You are on page 1of 12

ขวัญจิต เพ็งแป้น

บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน
ขวัญจิต เพ็งแป้น1 พย.ม. (การบริหารการพยาบาล)
บทคัดย่อ: เด็กวัยก่อนเรียน มีโอกาสเกิดปัญหาสุขภาพขึ้นเนื่องจากเด็กวัยนี้มีการเจริญ
เติบโตอย่างรวดเร็ว ชอบความเป็นอิสระและต้องการท�ำอะไรด้วยตนเอง ในขณะที่ยังไม่
สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เต็มที่ จึงมีโอกาสเกิดทั้งปัญหาสุขภาพได้ โดยปัญหาสุขภาพที่
พบ คือ ปัญหาด้านโภชนาการ ปัญหาฟันผุ ปัญหาการเจ็บป่วยและการติดเชือ้ ปัญหาอุบตั เิ หตุ
และการบาดเจ็บ และปัญหาพัฒนาการล่าช้า ผูป้ กครองมีบทบาทส�ำคัญในการป้องกันปัญหา
สุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งด้าน
ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ โดยมีข้อเสนอแนะให้พยาบาลที่ปฏิบัติงานในคลินิก
สุขภาพเด็กดี ควรมีการประเมินความเสีย่ งต่อปัญหาสุขภาพและให้คำ� แนะน�ำแก่ผปู้ กครอง
ในการลดปัจจัยเสีย่ งเพือ่ สามารถป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค�ำส�ำคัญ: เด็กวัยก่อนเรียน ปัญหาสุขภาพ การป้องกันสุขภาพ บทบาทของผู้ปกครอง

อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี อุบลราชธานี


1

Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice Vol. 6 No.2 July-December 2019 131
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน

The Roles of Parents in Preventing Health Problems of Pre-School-Children


Kwanjit Pengpan1 M.N.S. (Nursing Administration)
Abstract: Preschool children are prone to have health problems due to their rapid growth,
love of freedom and independent. However, their growth may not fully function. Thus,
they tend to have health problems. Frequently health problems found were: nutritional
problems, dental carries, common illnesses and communicable diseases, accident and
injury, and delaying of growth and development. Parents play important roles in
promoting growth and development, as well as, in preventing health problems of preschool
children. It is suggested that professional nurses working in well baby clinics should
assess health risks, and provide advice for parents to help reduce risk factors in order to
prevent health problems of preschool children effectively.
Keyword: pre-school children, health risk, health problems, health prevention, roles
of parents

Lacturer, Faculty of Nursing, Ratchatani University, Ubonratchatani Province.


1

132 วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562


ขวัญจิต เพ็งแป้น

บทนำ� เนื่องจากเริ่มซุกซนมากขึ้น มีความอยากรู้อยากเห็น


เด็ ก วั ย ก่ อ นเรี ย น เป็ น วั ย รากฐานของการ หรือจากความประมาท รู้เท่าไม่ถึงการณ์ของบิดา
พัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และ มารดา หรือผู้ดูแลเด็ก จึงท�ำให้เกิดอุบัติเหตุอย่างไม่
จิตวิญญาณ เนื่องจากมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว คาดคิด7 ได้แก่ ขาดอากาศหายใจจากการน�ำของชิ้น
มีการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ มัดเล็กได้ดีขึ้น สามารถยืน เล็กใส่ในปากหรือจมูก การตกจากทีส่ งู อุบตั เิ หตุจาก
เดิน วิ่งได้อย่างคล่องแคล่ว ชอบปีนป่าย อยากเป็น ยานยนต์ หรือจากการปล่อยเด็กให้ลงเล่นน�้ำในสระ
อิสระ และต้องการท�ำอะไรด้วยตนเอง จึงมีโอกาสเกิด ว่ายน�้ำ บ่อน�้ำ หรือคลองตามล�ำพัง ท�ำให้เด็กเกิด
ปัญหาสุขภาพหรือพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพและเกิด อุบตั เิ หตุจมน�ำ้ ได้ ซงึ่ พบว่ามีเด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี เสีย
อุบัติเหตุได้ง่าย ปัญหาสุขภาพของเด็กวัยก่อนเรียน ชีวิต จากการจมน�้ำสูงถึงร้อยละ 30 ของทุกกลุ่มอายุ
พบมี ป ั ญ หาโภชนาการ การได้ รั บ สารอาหารและ โดยเฉพาะเล็กอายุตำ�่ กว่า 5 ปี2 เนือ่ งจากมีการทรงตัว
พลังงานมากเกินไป ท�ำให้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วย ไม่ดี จึงท�ำให้ลม้ ในท่าศีรษะทิม่ ลงได้งา่ ย จึงมักพบเด็ก
โรคป้องกันได้ ได้แก่ โรคอ้วน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จมน�้ำในแหล่งน�้ำภายในบ้านหรือบริเวณรอบๆ บ้าน
เรื่อยๆ โดยพบว่า ความชุกของโรคอ้วนในเด็กก่อน เช่น ถังน�้ำ กะละมัง บ่อน�้ำ แอ่งน�้ำ เป็นต้น นอกจากนี้
วัยเรียนทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.2 ในปี ค.ศ. การเจ็บป่วยของเด็กก็อาจส่งผลให้เด็กไม่ได้รับการ
1990 เป็นร้อยละ 6.7 ในปี ค.ศ. 2010 และจะเพิ่ม ส่งเสริมพัฒนาการเท่าที่ควร ส่งผลให้เกิดพัฒนาการ
ขึ้นเป็นร้อยละ 9.1 ในปี ค.ศ. 20201 จากรายงาน ล่าช้า จากรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2560 สถาบันพัฒนา
สาธารณสุขของไทย พบว่า เด็กที่อ้วนมีแนวโน้มจะ อนามัยเด็กแห่งชาติ พบเด็กที่สงสัยว่า มีพัฒนาการ
เป็นผู้ใหญ่อ้วน และเสี่ยงต่อการเป็นโรคไม่ติดต่อ ล่าช้าในภาพรวมระดับประเทศ ร้อยละ 235 โดยพบ
เรื้อรัง(Non- Communicable Chronic Disease: ว่า อันดับ 1 ที่มีพัฒนาการล่าช้า คือ พัฒนาการล่าช้า
NCD) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ด้านการเข้าใจภาษา (receptive language) อันดับ 2
และหลอดเลือด เป็นต้น2 มีภาวะได้รบั สารอาหารและ คือ พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา
นมไม่เพียงพอท�ำให้ผอมหรือเตีย้ แคระ3 มีปญ ั หาฟัน (fine motor) และอันดับ 3 คือ พัฒนาการด้านกล้าม
ผุจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการดูแล เนื้อมัดใหญ่ (gross motor) ดังนั้นบิดามารดาหรือ
ที่ไม่ถูกต้องของผู้ปกครอง4 และการส�ำรวจสภาวะ ผู้ดูแลจึงควรดูแลเอาใจใส่สุขภาพอนามัยเด็กอย่าง
สุขภาพช่องปากแห่งชาติ พบเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ ใกล้ชิด ได้แก่ การดูแลให้เ ด็กได้รับโภชนาการที่
51.7 และเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 78.5 มีประสบการณ์ เหมาะสมกับวัย ทั้งชนิดและปริมาณของอาหาร สอน
ฟันน�้ำนมผุ5 มีปัญหาการติดเชื้อ ได้แก่ โรคติดเชื้อ การดูแลช่องปากที่ถูกต้อง การป้องกันการเจ็บป่วย
ระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคหวัด ปอดอักเสบ และ และภาวะติ ด เชื้ อ ในเด็ ก นอกจากนี้ ก ารป้ อ งกั น
โรคระบบทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วง เป็นต้น อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจาก ความซุกซนและอยากรู้
เนื่ อ งจากเด็ ก วั ย นี้ ยั ง มี ภู มิ ต ้ า นทานต�่ ำ และมี ก าร อยากเห็นของเด็กวัยนี้ จึงเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองควรให้
ป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ ยังไม่เหมาะสมท�ำให้เกิด ความส�ำคัญ ไม่ปล่อยให้เด็กเล่นตามล�ำพัง รวมทั้ง
การเจ็ บ ป่ ว ยได้ บ ่ อ ย 6 มี ป ั ญ หาการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้สมวัย ท�ำให้เด็กได้เรียนรู้
Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice Vol. 6 No.2 July-December 2019 133
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน

ตามวัยได้เต็มศักยภาพและสามารถเติบโตได้อย่างมี อาหาร และพลังงาน ทีไ่ ม่เพียงพอ ท�ำให้มรี ปู ร่างผอม


คุณภาพต่อไป หรือเตี้ยแคระ3 พบความชุกของภาวะเตี้ย และภาวะ
ปัญหาสุขภาพที่สำ�คัญของเด็กวัยก่อนเรียน ผอมในเด็กอายุ 2 ถึงน้อยกว่า 6 ปี มากกว่ากลุ่มอายุ
อืน่ และพบน้อยลงเมือ่ อายุมากขึน้ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากเด็ก
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงที่ส�ำคัญใน อยู่ในวัยที่ต้องหย่านมแล้ว ควรได้รับข้าวเป็นอาหาร
เด็กวัยก่อนเรียน ได้แก่ ปัญหาด้านโภชนาการ ปัญหา หลักทัง้ 3 มือ้ แต่พบเด็กบางคนยังติดนมขวดอยู่ และ
ฟั น ผุ ปั ญ หาการเจ็ บ ป่ ว ยและการติ ด เชื้ อ ปั ญ หา บางคนมีความอยากอาหารน้อยลง ดังนั้นจึง พบช่วง
อุบตั เิ หตุและการบาดเจ็บ และปัญหาพัฒนาการล่าช้า อายุ ข องเด็ ก ที่ มี ภ าวะทุ พ โภชนาการมากที่ สุ ด อยู ่
ที่อาจเกิดขึ้นตามมา ดังนี้ ระหว่าง 2-5 ปี ส่วนภาวะขาดสารอาหารที่พบในเด็ก
1. ปัญหาด้านโภ นาการ วัยนี้ คือ การขาดวิตามิน และเกลือแร่ ที่ส�ำคัญ เช่น
ปัญหาด้านโภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน พบได้ทั้ง วิตามินซี วิตามินเอ และแคลเซียม เป็นต้น8
โรคอ้ ว นและโรคขาดสารอาหาร ซึ่ ง เกิ ด จากการ 2. ปัญหาฟันผุ
บริโภคอาหารไม่ถกู ต้อง รวมทัง้ ขาดการออกก�ำลังกาย ฟันผุเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในเด็กวัย
ทีเ่ หมาะสม หากไม่ได้รบั การดูแลอย่างเหมาะสม อาจ ก่อนเรียน จากพฤติกรรมการรับประทานอาหารและ
ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กในอนาคตได้ ปัญหา การดูแลที่ไม่ถูกต้องของผู้ปกครอง4 หรือผู้ปกครอง
ด้านโภชนาการ พบดังนี้ ที่มีความเชื่อผิดๆว่า “ฟันน�้ำนมผุไม่เป็นไร ไม่ต้อง
1.1 ภาวะอ้วน การที่เด็กได้รับสารอาหาร รักษาก็ได้ เดี๋ยวฟันแท้ก็ขึ้น” จากการส�ำรวจสภาวะ
และพลังงานมากเกินไป ได้แก่ อาหารรสหวานจัด เช่น สุขภาพช่องปากแห่งชาติ พบเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ
ช็อคโกแลต เยลลี่ ไอศกรีม นมอัดเม็ด ลูกอม ขนม 51.7 และเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 78.5 มีประสบการณ์
ไทยรสหวานจัด น�้ำอัดลม เป็นต้น และขาดการออก ฟันน�้ำนมผุ5 ปัญหาส�ำคัญที่ยังต้องการการดูแลเพิ่ม
ก�ำลังกายที่เหมาะสม ท�ำให้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วย เติม คือ การแปรงฟัน เพราะผู้ปกครองของเด็กอายุ
โรคที่ป้องกันได้ ได้แก่ โรคอ้วน ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 3 ปี ร้อยละ 55.8 ปล่อยให้เด็กแปรงฟันด้วยตนเอง
เรื่อยๆ การส�ำรวจความชุกของโรคอ้วนในเด็กก่อน มีเด็กเพียงร้อยละ 44.2 ที่มีผู้ปกครองช่วยดูแลการ
วัยเรียนทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.2 ในปี ค.ศ. แปรงฟันให้ และยังพบว่า เด็กอายุ 3 ปี และ 5 ปี ยัง
1990 เป็นร้อยละ 6.7 ในปี ค.ศ. 2010 และคาดว่า ดืม่ นมหวานและนมเปรีย้ วเมือ่ อยูท่ บี่ า้ น สูงถึง ร้อยละ
จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.1 ในปี ค.ศ. 20201 จาก 48.9 และ ร้อยละ 49.9 ตามล�ำดับ รวมทัง้ ยังมีการใช้
รายงานสถิติสาธารณสุขของไทย พบว่าเด็กที่อ้วนมี ขวดนม ในเด็ ก อายุ 3 ปี อยู ่ ถึ ง ร้ อ ยละ 39.4 ซึ่ ง
แนวโน้มจะเป็นผู้ใหญ่อ้วน และเสี่ยงต่อการเป็นโรค นอกจากจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุแล้ว ยังมี
เรื้อรังที่ไม่ติดต่อ (Non- Communicable Disease: โอกาสเกิดความผิดปกติของการสบฟันในอนาคต
NCD) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ นอกจากนี้ฟันผุท�ำให้เด็กรับประทานอาหารได้น้อย
และหลอดเลือด เป็นต้น2 ลง ในขณะเดียวกันอัตราการเผาผลาญพลังงานใน
1.2 ภาวะทุพโภ นาการ การได้รับสาร ร่างกายกลับเพิม่ ขึน้ เพือ่ ตอบสนองต่อการติดเชือ้ และ
134 วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562
ขวัญจิต เพ็งแป้น

มีการสร้างฮอร์โมนที่ควบคุมการเติบโตของร่างกาย เสียชีวิตจากการจมน�้ำสูงถึงร้อยละ 30 ของทุกกลุ่ม


ลดลง เนื่องจาก เด็กนอนหลับพักผ่อนน้อยลง ส่งผล อายุ โดยเฉพาะเด็กเล็กอายุต�่ำกว่า 5 ปี เนื่องจากการ
ให้การเจริญเติบโตของเด็กลดลง ทรงตัวไม่ดี จึงท�ำให้ล้มในท่าที่ศีรษะทิ่มลงได้ง่าย จึง
3.ปัญหาการเจ็บป่วยและการติด มั ก พบเด็ ก จมน�้ ำ สู ง ในแหล่ ง น�้ ำ ภายในบ้ า นหรื อ
โรคติดเชือ้ เป็นปัญหาสุขภาพทีส่ ำ� คัญของเด็ก บริเวณรอบๆ บ้าน เช่น ถังน�้ำ กะละมัง บ่อน�้ำ แอ่งน�้ำ
วัยก่อนเรียน เนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มเข้าศูนย์เด็กเล็ก เป็นต้น2 ซึ่งอุบัติเหตุอาจส่งผลกระทบ คือ 1) ด้าน
หรือโรงเรียนอนุบาล ท�ำให้เด็กมีโอกาสสัมผัสเชือ้ โรค ร่างกาย ได้แก่ เป็นแผลฟกช�้ำ ฉีกขาดเกิดการติดเชื้อ
ตัวใหม่ ได้แก่ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เช่น ทีแ่ ผล หรือกระดูกหัก สมองกระทบกระเทือน 2) ด้าน
โรคหวัด ปอดอักเสบ และระบบทางเดินอาหาร เช่น จิตใจ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็กท�ำให้สภาพร่างกาย
อุจจาระร่วง เป็นต้น เนื่องจากเด็กวัยนี้มีภูมิต้านทาน เด็กได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมานจากบาดแผล
ต�ำ่ และมีการป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ ยังไม่เหมาะ ประเภทต่างๆ ส่งผลกระทบต่อจิตใจเด็กอาจท�ำให้
สมท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยได้บ่อย6 ซึ่งโรคติดต่อเหล่า เด็ ก ไม่ ก ล้ า แสดงออก ส่ ง ผลให้ เ ด็ ก มี พ ฤติ ก รรม
นีส้ ามารถติดต่อกันได้ทงั้ การหายใจเอาละอองอากาศ ถดถอยได้ 3) ผลกระทบระยะยาวเนื่องจากเด็กจะมี
ทีม่ เี ชือ้ ปนอยูเ่ ข้าไป การไอหรือจามรดกัน และการใช้ พัฒนาการด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เมื่อเกิดการบาด
ของใช้ส่วนตัวร่วมกัน รวมทั้งการรับประทานอาหาร เจ็ บ อาจซ�้ ำ เติ ม ปั ญ หาด้ า นจิ ต ใจเด็ ก มากขึ้ น และ
และดื่มน�้ำที่ปนเปื้อนเข้าไป หากเด็กที่อยู่ในศูนย์เด็ก อุบัติเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นกับเด็กจะส่งผลให้เด็กมี
เล็ก หรือในโรงเรียนอนุบาล เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ สุขภาพไม่ดี การเจริญเติบโตหยุดชะงักและส่งผลให้
เหล่านี้ จะสามารถแพร่กระจายสูก่ นั และแพร่กระจาย เด็กมีพัฒนาการล่าช้า10
สู่ชุมชนได้ง่าย หากเด็กวัยก่อนเรียนมีการเจ็บป่วย 5. ปัญหาพัฒนาการล่า
บ่อยๆจะส่งผลต่อพัฒนาการที่ล่าช้าได้ 9 เด็กวัยก่อนเรียน เป็นช่วงอายุทพี่ บพัฒนาการ
4. ปัญหาอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ล่าช้ามากทีส่ ดุ สะท้อนให้เห็นว่า เด็กไม่ได้รบั การเลีย้ ง
เด็กวัยก่อนเรียนมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ดูที่ส่งเสริมพัฒนาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพัฒนาการ
เนื่องจากเริ่มซุกซนมากขึ้น มีความอยากรู้อยากเห็น ด้านสติปัญญา พบว่ามากกว่าครึ่งของเด็กก่อนเรียน
หรือเกิดจากความประมาทรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของบิดา มีพัฒนาการล่าช้าทั้งด้านภาษา และการกระท�ำ จาก
มารดา หรือผูท้ ดี่ แู ลเด็กจึงท�ำให้เกิดอุบตั เิ หตุอย่างไม่ ข้ อ มู ล และสถานการณ์ ก ารด� ำ เนิ น งานส่ ง เสริ ม
คาดคิด7 ได้แก่ การขาดอากาศหายใจจากการน�ำของ พัฒนาการเด็กปฐมวัยปี พ.ศ. 2559-2561 พบเด็ก
ชิ้นเล็กใส่ในปากหรือจมูก ถูกไฟฟ้าดูดจากการใช้นิ้ว ที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้าในภาพรวมระดับประเทศ
จิ้มปลั๊กไฟ มีดบาด น�้ำร้อนลวก สารพิษ ตกจากที่สูง ร้อยละ 23 โดยพบว่า มีความสงสัยล่าช้า อันดับ 1 คือ
อุบัติเหตุจากยานยนต์ เสียชีวิตจากการขาดอากาศ พัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา (receptive language)
หรือความร้อนในรถ หรือ การปล่อยเด็กให้ลงเล่นน�้ำ อันดับ 2 คือ พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติ
ในในสระว่ายน�ำ ้ บ่อน�ำ ้ หรือคลองตามล�ำพังท�ำให้เด็ก ปัญญา (fine motor) และอันดับ 3 คือ พัฒนาการด้าน
จมน�้ำได้ จากสถิติเด็กอายุต�่ำกว่า 15 ปี มีสัดส่วนการ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross motor)11 ซึ่งเด็กวัยนี้บิดา
Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice Vol. 6 No.2 July-December 2019 135
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน

มารดามั ก น� ำ เด็ ก ไปฝากเลี้ ย งที่ ศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก น�ำ้ ตาลสูงเข้าบ้าน เช่น ขนมหวาน ขนมขบเคีย้ วทีไ่ ม่มี
พัฒนาการของเด็กจึงขึน้ อยูก่ บั คุณภาพของผูด้ แู ลเด็ก ประโยชน์ เช่ น มั น ฝรั่ ง ทอดเครื่ อ งดื่ ม ที่ มี น�้ ำ ตาล
หากไม่มีการควบคุมมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็ก อาจ น�้ำอัดลม และน�้ำผลไม้ เป็นต้น
จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กได้ จากการ 2) สมาชิกทุกคนในครอบครัวต้องร่วมมือกัน
ประเมินการจัดระบบบริการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ไม่ให้ใครคนใดคนหนึ่งตามใจเด็ก และควรมีคู่หูใน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปี พ.ศ. 2550 ครอบครัว เช่น พ่อหรือแม่ที่วางแผนและกินอาหารที่
ชี้ให้เห็นว่า แม้อัตราผู้ดูแลต่อเด็กเฉลี่ยเท่ากับ 1:20 มีประโยชน์และออกก�ำลังกายร่วมกัน โดยออกก�ำลัง
คน ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ แต่ผู้ดูแลเด็ก ต้องท�ำหน้าที่ กายอย่างน้อยวันละหนึ่งชั่วโมง
หลายอย่าง เช่น เป็นแม่ครัว พนักงานท�ำความสะอาด 3) จ�ำกัดเวลาที่เด็กใช้กับหน้าจออุปกรณ์
และท�ำหน้าที่ธุรการ เป็นต้น ท�ำให้ไม่สามารถเลี้ยงดู อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ ไอแพด โทรศัพท์
เด็กได้เต็มที12่ นอกจากนีก้ ารทีเ่ ด็กเจ็บป่วยบ่อย หรือ มือถือเพราะจะท�ำให้เด็กนั่งอยู่กับที่ไม่ได้เคลื่อนไหว
ได้รับอุบัติเหตุรุนแรง ก็จะส่งผลให้เด็กมี การเจริญ เด็กเล็ก 2-5 ขวบ ไม่ควรอยูก่ บั หน้าจอเกินหนึง่ ชัว่ โมง
เติบโตหยุดชะงักและส่งผลให้เด็กมีพฒ ั นาการล่าช้า10 ต่อวัน
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพ 4) ดูแลให้เด็กได้นอนหลับอย่างเพียงพอ
โดยฝึกให้นอนเป็นเวลา เพราะการนอนดึกเป็นสาเหตุ
เด็กวัยก่อนเรียน
หนึ่งของความอ้วนได้
เนื่องจากเด็กวัยก่อนเรียนนี้ยังไม่สามารถรับ 5) ผู ้ ป กครองต้ อ งคอยให้ ก� ำ ลั ง ใจเด็ ก
ผิดชอบต่อสุขภาพของตนเองได้ จึงต้องเป็นความรับ เพราะการควบคุมน�้ำหนักต้องใช้พลังใจ ความมุ่งมั่น
ผิดชอบของบิดามารดาหรือผูป้ กครองทีต่ อ้ งดูแลเพือ่ ในการต่อสู้กับตัวเองและการปฏิเสธอาหารที่ก่อให้
ปัองกันปัญหาสุขภาพของเด็กวัยก่อนเรียน ดังต่อไป เกิดโรคอ้วน
นี้ 1.2 ภาวะทุพโภ นาการ
1. การดูแลด้านโภ นาการ เนื่องจากเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่มีการ
1.1 ภาวะอ้วน เจริญเติบโตของกล้ามเนื้ออย่างรวดเร็ว เป็นวัยที่มี
การดูแลด้านโภชนาการที่ส�ำคัญเป็นล�ำดับ กิจกรรมมาก และเด็กมักมีความสนใจสิ่งแวดล้อม
แรก คื อ การควบคุ ม อาหารและออกก� ำ ลั ง กาย มาก ท�ำให้ความสนใจในการรับประทานอาหารลดลง
ผู ้ ป กครองควรให้ เ ด็ ก รั บ ประทานอาหารที่ ดี ต ่ อ ประกอบกับป็นช่วงทีพ่ ฒ ั นาความเป็นอิสระ ตวามเป็น
สุขภาพ ในปริมาณที่เหมาะสม รวมถึงส่งเสริมให้เด็ก ตัวของตัวเอง เด็กจึงปฏิเสธอาหาร ความอยากอาหาร
ออกก�ำลังกายสม�ำ่ เสมอ ซึง่ ผูป้ กครองควรให้การดูแล ของเด็กไม่แน่นอน บางวันรับประทานมาก บางวันรับ
ดังนี้ ประทานน้อยหรือบางวันไม่รับประทานเลย ท�ำให้มี
1) ควบคุ ม ปริ ม าณอาหารของเด็ ก ภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยนี้สูง
รับประทานผักผลไม้ที่มีกากใยเพิ่มขึ้น หลีกเลี่ยง ดั ง นั้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาภาวะอ้ ว นและ
อาหารไขมันสูง ของทอด ไม่ซื้ออาหารที่ไขมันสูงและ ภาวะทุพโภชนาการ ผู้ปกครองควรให้ความสนใจกับ
136 วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562
ขวัญจิต เพ็งแป้น

หลักการก�ำหนดอาหารส�ำหรับเด็กวัยก่อนเรียน ฝึก มากเกินไป ควรจัดปริมาณให้พอเหมาะกับอายุเด็ก


ให้เด็กรับประทานอาหารให้ได้หลากหลายชนิด ไม่ การจัดอาหารทีม่ ปี ริมาณมากเกินไปอาจท�ำให้เด็กรับ
ควรเลือกเฉพาะอย่าง และตวรเป็นอาหารที่ย่อยง่าย ประทานอาหารเกินความต้องการของร่างกายและเป็น
ถ้าอาหารแข็งหรือเหนียวจนเคี้ยวได้ยาก ควรจะสับ โรคอ้วนได้ หรืออาจท�ำให้เด็กปฏิเสธอาหารทั้งหมด
หรือต้มให้เปื่อย และที่ส�ำคัญควรให้เด็กรับประทาน เมื่อมีปริมาณอาหารมากเกินไป
น�้ำส่วนที่เหลือจากการต้มเนื้อหรือผักด้วย เพราะจะ 5) เด็กวัยก่อนเรียนชอบรับประทานอาหาร
ได้รบั วิตามินและแร่ธาตุทมี่ อี ยู่ ซึง่ ถ้าเป็นเด็กเล็กอาจ ทีละชนิด จึงไม่ควรจัดอาหารหลากหลายชนิดปนอยู่
ใช้เป็นผักต้ม และน�้ำผลไม้ก่อน เมื่อเด็กโตขึ้น จึงให้ ในจานเดียวกัน
เป็นผักและผลไม้สด การจัดอาหารให้เด็กก่อนวัย 6) ฝกึ ให้เด็กดืม่ นมเป็นประจ�ำ วันละ 2-3
เรียนหลักการใหญ่ๆ ก็คือควรจะจัดอาหารให้มีการ แก้ว
หมุ น เวี ย นกั น หลากหลายชนิ ด และเสริ ม ด้ ว ยตั บ 2. การป้องกันฟันผุและดูแล องปาก
สัปดาห์ละครัง้ เตรียมอาหารในปริมาณพอเหมาะ รส เด็กวัยก่อนเรียน เป็นวัยที่มีฟันน�้ำนมขึ้นครบ
ไม่จดั และเคีย้ วง่าย หลีกเลีย่ งของขบเคีย้ ว ขนมหวาน แล้ ว การดู แ ลสุ ข ภาพฟั น ที่ ดี ข องเด็ ก วั ย นี้ จึ ง เป็ น
จัด ลูกอม น�ำ้ อัดลม และอาหารไขมันสูงมากๆ ควรให้ สิ่งส�ำคัญ เนื่องจากฟันน�้ำนมที่ดีจะน�ำไปสู่ฟันแท้ที่ดี
เด็กได้ร่วมโต๊ะรับประทานอาหารกับผู้ใหญ่ โดยใน ด้วย นอกจากมีผลต่อฟันแท้แล้ว ยังมีผลต่อการเจริญ
เติบโตของร่างกายและพัฒนาการด้านการพูดด้วย
การจัดอาหารให้เด็กวัยก่อนเรียน ควรค�ำนึงถึงสิ่ง
เด็กวัยนี้จึงควรได้รับการสอนการแปรงฟันที่ถูกต้อง
ต่อไปนี้ 13
ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์และการใช้ไหมขัดฟันที่
1) เด็กอยูใ่ นวัยทีต่ อ้ งการเป็นอิสระ มีความ
ถูกต้อง แต่ในเด็กเล็กที่พัฒนาการกล้ามเนื้อมือยัง
เป็นตัวของตัวเองสูง ดังนัน้ จึงควรให้เด็กเลือกอาหาร
ไม่ดีพอ ผู้ปกครองควรช่วยแปรงฟันให้หรือดูแลใน
เอง และฝึกให้รับประทานอาหารด้วยตนเอง
ขณะที่เด็กแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง หรือทุก
2) เด็กมีความสนใจช่วงสั้นๆ ถูกเบี่ยงเบน ครั้งหลังอาหาร ถ้าไม่สามารถท�ำได้ควรให้บ้วนปาก
ความสนใจได้ง่ายจากสิ่งแวดล้อม ดังนั้นในช่วงเวลา หลังอาหารทุกครั้ง นอกจากนี้ยังต้องควบคุมความถี่
อาหารจึงควรเป็นช่วงที่เงียบสงบ ไม่มีสิ่งดึงดูดความ ของการให้เด็กบริโภคของหวาน ขนมขบเคีย้ ว และดืม่
สนใจของเด็ก เช่น โทรทัศน์ เกมคอมพิวเตอร์ หรือ น�้ำอัดลม ที่ส�ำคัญควรกระตุ้นให้เด็กรับประทานผัก
การ์ตูน เป็นต้น ทุกชนิด และควรพาเด็กไปให้ทันตแพทย์ตรวจฟัน
3) เด็กเรียนรูด้ ว้ ยการเลียนแบบ ดังนัน้ บิดา ทุก 6-12 เดือน เพื่อประเมินสุขภาพช่องปาก หาก
มารดาจึงควรเป็นแบบอย่างในการรับประทานอาหาร พบสภาพฟันที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคจ�ำเป็นต้องได้รับ
หลากหลายชนิดโดยเฉพาะการรับประทานผัก และ บริการป้องกันฟันผุ ด้วยการเคลือบหลุมร่องฟัน
ควรจัดให้เด็กมีโอกาสรับประทานอาหารร่วมโต๊ะกับ (sealant) หรือเคลือบฟลูออไรด์ที่ผิวฟัน ซึ่งเป็นการ
ผู้ใหญ่ ป้องกันฟันผุแต่เนิน่ ๆ และผูป้ กครองจะได้รบั ความรู้
4) คุณภาพของอาหารส�ำคัญกว่าปริมาณ เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของเด็กจาก
อาหาร ดังนัน้ อาหารทีจ่ ดั ให้เด็กในแต่ละมือ้ จึงไม่ควร ทันตแพทย์ด้วย14-16
Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice Vol. 6 No.2 July-December 2019 137
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน

3. การป้องกันการเจ็บป่วยและการติด นาที ร่างกายจะย�่ำแย่ และ ภายในเวลา 30 นาที จะถึง


เนือ่ งจากเด็กวัยก่อนเรียนยังมีภมู ติ า้ นทานต�ำ ่ ขัน้ เสียชีวติ ได้ ดังนัน้ หากผูป้ กครองมีความจ�ำเป็นต้อง
มีโอกาสเจ็บป่วยและติดเชื้อได้ง่าย จึงควรได้รับการ ท�ำธุระนอกรถ ต้องน�ำเด็กลงไปด้วยทุกครั้ง
ดูแลในเรื่องสุขวิทยาส่วนบุคคลจากผู้ปกครองเพื่อ 4.1.3 ก่อนถอยรถออกจากบ้าน หรือ
ป้องกันการเจ็บป่วยและโรคติดเชื้อ เช่น การสอนล้าง ในเขตชุมชน ให้ส�ำรวจหลังรถก่อนว่า มีเด็กเล็กซึ่งไม่
มือก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่าย จัดให้ สามารถมองเห็นได้จากกระจกส่องหลังอยู่หรือไม่
เด็กรับประทานอาหารที่สุกสะอาด การดื่มนมและน�้ำ 4.1.4 ควรหลีกเลีย่ งการให้เด็กซ้อนรถ
สะอาด การสอนแปรงฟันอย่างถูกวิธี เป็นต้น หากเด็ก จักรยานยนต์ และหากมีความจ�ำเป็นต้องใส่หมวก
ที่ยังปฏิบัติด้วยตัวเองได้ไม่ดี ผู้ปกครองควรให้การ นิรภัยที่มีขนาดเหมาะสมกับอายุทุกครั้ง
ช่วยเหลือไม่ปล่อยให้เด็กท�ำเองตามล�ำพัง และหาก 4.1.5 เด็กทีโ่ ดยสารรถจักรยาน ควรมี
เด็กมีอาการเจ็บป่วยไม่ควรให้เด็กไปโรงเรียน หรือ ทีน่ งั่ พิเศษส�ำหรับเด็ก โดยทีน่ งั่ นีย้ ดึ ติดกับรถจักรยาน
ศูนย์เด็ก เพราะจะเป็นการแพร่กระจายเชื้อ นอกจาก อย่างแข็งแรง มีเข็มขัดยึดเด็กติดกับที่นั่ง มีที่วางเท้า
นี้เด็กควรได้รับการดูแลให้ได้รับการฉีดวัคซีนเข็ม เพื่อป้องกันเท้าเข้าซี่ล้อและเด็กควรสวมใส่หมวก
กระตุ้นตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด16 นิรภัย
4. การป้องกันการบาดเจ็บ 4.1.6 เมื่อให้เด็กถีบรถจักรยาน 3 ล้อ
ผูป้ กครองควรมีความรูเ้ กีย่ วกับการบาดเจ็บที่ หรือวิง่ เล่นบนทางเท้าผูป้ กครองควรดูแลอย่างใกล้ชดิ
อาจเกิดขึ้นตามลักษณะพัฒนาการของเด็กวัยก่อน 4.2 การพลัดตกหกล้ม
เรียนกลุ่มนี้ ตลอดจนวิธีการป้องกัน โดยสิ่งส�ำคัญที่ 4.2.1 ราวบันไดและระเบียงไม่ควรมี
ผูป้ กครองจะช่วยลดอุบตั เิ หตุจากสาเหตุของการบาด ช่องห่างเกิน 9 เซนติเมตร เพื่อป้องกันเด็กลอดได้ 18
เจ็บได้ดีที่สุด คือ การจัดสภาพแวดล้อมภายในและ 4.2.2 หน้าต่างหรือระเบียงควรสูงไม่
นอกบ้านให้ปลอดภัย และสอนให้เด็กรูจ้ กั ระวังตนเอง น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ป้องกันเด็กปีนป่ายเองได้
จากอุบตั เิ หตุทอี่ าจเกิดขึน้ ได้ เช่น อุบตั เิ หตุจราจร การ โดยอาคารตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป (ซึ่งพบว่ามีการบาด
พลัดตกหกล้ม การข้ามถนน และการจมน�้ำ ดังนี้ เจ็บรุนแรงจากการตก) ต้องมีความสูงของราวหรือ
4.1 อุบัติเหตุจราจร17 แผ่นกันตก ไม่ต�่ำกว่า 120 เซนติเมตรจากพื้น18
4.1.1 การโดยสารรถยนต์ ควรมีที่รัด 4.2.3 อาคารต้องไม่มจี ดุ ทีส่ ามารถปีน
ระหว่างที่นั่งเด็กกับตัวเด็ก ไม่ควรให้เด็กนั่งที่นั่งข้าง ป่ายได้ หมายถึง ต้องไม่มโี ครงสร้างลักษณะทีเ่ ป็นแท่ง
คนขับ เพราะถุงลมทีก่ างออกขณะเกิดอุบตั เิ หตุนนั้ จะ ในแนวนอนและมีชอ่ งรูให้วางเท้าทีเ่ อือ้ ต่อการปีนป่าย
ท�ำให้เด็กได้รับบาดเจ็บได้ รวมไปถึงต�ำแหน่งการวางของทีใ่ กล้ราวกันตก ทีท่ ำ� ให้
4.1.2 ไม่ ทิ้ ง เด็ ก ไว้ ใ นรถคนเดี ย ว สามารถปีนป่ายได้ เช่น ตูแ้ อร์ (คอมเพรสเซอร์) ทีว่ าง
เพราะความร้อนภายในรถจะท�ำให้เกิดอันตรายต่อ ไว้บริเวณระเบียง เป็นต้น17, 18
เด็กได้ เพราะในเวลา 5 นาที อุณหภูมิในรถจะเพิ่มสูง 4.2.4 เฟอร์นิเจอร์ เช่น โต๊ะ ตู้ ต้องไม่มีมุม
ขึ้นจนไม่สามารถทนอยู่ในรถได้ หากอยู่ในเวลา 10 แหลมคม หากมีควรใส่อุปกรณ์กันกระแทกทุกมุม
138 วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562
ขวัญจิต เพ็งแป้น

4.2.5 ตู้วางของต่างๆ ต้องวางบนพื้น สามารถเข้าถึงได้ บิดามารดาหรือผู้ปกครองต้องเฝ้า


ราบ มั่นคง ไม่ล้มง่ายเมื่อเด็กโหน หรือ ปีนป่าย หาก ดูตลอดเวลา เพราะเด็กอาจจะจมน�้ำในเสี้ยวเวลาที่
ไม่แน่ใจว่าตู้อยู่ในสภาพที่มั่นคงให้ยึดติดตู้ด้วยสาย บิดามารดา/ผู้ปกครองเผลอชั่วขณะที่เดินไปท�ำงาน
ยึดกับก�ำแพง อื่นๆ
4.2.6 หมั่นตรวจสอบประตูรั้วบ้าน 4.4.3 สอนให้เด็กว่ายน�ำ ้ หรือสอนการเลีย้ ง
โดยเฉพาะประตูอลั ลอยด์ซงึ่ มีขนาดใหญ่และน�ำ้ หนัก ตัวเองเมื่อตกน�้ำ เพื่อสามารถโผล่พ้นน�้ำชั่วขณะได้
มาก ว่ามีความมั่นคงหรือไม่ ประตูอาจหลุดจากราง 5. การส่งเสริมพัฒนาการ
และล้มทับเด็กได้ง่ายหากเด็กปีนป่ายประตู บิดามารดาหรือผู้ปกครองควรมีความรู้เกี่ยว
4.2.7 พื้นสนามเด็กเล่น ที่สามารถลด กับกระบวนการพัฒนาการเด็ก การอบรมเลี้ยงดูเด็ก
ความเสี่ ย งต่ อ การบาดเจ็ บ ที่ ส มอง คื อ พื้ น ยาง และแนวทางกระตุ้นพัฒนาการเด็ก จะช่วยให้บิดา
สังเคราะห์ หรือพื้นทรายที่ลึก 20 เซนติเมตรขึ้นไป มารดา/ผู ้ ป กครองเข้ า ใจพฤติ ก รรมเด็ ก ระหว่ า ง
หากเด็กตกจากทีส่ งู ได้รบั บาดเจ็บทีศ่ รี ษะ ควรปรึกษา ปฏิสัมพันธ์กับเด็ก ท�ำให้สามารถตอบสนองความ
แพทย์ ต้องการที่เหมาะสมกับเด็กได้ เด็กควรได้รับการกระ
4.3 การข้ามถนน ตุ้นหรือส่งเสริมพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
4.3.1 ไม่ ค วรให้ เ ด็ ก ข้ า มถนนตาม 5.1 ในเด็กที่มีโอกาสเสี่ยงต่อพัฒนาการ
ล�ำพัง ควรมีผู้ปกครองพาข้าม ล่าช้า การกระตุ้นอาจเป็นการเร้าด้วยการพูดจากผู้
4.3.2 ขณะเดินบนฟุตบาท ควรให้เด็ก ปกครองทุกวัน การเล่นกับลูก การพูดคุย การเล่า
เดินเลนขวาหันหน้าเข้าหารถเพือ่ ให้เห็นรถทีว่ งิ่ สวนทาง นิทานให้ฟัง มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีและแสดงความรักต่อ
4.3.3 ขณะข้ามถนนให้มองซ้ายและ ลูกอย่างสม�่ำเสมอ โดยการกอด อุ้ม สัมผัส พูดคุย
มองขวา และก็มองซ้ายอีกทีกอ่ นข้าม ถ้าเป็นไปได้ควร ชื่ น ชม และเล่ น กั บ ลู ก ในบรรยากาศครอบครั ว ที่
ให้เด็กข้ามบริเวณที่มีสะพานลอยหรือทางม้าลาย อบอุ่น ปราศจากความรุนแรงจะช่วยส่งเสริมให้เกิด
4.4 การจมน�้ำ ความรักความผูกพันที่มั่นคง หากได้รับการส่งเสริม
4.4.1 เด็กมีโอกาสเสี่ยงต่อการจมน�้ำ พัฒนาการหรือ กระตุ้นพัฒนาการตามศักยภาพของ
จากการเล่นน�้ำในอ่างอาบน�้ำ สระว่ายน�้ำ หรือการวิ่ง เด็กจากผู้ปกครองอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่องอย่าง
เล่น ใกล้แหล่งน�้ำ เช่น สระน�้ำ คลอง โดยเฉพาะเด็กที่ มีแบบแผน เด็กจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้น
อายุต�่ำกว่า 5 ปี เนื่องจากการทรงตัวยังไม่ดี จึงมักล้ม 5.2 การส่งเสริมการเล่น มีความส�ำคัญต่อ
ในท่าที่ศีรษะทิ่มลงได้ง่าย ควรดูแลอย่างใกล้ชิด และ พัฒนาการของเด็ก ผู้ปกครองควรส่งเสริมการเล่น
ควรก�ำจัดแหล่งน�ำ้ ทีไ่ ม่จำ� เป็นในบ้านและ ละแวกบ้าน ตามวัย และสนับสนุนให้เด็กรู้จักแบ่งปันของเล่นให้
ดูแลไม่ให้เด็กอยู่ใกล้แหล่งน�้ำ อาจท�ำรั้วให้สูงและ กั บ ผู ้ อื่ น และควรจั ด สภาพแวดล้ อ มภายในและ
ระหว่างช่องรัว้ ควรมีชอ่ งว่างทีเ่ ด็กไม่สามารถลอดตัว ภายนอกบ้านที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ควรมีพื้นที่ให้
ผ่านเข้าไปได้ เด็กสามารถ เดิน วิง่ หรือของเล่นทีส่ ง่ เสริมพัฒนาการ
4.4.2 สิ่งแวดล้อมที่มีแหล่งน�้ำที่เด็ก เด็กในด้านต่างๆ
Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice Vol. 6 No.2 July-December 2019 139
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน

5.4 บิดามารดาหรือผู้ปกครองควรฝึกให้ บทบาทส�ำคัญในการดูแลให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง


เด็ ก มี ทั ก ษะสมองเพื่ อ ชี วิ ต ที่ ส� ำ เร็ จ (Executive ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
Functions หรือ EF) ซึ่งเป็นการท�ำงานของสมองส่วน ตามวัยในทุกๆด้าน เพื่อให้เด็กได้รับโอกาสในการ
หน้าที่ท�ำให้คิดเป็น ท�ำงานเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหา เรี ย นรู ้ ต ามวั ย ได้ อ ย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพและสามารถ
เป็น อยู่ร่วมกับผู้อื่นเป็น และหาความสุขเป็น บิดา เติบโตอย่างมีคุณภาพต่อไป โดยมีข้อเสนอแนะต่อ
มารดาควรให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยการลงมือท�ำ จะช่วย บทบาทของพยาบาลวิชาชีพโดยเฉพาะที่ปฏิบัติงาน
ให้ เ ด็ ก มี โ อกาสฝึ ก คิ ด ด้ ว ยตนเอง ฝึ ก สั ง เกต คิ ด ใกล้ชดิ กับผูป้ กครองและผูด้ แู ลเด็กในการดูแลเด็กวัย
วางแผน แก้ไขปัญหาจากการได้ลงมือปฏิบัติ เรียนรู้ ก่อนเรียนทัง้ ทีค่ ลินกิ สุขภาพเด็กดีและในศูนย์พฒ ั นา
จากประสบการณ์ที่หลากหลาย การฝึกให้เด็กยับยั้ง เด็กเล็ก ในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน
ชั่งใจ การควบคุมอารมณ์ การคิดวิเคราะห์ การคิด ดังนี้
สร้างสรรค์ การมีทักษะสังคมร่วมมือกับคนอื่น EF 1. ประเมิ น เพื่ อ ค้ น หาและติ ด ตามปั ญ หา
เป็นศักยภาพที่มนุษย์ทั้งหลายรวมทั้งเด็กไทยทุกคน สุขภาพ ปัญหาพัฒนาการของเด็กวัยก่อนเรียน พร้อม
มีมาแต่ก�ำเนิด แต่ศักยภาพเหล่านี้ต้องได้รับการ ทั้งแจ้งผลการประเมินแก่ผู้ปกครองเพื่อลดปัจจัย
ฝึกฝนอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดช่วงวัยเด็กจนถึงวัยผูใ้ หญ่ เสี่ยงและเฝ้าระวังปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ตอนต้นประมาณ 25-30 ปี เพือ่ ให้เส้นใยประสาทก่อ 2. แนะน�ำผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพเด็ก
รูปขยายตัวจนฝังเป็นชิป กลายเป็นบุคลิกภาพทีต่ ดิ ตัว ก่อนวัยเรียนในปัญหาส�ำคัญที่พบได้บ่อย ทั้งด้าน
ไปตลอดชีวิต EF มีอัตราการพัฒนาเติบโตดีที่สุดใน โภชนาการ การส่งเสริมสุขนิสัยในการรับประทาน
ช่วงวัย 3-6 ปี ดังนั้นเด็กช่วงปฐมวัยจึงเป็นช่วงเวลา อาหารทีเ่ หมาะสม การดูแลช่องปากและฟัน การสร้าง
ดีที่สุด ที่จะสร้างคุณลักษณะและบุคลิกภาพให้เด็ก เสริ ม ภู มิ คุ ้ ม กั น โรค ตามตารางเวลาที่ ก ระทรวง
เติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ได้ 19 สาธารณสุขก�ำหนด การป้องกันโรคติดเชือ้ และป้องกัน
การแพร่กระจายเชื้อ การป้องกันการพลัดตกหกล้ม
สรุปและข้อเสนอแนะ บาดเจ็บ การจมน�ำ ้ อุบตั เิ หตุจากของเล่นและยานยนต์
และการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อถวามปลอดภัยและ
เด็กวัยก่อนเรียน เป็นช่วงเวลาทีเ่ ด็กก�ำลังเจริญ อื่นๆ เป็นต้น
เติบโต มีพฒ ั นาการหลายด้าน และพัฒนาการส่วนใหญ่ 3. ให้ค�ำปรึกษาและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าแก่
ขึน้ อยูก่ บั การปรับตัวให้คนุ้ เคยกับสิง่ แวดล้อม ตลอดจน ผู้ปกครอง (anticipatory guidance) ถึงการเจริญ
การเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคมที่เหมาะสม ซึ่งจะ เติบโตและล�ำดับขัน้ พัฒนาการในช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม
ด�ำเนินไปอย่างไม่หยุดยั้งและเพิ่มความซับซ้อนมาก เพื่อสามารถถูกกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการก้าวหน้า
ยิง่ ขึน้ ถึงแม้เด็กจะเริม่ ช่วยเหลือตนเองได้บา้ ง แต่สว่ น มากทีส่ ดุ ตามศักยภาพทีม่ อี ยู่ การให้ขอ้ มูลเร็วเกินไป
ใหญ่ก็ยังต้องพึ่งพาผู้ดูแล หากผู้ปกครองดูแลไม่ถูก ผูป้ กครองอาจลืมเมือ่ ถึงเวลาส�ำคัญ แต่ถา้ ช้าเกินไปก็
ต้องเหมาะสม อาจส่งผลให้เด็กมีปัญหาสุขภาพ เกิด จะไม่เกิดประโยชน์
การเจ็บป่วยและอุบัติเหตุได้ ดังนั้นผู้ปกครองจึงมี

140 วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562


ขวัญจิต เพ็งแป้น

เอกสารอ้างอิง 9. Frequently ill children cause delayed development.


[cited 2017 May 3] Available from: URL: https://
1. Onis MD, Blossner M, Borghi E. Global prevalence bit.ly/2IOKbIO.
and trends of overweight and obesity among 10. Chiangkraivej P, Sonthimueng V. Pediatric trauma.
preschool children. American Journal of Clinical Songkhla: Faculty of Medicine, Prince of Songkla
Nutrition 2010;92(5):1257–1264. University;2013. (In Thai)
2. Bureau of Non-Communicable Diseases, Department 11. National Institute of child health. Information and
of Disease Control. Annual Report 2015. Available situations for the implementation of early childhood
from: URL: http://www.thaincd.com/document/ development promotion in 2016-2018. Available
file/download/paper-manual/Annual- from: URL: http://nich.anamai.moph.go.th/down-
report-2015.pdf 2558. load/2562/HDC/analysis%20Early%20child-
3. Uengarporn N. Nutritional status in preschool hood28.2.2019.pdf
children in area of Suranaree University of 12. Kanchanachitra C., et al. Thai Health 2008. Nakhon
Technology. Department of Pediatrics of Medicine Pathom: Institute for Population and Social Research
Suranaree University of Technology;2013. (In Thai) Mahidol University; 2008. (In Thai)
4. Raktao U, Wongwech C. Knowledge, Attitude and 13. Singhasame P, Suwanwaha S and Sarakshetrin A.
Practice of Parents/Guardians Regarding Oral Health Nutritional Promotion in Pre-School Children. The
Care of Pre-school Children. The Southern College Southern College Network Journal of Nursing and
Network Journal of Nursing and Public Health Public Health 2017; 4(3): 226-235. (In Thai)
2015;2(1):52-64. (In Thai) 14. Dental Public Health Bureau, Department of Health.
5. Dental Public Health Bureau, Department of Health. Survey Report7th oral health status in Thailand
Survey Report7th oral health status in Thailand 2012. Available from: URL: http://dental.anamai.
2012. Available from: URL: http://dental.anamai. moph.go.th/elderly/academic/full99.pdf
moph.go.th/elderly/academic/full99.pdf 15. Muang Noi P, Empremsil S, Rojmahamongkol P,
6. Jamphalikit S, Baramee C. Teaching Guide for Piyasil W, Chuensuwan I. Guide for parents to
Health Promotion in the Bachelor of Nursing. Khon disseminate knowledge on child care and development
Kaen: LP Printing Depot Limited Partnership; 2012. “Kindergarten children 3-6 years.”Available from:
(In Thai) URL: http://www.thaipediatrics.org/Media/
7. Ruangchanaset S. Danger and toxins in children. media-20171010123112.pdf
Bangkok: Chai Charoen;2008. (In Thai) 16. Tips for health care for preschool children. [cited
8. Mosuwan L. Food and nutrition in the early stages 2017 October 8 ] Available from: URL:http://
of life: Origin of health and long-term disease, resource.thaihealth.or.th/media/knowledge/14763
nutrition in children: Knowledge to practice. 17. Child Safety Promotion and Injury Prevention
Bangkok: Beyond Enterprise;2009. (In Thai) Research Center. CSIP NEW UPDATE!!. Available
from: URL: http://www.csip.org/

Thai Journal of Nursing and Midwifery Practice Vol. 6 No.2 July-December 2019 141
บทบาทผู้ปกครองในการป้องกันปัญหาสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียน

18. The Association of Architects under Royal Patronage. 19. Thai Health Promotion Foundation. EF (Executive
Consciousness of architects and the design of Functions & Self-Regulation), Growth Mind set
balconies, high-rise buildings. Available from: Grit. [cited 2017 December 22]. Available from:
URL: http://oldsite.asa.or.th/th/node/100481 URL: https://bit.ly/2KPKKo.

142 วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2562

You might also like