You are on page 1of 16

วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 18 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
ฐิติมา ชูใหม่*

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สาคัญของประเทศชาติเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้า
และมั่นคง ในปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรในวัยเด็กลดน้อยลงแต่มีประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น เด็กช่วงวัยนี้จะมี
พัฒนาการการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเด็กที่เกิดมาจะต้องเป็นเด็กที่มีความพร้อมทั้งทางด้านสติปัญญาและ
ความฉลาดทางอารมณ์การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพนั้น เด็กจะต้องมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงมีความจาเป็นที่เด็กจะต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาอย่าง
ต่อเนื่องไปจนถึงวัยรุ่น โดยเฉพาะพัฒนาการด้านสติปัญญาและอารมณ์ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตทั้ งใน
ปัจจุบันและอนาคต(1)
ซึ่งการดูแลเด็กปฐมวัยมักให้ความสาคัญกับการเจริญเติบโต โดยใช้วิธีการชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง แล้วปล่อยให้
พัฒนาการเกิดขึ้นตามวัย ต่อมาความตื่นตัวทางวิทยาการใหม่ๆ ส่งผลให้หันมาสนใจและให้ความสาคัญต่อการส่งเสริม
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี ทั้งในกลุ่มเด็กปกติ และเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ สาหรับลักษณะพัฒนาการเด็ก
จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามลาดับขั้นตอนโดยเด็กจะชัน คอ คว่า คลาน นั่ง ยืน เดิน และวิ่งได้ตามลาดับ ซึ่งแต่ละคนก็จะมี
แบบฉบับลักษณะเฉพาะของตนเอง เช่นพูดเร็ว - ช้าไม่เท่ากัน พื้นฐานอารมณ์แตกต่างกัน เป็นต้น ปัจจัยที่มีผลกระทบ
ต่อพัฒนาการเด็ก ได้แก่ พันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่ วุฒิภาวะและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูใน
ภาพรวมพัฒนาการเด็กประกอบด้วยพัฒนาการด้ านการเคลื่อนไหว ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา ด้าน
ความเข้าใจภาษาและการใช้ภาษา ด้านการช่วยเหลือตนเองและทักษะทางสังคม(2)
ในอดีตพบว่าเด็กไทยมีปัญหาเรื่องขาดสารอาหาร น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงดูเด็ก ซึ่งพบว่าเด็กมีแนวโน้มน้าหนักเกินเกณฑ์หรืออ้วน
การศึกษาพัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย ในปี พ.ศ. 2544 ด้านภาวะโภชนาการของเด็กปฐมวัยเมื่อเปรียบเทียบ
กับเกณฑ์อ้างอิงน้าหนักส่วนสูง และเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของประชาชนไทย อายุ 1 – 19 ปี พบว่า ภาวะ
โภชนาการจากการเทียบน้าหนักตามอายุมากกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 7.1 น้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 6.9 ด้านประเมิน
ภาวะโภชนาการจากส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ พบว่า เตี้ย ร้อยละ 8.7 ค่อนข้างเตี้ย ร้อยละ 9.8 สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ
2.7 ค่อนข้างสูง ร้อยละ3.1 และการประเมินภาวะโภชนาการน้าหนักตามส่วนสูง พบว่า มีภาวะอ้วน ร้อยละ 6.8 ผอม
ร้อยละ 5.1 แสดงให้เห็นว่าปัญหาเด็กปฐมวัยมีภาวะอ้วนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น(3)
จากการสารวจภาวะสุขภาพ พัฒนาการ และการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ.
2542 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2553 โดยสานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ด้วยแบบทดสอบ DENVER II
พบว่า เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการรวมปกติทุกด้าน ร้อยละ 71.7, 72.0, 67.7 และ 72.0 ตามลาดับโดยพัฒนาการที่พบ
สงสัยล่าช้ามากที่สุดได้แก่ ด้านภาษา รองลงมา คือ การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและการปรับตัวพัฒนาการทางสังคม และ
การช่วยเหลือตนเอง การใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ตามลาดับ ซึ่งพัฒนาการดังกล่าวเป็นพื้นฐานของสติปัญญา และสาคัญ
ต่อกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก เป็นการสูญเสียโอกาสพัฒนาสมองในช่วงระยะที่สมองเจริญเติบโตหรือเรียกว่า
“หน้าต่างแห่งโอกาส”(4)
…………………………………………………………………………………………………………………
*นักวิชาการสาธารณสุข
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 19 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

จากแผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่ งชาติ คุณภาพและต่อเนื่อง ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงให้


ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ ความส าคั ญ กับ การพั ฒ นาเด็ ก ตามกลุ่ มวั ย ตั้ งแต่ เ ด็ ก
การพัฒนาคน สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง ปฐมวัย วัยเรียนและวัยรุ่น เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการ
ยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกกลุ่ม ส่งเสริมพัฒนาการให้มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อย
วัยให้มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีระเบียบวินัย ละ 85 รวมทั้งการส่งเสริม IQ และ EQ เพื่อมีความ
มีจิตสานึกวัฒนธรรมที่ดีงามและรู้คุณค่าความเป็นไทย ฉลาดทั้งทางสติปัญญาเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 100 และมี
มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต มีภูมิคุ้มกันต่อ ความฉลาดทางอารมณ์ไ ม่ต่ ากว่า เกณฑ์ มาตรฐานไม่
การเปลี่ยนแปลง และเป็นพลังทางสังคมในการพัฒนา น้อยกว่าร้อยละ 70 จากการส ารวจพัฒนาการเด็ก
เศรษฐกิจ และสั ง คมของประเทศโดยมีเปู าหมายการ ปฐมวัยของกรมอนามัย ตั้งแต่ปี 2542-2553 พบว่า
พั ฒ นาให้ ค นไทยทุ ก คนมี คุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง ร่ า งกาย พัฒนาการรวมปกติของเด็กปฐมวัยในช่วงปี 2542-
จิตใจ และสติปัญญา โดยมีระดับค่าเฉลี่ยเชาวน์ปัญญา 2550 มีแนวโน้มลดลง และปรับเพิ่มขึ้นในปี 2553 โดย
ของเด็กไม่ต่ากว่าค่ากลางมาตรฐานสากลที่ระดับ 100 เด็กอายุ 1-3 ปี มีพัฒนาการรวมปกติมีแนวโน้มลดลง
ประกอบกับรัฐบาลก็ได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาเด็ก เช่นกัน ส่วนเด็ก 4-5 ปี มีแนวโน้มลดลงในช่วงปี 2542-
และเยาวชนโดยเฉพาะเด็ ก ปฐมวั ย จึ ง ได้ จั ด ท าแผน 2550 และปรับเพิ่มขึ้นในปี 2553 ในขณะที่เด็กที่สงสัย
ยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้า มีพัฒนาการล่าช้ามีถึงร้อยละ 29.7 29 32.3 และ 29.7
ประถมศึกษา) ขึ้น เพื่อจะได้พัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคน ตามลาดับ ดังตารางที่ 1 (5)
ในประเทศไทยได้รับการพัฒนารอบด้านตามวัย อย่างมี

ตารางที่ 1 แสดงการสารวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยของกรมอนามัย ตั้งแต่ปี 2542-2553

ช่ วงอายุ / ปี ทีส่ ารวจ 2542 2547 2550 2553


1-5 ปี
พัฒนาการปกติ 71.1 71.0 67.7 70.3
สงสัยล่าช้า 29.7 29.0 32.3 29.7
1-3 ปี
พัฒนาการปกติ 78.2 81.3 74.9 71.4
สงสัยล่าช้า 21.8 19.7 25.1 28.6
4-5 ปี
พัฒนาการปกติ 62.9 59.2 57.9 68.2
สงสัยล่าช้า 27.1 41.8 42.1 31.8
ที่มา: โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ (ฉบับปรับปรุ ง 21 ม.ค.57)
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 20 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

แนวคิดเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย มาก คื อ พลั ง งานและโปรตี น ในขณะเดี ย วกั น ยั ง


เด็กปฐมวัย คือ เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 เกี่ยวข้องกับสารอาหารปริมาณน้อยคือวิตามินและแร่
ปี 11 เดือน 29 วัน โดยธรรมชาติของเด็กปฐมวัยนั้น ธาตุบางชนิดเช่น แคลเซียม สังกะสี ไอโอดีน วิตามินเอ
เป็ น สิ่ ง ที่ มี แ ละเป็ น อยู่ ใ นตั ว เด็ ก ติ ด ตั ว เด็ ก มาตั้ ง แต่ เป็นต้น เด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี มีการเจริญเติบโต
ปฏิสนธิเป็นทารกและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เมื่อพิจารณา ทางด้านสมองมากกว่า ด้านร่างกายเช่นเดียวกับในช่วง
ตามธรรมชาติของเด็ก ซึ่งมี พัฒ นาการด้ านความ ที่อยู่ในครรภ์มารดา หลังจากนั้นสมองจะมีการพัฒนา
เจริญเติบโต วุฒิภาวะ การเรียนรู้ และความต้องการ ไปเรื่อยๆ ควบคู่กับการเจริญเติ บโต ทารกแรกเกิดจะมี
ต่า งๆ ทั้ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ ช่ ว งอายุ แ ละพัฒ นาการตาม น้าหนักตัวประมาณ 3,000 กรัม น้าหนักตัวจะเพิ่มขึ้น
ธรรมชาติของเด็ก ซึ่งวัยเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ อย่างรวดเร็วในช่วงปีแรก โดยมีน้าหนักตัวเป็น 2 เท่า
แปดปีหรือเด็กปฐมวัย เป็นช่วงระยะที่สาคัญที่สุดของ ของน้าหนักแรกเกิดเมื่ออายุ 5 เดือน และประมาณ 3
พัฒนาการทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ เท่าของแรกเกิดเมื่ออายุ 1 ปีหลังจากนั้น น้าหนักตัวจะ
จิตใจ สังคมและบุคลิกภาพ(6) เพิ่มเพียงปีละ 2-3 กิโลกรัม สาหรับความยาวของเด็ก
แรกเกิด โดยเฉลี่ยประมาณ 50 เซนติเมตร และที่อายุ
แนวคิดเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย 1 ปีเพิ่มเป็น 1.5 เท่าของส่วนสูงแรกเกิดหรือประมาณ
ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสาคัญของการ 75 เซนติเมตร ที่อายุ 4 ปีเพิ่มเป็น 2 เท่าของแรกเกิด
มี สุ ข ภาพดี ต ลอดชี วิ ต โดยเฉพาะในช่ ว งที่ มี ก าร หรือประมาณ 100 เซนติเมตร ดังนั้น อาหารจึงเป็น
เจริญเติบโตตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงวัยรุ่น เนื่องจาก ปัจจัยสาคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพของเด็ก รวมทั้ง
การเจริ ญเติ บ โตทั้ง ด้ านสมองและร่ า งกาย หากขาด พัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ 5 หมู่และมี
อาหาร สิ่งที่พบเห็น คือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย ซึ่งเป็น ความหลากหลาย ในปริ ม าณที่ เ หมาะสม จะมี ก าร
การแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่ เจริญเติบโตดีการพัฒนาของสมองดีเด็กจะฉลาด เรียนรู้
เพียงด้านร่ างกายเท่านั้น ยั งมีผลต่อการพัฒนาสมอง เร็ ว มี ค วามสนใจต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง เป็ น ผลท าให้
ด้วยทาให้สติปัญญาต่า เรียนรู้ช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม พัฒนาการของเด็กเหมาะสมตามวัย แต่ในทางตรงกัน
เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทางานจะต่า ส่งผลต่อ ข้าม เด็กที่ได้รับอาหารไม่เพียงพอ ย่อมมีผลทาให้การ
การพัฒนาประเทศเมื่อพูดถึงการเจริญเติบโตของเด็ ก พัฒนาของสมองไม่ดี ไม่ฉลาด ไม่อยากเรียนรู้สิ่งต่างๆ
หลายคนเข้าใจว่า ดูได้จากน้าหนักและส่วนสูง ซึ่งเป็น รอบตั ว และเรี ย นรู้ ช้ า เป็ น ผลให้ มี พั ฒ นาการไม่
เรื่ องที่ถูกต้อง แต่ส่ ว นสู งแสดงถึงการเจริ ญเติบโตได้ เหมาะสมตามวัย แม้เด็กจะได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ
ดีกว่าน้าหนัก เนื่องจากการเจริญเติบโตด้านส่วนสูงเป็น จะไม่สามารถปรับปรุงให้ ดีขึ้นได้ หากยังไม่ได้แก้ไขใน
ผลจากความสมดุ ล ของการได้รั บ สารอาหารปริมาณ เรื่องการขาดอาหารของเด็กเสียก่อน(7)
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 21 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เพศและบุคลิกภาพของบุคคล ต้องอาศัยการพัฒนาที่


เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่จะก้าวเข้าสู่การพัฒนา ต่อเนื่องอย่างเป็นลาดับขั้นจนกลายเป็นบุคลิกภาพที่
ของชีวิต เด็กจะเริ่มพัฒนาลักษณะความเป็นตัวของ ถาวรในที่สุด ซึ่งฟรอยด์ได้ให้ความสาคัญกับ ช่วงระยะ
ตัวเอง ให้ความสนใจในสิ่งรอบตัว ดังนั้น ผู้ปกครอง วิกฤติ (Crisis Period) นั่นคือช่วงระยะแรกเกิดถึงห้าปี
ได้ เ สนอแนวคิ ด ว่ า คนเราจะมี บ ริ เ วณที่ ต้ อ งการให้
หรือผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลเด็กวัยนี้ จึงควรเข้าใจ และ
สนองตอบที่เรียกว่า อีโรจีเนียส (Erogenous zone)
ยอมรับถึงลักษณะเฉพาะวัยอย่างถูกต้องเพื่อเป็นการ
ซึ่ ง บริ เ วณที่ ว่ า นี้ จ ะเคลื่ อ นย้ า ยไปเรื่ อ ยๆ ตามการ
สนับสนุน และสามารถดูแลเด็กวัยนี้ได้อย่างเหมาะสม เปลี่ยนแปลงของอายุ ถ้าบริเวณอีโรจีเนียสไปหยุดอยู่
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ของร่างกายจากลักษณะ ตรงที่ใดแล้ว ไม่ได้รับการสนองตอบที่พึงพอใจ จะเกิด
ทั่ว ไปหรื อง่ายๆ ไปสู่ ลั กษณะเฉพาะที่มีความซ้าซ้อน การติดตรึงหรือชะงักงัน (Fixation) ซึ่งทาให้มีผลต่อ
มากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในขนาด และการทา การพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลผู้นั้นไปตามบริเวณที่
หน้ า ที่ และพั ฒ นาการก็ เ ป็ น การเปลี่ ย นแปลงใน เกิดการติดตรึง ซึ่งฟรอยด์ได้กาหนดบริเวณที่อีโรจีเนียส
เคลื่อนที่ไปตามอายุไว้ 5 ระยะ ดังนี้
โครงสร้างของระบบต่างๆ ของร่างกายอย่างมีทิศทาง มี
1) ระยะปาก (Oral Stage) มีช่วง
ระเบียบ แบบแผนสืบเนื่องกัน รวมทั้งด้านอารมณ์ อายุตั้งแต่แ รกเกิดถึง 1 ปี เป็น ระยะที่ปากไวต่อการ
สังคม สติปัญญา เป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพ ตอบสนองความสุ ขนั่นคือบริเวณอีโ รจีเนียสอยู่ที่ปาก
เกิดความเพิ่มพูนทักษะ และความสามารถใหม่ๆ อัน เด็กจึงใช้ปากเพื่อสร้างความพึงพอใจ เช่น กัด ดูด อม
เนื่องจากการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย หรือเกิดขึ้นจาก ทาเสียงต่างๆ
ประสบการณ์ของบุคคล และประสบการณ์ของเด็กนั้น 2) ระยะทวาร (Anal Stage) มีช่วง
อายุตั้งแต่ 2-3 ปี เป็นระยะที่บริเวณอีโรจีเนียสย้ายไป
ย่อมมาจากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว โดยเฉพาะจากบิดา
อยู่ บ ริ เ วณช่ อ งทวารเด็ ก จึ ง มี ค วามพึ ง พอใจในการ
มารดา ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมแรกที่สาคัญที่สุดที่จะสร้าง
ขับ ถ่ า ย การฝึ ก ฝนการขั บ ถ่ า ยควรเป็ น ไปด้ ว ยความ
ประสบการณ์ให้แก่เด็ก นับตั้งแต่แรกเกิดเพื่อให้เกิด อ่อนโยน ค่อยเป็นค่อยไป
การเรี ย นรู้ อั น เป็ น ประโยชน์ ต่ อ พั ฒ นาการที่ ดี และ 3) ระยะอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
เหมาะสมต่อไป(8) อยู่ในช่วงอายุ 3-5 ปี เป็นระยะที่ฟรอยด์ให้ความสาคัญ
มากที่สุดในระยะนี้ช่วงบริเวณอีโรจีเนียสย้ายบริเวณมา
ทฤษฎีพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับของมนุษย์ (9) สาหรับ
อยู่ที่อวัยวะเพศ ดังนั้นเด็กจึงพึงพอใจที่จะสัมผัสอวัยวะ
ทฤษฎีพัฒนาการ ผู้เขียนขอนาเสนอดังนี้
เพศของตนเอง
1. พั ฒ นาการความต้ อ งการทางเพศและ
4) ระยะสงบ หรื อ ระยะแฝง
บุค ลิกภาพของฟรอยด์ (Freud’s Psychosexual
(Latency Stage) อยู่ช่วงอายุระหว่าง 6-12 ปี ระยะนี้
and Personality Development) ซิกมันด์ ฟรอยด์
เด็ ก จะได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางสั ง คม และพั ฒ นาการทาง
(Simund Freud) ผู้นากลุ่มจิตวิเคราะห์ได้เสนอแนวคิด
สติ ปั ญ ญาเป็ น ระยะของการหาบทบาทที่ เ หมาะสม
ทฤษฎีทางพัฒนาการไว้ว่าพัฒนาการความต้องการทาง
ให้กับตนเอง
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 22 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

5) ระยะสนใจเพศตรงข้าม หรือระยะ วัยที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ตลอดเวลา ทา


วัยรุ่น (Genital Stage) อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้น สิ่งที่ตนอยากทา และภูมิใจในความสาเร็จของผลงานที่
ไป โดยในระยะนี้ความต้องการทางเพศที่ถูกเก็บกดไว้ เกิดจากตนเอง
ในจิตใต้สานึกจะปรากฏขึ้นอีกครั้ง 5) ขั้นรู้จักตนเองกับไม่รู้จักตนเอง
2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอีริกสัน (Identity VS Role Confusion) อยู่ในช่วง 12 – 18 ปี
(Erikson’s Psychosocial Theory) อิริก เอช. อีริก ซึ่งเป็ นระยะวัย รุ่น ขั้นนี้ถื อว่า เป็นขั้ นวิก ฤติมากที่สุ ด
สัน (Erik H. Erikson) เป็นลูกศิษย์ที่เคยร่วมงานกับฟ เพราะเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่างความเป็นเด็กและ
รอยด์ ดังนั้นจึงมีส่วนไม่น้อยที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิด ผู้ใหญ่
ของฟรอยด์ แต่ต่างกันที่อีริกสันเน้นความสาคัญไปยัง 6) ขั้นความคุ้นเคยผูกพันกับการแยก
ปัจจัยทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมทางจิตใจ ตนเองหรืออ้างว้าง (Intimacy VS Isolation) ระยะนี้
มากกว่า นอกจากนั้น พัฒนาการของบุคคลมีการเกิด อยู่ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น เป็นวัยที่บุคคลเริ่มรู้จักตนเอง
ขึ้น อยู่ ตลอดเวลาตั้งแต่เกิดไปจนถึงเสีย ชีวิต ไม่ใช่แค่ ค้นพบตนเอง รู้จักวางแผนชีวิต และพร้อมที่จะสร้าง
เพียง 5 ระยะแรกแบบฟรอยด์ ลาดับขั้นแห่งพัฒนาการ ความสั มพันธ์กับเพศตรงข้ามในฐานะของเพื่อนสนิท
ของอีริกสันจึงแบ่งได้ 8 ขั้นตอน ดังนี้ ถือว่าเป็นวัยแห่งการแต่งงาน
1) ขั้นความไว้วางใจและไม่ไว้วางใจ 7) ขั้นห่ ว งชนรุ่นหลั งกับคิดถึงแต่
(Trust VS Mistrust) อยู่ในช่วงแรกเกิดถึง 1 ปี อีริกสัน ตนเอง (Generativity VS Stagnation) หรือขั้นความ
ให้ความสาคัญมากเพราะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาทาง เป็ น พ่ อ แม่ กั บ ขั้ น ความหยุ ด นิ่ ง (Parental VS
สังคมต่อไป Stagnation) ขั้นนี้อยู่ในช่วงผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัย
2) ขั้นของความเป็นตัวของตัวเองกับ กลางคน เป็นวัยแห่งความเป็นพ่อแม่ที่แท้จริง จะต้อง
ความไม่มั่นใจในตัวเอง (Autonomy VS Doubt) อยู่ แสดงความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่อย่างสมบูรณ์
ในช่ ว งอายุ 2-3 ปี เป็ น ระยะที่ ก ล้ า มเนื้ อ ของเด็ ก 8) ขั้นความรู้สึกมั่นคงทางใจกับท้อแท้
แข็งแรงมากขึ้น และอวัยวะต่างๆ มีการประสานงานกัน สิ้นหวัง (Integrity VS Despair) หรือขั้นบุคลิกภาพที่
ดีขึ้น สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ เป็นระยะขั้นปลายของชีวิต ใน
3) ขั้นความคิดริเริ่มกับความรู้สึกผิด ขั้น นี้จึ งเป็น ขั้ นรวมของพั ฒ นาที่ผ่ านมาทั้ ง 7 ขั้ น ถ้ า
(Initiative VS Guilt) อยู่ในช่วงอายุ 3 – 5 ปี เด็กในวัย บุคคลที่อยู่ในปัจจุบันยอมรับกับตนเองได้ว่าชีวิตที่ผ่าน
นี้ ส ามารถสร้ า งจิ น ตนาการของตนขึ้ น มาได้ และมี มาตนประสบความสาเร็จและความสุข ในทางตรงกัน
ความคิดริเริ่มเป็นของตนเอง ข้าม หากบุคคลมีปัญ หาในพัฒ นาการที่ผ่ า นมา และ
4) ขั้นความขยันหมั่นเพียรกับมีปม สะสมปัญหาไปจนถึงข้นที่ 8 จะทาให้รู้สึกไม่พอใจต่อ
ด้อย (Industry VS Inferiority) อยู่ในช่วงอายุ 6 – 11 สภาพชีวิตที่ผ่านมา รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า บุคคลนั้น
ปี การที่ อีริกสันใช้คาว่า Industry เพราะในวัยนี้เป็น จะเต็มไปด้วยความผิดหวังและท้อแท้กับปัจจุบัน
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 23 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

3. ทฤษฎีพั ฒ นาการทางเชาวน์ปั ญ ญา ประโยค มีการสร้างคาได้มากขึ้น แต่เด็กยังไม่สามารถ


ของเพียเจต์ (Piaget’s Cognitive Development ใช้สติปัญญาคิดได้อย่างเต็มที่
Theory) ระยะที่ 3 ขั้นคิดอย่างมีเหตุผลและ
ฌองเพี ย เจต์ (Jean Piaget) นั ก จิ ตวิ ท ยาชาว เป็นรูปธรรม (Concrete Operation Stage or
สวิตเซอร์แลนด์ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทาง Period of Concrete Operation) หรือขั้นปฏิบัติการ
เชาวน์ปัญญา โดยเขาพบว่าเด็กทุกคนเกิดมาพร้อมที่จะ ด้วยรูปธรรม อยู่ในช่วงอายุ 7 – 11 ปี เด็กในวัยนี้จะ
มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา และก่อให้เกิด สามารถใช้เหตุผลในการตัดสินใจปัญหาต่างๆ ได้ดีขึ้น
พั ฒ นาการทางเชาวน์ ปั ญ ญาขึ้ น ซึ่ ง มี ก ระบวนการ โดยลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คือ
สาคัญ 2 อย่างคือ การดูดซึม (Assimilation) และการ 1. สามารถสร้างจินตนาการ
ปรั บ ความแตกต่ า ง (Accommodation) ซึ่ ง ใ น ค ว า ม คิ ด ข อ ง ต น ขึ้ น ม า ไ ด้ ( Mental
กระบวนการดูด ซึมจะเกิด ขึ้น ก่อ น คื อเมื่อ เด็ กปะทะ Representations)
สัมพันธ์กับ สิ่งใดก็จะดูดซึมภาพ หรือเหตุการณ์ต่างๆ 2. เริ่มเข้าใจเกี่ยวกับการคง
ตามประสบการณ์ที่เคยประสบ และแสดงพฤติกรรมต่อ สภาพปริมาณของสสาร (Conservation)
สภาวะแวดล้ อ มใหม่ ส าหรั บ พั ฒ นาการทางเชาวน์ 3. มีความสามารถในการคิด
ปัญ ญาของเพี ย เจต์ นั้ น สามารถแบ่ ง ขั้ น ตอนทั้ ง สิ้ น 4 เปรียบเทียบ (Relational Terms)
ลาดับขั้น ได้แก่ 4. สามารถสร้ า งกฎเกณฑ์
ระยะที่ 1 ขั้ น ของการใช้ ป ระสาท เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่ได้ (Class inclusion)
สัมผัสและกล้ามเนื้อ (Sensory – Motor Operation เช่น การแบ่งแยกประเภทของสัตว์ เป็นต้น
or Reflexive) อยู่ในช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี เด็กจะ 5. มี ค วามสามารถในการ
พัฒนาการแก้ปัญหาโดยไม่ต้องใช้ภาษาเป็นสื่อ เป็นช่วง เรี ย งล าดับ (Serialization and Hierarchical
เริ่มต้นที่จะเรียนรู้ในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ถ้ามี Arrangements)
การใช้ประสาทสัมผัสมากเท่าไรก็จะช่วยพัฒนาเชาวน์ 6. สามารถคิดย้อนกลับไปมา
ปัญ ญาได้ ม ากขึ้น ด้ว ย โดยทั่ว ไปเด็ก จะรั บ รู้ สิ่ ง ที่เ ป็ น ได้ (Reversibility)
รูปธรรมได้เท่านั้น ระยะที่ 4 ขั้ น ของการคิ ด อย่ า งมี
ระยะที่ 2 ขั้ น เตรี ย มความคิ ด ที่ มี เหตุผลและอย่างเป็นนามธรรม (Formal Operation
เหตุผล หรือการคิดก่อนปฏิบัติการ (Preparation or Stage or Period of Formal Operation) หรือขั้น
Preconceptural Stage or Concert Thinking การปฏิบัติการด้วยนามธรรม อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 12 ปี
Operations) อยู่ในช่วงอายุ 2 – 7 ปี พัฒนาการเชาว์ ขึ้นไป เด็กจะเริ่มคิดแบบผู้ ใหญ่ได้ เข้า ใจในสิ่ งที่เป็ น
ปั ญ ญาของเด็ ก วั ย นี้ เ น้ น ไปที่ ก ารเรี ย นรู้ และเริ่ ม มี นามธรรม เป็นตัวของตัวเอง ต้องการอิสระ ไม่ยึดตน
พัฒนาการทางภาษาดีขึ้นด้วย โดยสามารถพูดได้เป็น เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง รู้ จั ก ก า ร ใ ช้ เ ห ตุ ผ ล ไ ด้ อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 24 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

4. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคห์ ระดับที่ 2 ระดับแสดงจริยธรรมตามกฎเกณฑ์


ลเบิร์ก (Kohlberg’s Moral Development) เป็น ของสังคม (Conventional Level) พัฒนาการระดับนี้
ทฤษฎี ข อง ลอเรนซ์ โคห์ ล เบิ ร์ ก (Lawrence จะมีการแสดงออกของพฤติกรรมที่เป็น ไปตามความ
Kohiberg) เป็นทฤษฎีที่มีแนวคิดพื้นฐานมาจากทฤษฎี คาดหวังของสังคมที่เป็นสมาชิกอยู่ โดยในขั้นนี้เด็กจะ
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเพียเจต์ โดยได้ขยาย ไม่ ค านึ ง ถึ ง รางวั ล หรื อ การลงโทษแล้ ว แต่ จ ะยึ ด ถื อ
ขอบเขตงานวิจัยให้ครอบคลุมกว้างขวางมากยิ่งขึ้น โคห์ มาตรฐานที่สังคมกาหนด ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก 2
ลเบิร์กได้สรุปทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคล ขั้น ได้แก่
ออกเป็น 3 ระดับ ในแต่ละระดับนั้นยังสามารถแบ่งได้ 1. ขั้นทาตามเพื่อเพื่อนและสิ่งที่สังคมยอมรั บ
อีก 2 ขั้นตอน รวมทั้งสิ้น 6 ขั้นตอน ดังนี้ (Interpersonal concordance of “Goodboy-
ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ์ทางสังคม (Pre - Nicegirl” orientation) เป็นขั้นของการทาตามความ
conventional Level) ในระดับนี้ เด็กจะรับรู้ถึง คิดเห็นของผู้อื่น อยู่ในอายุระหว่าง 10 – 13 ปี เป็น
กฎเกณฑ์ที่ดีและไม่ดีจากคนที่มีอิทธิพลเหนือตน เช่น ระยะที่ย่างเข้าสู่วัยรุ่น จึงให้ความสาคัญกับเพื่อนและ
พ่อแม่ ผู้ป กครอง ครู หรือเด็กที่โ ตกว่า และจะนึกถึง กลุ่มเพื่อนมาก
รางวัลและการลงโทษเป็ น ส่ วนประกอบในการแสดง 2. ขั้นกฎเกณฑ์และระเบียบ (Law and
พฤติกรรม ในระดับนี้ยังสามารถแบ่งย่อยได้อีก 2 ขั้น order orientation) เป็นการทาตามหลักของหน้าที่
ได้แก่ อยู่ระหว่างอายุ 13 – 16 ปี เด็กจะเริ่มเรียนรู้ว่าสังคมมี
1. ขั้ น ของการลงโทษและเชื่ อ ฟั ง กฎระเบียบที่ถือปฏิบัติ และแต่ละคนมีหน้าที่บทบาทใน
(Punishment and obedience orientation) เป็น สั งคม ดังนั้น เด็กจะคิดว่า การเป็นคนดี คือการปฏิบั ติ
ขั้นของการหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกลงโทษ เริ่มตั้งแต่แรกเกิด ตาม
ถึ ง 7 ปี เป็ น หลั ก ของการใช้ เ หตุ ผ ลของการแสดง ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์ทาง
พฤติกรรมเป็นเครื่องช่วยตัดสินว่าถูกหรือผิด เช่น ถ้า สังคม (Post-conventional Level) ในขั้นนี้การแสดง
เด็กหยิบของโดยไม่ได้รับอนุญาตเด็กจะถูกตาหนิ เด็ก พฤติ ก รรมเกิ ด จากการใช้ วิ จ ารณญาณของตนเป็ น
จะรู้ทันทีว่าเป็นพฤติกรรมที่ไม่สมควร และจะไม่แสดง มาตรฐานในการตั ด สิ น การปฏิ บั ติ โดยปราศจาก
พฤติกรรมเช่นนั้นอีก เพราะกลัวถูกตาหนิ เป็นต้น อิ ท ธิ พ ลของบุ ค คลและสิ่ ง แวดล้ อ มในสั ง คมเข้ า มา
2. ขั้นการแสวงหารางวัล (Naively egoistic เกี่ยวข้อง ในขั้นนี้แบ่งแยกย่อยได้อีก 2 ขั้น ได้แก่
orientation) อยู่ระหว่างอายุ 7 – 10 ปี ในขั้นนี้เด็กจะ 1. ขั้นทาตามสัญญา (Social contract
เลือกสนใจที่จะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่ทาไปแล้วจะได้รับ orientation) เป็นขั้นหลั กการมี เหตุผ ลและเคารพ
รางวัล เท่ านั้ น เด็ กยั งไม่ค านึ งถึ งความเห็ น อกเห็ นใจ ตนเอง อยู่ในช่ว งอายุ 16 ปีขึ้นไป เป็นขั้นที่บุคคลจะ
พฤติกรรมของเด็กจะเป็นไปด้วยความพึงพอใจในรางวัล เน้นในเรื่องของมาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับ
ที่ได้รับมากกว่าการกลัวถูกลงโทษ และปฏิบัติ โดยคานึงถึงสิทธิของแต่ละบุคคลเป็นสาคัญ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 25 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

2. ขั้นอุดมคติสากล (Universal ethical สามารถใช้เฉพาะ นิ้วชี้ และนิ้วหัวแม่มือหยิบจับของชิ้น


principle orientation)กฎระเบียบของสังคม และทา เล็กได้ การแบมือ (Unfisting Hands) ซึ่งเป็น
หน้าที่ของตนเองอย่างเคร่งครัดจะอยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ พัฒนาการทีส่ าคัญเป็นจุดเริ่มต้นของการหยิบจับสิ่งของ
วัยผู้ใหญ่เป็นต้นไป เป็นขั้นที่บุคคลจะสร้างอุดมคติและ เมื่อ Palmar Grasp Reflex หายไปที่อายุ 3 - 4 เดือน
คุณธรรมประจาใจขึ้นมา เช่น ยึดหลักโลกบาลธรรม 2 เด็กจะเริ่มแบมือ เหยียดนิ้วออก และจับสิ่งของโดย
คือ หิริ และโอตัปปะ ยึดหลักเมตตา หรือยึดหลักความ ตั้งใจได้ พร้อมกันนี้การลดลงของ Asymmetrical
ยุติธรรม เป็นต้น เป็นขั้นที่มีความต้องการที่จะเสียสละ Tonic Neck Reflex Tonic Labyrinthine Reflex
เพื่อสังคมส่วนรวมอย่างแท้จริง โคห์ลเบิร์กเชื่อว่าบุคคล และ Moro Reflex จะทาให้มีการเคลื่อนไหวของมือ
นั้นจะดาเนินพัฒนาการไปทางจริยธรรมตามลาดับขั้น มากขึ้น เห็นได้จาก เด็กอายุ 3 ถึง 4 เดือน จะเอามือมา
โดยไม่ข้ามขั้น ตอน แต่ทั้งนี้ บุ คคลอาจติดชะงักในขั้น อยู่ตรงกลาง ขยับนิ้วมือ ของตนเอง เอามือเข้าปาก จับ
หนึ่งขั้น ใดหรือไม่ขึ้น อยู่ กับสติปั ญญาและสิ่ งแวดล้อม สิ่งของได้ อย่างไรก็ตาม เด็กที่อายุน้อยกว่า 6 เดือน
ของบุคคลนั้นๆ Corpus Callosum ยังไม่พัฒนา ทาให้เด็กไม่สามารถ
เคลื่อนไหว แขนผ่านแนว กลางลาตัวได้ จึงยังไม่มีการ
พัฒนาการด้านต่างๆของเด็กปฐมวัย(10) ประกอบด้วย เปลี่ยนมือถือของ หลังจากอายุ 6 เดือน เด็กสามารถ
1. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว (Gross เอื้อมคว้าของมือเดียวได้ ในทุกทิศทาง เมื่ออายุ 9 - 10
Motor, GM.) หมายถึง การเคลื่อนไหว และการทรง เดือน เด็กควรหยิบจับสิ่งของด้วยนิ้วชี้ และนิ้วหัวแม่มือ
ท่า แบ่งเป็นพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และการ (Pincer Grasp) ได้ และบังคับการจับและปล่อยวัตถุได้
เคลื่อนไหว การพัฒนาด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและการ ดี เมื่ออายุ 12 เดือน ความสามารถในการควบคุมการ
แก้ปัญหา ซึ่งการพัฒนาด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้แก่ ถือ และปล่อยวัตถุในมือได้เร็ว จะเป็นตัวบ่งชี้ที่ดี ถึงวุฒิ
การเคลื่อนไหวของแขนและขา ส่วนการพัฒนาด้าน ภาวะของการจับของ(9)
กล้ ามเนื้ อมัดเล็กและการแก้ปัญหา หมายถึง การ 3. พัฒนาด้านการใช้ภาษา (Expressive
เคลื่อนไหวของมือและนิ้วมือ มนุษย์เริ่มมีพัฒนาการ Language, EL.) ภาษาเป็นองค์ประกอบสาคัญ ที่ใช้
ด้ า นกล้ า มเนื้ อ ตั้ ง แต่ อ ยู่ ใ นครรภ์ ม ารดาและมี ก าร ในการสื่อสาร พัฒนาการทางภาษา มีการพัฒนามาก
ปรับเปลี่ยนได้ตลอดชีวิต(8) ขึ้นเรื่อยๆนับตั้งแต่วัยทางรก ความสามารถในการใช้
2. พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ภาษา สื่อสาร เป็นสิ่งสาคัญ และเป็นปัจจัยหนึ่งที่ใช้
และสติปัญญา (Fine Motor, FM.) กล้ามเนื้อมัด ทานายความสามารถทางสติปัญญาในอนาคตของเด็ก
เล็กหรือกล้ามเนื้อบริเวณมือ และนิ้วมือ มีพัฒนาการใน ได้ ภาษาแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ การรับรู้หรือ
ทิศทางจากลาตัวไปสู่ส่วนปลาย คือเริ่มจากไหล่ แขน เข้าใจภาษา (Receptive Language) หมายถึง
ไปสู่มือและนิ้วมือ โดยสรุป พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อ ความสามารถในการเข้าใจภาษาที่ผู้อื่นสื่อสารด้วย และ
มัดเล็ก และการแก้ปัญหาในการทากิจกรรมต่างๆ วัย การสื่อสารภาษา (Expressive Language) หมายถึง
ทารก การหยิบจับของทารกในช่วงแรกต้องยกแขน ความสามารถในการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสารกับผู้อื่น
ตั้งแต่ระดับไหล่ เมื่อพัฒนาการก้าวหน้าขึ้น ทารกจึง
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 26 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

พัฒนาการทางภาษาในวัยทารกเด็กสามารถเรียนรู้ ผ่าน ร่วมกับการชี้ (Proto-imperative Pointing) เมื่อเด็ก


การมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้เลี้ยงดูและสิ่งแวดล้อม โดยการ อายุ 14 - 16 เดือน เด็กจะชี้ไปยังสิ่งที่ตนเองสนใจ
มอง ฟัง และรับสัมผัสเด็กชอบฟังเสียงมารดา หรือผู้ และชี้ชวนให้ผู้เลี้ยงดูสนใจตาม ด้วยการมองสลับไปมา
เลี้ย งดูหลั กมากกว่าคนแปลกหน้า เด็กเริ่ มส่ งเสียง ระหว่ า งผู้ เ ลี้ ย งดู และสิ่ ง ที่ ส นใจ ซึ่ ง เรี ย กว่ า
สื่อสารได้ตั้งแต่ อายุ 2 ถึง 3 เดือน ซึ่งเป็นการส่งเสียง Protodeclarative Pointing
ในลาคอ และพัฒนาต่อโดยการส่งเสียงโต้ตอบ เมื่อมีผู้
4. พั ฒ นาการด้ า นการเข้ า ใจภาษา
พูดด้วย ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของการสื่อสารโต้ตอบกับ (Receptive Language, RL.) คือ ความสามารถใน
ผู้อื่น เมื่อเด็กอายุ 6 เดือน จะส่งเสียงโดยใช้อวัยวะใน การรับรู้ เข้าใจและจาความหมายของคาได้ ซึ่งเกิดจาก
ปาก เพื่อทาให้เกิดเสียงพยัญชนะ (Babbling) มากขึ้น ประสบการณ์โ ดยตรงของเด็ก โดยเด็กจะเรียนรู้จาก
เมื่อเด็กอายุ 9 - 12 เดือน จะส่งเสียงหลายเสียง ทั้ง การใช้ประสาทสั ม ผั ส ได้แก่ การได้ยิน การมองเห็ น
เสียงสูงต่า และยาวมากขึ้น ซึ่งฟังดูคล้ายจะเป็น การสัมผัส การดมกลิ่นและการรับรส แม้ในช่วงแรกเกิด
เด็กจะยังพูดไม่ได้ แต่การได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆที่อยู่
ประโยคแต่ไม่มีความหมาย ซึ่งเรียกว่า Jargon และ
รอบตัว เช่น เสียงพูดหรือเสียงอื่นๆ ที่ได้ยินเป็นประจา
หลังจากมี Jargon ประมาณ 4 - 5 เดือน เด็กจะเริ่ม
จะทาให้เด็กรู้จักการฟังแยกเสียง รู้ว่าแต่ละเสียงมีความ
พูดเป็นคาเดี่ยวที่มีความหมาย คาแรกได้ ในด้านความ แตกต่างกัน เด็กจะเลือกรับฟังเสียงที่มีความสาคัญและ
เข้าใจภาษาเด็กอายุ 6 เดือน จะรู้จักชื่อของตัวเอง และ สัมพันธ์กับตัวเด็กก่อน เช่น เสียงแม่ เสียงชงนม เป็น
ตอบสนองโดยการหยุดฟัง มองหาที่มาของเสียงเรียก ต้น จากนั้นจะมีการเชื่อมโยงเสียงที่ได้ยินกับสิ่งที่เด็ก
เด็กอายุ 9 เดือน จะมีความเข้าใจภาษาเพิ่มมากขึ้น มองเห็น คือ บุคคล สิ่งของ หรือกริยา ต่างๆ ทาให้เกิด
โดยเด็กสามารถเชื่อมโยงคาพูดกับท่าทาง เช่น โบก ความเข้าใจและรู้ความหมายของคาพูด
5. พัฒนาการด้านช่วยเหลือตัวเองและสังคม
มือบ๊ายบายเมื่อได้ยินคาว่า “บ๊ายบาย” เมื่ออายุ 1 ปี
(Personal and Social, PS.) ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กสามารถเข้าใจความหมายของคา เช่น ชี้ไปที่ลูก อย่างแรกในทารกคือการเกิดสายสัมพันธ์ระหว่างผู้เลี้ยง
บอลได้เมื่อพูดคาว่า “บอล” เป็นต้น การชี้ (Pointing) ดูและทารก (bonding) เป็นความรู้สึกผูกพันที่ผู้เลี้ยงดู
ไปยังวัตถุที่เด็กสนใจ เป็นการสื่อสารอย่างหนึ่ง ที่มี มีต่อทารก ต่อมาทารกจะมีพัฒนาการด้านสังคมโดย
ความสาคัญและจะเริ่มพบได้ในเด็กอายุ 9 - 12 เดือน เริ่มจากการยิ้มให้ เมื่อมีคนพูดคุยด้วย หรือยิ้มให้
การชี้ เ ป็ น ภาษากายอย่ า งหนึ่ ง ที่ พ บได้ ก่ อ นการพู ด จากนั้น ทารกจะยิ้ ม ให้ ผู้ เลี้ ย งดู เ พีย งเมื่อ เห็ น ผู้ เลี้ ย งดู
เท่านั้น เมื่ออายุ 4 เดือน ทารกจะส่งเสียงโต้ตอบ
เรียกชื่อสิ่งของ (Naming) พัฒนาการของการชี้จะ
กลับไปมากับผู้อื่นได้ เมื่ออายุ 5 เดือน จะจาผู้เลี้ยงดูได้
ซับซ้อนมากขึ้น โดยเมื่อเด็กอายุ 12 - 14 เดือน จะชี้ไป
จากการมองเห็ น และเกิ ด ความผู ก พั นกั บ ผู้ เ ลี้ ย ง
ยังสิ่งที่ตนเองสนใจเพื่อบอกความต้องการ และดึงความ (Attachment) ความผูกพันที่ทารกมีต่อผู้เลี้ยงดู เมือ่
สนใจของผู้เลี้ยงดูไปยังสิ่งนั้น ด้วยการมองหน้าผู้เลี้ยงดู
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 27 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

อายุ 6 เดือน ทารกจะสามารถแยกคนคุ้นเคย และคน เกี่ยวข้องกันในขณะที่เด็กอายุ 4 ปี ที่สามารถเล่นแบบ


แปลกหน้าได้ ซึ่งเด็กวัยนี้จะมี stranger anxiety และ ร่วมมือกันได้แล้ว จะสามารถเล่นทาอาหารโดยช่วยกัน
ในช่วงปลายขวบปีแรก การมีความสนใจร่วมกับผู้อื่น ทาอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยแบ่งหน้าที่กันทา เด็กวัย
เป็ นทักษะทางสังคมที่สาคัญที่ควรเกิดขึ้นในช่ว งวัยนี้ 3 ปี เล่นสมมุติได้ แต่ยังแยกเรื่องจริงกับจินตนาการ
พั ฒ นาการทางด้ า นอารมณ์ จ ะเกิ ด ควบคู่ ไ ปกั บ ไม่ได้ จึงยังมีความกลัวสิ่งสมมุติอยู่ เมื่ออายุ 4 ปี เด็ก
พัฒนาการด้านสังคม ตั้งแต่แรกเกิด ทารกสามารถ จะแยกเรื่องจริงและจินตนาการได้มากขึ้น จึงทาให้การ
แสดงอารมณ์ได้ 3 ชนิด คือ โกรธ กลัว และดีใจ ไม่ว่า เล่นสมมุติมีความซับซ้อนมากขึ้น และเริ่มมีการหยอก
จะเป็นทารกที่มีสติปัญญาปกติหรือไม่ ซึ่งหลังจากนั้น เพื่อนระหว่างการเล่นด้วย เมื่ออายุ 5 ปี เด็กจะเรียนรู้
สติปั ญญาจะมีบ ทบาทต่อพัฒนาการด้านอารมณ์ของ ทักษะทางสังคม แบบผู้ใหญ่มากขึ้น เช่นรู้จักขอโทษ
เด็กต่อไป เมื่ออายุ 15 เดือน ทารกเริ่มแสดงความเห็น เมื่อกระทาผิด เด็กวัยนี้สามารถรู้เพศของตนเอง รวมทั้ง
อกเห็นใจผู้อื่น และเริ่มปิดบังอารมณ์ที่แท้จริง ตาม แยกความแตกต่ างของบทบาทและลั กษณะของเพศ
มารยาททางสังคมได้เมื่ออายุประมาณ 2 ปี การเล่น หญิง และเพศชาย โดยมีความสอดคล้องกับ วัฒนธรรม
เป็นสิ่งสาคัญต่อพัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมของ ท้องถิ่นได้เช่น เพศหญิง มีความอ่อนโยน นุ่มนวล
เด็ก ทารกเริ่มเล่นโดยการคว้า เขย่า เคาะ หรือเอาของ สุภาพ เพศชายมีความเข้มแข็ง กล้าหาญ ชอบสิ่งท้า
เล่นเข้าปาก (Sensory-Motor Play) เมื่ออายุประมาณ ทาย เด็กจะเริ่มเข้าใจว่าเพศเป็นสิ่งที่ติดตัวถาวร ซึ่งไม่มี
4 เดือน และเริ่มเล่นตามหน้าที่ใช้งานของของเล่น การเปลี่ยนแปลงตามรูปแบบการแต่งกาย เช่น เมื่อ
(Functional Play) เช่น เมื่ออายุ 13 เดือน เอารถมา เปลี่ยนจากการสวมกางเกงเป็นกระโปรง ก็ไม่ได้ทาให้
ไถแล่นไปมา โดยไม่นามาเคาะ เมื่ออายุ 16 - 18 เดือน เพศเปลี่ยนแปลงไป
เด็กจะเริ่มมีการเล่นสมมุติอย่างง่าย โดยการใช้ของเล่น
ที่จาลองจากของใช้จริง เช่น ปูอนข้าวตุ๊กตาด้วยช้อน การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(11)
ของเล่น เมื่ออายุ 18 - 20 เดือน จะเริ่มเล่นสมมุติได้ หลักการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย พ่อแม่หรือผู้
อย่างซับซ้อนมากขึ้น โดยใช้วัตถุที่ไม่เหมือนของจริง มา เลี้ยงดูเด็กควรปฏิบัติ ได้แก่ ให้ความรักความอบอุ่น
สมมุติแทนของต่างๆ เช่น บล็อกไม้เป็นเครื่องบิน เมื่อ สนใจและเอาใจใส่เด็ก คานึงถึงความต้องการ และ
เด็กอายุ 2 ปี จะสามารถนั่งเล่นข้างๆเพื่อนได้ ธรรมชาติของเด็ก คานึงถึงความแตกต่างของเด็กและ
(Parallel Play) โดยต่างคนต่างเล่น ซึ่งเด็กกลุ่มอาการ ยอมรับเด็ก คานึงถึงความรู้สึกของเด็ก ผู้อบรมเลี้ยงดู
ออทิสติกมักไม่สามารถเล่นสมมุติได้ก่อนอายุ 2 ปี เด็ก ต้องทาตัวเป็นอย่างที่ดี ผู้อบรมเลี้ยงดูต้องมีอารมณ์
อายุ 3 ปี จะเล่ น ร่ว มกัน ในสถานการณ์เดียวกัน มัน่ คง และมีความสม่าเสมอในการอบรมเลี้ยงดู ผู้อบรม
(Associative Play) แต่ไม่ได้เป็นการเล่นที่ร่วมมือกัน เลี้ยงดูต้องรู้จักการใช้แรงเสริมที่ถูกต้องเหมาะสมการ
ทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (Cooperative Play) อย่างแท้จริง เช่น เลี้ยงดูต้องคานึงถึงพัฒนาการ และส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กอายุ 3 ปี อาจเล่นทาอาหารด้วยกัน โดยมีการ เด็กทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ต้อง
แบ่งปันอุปกรณ์การเล่น เช่น ช้อนส้อม จาน ชาม แต่ คานึงถึงสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
ต่างคนต่างก็ทาอาหารที่ตนเองต้องการ โดยไม่มีความ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 28 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

1. อาหารและโภชนาการ ที่ต้องมีคาว่า บดเคี้ยวอาหารยังไม่ดีเหมือนผู้ใหญ่และน้าย่อยก็ยังมีไม่


โภชนาการด้วยนั้น เพราะการให้อาหารเด็กปฐมวัยหรือ เท่าของผู้ใหญ่
วัยใดๆ ก็ตาม ต้องยึดหลักของโภชนาการด้วย อาหารที่ 2. น้า เด็กปฐมวัยควรดื่มน้าให้เพียงพอ และ
ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการไม่เหมาะกับความต้องการ น้าดื่มควรเป็นน้าที่สะอาดปราศจากเชื้อโรค จะช่วย
ของร่างกายของเด็กในช่วงปฐมวัยแล้ว ย่อมไม่ส่งเสริม ปูองกันการเจ็บปุวยจากโรคอุจจาระร่วง และโรคพยาธิ
พัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กได้เลย เช่น ให้เด็ก น้าสะอาดและปลอดภัย คือ น้าต้มสุก นอกจากน้าเปล่า
รับประทานแต่อาหารประเภทข้าวเป็นหลัก ขาดอาหาร เครื่องดื่มอื่นๆ ที่ควรดื่ม คือ น้าเต้าหู้ นมรสจืด น้า
ประเภทเนื้อสัตว์ ไข่ นม หรือขาดผัก ผลไม้ ร่างกาย ผลไม้ที่ไม่เติมน้าตาล ไม่ควรให้เด็กดื่มน้าหวานหรือ
ของเด็กย่อมไม่ได้สารอาหารครบตามความต้องการของ น้าอัดลม เพราะมีน้าตาลสูง ถ้าดื่มมากๆ จะอิ่มท้องทา
ร่างกาย ร่างกายจึงไม่เจริญเติบโตแข็งแรง ไม่มีแรง ให้รับประทานอาหารมื้อหลักที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ต้านทานโรค ต่างกับเด็กปฐมวัยที่ได้รั บการเลี้ยงดูให้ ได้น้อยลง ทาให้เด็กขาดสารอาหารได้
อาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ 3. การออกกาลังกาย เป็นการช่วยพัฒนา
กาลังเจริญเติบโต หากไม่ได้อาหารที่มีคุณค่าถูกต้อง กล้ามเนื้อต่างๆ ในร่างกาย เด็กปฐมวัย จาเป็นต้องออก
ตามหลักโภชนาการการเจริญเติบโตของร่างกายก็จะช้า กาลังกาย บริหารทุกส่วนในร่างกายทั้งกล้ามเนื้อใหญ่
ลง หรืออาจหยุดชะงักได้ การให้อาหารเด็กปฐมวัยแต่ และกล้ า มเนื้ อ เล็ ก ให้ แ ข็ ง แรงและพั ฒ นาไปอย่ า ง
ละมื้อจึงควรกาหนดให้มีอาหารครบทั้ง 5 หมู่ในปริมาณ เหมาะสมกับวัย โดยปกติแล้วตามธรรมชาติของเด็กวัย
ที่เพียงพอ เพื่อให้ได้สารอาหารครบทุกชนิดตาม ความ นี้ เป็นวัยที่ชอบซุกซน อยากดูโน่นดูนี่ อยากรู้อยากเห็น
ต้องการของร่างกาย และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็ก ไปหมด เด็กจึงมักไม่อยู่กับที่จะเคลื่อนไหวไปตลอดเวลา
อยากรับประทานอาหารตามที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจัดหา ที่ตัวเองต้องการ อยากเห็นอยากสารวจ และวัยนี้ยัง
ไว้ใ ห้ ผู้ ใ หญ่ต้ องใช้ห ลั กจิ ตวิท ยาเข้า ช่ว ยโดยปรุง แต่ ง เป็นวัยชอบเล่น ปีนปุาย วิ่งเล่น เนื่องจากส่วนมากมักมี
อาหารให้ มีสีสัน น่ารั บประทาน ขนาดให้ เล็กพอคา พลังงานที่เหลือใช้ การทากิจกรรมต่างๆ และการเล่น
รสชาติก็ควรมีบ้างเมื่อโตขึ้น ไม่จืดจนสนิทเหมือนตอน ของเด็กวัยนี้เท่ากับเป็นการได้ออกกาลังกายไปในตัวอยู่
แรกเกิด เพราะเด็กวัยนี้เริ่มรู้รสชาติของอาหาร และ แล้ว จึงไม่ค่อยน่าเป็นห่วงว่าเด็กจะไม่ได้ออกกาลังกาย
อยากรับประทานอาหารเหมือนผู้ใหญ่ พ่อแม่จึงควร แต่อย่างไรก็ตามเด็กปฐมวัยบางคนก็ชอบเก็บตัวอยู่คน
ทาอาหารบางชนิดเหมือนกับผู้ใหญ่ เพียงแต่ให้มีขนาด เดียว บางคนเรียบร้อยไม่ชอบออกวิ่งเล่นกับเพื่อนๆ พ่อ
เล็กลงเพื่อรับประทานง่ายขึ้นเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม แม่ ครู หรือผู้เลี้ยงดู จึงควรสนใจเป็นพิเศษ ดูแลให้เด็ก
รสชาติของอาหารสาหรั บ เด็กก็ไม่ควรมีร สจั ดเหมือน เหล่านี้ได้ทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ออกเล่นกลางสนาม
ผู้ใหญ่เพราะผู้ใหญ่บางคนรับประทานอาหารรสจัดมาก หรือได้ช่วยพ่อแม่ทางานเบาๆ บ้าง เช่น ช่วยรดน้า
ไม่ว่าจะเป็นเค็มจัด เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด หรือแม้แต่หวาน ต้นไม้โดยใช้ฝักบัวเล็กๆ เดินหยิบของใช้หรือช่วยเอา
จัดก็ไม่ควร และอาหารของเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะ เศษกระดาษถุงใส่ของไปทิ้งลงถังขยะ กิจกรรมเหล่านี้
ในช่วงต้นๆ ของวัยนี้ คือ 1 - 4 ปี ควรเป็นอาหารที่ ล้วนแล้วแต่เป็นการออกกาลังกาย และยังเป็นการ
ค่อนข้างย่อยง่าย เพราะฟันของเด็กยังขึ้น ไม่ครบ การ ปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีให้เด็กรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น และ
ขยันหมั่นเพียรอีกด้วย
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 29 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการเด็ ก ปฐมวั ย โดยพ่ อ แม่ 9. พ่ อ แม่ ผู้ ป กครอง ต้ อ งเป็ น ตั ว อย่ า ง
ผู้ปกครอง(12) พฤติก รรมที่ ดีส าหรับเด็ก เปิดโอกาสให้ เ ด็กได้ ฝึ กท า
1. รักลูกแสดงออกอย่างสม่าเสมอในการดูแล และควรชี้ แ จงเมื่ อ เด็ ก ท าผิ ด พลาด เปลี่ ย นเป็ น ให้
เด็กทุกๆ วันตั้งแต่การกิน นอน เล่น ออกกาลังกายและ ก าลั ง ใจ เมื่ อ เด็ ก พยายามท าสิ่ ง ที่ พึ ง ปรารถนา และ
เรียนรู้ที่เหมาะสมถูกสุขอนามัยและปลอดภัย ชมเชยเมื่อเด็กทาได้ เด็กจะค่อยๆ รู้จักใช้เหตุผลและ
2. ไม่เปรียบเทียบกันระหว่างเด็ก เพราะเด็ก รักษาคาพูดตามแบบที่พ่อแม่ปฏิบัติ
และคนมีความแตกต่าง
3. การเรี ยนรู้ ของเด็กเริ่ มตั้งแต่ป ฏิสนธิ เป็น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย(13)
แบบค่อยเป็นค่อยไปและต่อเนื่อง 1. ปัจจัยทางพันธุกรรม (Heredity) คือ ปัจจัย
4. เด็กเรียนรู้ผ่านการฟัง การดู การจับต้อง ภายในที่กาหนดขอบเขตลักษณะและขีดความสามารถ
การเล่ น การท าตามแบบอย่ า ง และลองท า พ่ อ แม่ ของบุ ค คล ทั้ ง ทางร่ า งกายและจิ ต ใจ โดยผ่ า นทาง
ผู้ปกครองจึงควรคุยกับลูกตั้งแต่วัยทารกเล่น เล่าเรื่อง กระบวนการถ่ายทอดทางยีน (Genetics) ที่อยู่ในเชื้อ
สิ่งที่กาลังทากับเด็ก เล่านิทาน อ่านหนังสือให้ฟัง ชี้ชวน สายของบรรพบุ รุ ษ มายั ง ลู ก หลาน ท าให้ บุ ค คลใน
ดูสิ่งต่างๆ รอบตัว ดูรูป การมีกิจกรรมศิลปะและดนตรี ครอบครัวเดียวกันมีลักษณะบางประการที่คล้ายคลึงกัน
กิจกรรมในบ้าน และประสบการณ์ตรงอื่นๆ และมีลั กษณะบางประการที่แตกต่างกัน ซึ่งโดยปกติ
5. พ่อแม่ผู้ปกครองต้องฟังเด็ก ส่งเสริมให้เด็ก บุคคลจะมีโครโมโซมอยู่ 23 คู่ โดย 22 คู่แรกจะ
ถามและสังเกตชี้ชวนกันสนทนาและให้เด็กมีส่วนร่วม ถ่ายทอดลั กษณะทางร่างกาย ส่ วนคู่ที่ 23 จะเป็น
แสดงความคิดเห็น โครโมโซมที่ทาหน้าที่กาหนดเพศของบุคคล อิทธิพล
6. ไม่ใช่วิธีบังคับฝืนใจ ไม่กดดันหรือเร่งรัดเด็ก ของพันธุกรรมที่มีผลต่อพัฒนาการและการเตรียมความ
ไม่ก้าวร้ าวหรื อทาร้ ายเด็กทั้งทางร่างกาย จิ ตใจ และ พร้อมของเด็กปฐมวัย มีดังนี้
วาจา 1.1 ลักษณะทางกายภาพ (Physical
7. เด็กต้องได้รับโอกาสฝึกการมีวินัยในตนเอง Appearance) เด็กจะได้รับการถ่ายทอดโครงร่างและ
เช่น การกิน การนอนเป็นเวลา การเก็บของเล่น การทิ้ง ลักษณะทางกายภาพต่างๆจากพ่อและแม่ ได้แก่ รูปร่าง
ขยะในที่ทิ้งขยะ การล้างมือ การไม่แย่งของคนอื่น การ (ขนาด ความสู ง น้ าหนั ก สั ด ส่ ว นของร่ า งกาย)
ไม่ทุบตีทาร้ายคนอื่น เป็นต้น รูปลั ก ษณะเหล่ านี้ พันธุก รรมเป็นตั ว กาหนดมาตั้งแต่
8. โทรทั ศ น์ ห รื อ สื่ อ ท านองเดี ย วกั น อาจ กาเนิดและทาให้เด็กแต่ละคนมีลักษณะภายนอก และ
ขัดขวางพัฒนาการรอบด้านของเด็กอายุต่ากว่า 2 ปี พัฒนาการส่วนบุคคลแตกต่างกัน
และ รบกวนการนอนหลับของเด็ก
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 30 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

1.2 ระดับวุฒิภาวะ (Maturity) พันธุกรรมเป็น มั่นคงหรืออารมณ์แปรปรวนง่าย เป็นคนกระตือรือร้น


ตัวกาหนดสภาวะและอัตราการเจริญเติบโตของเด็กใน หรือเงียบเฉยไม่สนใจ เป็นต้น
ระ ยะ เว ลา ที่ เ หม าะ สม ที่ เ ด็ ก แต่ ละ คน จะ มี ขี ด 1.6 ชนิดของกลุ่มเลือด (Blood type) เด็กจะ
ความสามารถที่จ ะแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้รับชนิดของกลุ่มเลือดจากพ่อและ แม่ ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น
ออกมาได้เอง 4 กลุ่ม คือ A ,B , AB และ O
1.3 ความสามารถทางสมอง (Intellectual 1.7 เพศ (Sex) การรวมตัวของโครโมโซมคู่ที่
Ability) การเจริญเติบโตของสมองอยู่ภายใต้เงื่อนไข 23 จากพ่ อและแม่ จ ะเป็ น ตั ว ตั้ ง แต่ร ะยะปฏิ ส นธิ
การเปลี่ ย นแปลงทางชี ว ภาพของเด็ ก ตั้ ง แต่ ใ นครรภ์ กล่าวคือ เซลล์สืบพันธุ์เพศชายจะนาพาโครโมโซม X
มารดาในระยะ 2 ขวบปีแรก สมองมีการเปลี่ยนแปลง และโครโมโซม Y ส่วนเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงจะนาพา
ขนาดและโครงสร้างภายในอย่างรวดเร็ว เฉพาะโครโมโซม X เท่านั้น เมื่อเกิดการปฏิสนธิ ซึ่งเด็ก
1.4 ลั กษณะความผิดปกติ (Abnormality) จะได้รับโครโมโซมจากฝุายพ่อและแม่ฝุายละ1 ตัว เด็ก
โรคภั ย ไข้ เ จ็ บ หลายชนิ ด สามารถถ่ า ยทอดได้ ท าง ที่ได้รับโครโมโซม XY ก็จะเป็นเพศชาย ส่วนเด็กที่ได้รับ
พั น ธุ ก รรม และมี ผ ลท าให้ เ กิ ด ความบกพร่ อ งทาง โครโมโซม XX ก็จะเป็นเพศหญิง
ร่างกายและลักษณะที่เป็นปัญหาขึ้นได้ เช่น Down’s 2. ปั จ จั ย ทางสภาพแวดล้ อ ม เป็ น ปั จ จั ย
Syndrome เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม ทาให้ ภ ายนอ กที่ เ ป็ นตั ว ผั นแปร พั ฒ นา การแ ละกา ร
เด็กมีระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ พัฒนาการและการ เจริญเติบโตของเด็กไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง แบ่ง
เรียนรู้ในด้านต่างๆช้ากว่าปกติ นอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ได้แก่ โรคตาบอดสี โรคธาลัส (Physical Environment) ได้แก่ บ้าน โรงเรียน ของ
ซีเมีย โรคเลือดหยุดยาก โรคด่างขาว ซึ่งมีผลทาให้การ เล่น อาหาร บรรยากาศ เป็นต้น และสภาพแวดล้อม
เจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็กหยุดชะงัก ทางสังคม (Social Environment) ได้แก่ ครอบครัว
และไม่สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่ ญาติ พี่น้อง ครู วัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
1.5 พื้นฐานทางอารมณ์ (Temperament) เป็นต้น สภาพแวดล้อมประเภทเดียวกัน อาจมีผลต่อ
นักจิตวิทยากลุ่มหนึ่ง (Thoman and Chess , 1977) เด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน และเด็กคนหนึ่งอาจตอบสนอง
เชื่อว่าการแสดงออกทางอารมณ์ของเด็กส่วนหนึ่งเป็น ต่อสภาพแวดล้อมเดียวกันในลักษณะที่แตกต่างจากคน
สิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่กาเนิด และส่งผลให้การปรับตัวหรือ อื่นได้ เนื่องจากความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กใน
การตอบสนองสิ่งต่างๆ ของเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน การรั บ รู้ แ ละตอบสนองต่ อ สิ่ ง เร้ า ต่ า งๆ แตกต่ า ง
ตั้งแต่แรกเกิด จนต่อเนื่องถึงพัฒนาการด้านบุคลิกภาพ กัน อิทธิพลของสภาพแวดล้อมต่อพัฒนาการและการ
ในวัยต่อๆ มา เช่น ลักษณะของการแสดงอารมณ์สงบ เตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัย มีดังนี้
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 31 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

2.1 สถานภาพของครอบครัว จุดเริ่มต้นของ สภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ โดยเฉาะช่วงต้นของชีวิตและ


ชีวิต เด็ กทุ กคนมาจากครอบครั ว “ครอบครั ว ”จึง เป็ น วัยก่อนเรียน ดังนั้น การอบรมเลี้ยงดูเด็กในเบื้องต้นจึง
สภาพแวดล้อมอันดับแรกที่มีความใกล้ชิดกับเด็กมาก เป็นการวางรากฐานการดาเนินชีวิตให้ กับเด็ก และมี
ที่ สุ ด ลั ก ษณะครอบครั ว โครงสร้ า ง ขนาดจ านวน อิทธิพลต่อการสร้างบุคลิกภาพและพฤติ กรรมแก่เด็ก
สมาชิกในครอบครัว ความสัมพันธ์ในครอบครัว ฐานะ โดยที่ เ ด็ ก จะเรี ย นรู้ ค่ า นิ ย ม ทั ศ นคติ ความเชื่ อ และ
เศรษฐกิจและสังคม จึงมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็ก พฤติ ก รรมต่ า งๆที่ พึ ง ประสงค์ แ ละไม่ พึ ง ประสงค์ ใ น
เป็ น อย่ า งมาก เด็ ก ที่ เ ติ บ มาในครอบครั ว ขยายที่ มี สังคมจากการสั่งสอนและชี้แนะของพ่อแม่ผู้ปกครอง
สมาชิกในครอบครัวหลายคน มักได้รับการดูแลเอาใจใส่ เป็นส่วนใหญ่ วิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็กที่ไม่เหมาะสมย่อม
อย่างอบอุ่นใกล้ชิด แต่ก็อาจเกิด ความสับสนในบทบาท ทาให้เด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมหรือมีปัญหาได้
ของสมาชิกแต่ละคนได้ ครอบครัวเดี่ย วแม้จะมีขนาด เช่น เด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวมักมีสาเหตุมาจากการ
เล็กก็มีความเป็น ตัวของตัวเองใน การอบรมดูแลเด็กไป ขาดความรัก ความเอาใจใส่ การอบรมสั่งสอน ความ
ในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับบทบาทของพ่อและ อบอุ่นในครอบครัว ซึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการตามวัย
แม่ ในการให้เวลาที่มีคุณภาพและเห็นความสาคัญของ ของเด็กหยุดชะงักหรือล้มเหลวได้
การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการเด็ ก ความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ใ น 3. ภาวะโภชนาการ การได้รับสารอาหารที่
ครอบครัว ทาให้เกิดความมั่นคงทางจิตใจและสามารถ ร่ า งกายต้ อ งการเป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ในการปู พื้ น ฐาน
พั ฒ นาตนเองได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ใ นขณะที่ ค รอบครั ว ที่ มี สุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งจะช่ว ยส่ งเสริม
ปั ญ ห า ขั ด แ ย้ ง ห รื อ แ ต ก แ ย ก เ ด็ ก จ ะ รู้ สึ ก การเจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นาการของเด็ ก ปฐมวั ย ให้
กระทบกระเทือนจิตใจ ขาดความอบอุ่นและไม่แน่ใจใน ดาเนินไปตามปกติ หากเด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
บทบาทของตนเอง ก็อาจทาให้พัฒนาการหยุดชะงักได้ กั บ ความต้ อ งการของร่ า งกายก็ ย่ อ มส่ ง ผลต่ อ ภาวะ
ระดั บ ฐานะเศรษฐกิ จ และสั ง คมของพ่ อ แม่ รวมทั้ ง โภชนาการและพั ฒ นาการในด้ า นต่ า งๆ ได้ ในช่ ว ง
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก มีผลต่อ ปฐมวัยนี้ ร่างกายมีการเจริญเติบและพัฒนาไปหลาย
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของเด็กได้ ด้ า นพร้ อ มกั น โภชนาการที่ เ หมาะสมจะช่ ว ยให้
ถู ก ต้ อ งและเหมาะสม ครอบครั ว ที่ มี ร ายได้ น้ อ ย มี พัฒนาการและการเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยใน
โอกาสจากัดที่จะตอบสนองความต้องการที่จาเป็นของ ด้านต่างๆเป็นไปอย่างราบรื่น เนื่องจากร่างกายสามารถ
เด็กให้ได้เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าพ่อและแม่มี ทางานตามหน้าที่ได้อย่างเต็มที่ ภาวะโภชนาการจึงเป็น
การศึกษาน้ อยและขาดความเข้าใจรวมถึงขาดความ สั ญ ญาณแสดงให้ เ ห็ น ถึง ความสมบู รณ์ ห รื อ บกพร่ อ ง
สนใจเกี่ย วกับ การอบรมดูแลเด็กอย่ างเหมาะสมด้ว ย ทางด้ า นสุ ข อนามั ย ของเด็ ก ได้ เด็ ก ที่ มี ภ าวะทาง
แล้ ว เด็กมักถูกทอดทิ้งและละเลยความต้องการตาม โภชนาการดี จ ะสามารถเจริ ญ เติ บโตได้ ส มบู ร ณ์ ต าม
พั ฒ นาการเด็ ก ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเสี ย ทั้ ง ทางร่ า งกาย เกณฑ์มาตรฐานของพัฒนาการที่สมวัย ในทางตรงข้าม
อารมณ์และจิตใจ สังคมและสติปัญญาทาให้เกิดปัญหา เด็ ก ที่ ไ ด้ รั บ สารอาหารไม่ ค รบถ้ ว นหรื อ มี ภ าวะทาง
พัฒนาการหยุดชะงักหรือพฤติกรรมเบี่ยงเบนได้ โภชนาการบกพร่องจะเป็นเด็กที่สุ ขภาพอ่อนแอ ภูมิ
2.2 ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู พ่อแม่เป็นบุคคล ต้านทางโรคต่า ติดเชื้อโรคได้ง่าย ร่างกายเจริญเติบโต
ที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการอบรมเลี้ยงดูเด็กให้เจริญ ช้ามีสัดส่วนและสภาพร่างกายผิดปกติ ทาให้พฤติกรรม
เติบโอย่างเต็มที่และมีความพร้อม ทั้งทางร่างกายและ และพั ฒ นาการในด้ านอื่ นๆผิ ดไปจากเด็ก ที่มีสุ ขภาพ
จิ ต ใจจนสามารถที่ จ ะปรั บ ตั ว ให้ เ หมาะสมกั บ ปกติ
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 32 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

4. สภาพสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทันที โดยสะท้อนออกมาในคาพูดและการกระทาอย่าง


ทางเศรษฐกิจในปัจจุบันมีการแข่งขันกันอย่างสูง มีการ เด่นชัด เพราะเด็กวัยนี้เป็นวัยที่ชอบการแสดงออกอย่าง
เปลี่ยนแปลงค่านิยมทางสังคมจากเดิมที่เป็นสังคมแห่ง เปิดเผย อยากรู้อยากเห็นและสามารถใช้ภาษาได้ดีขึ้น
การเอื้อเฟื้อ แต่ในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงเป็นการเห็นแก่ ความเหมาะสมของการได้ รั บ เนื้ อ หาสาระจากสื่ อ
ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ตลอดจน ประเภทต่า งๆจะช่ว ยกระตุ้น และส่ งเสริ มพัฒ นาการ
มีปั ญหาสั งคมต่างๆเกิดขึ้น นานาประการ ครอบครั ว รวมทัง้ การเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆได้เป็นอย่างดี
ต้ อ งปรั บ วิ ถี ก ารด าเนิ น ชี วิ ต ใหม่ เวลาส่ ว นใหญ่ ต้ อ ง
ทุ่มเทให้กับการทางานเพื่อหารายได้ เด็กจึงได้รับการ บทความนี้ จึ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ
เลี้ยงดูจากสถานรับเลี้ยงเด็กตั้งแต่ วัยเยาว์ ความผูกพัน น าเสนอให้ เ ห็ น ถึ ง ประเด็ น ส าคั ญ เกี่ ย วกั บ การ
ใกล้ ชิ ด กั บ ครอบครั ว เริ่ ม ลดน้ อ ยลง เด็ ก ที่ อ ยู่ ใ น เจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นาการของของเด็ ก ปฐมวั ย
ครอบครั ว ยากจนมักขาดโอกาสที่จ ะพัฒ นาศักยภาพ เนื่องจากช่วงชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง
ของตน ด้วยความไม่พร้อมและทัศนคติของพ่อแม่ ส่วน ปฐมวัย นับตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ถือได้ว่าเป็น
ในครอบครั ว ปานกลางจะเครี ย ดกั บ การที่ พ่ อ แม่ ช่วงวัยที่สาคัญที่สุดของการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
คาดหวังและกระตุ้นให้เรียนรู้มากเกินไป ในขณะที่เด็ก ทุกๆ ด้านของมนุษย์ การส่งเสริมพัฒนาการและการ
ที่มีครอบครัวฐานะดีมักถูกตามใจและปล่อยปละละเลย เรี ย นรู้ ข องเด็ ก ปฐมวั ย นั บ เป็ น หั ว ใจส าคั ญ ของการ
ทาให้ เด็กขาดการอบรมสั่ งสอนเท่าที่ควร ผลกระทบ เสริ มสร้างประสบการณ์ก ารเรีย นรู้ และพัฒ นาการที่
ของสภาพสั ง คมและค่ า นิ ย มที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปด้ ว ย สอดคล้องกับธรรมชาติ เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิชาการสมัยใหม่นี้ ทา เจริญเติบโตสมวัย พัฒนาการสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย
ให้ พ่ อ แม่ เ รี ย นรู้ วิ ธี ก ารอบรมเลี้ ย งดู เ ด็ ก มากขึ้ น กว่ า สติ ปั ญ ญา จิ ต ใจ อารมณ์ แ ละสั ง คม พ่ อ แม่ แ ละ
เมื่อก่อน แต่ในเวลาเดีย วกัน สภาวะแวดล้อมที่พ่อแม่ ครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการ
เคยให้ เวลากล่ อมเกลาลั กษณะนิสั ย บางประการของ เลี้ยงดูและส่งเสริมสร้างประสบการณ์ต่างๆ ให้แก่เด็ก
เด็กกับตัวเด็กลดน้อยลง ซึ่งจะสังเกตเห็นได้ว่าเด็กที่มี ในช่วงอายุนี้ ซึ่งพัฒนาการมีการเปลี่ยนแปลงหลายด้าน
ปัญหาครอบครั ว หรื อพฤติ กรรมที่ เป็ น ปั ญหามากขึ้ น ผสมผสานกั น ตลอด แต่ ล ะด้ า นล้ ว นมี ค วามสั ม พั น ธ์
เช่น พฤติกรรมก้าวร้าว อารมณ์รุนแรง ขาดความอดทน เกี่ ย วเนื่ อ งกั น และพั ฒ นาการบ่ ง บอกถึ ง ระดั บ
ซึ่งอาจทวีความรุนแรงเป็นปัญหาสังคมต่อไปได้ สติปัญญา เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับ
5. สื่ อ มวลชน ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทาง หลายปัจจัย โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลสาคัญ คือ กรรมพันธุ์
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้การติดต่อ สื่อสารเป็นไปได้ และสิ่งแวดล้ อม โดยสิ่งแวดล้อมของเด็กแต่ละคนจะ
อย่ า งรวดเร็ ว และทั น เหตุ ก ารณ์ สื่ อ มวลชนเข้ า มามี แตกต่างกัน เด็กที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
อิทธิพลต่อการได้รับข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจาวันของ ได้ รับการเลี้ ยงดูในสภาพแวดล้ อ มที่เหมาะสม ได้รั บ
เด็กเป็นอย่างมาก ซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการและพฤติกรรม สารอาหารที่ครบถ้วนก็จะทาให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย
ของเด็ ก ที ล ะน้ อ ย โดยเฉพาะในช่ ว งปฐมวั ย ที่ เ ด็ ก มี หากเด็กในวัยนี้มีพัฒนาการที่ล่าช้า จะส่งผลกระทบถึง
ความสามารถในการรั บ รู้ เรี ย นรู้ และเลี ย นแบบสิ่ ง พัฒนาการวัยต่อ ๆ ไป แต่หากได้รับการกระตุ้นส่งเสริม
รอบตัวได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเด็กได้รับการถ่ายทอดสิ่งใด อย่างทันท่ว งที เด็กก็จะสามารถกลั บมามีพัฒ นาการ
และเป็นสิ่งที่เร้าความสนใจ เด็กมักจดจาและทาตาม สมวัยได้
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559 - 33 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

บรรณานุกรม 8. สมชาย ดุรงค์เดช.โภชนาการและความสัมพันธ์ของ


1. ปราโมทย์ ประสาทกุล , ปั ทมา ว่าพัฒนวงศ์ . จิตวิทยาสังคมต่อการพัฒนาด้านสติปัญญาของเด็ก
วิกฤตการณ์พัฒนาการเด็กไทย. 2549:1 ในเขตเมือง, 2543. (เอกสารอัดสาเนา)
2. สกาวรัตน์ เทพรักษ์, ภภัสสร มุกดาเกษม,จรรยา สืบ 9. พัฒนาการมนุษย์. (2559). พัฒนาการมนุษย์. สืบค้น
นุช,จารุณี จตุรพรเพิ่ม. การศึกษาปัจจัยด้านการ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2559, จาก :
เลี้ยงดูของผู้ปกครองและการมีส่วนร่วมของชุมชน http://youknow.50webs.com/gp3.html.
ต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก 10. จุฑามาส วรโชติกาจร. พัฒนาการด้านอารมณ์และ
ปฐมวัยในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ5. ศูนย์อนามัยที่ สังคม. ตาราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก เล่ม 3
4 ราชบุรี. (รายงานการวิจัย) ราชบุรี, 2557. การดูแลเด็กสุขภาพดี. พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัท บียอนต์
3. ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ.โครงการวิจัย เอ็นเทอร์ไพรซ์ จากัด. 2556 : 54-55.
พัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย; เล่ม 1 11.รติชน พีรยสถ์. การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย . พิมพ์
หาดใหญ่:ลิมบราเดอร์การพิมพ์, 2547. ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร:หจก. เอมีเทรด
4. งานอนามัยแม่และเด็ก. สานักส่งเสริมสุขภาพ. กรม ดิง้ .2543:65-94.
อนามัย .รายงานการส ารวจพัฒ นาการเด็กปฐมวัย 12. คู่มือเฝูาระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย .
ประจาปี 2550 (เอกสารเพื่อทราบ) 2550. 2558:10
5.โครงการพัฒ นาเด็ กปฐมวัย เพื่อ รองรั บ ยุ ทธศาสตร์ 13. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย.
ชาติ (ฉบับปรับปรุง 21 ม.ค.57):1 (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็ก
6. สิ ริมา ภิญโญอนั นตพงษ์ . การศึกษาปฐมวัย . ปฐมวัย. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2559, จาก
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ว น ดุ สิ ต . :http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id
กรุงเทพมหานคร.2550:2-3 =kimmattic&month=112007&date=19&grou
7. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย. สืบค้น p=1&gblog=5.
เมื่อ 1 เมษายน 2559 จาก :
http://k4ds.psu.ac.th/pp57/FileDownload/

You might also like