเจน ไม่ ผู้จัดการส่งต่อ พยาบาลเห็นว่าการมีผู้จัดการส่งต่อ
ครบถ้วนเนือ่ งจากเขียนเพียงข้อวินจิ ฉัยโรค การรักษา จะเป็นประโยชน์โดยเมือ่ ผูป้ ว่ ยจะกลับบ้าน พยาบาล
ไม่มขี อ้ มูลการพยาบาล พยาบาลระดับปฐมภูมติ อ้ งการ ที่ ห อผู ้ ป ่ ว ยติ ด ต่ อ ไปที่ ผู ้ จั ด การส่ ง ต่ อ เพื่ อ รั บ การ
ข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่อธิบายรายละเอียด ตรวจรักษาต่อเมือ่ กลับบ้าน พยาบาลระดับตติยภูมิ
เกี่ยวกับข้อมูลการดูแลขณะอยู่โรงพยาบาล และ ให้ข้อมูลว่า
การดูแลต่อเนือ่ งทีบ่ า้ น ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลว่า “แนวทางของเรายังไม่ติดต่อโรงพยาบาล
“โรงพยาบาลโทรศัพท์รายละเอียดการรักษา ใกล้บา้ น เราประสานงานกับสังคมสงเคราะห์
ให้ข้อมูลคร่าวๆ บางทีก็น้อยไป ที่อยากให้มี แล้วเขาก็ไปติดต่อสถานีอนามัยใกล้บ้าน แต่
คือ เรารับมาจากโรงพยาบาล อยากเห็นมี ไม่ได้ท�ำ ทุก case ทีจ่ ริงน่าจะมีผปู้ ระสานงาน
จดหมาย พร้อมประวัติส่งมา คนไข้เป็นโรค ส่งต่อ”
อะไร มีการรักษาอย่างไร คุณแนะนำ�อะไร การมีนโยบายสนับสนุน
มาบ้าง แล้วจะต้อง Follow up อย่างไร อะไร การดูแลผู้ป่วยเรื้อรังมีลักษณะการท�ำงาน
เมื่อไร เพื่อที่เราจะได้ดูแลต่อเนื่องได้ ว่าควร แยกส่วน โรงพยาบาลดูแลเด็กเต็มที่ในขณะอยู่โรง
จะเป็นอย่างไร” พยาบาล ซึ่งส่วนใหญ่เมื่อกลับบ้านไม่มีระบบส่งต่อ
การท�ำงานร่วมกันของพยาบาลแต่ละระดับ พยาบาลต้องการให้มีนโยบายที่น�ำไปสู่การปฏิบัติ
การดู แ ลต่ อ เนื่ อ งเด็ ก ที่ ป ่ ว ยด้ ว ยโรคเรื้ อ รั ง ควรมี การส่งต่อให้เป็นระบบ และจัดสรรบุคลากรเป็น
ความร่วมมือกันระหว่าง พยาบาลทีโ่ รงพยาบาลและ ผู้ประสานงาน
พยาบาลระดับปฐมภูมิ ในครั้งแรกอาจต้องไปเยี่ยม
Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 119
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

“มันต้องวางแผนร่วมกันเป็นระบบ ที่ว่าจะ ปฏิกิริยาและความรู้สึกของเด็ก ให้ความหวัง และ


ทำ�ให้ตอ่ เนือ่ งแบบไหน มันต้องระดับนโยบาย ก�ำลังใจ ด้วยการจัดกิจกรรมที่เพลิดเพลินเนื่องจาก
ให้ผู้ใหญ่มองเห็น และแรงสนับสนุนอื่นๆ” เด็กท้อแท้ เบื่อ และเหงา และชอบพยาบาลที่ให้
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องของเด็กที่ป่วยด้วย ก�ำลังใจ ส�ำหรับครอบครัวตอบสนองความต้องการ
ด้วยการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมดูแลเด็กอย่างใกล้
โรคเรื้อรัง
ชิด ให้การดูแลสนับสนุนช่วยเหลือ ทั้งก�ำลังใจ และ
ผลการสังเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็น จัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้
ของเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รังและครอบครัว พยาบาล การให้บิดามารดามีส่วนร่วมดูแล การให้
ที่ปฏิบัติที่สถานบริการปฐมภูมิและตติยภูมิ และ บิดามารดามีส่วนร่วมในการดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
การสนทนากลุ่มร่วมกัน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบ เพื่ อ ให้ก�ำลังใจเด็กในขณะที่รับไว้ในโรงพยาบาล
การดูแลต่อเนื่องเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ประกอบ มารดาสามารถตอบสนองความต้องการของเด็ก
ด้วย 3 ระยะ ดังนี้ เนือ่ งจากรูแ้ ละเข้าใจเด็กเป็นอย่างดี เป็นก�ำลังใจให้เด็ก
ระยะที่ 1 การดูแลที่โรงพยาบาล ประกอบ เล่นกับเด็กให้เพลิดเพลิน และปลอบใจเด็กเมื่อได้
ด้วย การตอบสนองความต้องการของเด็กและครอบครัว รับหัตถการทีเ่ จ็บปวด รวมทัง้ บิดามารดาจะมีโอกาส
การให้มารดามีส่วนร่วม การสร้างความเข้มแข็งให้ ได้เห็นแบบอย่างการพยาบาลเด็กจากพยาบาล
ครอบครัว การเตรียมก่อนกลับบ้าน การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ค รอบครั ว
ระยะที่ 2 การส่งต่อการดูแล ประกอบด้วย เนือ่ งจากมารดาหวังให้ลกู หายป่วย ต้องการก�ำลังใจ
การมีผู้ประสานงานส่งต่อ การส่งต่อข้อมูลที่เป็น และต้องการข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ลายลักษณ์อักษร พยาบาลควรให้กำ� ลังใจ และช่วยเหลือมารดาให้มคี วาม
ระยะที่ 3 การดูแลที่บ้าน ประกอบด้วย หวังและพลังใจ เพื่อสามารถให้การดูแลบุตรได้
การให้ครอบครัวมีสว่ นร่วม การท�ำงานร่วมกันแต่ละ การเตรียมก่อนกลับบ้าน เริ่มตั้งแต่รับไว้
ระดับการดูแล ในโรงพยาบาล การให้ความรู้แก่เด็กและครอบครัว
ระยะที่ 1 การดูแลที่โรงพยาบาล ในระหว่างอยูโ่ รงพยาบาล การแลกเปลีย่ นข้อมูลของ
การดู แ ลเริ่ ม ที่ โ รงพยาบาลตั้ ง แต่ รั บ ไว้ ใ น พยาบาลที่โรงพยาบาลและพยาบาลที่ดูแลที่บ้าน
โรงพยาบาล ประกอบด้วย การตอบสนองความ และการให้ข้อมูลแก่ครอบครัวที่บ้าน การวางแผน
ต้องการของเด็กและครอบครัว การให้มารดามี ให้ข้อมูลกระท�ำอย่างเป็นขั้นตอน เริ่มจากข้อมูล
ส่วนร่วม การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว และ ทัว่ ไปเมือ่ เด็กรับไว้ในโรงพยาบาล ต่อมาจะเป็นข้อมูล
การเตรียมก่อนกลับบ้าน ที่เฉพาะขึ้นเมื่อทราบข้อวินิจฉัยโรค และให้ข้อมูลที่
การตอบสนองความต้องการของเด็กและ เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการดูแลเด็กเมื่อเข้าไป
ครอบครัว ช่วยให้เด็กสบายกายและมีกำ� ลังใจต่อสู้กับ ปฏิบัติการพยาบาล ประกอบด้วย การรับประทาน
ความเจ็บป่วย โดยตัง้ แต่รบั ไว้ในโรงพยาบาล พยาบาล อาหาร การดูแลความสะอาด และการดูแลเบื้อง
ดูแลจิตใจเมือ่ ได้รบั หัตถการทีเ่ จ็บปวด ท�ำความเข้าใจ ต้น วิธีการให้ข้อมูลเป็นการบอกให้ทราบด้วยวาจา
120 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554
ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

การให้ข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษรด้วยแผ่นพับ การให้ครอบครัวมีสว่ นร่วม การดูแลผู้ป่วย


ถ้าเป็นเด็กเล็กจะให้ข้อมูลแก่บิดามารดา หรือผู้ที่ ทีบ่ า้ นหลังออกจากโรงพยาบาล พยาบาลใช้กระบวนการ
ดูแลเด็ก ส�ำหรับเด็กทีโ่ ตพอทีจ่ ะรับรูข้ อ้ มูลได้ พยาบาล พยาบาลเป็นเครื่องมือในการประเมินผู้ป่วยและ
จะแนะน�ำทั้งเด็กและบิดามารดา เมื่อเด็กใกล้จะ ศักยภาพผูด้ แู ล ให้การดูแลตามปัญหาทีป่ ระเมินได้
กลับบ้านจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลที่บ้าน เรื่อง แนะน�ำการดูแลโดยให้ครอบครัวมีสว่ นร่วม การสาธิต
การรับประทานยา การรับประทานอาหาร และ การพยาบาล ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
การด�ำเนินชีวติ ทีบ่ า้ น การสังเกตและเฝ้าระวังอาการ ตามค� ำ แนะน� ำ ของพยาบาลที่ เ ยี่ ย มบ้ า นและน� ำ
ผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นได้ ความรู้และทักษะที่ได้จากพยาบาลในโรงพยาบาล
ระยะที่ 2 การส่งต่อการดูแล ประกอบด้วย มาดูแลต่อที่บ้าน
การมีผู้จัดการส่งต่อ และการส่งต่อข้อมูลที่เป็นลาย การท�ำงานร่วมกันในแต่ละระดับการดูแล
ลักษณ์อักษร การดูแลที่ร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานแต่ละระดับ
การมีผู้จัดการส่งต่อ การส่งต่อผู้ป่วยจาก การประสานกันเกีย่ วกับข้อมูล การเยีย่ มบ้านร่วมกัน
สถานทีห่ นึง่ ไปอีกสถานทีห่ นึง่ ต้องมีผทู้ จี่ ะส่งต่อผูป้ ว่ ย การรายงานผลการดูแลของแต่ละหน่วยการดูแล
ให้ได้รับการดูแลต่อเนื่อง รวบรวมข้อมูลของเด็ก เพื่อให้เกิดการดูแลที่ต่อเนื่อง
เกีย่ วกับความเจ็บป่วย ข้อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับภูมลิ ำ� เนา
เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ส� ำ หรั บ การติ ด ต่ อ แหล่ ง บริ ก ารที่ การอภิปรายผล
มารดาเด็กจะไปใช้บริการ และให้เบอร์โทรศัพท์แก่ ประสบการณ์ของเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รัง
มารดาหากเกิดปัญหาจะได้สามารถถามข้อมูลได้ เด็ ก ที่ ป ่ ว ยด้ ว ยโรคเรื้ อ รั ง มี ป ระสบการณ์
จากผู้จัดการส่งต่อ ไม่สบายกาย ทุกข์ใจ ปรับตัวต่อการเจ็บป่วย และ
การส่งต่อข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร หวังให้มชี วี ติ ปกติ อาจเนือ่ งมาจากการเจ็บป่วยด้วย
เมือ่ เด็กกลับบ้านการส่งต่อข้อมูลการเจ็บป่วยของเด็ก โรคเรื้อรังก่อให้เกิดความเครียดจากการเจ็บป่วย
จากสถานบริการหนึ่งไปยังอีกสถานบริการหนึ่ง การศึกษาครัง้ นีส้ อดคล้องกับการศึกษาประสบการณ์
เป็นสิง่ ส�ำคัญมาก ข้อมูลของเด็กทีป่ ว่ ยในโรงพยาบาล ของเด็กป่วยเรื้อรัง โดยการทบทวนการวิจัยอย่าง
จะท�ำให้บคุ ลากรในหน่วยงานปฐมภูมสิ ามารถทราบ เป็นระบบจากการวิจยั เชิงคุณภาพ พบว่า การเจ็บป่วย
รายละเอียดเพือ่ ใช้เป็นประโยชน์ในการดูแลต่อเนือ่ ง เรื้อรังท�ำให้เด็กไม่สบายกายและใจ การเจ็บป่วย
ข้อมูลทีส่ ง่ ต่อควรเป็นข้อมูลทีเ่ ป็นลายลักษณ์อักษรที่ รบกวนการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน15 สอดคล้องกับ
มีรายละเอียดเกี่ยวกับการวินิจฉัย การรักษา การ
การศึกษาการเผชิญความเครียดของเด็กที่ป่วยด้วย
พยาบาลทีไ่ ด้รบั ขณะอยูโ่ รงพยาบาล และการก�ำหนด
โรคเรือ้ รังทีเ่ ข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหลายครัง้
ปั ญ หาที่ ต ้ อ งการให้ ดู แ ลต่ อ เนื่ อ งเมื่ อ ออกจาก
พบว่า เด็กมีความเครียดจากการได้รับหัตถการที่
โรงพยาบาล
เจ็บปวด เบือ่ หน่ายจากการไม่ได้ทำ� กิจกรรมต่างๆ
ระยะที่ 3 การดูแลที่บ้าน ประกอบด้วย
พยาบาลเป็นบุคลากรในทีมที่จะช่วยส่งเสริมการ
การให้ครอบครัวมีส่วนร่วม และการท�ำงานร่วมกัน
เผชิญความเครียด16 และสอดคล้องกับการศึกษา
แต่ละระดับการดูแล
Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 121
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

ประสบการณ์ของเด็กที่อยู่โรงพยาบาล พบว่าเด็ก และการให้ครอบครัวมีสว่ นร่วม การมีผจู้ ดั การส่งต่อ


มีความกลัวและกังวลที่แยกจากครอบครัว อยู่ใน และการมีนโยบายสนับสนุน ผลการวิจัยสอดคล้อง
สิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย และเจ็บปวดจากการได้รับ กับการศึกษาของ Foust21 ทีพ่ บว่าพยาบาลทีว่ างแผน
หัตถการ ชอบพยาบาลที่พูดจาอ่อนโยน มีอารมณ์ จ�ำหน่าย การมีประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วย
ขัน และยอมรับความคิดความรู้สึกของเด็ก17 ติดตามอาการ สอนผู้ป่วยในระหว่า งปฏิบัติการ
ประสบการณ์ของมารดาเด็กที่ป่วยด้วย พยาบาล และทบทวนด้วยเอกสารในวันที่จ�ำหน่าย
โรคเรื้อรัง การบั น ทึ ก ส่ ว นใหญ่ บั น ทึ ก ขณะอยู ่ โ รงพยาบาล
มารดาของเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความ แบบบันทึกทีส่ ง่ ให้ดแู ลต่อทีบ่ า้ นไม่มขี อ้ มูลการสอน
คาดหวังต่อการดูแลที่ได้รับ คือ มีความหวังให้ลูก และวางแผนจ�ำหน่าย
หายป่วย อยู่ใกล้ชิดลูกเพื่อให้ก�ำลังใจ ได้รับข้อมูล รูปแบบการดูแลต่อเนื่อง
เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของลูก ก�ำลังใจ สิ่งอ�ำนวย
ความสะดวก และการส่งต่อข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์ รูปแบบการดูแลต่อเนื่องของเด็กที่ป่วยด้วย
อักษร การศึกษานีส้ อดคล้องกับการศึกษาประสบการณ์ โรคเรื้อรัง ประกอบด้วย 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การ
ของมารดาที่ดูแลเด็กที่ป่วยในโรงพยาบาล พบว่า ดูแลที่โรงพยาบาล ประกอบด้วย การตอบสนอง
มารดารูส้ กึ ห่วงใย และต้องการมีสว่ นร่วมในการดูแล ความต้องการของเด็กและครอบครัว การให้มารดา
เด็ก มีความหวังที่จะให้เด็กหายป่วย และต้องการ มีส่วนร่วม การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ค รอบครัว
อยูด่ แู ลลูกเพือ่ ให้กำ� ลังใจ18 นอกจากนีส้ อดคล้องกับ การเตรียมก่อนกลับบ้าน ระยะที่ 2 การส่งต่อการ
การศึกษาการมีส่วนร่วมของมารดาในการดูแลเด็ก ดูแล ประกอบด้วย การมีจัดการส่งต่อ การส่งต่อ
ทีโ่ รงพยาบาล ผลการวิจยั พบว่ามารดาต้องการข้อมูล ข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร ระยะที่ 3 การดูแล
ที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วย ต้องการก�ำลังใจ และ ที่บ้าน ประกอบด้วย การให้ครอบครัวมีส่วนร่วม
ความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ได้รบั การดูแลจากพยาบาล คือ พยาบาล และการท�ำงานร่วมกันในแต่ละระดับการดูแล เมื่อ
ไม่มเี วลาว่างพอทีจ่ ะดูแลครอบครัว19 และการศึกษา พิจารณาบทบาทพยาบาลสอดคล้องกับการศึกษา
ความต้องการของครอบครัวระหว่างทีเ่ ด็กอยูโ่ รงพยาบาล ทีพ่ บว่า พยาบาลมีบทบาทในการแลกเปลีย่ นข้อมูล
มารดาเด็กต้องการที่จะดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดเพื่อ กับผู้ป่วย การค้นหาความต้องการของผู้ป่วยและ
ครอบครัว การสือ่ สารข้อมูลในทีมสหสาขา การประสาน
ให้เด็กปลอดภัย และเป็นสื่อกลางให้เด็กได้รับการ
งานในระยะเปลี่ยนผ่าน การสอนทักษะการดูแลแก่
ดูแลที่ปลอดภัย20
ผู้ป่วย การให้ครอบครัวมีส่วนร่วม22 รูปแบบการ
ประสบการณ์และความคาดหวังของพยาบาล ดูแลต่อเนือ่ งของเด็กทีป่ ว่ ยด้วยโรคเรือ้ รัง เป็นรูปแบบ
ที่หน่วยปฐมภูมิและตติยภูมิในการดูแลต่อเนื่อง ที่สอดคล้องกับความหมายของการดูแลต่อเนื่อง
เด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ที่ประกอบด้วย การวางแผนจ�ำหน่าย การส่งต่อ
ประสบการณ์และความคาดหวังของพยาบาล และการบริการสุขภาพที่บ้าน สอดคล้องกับแนวคิด
พบดังนี้ คือ การเตรียมผูป้ ว่ ยก่อนออกจากโรงพยาบาล การดูแลโดยให้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางที่ตระหนัก
การส่งต่อข้อมูลให้ดูแลต่อเนื่อง การท�ำงานร่วมกัน ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของครอบครั ว ในการดู แ ลเด็ ก
122 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554
ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

การตอบสนองความต้องการของเด็กและการสร้าง 4. สุดใจ สมิทธิการ. คุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยเด็กวัยเรียน


ความเข้มแข็งให้ครอบครัว23 โรคเรื้อรัง. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
มหิดล; 2541.
ข้อเสนอแนะ 5. Knafl KA, Gillis CL. Families and chronic illness:
1. พยาบาลที่ดูแลเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง A synthesis of current research. J Fam Nurs
ควรนำ�ผลการวิ จั ย ประสบการณ์ เ ด็ ก ที่ ป่ ว ยด้ ว ย 2002; 8(3): 178-98.
โรคเรื้ อ รั ง และครอบครั ว มาเป็ น แนวทางในการ 6. ศุภชัย นวลสุทธิ์. การวางแผนจำ�หน่ายผู้ป่วยของ
พยาบาลภายในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาล
ดู แ ลเด็ ก เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการเด็ ก ที่ ป่ ว ย
ทัว่ ไป ภาคใต้. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
ด้วยโรคเรื้อรังและครอบครัว สงขลานครินทร์; 2542
2. ควรทดสอบรูป แบบการดูแ ลเด็กที่ป่วย 7. ชาญวิทย์ ทระเทพ และคณะ. โครงสร้าง รูปแบบ
ด้วยโรคเรื้อรังด้วยการวิจัยเชิงทดลอง และปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการจัดบริการสาธารณสุข.
3. ผู้ บ ริ ห ารควรพั ฒ นาระบบบริ ก ารเด็ ก ที่ สำ�นักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพ
ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและครอบครัวให้ได้รับการดูแล ถ้วนหน้า สถาบันวิจัยสาธารณสุข;2549.
ทีต่ อ่ เนือ่ งตัง้ แต่รบั ไว้ในโรงพยาบาลและดูแลต่อเนือ่ ง 8. Lundblad B, Byrne MW, Hellstrom A. Continuing
ที่บ้าน care needs of children at time of discharge from
กิตติกรรมประกาศ one regional medical center in Sweden. J Pediatr
Nurs 2001; 16(1):73-8.
คณะผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณแผนงานพัฒนาสถาบัน 9. Snowdon AW, Kane DJ. Parental needs following
การศึ ก ษาให้ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ในการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ the discharge of a hospitalized child. Pediatr
ที่ให้การสนับสนุนทุนในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ และ Nurs 1995; 21(5): 425-8.
ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูลทุกท่าน 10. สินีนาฏ ลิ้มนิยมธรรม. ผลของการพยาบาลที่เน้น
การเตรียมจำ�หน่ายทารกคลอดก่อนกำ�หนด โดยใช้
เอกสารอ้างอิง ทฤษฎีความสำ�เร็จตามเป้าหมายต่อความวิตกกังวล
1. Knafl K, Santacroce, S. Chronic conditions and the และพฤติกรรมการดูแลทารกของมารดา. [วิทยานิพนธ์].
family In Jackson AP, editors. Primary care of the กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.
child with a chronic condition. St Louis: Mosby; 11. มลวิภา เลียงสุวรรณ. ผลของเตรียมจำ�หน่ายผูป้ ว่ ยเด็ก
2004. p. 44-59. โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันโดยใช้ ทฤษฎีทางการพยาบาล
2. หน่วยเวชระเบียนโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. เอกสาร ของนิวแมนต่อพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ดูแล.
บันทึกสถิติเด็กที่ป่วยด้วยโรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจ [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;
และโรคมะเร็ง. 2547.
3. Wallander J, Varny J. Effects of pediatric chronic 12. ชุลีพร ยิ้มสุขไพฑูรย์. ผลของการใช้แผนการจำ�หน่าย
physical disorders on child and family adjustment. ทารกโรคอุจจาระร่วงที่เน้นการดูแลอย่างต่อเนือ่ งต่อ
J Child Psychol Psychiatry 1998; 39: 29-46. ความพึงพอใจในบริการพยาบาลและพฤติกรรมการ
ดูแลทารกทีบ่ า้ นของผูด้ แู ล. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2547.
Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 123
รูปแบบการดูแลต่อเนื่องในเด็กที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

13. โสมนัส นาคนวล และนงลักษณ์ ไทยกุล. การปฏิบัติ 18. Dudley SK. Carr JM. Vigilance: The experience of
กิจกรรมการวางแผนจำ�หน่ายผู้ป่วยของพยาบาล parents staying at the bedside of hospitalized
แผนกผูป้ ว่ ยใน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. วารสาร children. J Pediatr Nurs 2004; 19(4): 267-75.
พยาบาลสงขลานครินทร์ 2547; 24(2): 107-120. 19. Ygge BM. & Arnetz JE. A study of parental involvement
14. Sparbel KJH. & Anderson MA. Integrated literature in pediatric hospital care: Implications for clinical
review of continuity of care part I, Conceptual practice. J Pediatr Nurs 2004; 19(3): 217-23.
issues. J Nurs Scholar 2003; 32(1): 17-24. 20. Hallstrom I, Runesson I, Elander G. Observed
15. Venning, A. Eliott, J. Wilson, A. & Kettler, L. parental needs during their child’s hospitalization.
Understanding young peoples’ experience of J Pediatr Nurs 2002; 17(2): 140-8.
chronic illness: a systematic review. Int J Evid 21. Foust JB. Discharge planning as part of daily
Based Healthc 2008; 6: 321-336. nursing practice. Appl Nurs Res 2007; 20(2):
16 Boyd JR. & Hunsberger M. Chronically ill children 72-7.
coping with hospitalizations : Their perceptions 22. Rorden JW, Taff E. Discharge planning guide for
and suggested intervention. J Pediatr Nurs Nurses. Philadelphia: W.B. Saunders ;1990.
1998;13(6) : 330-42. 23. Shelton TL, Stepanek JS. Excerpts from family-
17. Coyne I. Children experiences of hospitalization. centered care for children needing special health
J Child Health Care 2006; 10(4): 326-36. and developmental services. Pediatr Nurs 1995;
21(4): 362-4.

124 วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ มกราคม-มีนาคม 2554


ทัศนีย์ อรรถารส และจุไร อภัยจิรรัตน์

Model of Continuing Care for Chronically Ill Children


Tassanee Attharos D.N.S*
Churai Arpaichiratana MEd.*
Abstract : The main objective of this qualitative research was to study methods of
on-going care for chronically ill children. The research participants consisted of 7
chronically ill children, 10 mothers of chronically ill children, 10 hospital nurses
and 16 primary care staffers. The data were collected from focus group and in-depth
interviews, and were analyzed based on the content analysis method.
The major findings of the research are as follows. The methods of continuing
care for chronically ill children were divided into 3 stages. The first stage was
hospitalization, consisting of 4 tasks, namely, 1) responding to the needs of the
chronically ill child and those of his/her family, 2) involving the patient’s mother’s
participation, 3) strengthening the patient’s family and 4) doing pre-discharge
preparation. The second stage was care transfer, consisting of 2 tasks, namely,
1) appointing a transfer staffer and 2) documenting the transfer. The third stage
was home-care, consisting of 2 tasks, namely, 1) involving the patient’s family’s
participation and 2) continuing collaboration at every level of home-care.
The findings could be applied to the development of continuing care methods
for chronically ill children. Besides, this study could serve as a basis on which
further methods of continuing care for chronically ill children would be researched
and experimented.
Thai Journal of Nursing Council 2011; 26 (special issue) 112-125
Key words: Continuing care, Chronically ill children, Care model

*Assistant Professor, Department of Pediatric and Gynecology Nursing, TheThai Red Cross College of nursing
Thai Journal of Nursing Council Vol. 26 Special Issue January-March 2011 125

You might also like