You are on page 1of 48

สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ช่วงชัน
้ ที่ ๒
 สาระสำคัญของสาระการเรียนรู้
ความสำคัญของสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ช่วยให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทัง้
กายและจิตที่ดีซึ่งมีความสำคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต
ทุกคนควรได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูก
ต้อง มีเจตคติ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รวมทัง้ มีทักษะ
ปฏิบัติด้านสุขภาพจนเป็ นนิสัย ทำให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะในการใช้
ชีวิต ส่งผลให้สังคมโดยรวมมีคุณภาพ
ลักษณะเฉพาะ/ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้นป
ี ้ ระกอบด้วย สุขศึกษา และพลศึกษา ดังนี ้
สุขศึกษา มุ่งเน้นการจัดโอกาสการเรียนรู้ให้เกิดการปฏิบัติทาง จน
เป็ นนิสัย มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่ น
ื อันจะนำไปสู่การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อ
การมีสุขภาพกายและจิตที่ดี
พลศึกษา มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่ต้องควบคุม
ร่างกายและจิตใจในการทำกิจกรรมทางกาย การออกกำลังกาย
การเล่นเกม และกีฬา ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีสุขภาพดี
มีระเบียบ วินัย อดทน สร้างสรรค์ความสามัคคี มีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและผู้อ่ น

จุดเน้นการพัฒนา
การพัฒนาผู้เรียนในช่วงชัน
้ ที่ 2 นี ้ มีเป้ าหมายสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียน
สร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น
ื มีการ
เคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬา ตามกฎ กติกาและข้อตกลง
อย่างสนุกสนานและปลอดภัยทัง้ ต่อตนเองและผู้อ่ น
ื สามารถจัดการ
อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง สร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดี
กับผู้อ่ น
ื ได้
เป้ าหมายสำคัญดังกล่าว ประกอบด้วยสมรรถนะเฉพาะ 3
สมรรถนะซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับสมรรถนะหลักทัง้ 6
สมรรถนะ และบูรณาการกันเป็ นผลลัพธ์การเรียนรู้ช่วงชัน
้ ที่ 2
จำนวน 8 ข้อ สำหรับนำไปกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ชน
ั ้ ประถม
ศึกษาปี ที่ 4 - 6 ต้องคำนึงถึงการบูรณาการสมรรถนะหลักและ
สมรรถนะเฉพาะด้วย โดยจัดกิจกรรม ประสบการณ์ หรือ
สถานการณ์จากเรื่องราวใกล้ตัวไปสู่ไกลตัว จากง่ายไปยาก ตาม
พัฒนาการของผู้เรียน ฝึ กปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
สำหรับช่วงชัน
้ ที่ 2 จากผลลัพธ์การเรียนรู้ดังกล่าว อาจจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้เป็ น 3 กลุ่ม ดังนี ้
การสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น

เป็ นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ดูแลรักษาร่างกาย และสุขภาพ
ของตนเองให้ทำงานตามปกติ สามารถดูแลสุขภาพทางเพศตามช่วง
วัยได้ ป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการคุกคามทางเพศและไม่
แสดงพฤติกรรมคุกคามทางเพศผู้กบ
ั อื่นทัง้ กายและวาจา หลีกเลี่ยง
และปฏิเสธอย่างรู้ทันในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยและไม่เหมาะสม
รวมทัง้ หลีกเลี่ยงบุคคล สถานการณ์ 2
(ร่าง) สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ช่วงชัน
้ ที่ 2/ 11
มกราคม 2565
สถานที่ สภาพแวดล้อม ที่จะนำไปสู่การเกี่ยวข้องกับบุหรี่ สุรา สาร
เสพติด การติดเกมและการพนัน ตลอดจนชักชวนให้ผู้อ่ น
ื หลีกเลี่ยง
สิ่งที่เป็ นอันตรายต่อตนเองและผู้อ่ น
ื โดยรู้ทันสื่อ และระวังอันตราย
จากบุคคลที่ร้จ
ู ักผ่านทางออนไลน์ซึ่งอาจนำไปสู่การล่วงละเมิดทาง
เพศ การข่มเหงรังแก และการใช้ความรุนแรงทางออนไลน์ ตลอด
จนสามารถป้ องกันและหลีกเลี่ยงโรคและอุบัติเหตุที่พบบ่อยในชีวิต
ประจำวันได้ บอกปั ญหาสุขภาพของตนเอง ใช้ยาตามคำแนะนำ
ของแพทย์ ให้การปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และ
แสดงพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเองและส่วนรวม โดย
รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ด้านการดูแล รักษาสุขภาพ
ร่างกาย การป้ องกันโรค การใช้ยาและการปฐมพยาบาล เพื่อการ
ดูแลสุขภาพที่ดี
การเคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬาตามกฎ กติกาและข้อ
ตกลง อย่างสนุกสนานและปลอดภัยทัง้ ต่อตนเองและผู้อ่ น

เป็ นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสม
ผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วยตนเองและร่วมกับผู้อ่ น
ื ทัง้ แบบอยู่
กับที่ แบบเคลื่อนที่ และแบบใช้อุปกรณ์ประกอบ ผ่านการฝึ กทักษะ
การเคลื่อนไหวเรื่องการรับแรง การใช้แรง ความสมดุลของร่างกาย
อย่างมีสติ สม่ำเสมอ และคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้
อื่น โดยเห็นคุณค่าของการพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างต่อเนื่อง
รวมทัง้ สามารถออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล
ประเภทบุคคลและทีมที่ตนเองชอบอย่างมีความสามารถ โดยเห็น
ประโยชน์ที่เกิดกับตนเองและผู้อ่ น
ื จากการปฏิบัติเป็ นประจำ เป็ น
ทัง้ ผู้เล่นและผู้ดำเนินการได้อย่างเหมาะสมตามวัย ยอมรับความ
แตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกมและกีฬา มีความสามัคคี มี
น้ำใจนักกีฬา ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลง วิเคราะห์ทักษะ
การเล่น จุดแข็ง กลวิธีการเล่นของทีมเพื่อปรับปรุงทีมให้ประสบ
ความสำเร็จ
การควบคุมอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง สร้างและรักษา
สัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ น
ื เป็ นการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนรู้จักมี
สติ รู้เท่าทันอารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึน
้ นำไปสู่การควบคุม
ตนเองให้แสดงอารมณ์และความรู้สึกในสถานการณ์ต่าง ๆ และการ
บรรเทาความเครียดอย่างเหมาะสมและเข้าใจผลดีและผลเสียที่เกิด
ขึน
้ ต่อตนเองและผู้อ่ น
ื ตลอดจนสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับ
ครอบครัว เพื่อนและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน
แก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ใช้ความรุนแรง ยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างของบุคคล
การนำไปใช้ในชีวิตจริง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุเป้ าหมาย จนเกิดสมรรถนะ ควร
ออกแบบกิจกรรมที่เอื้อต่อการนำไปใช้ในชีวิตจริง จัดการเรียนรู้ที่
เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และเรียนรู้จากการปฏิบัติที่หลากหลายรูป
แบบ เช่น ออกแบบการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เปรียบเทียบการเจริญ
เติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตนเองกับเกณฑ์
มาตรฐาน สามารถบอกเหตุและผลของการรับประทานอาหาร การ
เคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา การพักผ่อน
และการนอนหลับที่ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีและการเจริญเติบโต
การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและผู้อ่ น
ื อภิปรายสะท้อนความ
รู้สึกของตนเองเมื่อถูกสัมผัสร่างกาย เล่าเรื่องสถานการณ์หรือ
เหตุการณ์แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อให้ปลอดภัยจากการคุกคาม
ทางเพศ ฝึ กทักษะการปฏิเสธและทักษะการสื่อสารให้ผู้อ่ น
ื หลีก
เลี่ยงสารเสพติด การติดเกมและการพนัน วางแผนการปฏิบัติตน
เพื่อป้ องกัน หลีกเลี่ยงและรักษาสุขภาพ สามารถปฐมพยาบาล
ตนเองได้เมื่อเกิดอุบัติเหตุ และปฐมพยาบาลเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่าง
ปลอดภัย. จัดสถานการณ์ให้นก
ั เรียนได้ตัดสินใจใช้ยาสามัญประจำ
บ้านที่ถูกต้องตามอาการ และการเจ็บป่ วย จัดกิจกรรมการ
เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วย
ตนเองและร่วมกับผู้อ่ น
ื สามารถออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬา
ไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคล คู่ และทีม ที่ตนเองชอบอย่างมี
ความสามารถ จัดสถานการณ์ที่ท้าทายให้นักเรียนได้ทำงานหรือใช้
ชีวิตร่วมกันกับเพื่อน มีโอกาสให้ทำงานกับเพื่อนร่วมห้อง เพื่อนใน
ระดับชัน
้ นักเรียนระดับชัน
้ อื่น ๆ เป็ นสถานการณ์ 3
ที่เน้นให้นักเรียนได้ทำความรู้จักกับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย เพื่อฝึ กการ
สร้างสัมพันธภาพ โดยจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียน ประสานความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกใน
ครอบครัว ชุมชน รวมถึงการติดตามความก้าวหน้า หรือพัฒนาการ
ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
การบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้บูรณา
การกับสาระการเรียนรู้อ่ น
ื ๆ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี ้
ภาษาไทย/ ภาษาอังกฤษ จัดสถานการณ์โดยใช้คำศัพท์และเรื่อง
ราวการเล่นเกม การละเล่นพื้นเมือง การออกกำลังกาย และเล่น
กีฬาเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน การตัง้ คำถามเพื่อสืบค้น
ข้อมูล การบันทึก และสรุปข้อมูล ตลอดจนการใช้ภาษาเพื่อการนำ
เสนอเรื่องราวจากกิจกรรม
คณิตศาสตร์ นับจำนวนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ การอ่านข้อมูลจาก
สถิติอย่างง่ายเพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวรอบตัวที่เกี่ยวกับการดูแล
สุขภาพ การคำนวณผ่านการเล่นเกม การเล่นกีฬา การเคลื่อนไหว
ร่างกาย ตามรูปแบบและทิศทางต่าง ๆ
ศิลปะ ใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ส่ อ
ื ความหมาย
ของเรื่องราว สะท้อนความคิดและความรู้สึกในหัวข้อที่นำเสนอ
สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม จัดกิจกร
รมบูรณาการในประเด็นเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในสังคม สามารถ
ปฏิบัติตนตามข้อตกลง ระเบียบ กฎกติกา มารยาท หลักเกณฑ์ของ
สังคม ได้อย่างมีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือในการทำงานเป็ น
ทีมผ่านการเล่น การออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาร่วมกัน
วิทยาศาสตร์และระบบธรรมชาติ จัดกิจกรรมบูรณาการใน
ประเด็นเกี่ยวกับสถานการณ์จริง ในชีวิตประจำวัน เช่น การรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย
จากมลพิษทางดิน น้ำ อากาศ

ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะหลักและสมรรถนะเฉพาะ
สมรรถนะเฉพาะ สมรรถนะหลัก

๑. การสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น

1. ความสามารถในการ ๑. การจัดการตัวเอง
ดูแลรักษาร่างกาย และ ๒. การคิดขัน
้ สูง
สุขภาพของตนเองให้ ๓. การสื่อสาร
ทำงานตามปกติ ๕. การเป็ นพลเมืองที่เข้มแข็ง
2. ความสามารถในการ ๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
ป้ องกันตนเองจาก และวิทยาการอย่างยั่งยืน
อุบัติเหตุ และการใช้สาร
เสพติด
3. ความสามารถในการ
ดูแลสุขภาพทางเพศที่
เหมาะสมกับวัย
4. ความสามารถในการใช้
และรู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยี
อย่างถูกต้องปลอดภัย
5. ความสามารถในการ
ปฐมพยาบาลตนเองและผู้
อื่นให้ปลอดภัยจากการ
เจ็บป่ วย

2. การเคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬาตามกฎ กติกาและข้อ
ตกลง อย่างสนุกสนานและปลอดภัยทัง้ ต่อตนเองและผู้อ่ น

1. ความสามารถในการ ๑. การจัดการตัวเอง
เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสม ๒. การคิดขัน
้ สูง
ผสาน ๓. การสื่อสาร
2. ความสามารถในการทำ ๔. การรวมพลังทำงานเป็ นทีม
กิจกรรมทางกายในชีวิตประจำ ๕. การเป็ นพลเมืองที่เข้มแข็ง
วัน ๖. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
3. ความสามารถในการพัฒนา และวิทยาการอย่างยั่งยืน
สมรรถภาพทางกาย
4. ความสามารถในการออก
กำลังกาย เล่นเกม และกีฬา
อย่างสร้างสรรค์ สนุกสนาน
และปลอดภัย
3. การจัดการอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง กับผู้อ่ น
ื สร้างและ
รักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ น

1. ความสามารถในการ ๑. การจัดการตัวเอง
ควบคุมอารมณ์ และความรู้สึก ๒. การคิดขัน
้ สูง
ของตนเอง ๓. การสื่อสาร
2. ความสามารถในการปรับ ๔. การรวมพลังทำงานเป็ นทีม
อารมณ์ และความรู้สึก ให้เกิด ๕. การเป็ นพลเมืองที่เข้มแข็ง
ความสมดุล
3. ความสามารถในการสร้าง
และรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้
อื่น
ผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อจบช่วงชัน
้ ที่ ๒
๑. ดูแลรักษาร่างกายและสุขภาพของตนเองให้ทำงานตามปกติ โดย
วิเคราะห์เหตุและผลของการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การ
เคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา การพักผ่อน
และการนอนหลับที่ส่งผลต่อ การมีสุขภาพดีและการเจริญเติบโต
รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ข้อมูล
บนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ สื่อโฆษณา ใน
การตัดสินใจเลือกซื้อและเลือกใช้อย่างมีเหตุผล
๒. ดูแลสุขภาพทางเพศตามช่วงวัย ป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจาก
การคุกคามทางเพศและไม่แสดงพฤติกรรมคุกคามทางเพศผู้อ่ น
ื ทัง้
กายและวาจา ด้วยความเข้าใจในผลเสียหรืออันตรายที่เกิดจาก
พฤติกรรมเสี่ยงอันอาจนำไปสู่ปัญหาทางเพศและผลกระทบอื่น ๆ ที่
ตามมา รู้ทันสื่อ และระวังอันตรายจากบุคคลที่ร้จ
ู ักผ่านทาง
ออนไลน์ซงึ่ อาจนำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มเหงรังแก
และการใช้ความรุนแรงทางออนไลน์ โดยหาทางออกได้อย่างเหมาะ
สม ปรึกษาและขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ที่ไว้ใจหรือหน่วยงานที่
รับผิดชอบ หลีกเลี่ยงและปฏิเสธอย่างรู้ทันสถานการณ์ที่ไม่
ปลอดภัยและไม่เหมาะสม
3. หลีกเลี่ยงบุคคล สถานการณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม ที่จะนำไป
สู่การเกี่ยวข้องกับบุหรี่ สุรา สารเสพติด การติดเกมและการพนัน
โดยเข้าใจผลเสียที่มีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ตลอดจนชักชวนให้ผู้อ่ น
ื หลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็ นอันตรายต่อตนเองและผู้
อื่น
4. ป้ องกันและหลีกเลี่ยงโรคและอุบัติเหตุที่พบบ่อยในชีวิตประจำ
วัน แจ้งผู้ใหญ่เพื่อขอความช่วยเหลือ บอกปั ญหาสุขภาพของตนเอง
ใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์ ให้การปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม และแสดงพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อสุขภาพของ
ตนเองและส่วนรวมโดย รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ด้าน
การป้ องกันโรค การใช้ยาและการปฐมพยาบาล เพื่อการดูแล
สุขภาพที่ดี
5. เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วย
ตนเองและร่วมกับผู้อ่ น
ื ทัง้ แบบอยู่กับที่ แบบเคลื่อนที่ และแบบใช้
อุปกรณ์ประกอบ ผ่านการฝึ กทักษะการเคลื่อนไหวเรื่องการรับแรง
การใช้แรง ความสมดุลของร่างกายอย่างมีสติ สม่ำเสมอ และคำนึง
ถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น
ื โดยเห็นคุณค่าของการ
พัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างต่อเนื่อง
6. ออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภท
บุคคลและทีม ที่ตนเองชอบและมีความสามารถ โดยเห็นประโยชน์
ที่เกิดกับตนเองและผู้อ่ น
ื จากการปฏิบัติเป็ นประจำ เป็ นทัง้ ผู้เล่น
และผู้ดำเนินการได้อย่างเหมาะสมตามวัย ยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลในการเล่นเกมและกีฬา มีความสามัคคี มีน้ำใจ
นักกีฬา ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลง วิเคราะห์ทักษะการเล่น
จุดแข็ง กลวิธีการเล่นของทีมเพื่อปรับปรุงทีมให้ประสบความสำเร็จ
7. มีสติ รู้เท่าทันอารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึน
้ โดยรู้ขีดจำกัดด้าน
อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง รู้สาเหตุของความเครียด นำไปสู่
การควบคุมตนเองให้แสดงอารมณ์และความรู้สึกในสถานการณ์ต่าง
ๆ และการบรรเทาความเครียดอย่างเหมาะสมและเข้าใจผลดีและ
ผลเสียที่เกิดขึน
้ ต่อตนเองและผู้อ่ น

8. สร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว เพื่อนและบุคคลที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน แก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ใช้ความ
รุนแรง ยอมรับความแตกต่างระหว่างของบุคคล

แนวทางการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ
สำหรับช่วงชัน
้ ที่ ๑ จากผลลัพธ์การเรียนรู้ดังกล่าว อาจจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้เป็ น 3 กลุ่ม ตามสมรรถนะหลัก ดังนี ้ 1)
สร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น
ื 2)
เคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬาตามกฎ กติกาและข้อตกลง
อย่างสนุกสนานและปลอดภัยทัง้ ต่อตนเองและผู้อ่ น
ื และควบคุม
อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง สร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดี
กับผู้อ่ น

การสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น

ผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อจบช่วงชัน
้ / ความรู้และสมรรถนะที่
เชื่อมโยงกัน/ ตัวอย่างสถานการณ์ กิจกรรม และเครื่องมือที่
ใช้สำหรับนักเรียน
๑. ดูแลรักษาร่างกาย และสุขภาพของตนเองให้ทำงานตามปกติ
โดยวิเคราะห์เหตุและผลของการรับประทานอาหาร การขับถ่าย
การเคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา การพัก
ผ่อนและการนอนหลับที่ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีและการเจริญ
เติบโต รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านการสร้างเสริมสุข
ภาพ ข้อมูลบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สื่อโฆษณา ในการตัดสินใจเลือกซื้อและเลือกใช้ อย่างมีเหตุผล
๒. ดูแลสุขภาพทางเพศตามช่วงวัย ป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจาก
การคุกคามทางเพศและไม่แสดงพฤติกรรมคุกคามทางเพศผู้อ่ น
ื ทัง้
กายและวาจา ด้วยความเข้าใจในผลเสียหรืออันตรายที่เกิดจาก
พฤติกรรมเสี่ยงอันอาจนำไปสู่ปัญหาทางเพศและผลกระทบอื่น ๆ
ที่ตามมา รู้ทันสื่อ และระวังอันตรายจากบุคคลที่ร้จ
ู ักผ่านทาง
ออนไลน์ซึ่งอาจนำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มเหงรังแก
และการใช้ความรุนแรงทางออนไลน์ โดยหาทางออกได้อย่าง
เหมาะสม ปรึกษาและขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ที่ไว้ใจหรือ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ หลีกเลี่ยงและปฏิเสธอย่างรู้ทัน
สถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยและไม่เหมาะสม
3. หลีกเลี่ยงบุคคล สถานการณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม ที่จะนำ
ไปสู่การเกี่ยวข้องกับบุหรี่ สุรา สารเสพติด การติดเกมและการ
พนัน โดยเข้าใจผลเสียที่มีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา ตลอดจนชักชวนให้ผู้อ่ น
ื หลีกเลี่ยงสิง่ ที่เป็ นอันตรายต่อ
ตนเองและผู้อ่ น

4. ป้ องกันและหลีกเลี่ยงโรคและอุบัติเหตุที่พบบ่อยในชีวิตประจำ
วัน แจ้งผู้ใหญ่เพื่อขอความช่วยเหลือ บอกปั ญหาสุขภาพของ
ตนเอง ใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์ ให้การปฐมพยาบาลได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม และแสดงพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อ
สุขภาพของตนเองและส่วนรวมโดย รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร ด้านการป้ องกันโรค การใช้ยาและการปฐมพยาบาล เพื่อ
การดูแลสุขภาพที่ดี
ความรู้และสมรรถนะ ตัวอย่างสถานการณ์ กิจกรรม และเครื่อง
ที่เชื่อมโยงกัน มือที่ใช้สำหรับนักเรียน
๑. ดูแลรักษาร่างกาย และสุขภาพของตนเองให้ทำงานตามปกติ
โดยวิเคราะห์เหตุและผลของการรับประทานอาหาร การขับถ่าย
การเคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย การเล่นกีฬา การพัก
ผ่อนและการนอนหลับที่ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีและการเจริญ
เติบโต รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้านการสร้างเสริมสุข
ภาพ ข้อมูลบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สื่อโฆษณา ในการตัดสินใจเลือกซื้อและเลือกใช้อย่างมีเหตุผล
1.1 ดูแลรักษาร่างกาย ๑. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและ
และสุขภาพของ พัฒนาการ ของร่างกายและจิตใจตนเอง
ตนเองให้ทำงานตาม กับเกณฑ์มาตรฐาน (ในช่วงอายุ ๙ – ๑๒
ปกติ เลือกรับ ปี ) เพื่อวางแผนการรับประทานตามธง
ประทานอาหารให้ โภชนาการ การออกกำลังกายและการ
ครบหมู่ในปริมาณ พักผ่อนของตนเอง
เหมาะสมตามวัย การ ๒. วิเคราะห์เหตุและผลของการรับ
ขับถ่ายให้เป็ นเวลา ประทานอาหาร การขับถ่าย การ
เคลื่อนไหวร่างกาย เคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย
ออกกำลังกาย เล่น การเล่นกีฬา การพักผ่อนและการนอน
กีฬา พักผ่อน และ หลับที่สง่ ผลต่อการมีสุขภาพดีและการ
นอนหลับให้เพียงพอ เจริญเติบโต และวางแผนดูแลสุขภาพ
ที่ส่งผลต่อการมี ของตนเองและผู้อ่ น

สุขภาพดี และการ ๓. สังเกตและบันทึกพฤติกรรมการเล่น
เจริญเติบโต รวมทัง้ ดู การรับประทานอาหาร การขับถ่าย การ
ฟั ง อ่าน จับประเด็น เคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกาย
สำคัญข้อมูลข่าวสาร การเล่นกีฬา การพักผ่อนและการนอน
ด้านการสร้างเสริมสุข หลับที่สง่ ผลดีและผลเสียต่อสุขภาพ เช่น
ภาพ ข้อมูลบนฉลาก การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ไม่
โภชนาการและ เพียงพอ การเล่นผาดโผน การนอนดึก ที่
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ รู้ ทำให้เกิดอาการบาดเจ็บและเจ็บป่ วย
เท่าทัน และระวัง เช่น ปวดเมื่อย มีบาดแผล ข้อเท้าพลิก
อันตรายจากสื่อต่าง ๆ ปวดท้อง ท้องผูก เพื่อหาสาเหตุและ
รวมถึงสื่อสังคม แนวทาง การป้ องกันและรักษา
ออนไลน์ ในการตัดสิน ๔. อ่านข้อมูลบนฉลากโภชนาการและ
ใจเลือกซื้อ และเลือก ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ใช้อยู่ในบ้าน เพื่อ
ใช้อย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ประโยชน์และโทษ วันหมดอายุ
ส่วนประกอบ นำมาสู่การตัดสินใจใช้และ
ไม่ใช้ และการซื้อซ้ำในโอกาสต่อไป เช่น
ผลิตภัณฑ์อาหารกระป๋อง อาหารแปรรูป
อาหารแช่แข็ง เครื่องปรุงรส นม เครื่อง
ดื่ม ขนมขบเคีย
้ ว
๕. พานักเรียนไปร้านค้าให้เลือกซื้อ
อาหารและผลิตภัณฑ์สข
ุ ภาพ โดยการ
อ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนตัดสินใจอย่างมี
เหตุผลทัง้ ด้านราคา และคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ ร่วมกันตรวจสอบความเหมาะ
สม ของสินค้าที่ซ้อ
ื มาฟั ง ดู อ่านสื่อ
โฆษณา และร่วมกันอภิปราย ความน่า
เชื่อถือของข้อมูลจากสื่อเพื่อนำไปสูก
่ าร
ตัดสินใจเลือกซื้ออย่างมีเหตุผล
๒.ดูแลสุขภาพทางเพศตามช่วงวัย ป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจาก
การคุกคามทางเพศและไม่แสดงพฤติกรรมคุกคามทางเพศผู้อ่ น
ื ทัง้
กายและวาจา ด้วยความเข้าใจในผลเสียหรืออันตรายที่เกิดจาก
พฤติกรรมเสี่ยงอันอาจนำไปสู่ปัญหาทางเพศและผลกระทบอื่น ๆ
ที่ตามมา รู้ทันสื่อ และระวังอันตรายจากบุคคลที่ร้จ
ู ักผ่านทาง
ออนไลน์ซึ่งอาจนำไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ การข่มเหงรังแก
และการใช้ความรุนแรงทางออนไลน์ โดยหาทางออกได้อย่าง
เหมาะสม ปรึกษาและขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ที่ไว้ใจหรือ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ หลีกเลี่ยงและปฏิเสธอย่างรู้ทัน
สถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยและไม่เหมาะสม
2.1 ดูแลสุขภาพทาง ๑. อภิปรายสะท้อนความรู้สึกของตนเอง
เพศตามช่วงวัย เมื่อถูกสัมผัสร่างกาย การใช้สายตา การ
ป้ องกันตนเองให้ ใช้คำพูด การใช้ท่าทาง การส่งข้อความ
ปลอดภัยจากการ ส่วนตัว ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเดือดร้อน
คุกคามทางเพศ และ อึดอัด ไม่สบายใจ ไม่ปลอดภัย เพื่อให้
ไม่แสดงพฤติกรรม เข้าใจลักษณะ ของการถูกคุกคามทาง
คุกคามทางเพศต่อผู้ เพศที่นักเรียนต้องป้ องกันตนเอง
อื่นทัง้ กายและวาจา ๒. เล่าเรื่องสถานการณ์หรือเหตุการณ์
2.2 วิเคราะห์ เพื่อให้อภิปราย สะท้อนคิด นำไปสู่ความ
พฤติกรรมเสี่ยงที่อาจ เข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ น
ื และไม่ปฏิบัติ
นำไปสู่การถูกล่อลวง กับผู้อ่ น
ื ในสิง่ ตนเองไม่ชอบ (พฤติกรรมที่
ทางเพศ การมีเพศ แสดงถึงการคุกคามทางเพศ)
สัมพันธ์ การติดโรค ๓. เล่าเรื่องหรือเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึน

ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือนักเรียนเล่าเรื่องที่พบเจอ ในชีวิต
และการตัง้ ครรภ์ก่อน ประจำวัน เช่น จากละคร จากเรื่องที่คน
วัยอันควรปรึกษาและ อื่นเล่าให้ฟัง เพื่ออภิปราย แสดงความคิด
ขอความช่วยเหลือ เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติตนเมื่อตกอยู่ใน
จากบุคคลที่ไว้ใจ หรือ สถานการณ์นน
ั ้ เพื่อให้ปลอดภัยจากการ
หน่วยงานที่รับผิด คุกคามทางเพศ
ชอบ หลีกเลี่ยงการ ๔. จัดสถานการณ์จำลองฝึ กการป้ องกัน
เข้าถึงสื่อลามก ตนเองจากการถูกคุกคามทางเพศ ด้วยวิธี
อนาจาร รู้ทันสื่อที่นำ การที่เหมาะสม เช่น ปรึกษาผู้ใหญ่ที่ไว้ใจ
ไปสู่การถูกล่อลวงทาง โทรศัพท์ถึงหน่วยงาน ที่ให้คำปรึกษาและ
เพศ ยับยัง้ ตนเอง ความช่วยเหลือได้ เช่น หมายเลข
ปฏิเสธและต่อรอง โทรศัพท์ 1323 สายด่วนสุขภาพจิต การ
อย่างรู้ทันสถานการณ์ ตะโกนร้องขอความช่วยเหลือเพื่อแก้
ที่ไม่ปลอดภัยและไม่ ปั ญหาเฉพาะหน้า
เหมาะสม ๕. จัดสถานการณ์ให้ทราบถึงช่องทางการ
เข้ามาของสื่อลามกอนาจาร เช่น จาก
เพื่อน จากคนรู้จัก จากอินเทอร์เน็ต และ
ฝึ กวิธีการหลีกเลี่ยง เช่น การปฏิเสธ การ
ไม่เข้าไปดูส่ อ

๖. วิเคราะห์ลักษณะบุคคลที่ควรและไม่
ควรไว้วางใจ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
จากการถูกล่อลวงทางเพศ หรือถูกหลอก
จากคนแปลกหน้า เช่น คนที่เราไม่ร้จ
ู ัก
ที่มาทำสนิทสนมด้วยของกิน การใช้คำ
พูดหว่านล้อม ถึงแม้จากรูปลักษณ์
ภายนอกจะเป็ นคนที่แต่งตัวดี สะอาด
สุภาพ รวมถึงคนในครอบครัว
๗. เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเพศตามช่วงวัย การ
ปฏิบัติที่แสดงออกถึงการยอมรับความ
หลากหลายทางเพศ (LGBTQ+) และการ
ดูแลสุขอนามัยทางเพศ
๘. ประยุกต์ใช้ แผนการเรียนรู้ เพศวิถี
และสัมพันธภาพศึกษา จาก
https://www.teenpath.net/home.a
sp
อภิปรายผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์
ก่อนวัยอันควร เช่น การติดเชื้อเอดส์และ
การตัง้ ครร
3. หลีกเลี่ยงบุคคล สถานการณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม ที่จะนำ
ไปสู่การเกี่ยวข้องกับบุหรี่ สุรา สารเสพติด การติดเกมและการ
พนัน โดยเข้าใจผลเสียที่มีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา ตลอดจนชักชวนให้ผู้อ่ น
ื หลีกเลี่ยงสิง่ ที่เป็ นอันตรายต่อ
ตนเองและผู้อ่ น

3.1 หลีกเลี่ยงบุคคล ๑. อ่านข่าว ดูวิดีโอ สัมภาษณ์บุคคล เช่น
สถานการณ์ สถานที่ หมอ ผู้ป่วย ถึงผลเสียของการสูบบุหรี่
สภาพแวดล้อมที่จะ การดื่มสุรา การเสพสารเสพติด การติด
นำไปสู่การเกี่ยวข้อง เกมและการพนันที่มีต่อสุขภาพตนเอง
กับบุหรี่ สุรา สารเสพ คุณภาพชีวิต และครอบครัว
ติด การติดเกมและ ๒. อ่านข่าว ดูวิดีโอ ฟั งวิทยากรหรือ
การพนัน โดย บุคคลที่รับการบำบัดแล้วจากการสูบบุหรี่
วิเคราะห์ผลเสียที่มีต่อ การดื่มสุรา การเสพสารเสพติด การติด
ร่างกาย จิตใจ เกมและการพนัน สรุปแนวทางการ
อารมณ์ สังคม และ ป้ องกันตนเองให้ห่างไกลการสูบบุหรี่ การ
สติปัญญา ชักชวนให้ผู้ ดื่มสุรา การเสพสารเสพติดที่มีโอกาส
อื่นหลีกเลี่ยงอันตราย เสี่ยงตามบริบทของชุมชนที่นักเรียน
จาก บุหรี่ สุรา สาร อาศัยอยู่
เสพติด การติดเกม ๓. ฝึ กทักษะการปฏิเสธที่นำไปสู่การสูบ
และการพนัน บุหรี่ การดื่มสุรา การเสพสารเสพติด การ
ติดเกมและการพนัน ฝึ กทักษะการสื่อสาร
ให้ผู้อ่ น
ื หลีกเลี่ยงสาร การสูบบุหรี่ การดื่ม
สุรา การเสพสารเสพติด การติดเกมและ
การพนัน
4. ป้ องกันและหลีกเลี่ยงโรคและอุบัติเหตุที่พบบ่อยในชีวิตประจำ
วัน แจ้งผู้ใหญ่เพื่อขอความช่วยเหลือ บอกปั ญหาสุขภาพของ
ตนเอง ใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์ ให้การปฐมพยาบาลได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม และแสดงพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อ
สุขภาพของตนเองและส่วนรวมโดย รับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร ด้านการป้ องกันโรค การใช้ยาและการปฐมพยาบาล เพื่อ
การดูแลสุขภาพที่ดี
4.1 ป้ องกันและหลีก ๑. เล่นเกมจับคู่โรคที่พบบ่อยในชีวิต
เลี่ยงโรค และ ประจำวัน อาการ วิธีการรักษา ยาที่ใช้
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ใน รักษา
ชีวิตประจำวัน ๒. วางแผนการปฏิบัติตนเพื่อป้ องกัน
4.2 วิเคราะห์ปัญหา หลีกเลี่ยงและรักษาสุขภาพ นำไปปฏิบัติ
สุขภาพ ของตนเอง จริง บันทึกและตรวจสอบการปฏิบัติของ
ใช้ยา ปฐมพยาบาล ตนเอง
ได้อย่างถูกต้องและ - โรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน เช่น ไข้
เหมาะสม และตัดสิน หวัด ไข้เลือดออก โรคผิวหนัง ฟั นผุและ
ใจแสดงพฤติกรรม โรคปริทันต์
ที่รับผิดชอบต่อ - โรคที่พบเจอในชุมชน
สุขภาพ ของตนเอง - โรคติดต่อสำคัญที่ระบาดในปั จจุบัน
และส่วนรวมดู ฟั ง - ปั ญหาสุขภาพของตนเอง เช่น หอบหืด
อ่าน จับประเด็น แพ้อาหาร ภูมิแพ้อากาศและผิวหนัง
สำคัญข้อมูลข่าวสาร ๓. วางแผนการปฏิบัติตนเพื่อป้ องกัน
รู้เท่าทัน และระวัง หลีกเลี่ยงและปฐมพยาบาล เมื่อเกิด
อันตรายจากสื่อต่าง ๆ อุบัติเหตุ นำไปปฏิบัติจริง เช่น อุบัติเหตุ
ด้านการป้ องกันโรค จากการเดินทาง การเล่น การออกกำลัง
การใช้ยาและการ กาย การเคลื่อนไหวร่างกาย
ปฐมพยาบาล เพื่อการ ๔. สำรวจยาสามัญประจำบ้านที่มีในบ้าน
ดูแลสุขภาพที่ดี ของตนเอง และวิธีการใช้ยา แต่ละชนิด
นำมาอภิปรายแลกเปลี่ยนในห้องเรียน
เพื่อให้ร้จ
ู ักยาสามัญประจำบ้านและวิธี
การใช้
๕. ฝึ กอ่านฉลากยาสามัญประจำบ้าน
๖. จัดสถานการณ์ให้นักเรียนได้ตัดสินใจ
ใช้ยาสามัญประจำบ้านที่ถูกต้องตาม
อาการ และการเจ็บป่ วย
๖. ฝึ กปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
อย่างปลอดภัย เช่น เป็ นลม บาดแผลเปิ ด
อาการฟกช้า แผลพุพอง อาการจาก
แมลงสัตว์กัดต่อย
๗. ฝึ กการโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉิน เช่น
การแจ้งข้อมูลการเจ็บป่ วยฉุกเฉิน
หมายเลขโทรศัพท์ 1669 ต้องแจ้งข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน ครบถ้วน
๘. ฟั ง ดู อ่านสื่อโฆษณายาและผลิตภัณฑ์
เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล เช่น พลาส
เตอร์ปิดแผล แผ่นลดไข้ เจลประคบเย็น
และร่วมกันอภิปรายความน่าเชื่อถือของ
ข้อมูล เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจเลือกซื้อ
และเลือกใช้อย่างมีเหตุผล
๙. จัดสถานการณ์ร้านค้าจำลองใน
ห้องเรียน ฝึ กการเลือกซื้อยาและ
ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการปฐมพยาบาล โดย
การอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนตัดสินใจ
อย่างมีเหตุผลทัง้ ด้านราคาและคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ์ ร่วมกันตรวจสอบความ
เหมาะสมของสินค้าที่ซ้อ
ื มา
แสดงบทบาทสมมติและนำไปปฏิบัติใน
ชีวิตจริงที่แสดงออกถึง ความรับผิดชอบ
ต่อสุขภาพของส่วนรวม เช่น เมื่อเป็ นไข้
หวัดต้องสวมหน้ากากอนามัยในที่สำ
ธารณะ เมื่อไอ จาม ต้องปิ ดปาก ล้างมือ
ให้สะอาดและสม่ำเสมอ รักษาความ
สะอาดของใช้ส่วนตัวที่อาจแพร่เชื้อโรคสู่
ผู้อ่ น
ื ได้
การเคลื่อนไหวร่างกายและกิจกรรมกีฬาตามกฎ กติกาและข้อ
ตกลง อย่างสนุกสนานและปลอดภัยทัง้ ต่อตนเองและผู้อ่ น

ผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อจบช่วงชัน
้ / ความรู้และสมรรถนะที่เชื่อม
โยงกัน/ ตัวอย่างสถานการณ์ กิจกรรม และเครื่องมือที่ใช้
สำหรับนักเรียน
๕. เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วย
ตนเองและร่วมกับผู้อ่ น
ื ทัง้ แบบอยู่กับที่ แบบเคลื่อนที่ และแบบ
ใช้อุปกรณ์ประกอบ ผ่านการฝึ กทักษะการเคลื่อนไหวเรื่องการรับ
แรง การใช้แรง ความสมดุลของร่างกายอย่างมีสติ สม่ำเสมอ และ
คำนึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น
ื โดยเห็นคุณค่าของ
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างต่อเนื่อง
๖. ออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภท
บุคคลและทีม ที่ตนเองชอบ และมีความสามารถ โดยเห็น
ประโยชน์ที่เกิดกับตนเองและผู้อ่ น
ื จากการปฏิบัติเป็ นประจำ เป็ น
ทัง้ ผูเ้ ล่นและผู้ดำเนินการได้อย่างเหมาะสมตามวัย ยอมรับความ
แตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกมและกีฬา มีความสามัคคี มี
น้ำใจนักกีฬา ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลง วิเคราะห์ทักษะ
การเล่น จุดแข็งกลวิธีการเล่นของทีมเพื่อปรับปรุงทีมให้ประสบ
ความสำเร็จ
ความรู้และสมรรถนะที่เชื่อม ตัวอย่างสถานการณ์ กิจกรรม
โยงกัน และเครื่องมือที่ใช้สำหรับ
นักเรียน
5. เคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและมีกิจกรรมทางกายด้วย
ตนเองและร่วมกับผู้อ่ น
ื ทัง้ แบบอยู่กับที่ แบบเคลื่อนที่ และแบบ
ใช้อุปกรณ์ประกอบ ผ่านการฝึ กทักษะการเคลื่อนไหวเรื่องการรับ
แรง การใช้แรง ความสมดุลของร่างกายอย่างมีสติ สม่ำเสมอ และ
คำนึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น
ื โดยเห็นคุณค่า ของ
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างต่อเนื่อง
5.1 เคลื่อนไหวร่างกายแบบ ๑. ฝึ กการเคลื่อนไหวร่างกาย
ผสมผสาน และมีกิจกรรมทาง และมีกิจกรรมทางกาย แบบ
กายด้วยตนเอง และร่วมกับผู้ ผสมผสานเพื่อเพิ่มพูนทักษะ
อื่น ทัง้ แบบอยู่กับที่ แบบ การ
เคลื่อนที่ และแบบใช้อุปกรณ์ เคลื่อนไหว อย่างเป็ นระบบ
ประกอบ โดยฝึ กปฏิบัติอย่าง - แบบอยู่กับที่ เช่น กระโดด
สม่ำเสมอ ผ่านการฝึ กทักษะ หมุนตัว กระโดด
การเคลื่อนไหว เรื่องการรับแรง เหยียดตัว
การใช้แรง ความสมดุลของ - แบบเคลื่อนที่ เช่น ซิกแซ็ก วิ่ง
ร่างกาย มีกิจกรรมทางกาย เปลี่ยนทิศทาง
อย่างมีสติ เพื่อพัฒนา ควบม้า
สมรรถภาพทางกาย อย่างต่อ - แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น
เนื่อง โดยคำนึงถึงความ บอล เชือก
ปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ น
ื - แบบผลัดในลักษณะผสม
ผสาน
๒. ฝึ กกายบริหารประกอบเพลง
ยืดหยุ่นขัน
้ พื้นฐาน ที่ใช้ท่าต่อ
เนื่อง และการต่อตัวท่าง่าย ฝึ ก
กายบริหาร ท่ามือเปล่า
ประกอบจังหวะ
๓. ทำกิจกรรมทางกาย
- เปิ ดโอกาสให้นักเรียนผลัดกัน
เป็ นผู้นำการเคลื่อนไหว ทัง้
เดี่ยวและร่วมคิดเป็ นทีม โดย
ศึกษาวิธีการที่ถูกต้องจากแหล่ง
ข้อมูลต่างๆ
- เล่นเกมและกิจกรรมแบบผลัด
ที่มีการตี เขี่ย รับ–ส่งสิ่งของ
ขว้าง และวิ่ง
- ฝึ กทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการ
ปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่น
กีฬา
- ฝึ กการเคลื่อนไหวในเรื่องการ
รับแรง การใช้แรง และความ
สมดุล กับการพัฒนาทักษะการ
เคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและ
กีฬา
- กิจกรรมทางกายที่จำเป็ นใน
การใช้ชีวิตประจำวัน ที่เชื่อม
โยงกับ ความปลอดภัย เช่น
ว่ายน้ำ เดินวิ่ง
- กิจกรรมทางกายที่สนใจ เช่น
ขี่จักรยาน สำรวจธรรมชาติ
จัดกิจกรรมนันทนาการให้
นักเรียนเข้าร่วม อย่างสม่ำเสมอ
อย่างน้อย 1 กิจกรรม
6. ออกกำลังกาย เล่นเกม เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภท
บุคคล คู่ และทีม ที่ตนเองชอบและมีความสามารถ โดยเห็น
ประโยชน์ที่เกิดกับตนเองและผู้อ่ น
ื จากการปฏิบัติเป็ นประจำ เป็ น
ทัง้ ผูเ้ ล่น และผู้ดำเนินการได้อย่างเหมาะสมตามวัย ยอมรับความ
แตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกมและกีฬา มีความสามัคคี มี
น้ำใจนักกีฬา ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลง วิเคราะห์ทักษะ
การเล่น จุดแข็ง กลวิธีการเล่นของทีมเพื่อปรับปรุงทีมให้ประสบ
ความสำเร็จ
6.1 ออกกำลังกาย เล่นเกม เล่น ๑. เพิ่มพูนทักษะการออกกำลัง
กีฬาไทย และกีฬาสากล กาย วิเคราะห์ประโยชน์ และ
ประเภทบุคคล คู่ และทีม หลักการของการออกกำลังกาย
สะท้อนผลที่เกิดกับตนเองและผู้ เพื่อสุขภาพ
อื่นจากการปฏิบัติเป็ นประจำ ๒. เล่นกีฬาประเภทบุคคลและ
สม่ำเสมอ ได้อย่างเหมาะสม ประเภททีมที่ช่ น
ื ชอบ เหมาะสม
ตามวัย เข้าใจและยอมรับความ กับวัยอย่างสม่ำเสมอ ตามกฎ
แตกต่างระหว่างบุคคล ในการ กติกา
เล่นเกมและกีฬาใช้อุปกรณ์และ - ทักษะกีฬาขัน
้ พื้นฐาน เช่น
สถานที่ได้อย่างถูกต้อง และคุ้ม ทักษะการโยนลูกบอล รับ
ค่า ลูกบอล
- กีฬาไทย เช่น ตะกร้อวง วิ่งชัก
ธง
กีฬาสากล เช่น กรีฑาประเภทลู่
และลาน แบดมินตัน เปตอง
ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส ว่ายน้ำ
วอลเลย์บอล
๓. การออกกำลังกาย เล่นเกม
ตามความชอบของตนเองและ
เล่นกีฬาร่วมกับผู้อ่ น

๔. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
เพื่อวางแผนปรับปรุง
สมรรถภาพทางกายตามผลการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
๕. วิเคราะห์ผลพัฒนาการของ
ตนเองในการออกกำลังกาย
เล่นเกม และเล่นกีฬาตาม
ตัวอย่างและแบบปฏิบัติของผู้
อื่น
๖. อภิปรายและวิเคราะห์
คุณค่าของการออกกำลังกาย
เล่นเกม และเล่นกีฬาที่มีต่อ
สุขภาพ การปฏิบัติตามกฎ
กติกา การเล่นกีฬาตามชนิด
กีฬาที่เล่น
6.2 ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ ๗. เล่นเกมที่ใช้ทักษะการ
ในการดู ฟั ง อ่าน จับประเด็น วางแผน เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกม
สำคัญและนำเสนอข้อมูล เลียนแบบ เกมนำ และการละ
ข่าวสารเกี่ยวกับการออกกำลัง เล่นพื้นเมือง
กายและกีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพ ๘. จัดสถานการณ์ให้นก
ั เรียน
ผลัดกันเป็ นผู้เล่นและผู้ดำเนิน
การ และเป็ นสมาชิกทีมให้ได้
เล่นกับเพื่อที่มีความสามารถที่
6.3 เล่นกีฬาร่วมกับทีม ด้วย แตกต่างกัน ฝึ กใช้อุปกรณ์และ
ความสามัคคี มีน้ำใจนักกีฬา สถานที่ได้อย่างถูกต้องและคุ้ม
ปฏิเสธการใช้ความรุนแรง ค่า
ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อ ๑. ค้นหาและนำเสนอกฎ กติกา
ตกลง จัดการอารมณ์ ความรู้สึก มารยาท ในการออกกำลังกาย
และความเครียด ร่วมวางแผน เล่นเกมและเล่นกีฬา โดยใช้
และปรับปรุงการเล่นโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล
ข้อความ สัญลักษณ์ แผนภาพ ๒. ติดตามการจัดการแข่งขัน
แบบจำลอง อย่างง่าย วิเคราะห์ กีฬาที่สนใจ
ทักษะการเล่น จุดแข็ง กลวิธี ค้นหาและนำเสนอข้อมูลเกี่ยว
การเล่นของทีม เพื่อเพิ่มพูน กับการออกกำลังกายและการ
ความสามารถทางกาย ของ เล่นกีฬาที่ปลอดภัย
ตนเองและผู้อ่ น
ื ให้ทีมประสบ ๑. วิเคราะห์ทักษะการเล่นกีฬา
ความสำเร็จ ของตน วิธีการรุก และวิธี
ป้ องกันในการเล่นกีฬา
๒. วางแผนเล่นเกม และกีฬา
โดยใช้ข้อมูลด้านทักษะกลไก
ของตนเองและสมาชิกในทีม
เพื่อเพิ่มพูนความสามารถทาง
กาย ของตนเองและสมาชิก
ปรับปรุงทีมให้ประสบความ
สำเร็จ
๓. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากการ
ฟั ง ดู อ่าน สัมภาษณ์ แลก
เปลี่ยนประสบการณ์กับบุคคล
ต่าง ๆ ผสานกับความคิดของ
ตนเองและเพื่อนในทีม เพื่อนำ
มาวางแผน แก้ปัญหา
พัฒนาการเล่นกีฬาของตนเอง
และทีมให้ดียิ่งขึน

๔. ใช้ข้อความ สัญลักษณ์
แผนภาพ แบบจำลองอย่างง่าย
ในการนำเสนอความคิด
๕. ฝึ กซ้อมการเล่นกีฬาเป็ นทีม
กับเพื่อน ผ่านสถานการณ์ การ
ร่วมฝึ กฝน ร่วมฝ่ าฟั น รวมกัน
เป็ นทีม ยอมรับความแตกต่าง
ความถนัดของแต่ละคน
๖. จัดสถานการณ์การแข่งขัน
กีฬาเพื่อฝึ กควบคุมจัดการ
อารมณ์ ความรู้สึกและ
ความเครียด และการคำนึงถึง
ความปลอดภัย ของตนเองและ
ผู้อ่ น

๗. จัดสถานการณ์ให้ทางเลือก
ในการเล่นกีฬาที่หลากหลาย
และจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อ
ฝึ กฝนสร้างความสามัคคี
ตระหนักถึงความแตกต่าง
ระหว่างตนเองกับผู้อ่ น
ื มีน้ำใจ
นักกีฬา ปฏิเสธการใช้ความ
รุนแรง ปฏิบัติตามกฎ กติกา
มารยาทและข้อตกลง
๘. จัดการแข่งขันทักษะกีฬาขัน

พื้นฐาน และกีฬาระหว่าง
ห้องเรียน ชัน
้ เรียน ร่วมกันใน
โรงเรียน หรือระหว่างโรงเรียน
เช่น กีฬาสี กีฬากลุ่มโรงเรียน
โดยมอบหมายให้นักเรียนมีส่วน
ร่วมทัง้ ในการจัดการแข่งขัน
และการเป็ นนักกีฬา เช่น ฝ่ าย
สวัสดิการ ฝ่ ายกรรมการ และผู้
ตัดสิน ฝ่ ายสถานที่ ฝ่ ายกอง
เชียร์

การจัดการอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง สร้างและรักษา
สัมพันธภาพที่ดี
ผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อจบช่วงชัน
้ / ความรู้และสมรรถนะที่เชื่อม
โยงกัน/ ตัวอย่างสถานการณ์ กิจกรรม และเครื่องมือที่ใช้สำหรับ
นักเรียน
7. มีสติ รู้เท่าทันอารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึน
้ โดยรู้ขีดจำกัด
ด้านอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง รู้สาเหตุของความเครียด
นำไปสู่การควบคุมตนเองให้แสดงอารมณ์และความรู้สึกใน
สถานการณ์ต่าง ๆ และการบรรเทาความเครียดอย่างเหมาะสม
และเข้าใจผลดีและผลเสียที่เกิดขึน
้ ต่อตนเองและผู้อ่ น

8. สร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว เพื่อนและบุคคล
ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน แก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ใช้
ความรุนแรง ยอมรับความแตกต่างระหว่างของบุคคล
ความรู้และสมรรถนะที่เชื่อม ตัวอย่างสถานการณ์
โยงกัน กิจกรรม และเครื่องมือที่ใช้
สำหรับนักเรียน
๗. มีสติ รู้เท่าทันอารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึน
้ โดยรู้ขีดจำกัด
ด้านอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง รู้สาเหตุของความเครียด
นำไปสูก
่ ารควบคุมตนเองให้แสดงอารมณ์และความรู้สึกใน
สถานการณ์ต่าง ๆ และการบรรเทาความเครียดอย่างเหมาะสม
และเข้าใจผลดีและผลเสียที่เกิดขึน
้ ต่อตนเองและผู้อ่ น

7.1 การมีสติ รู้เท่าทันอารมณ์ ๑. กำหนดสถานการณ์ที่
และความรู้สึก ที่เกิดขึน
้ โดยรู้ขีด ท้าทายให้นักเรียนได้ทำงาน
จำกัดด้านอารมณ์ และความรู้สึก หรือใช้ชีวิตร่วมกันกับเพื่อน
ของตนเอง เป็ นสถานการณ์ที่มีโอกาส เกิด
7.2 จัดการอารมณ์และความรู้สึก ความขัดแย้ง ให้นักเรียนได้ฝึก
ค้นหาสาเหตุของอารมณ์และ ควบคุม จัดการอารมณ์และ
ความเครียด และมีวิธีการ ความรู้สึกของตนเองต่อ
บรรเทาความเครียดใน สถานการณ์ที่ทำให้เกิด การ
สถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเข้าใจ แสดงอารมณ์และความรู้สึกใน
ผลดีและผลเสียที่เกิดขึน
้ ด้านบวกและลบ เช่น
- เล่นเกมเป็ นทีม ที่ต้องร่วม
กันทำให้ทีมของตนเองชนะ
โดยใช้ความสามารถที่หลาก
หลายของแต่ละคนในทีม
- ทำงานกลุ่มที่ต้องร่วมแรง
ร่วมใจกันทำให้สำเร็จ
๒. วิเคราะห์ผลทางบวกและ
ทางลบของอารมณ์ และความ
รู้สึกที่มีต่อสุขภาพกายและจิต
ของตนเอง เช่น โกรธ
หงุดหงิด เครียด เกลียด
เสียใจ เศร้าใจ วิตกกังวล กลัว
ก้าวร้าว อิจฉา ริษยา เบื่อ
หน่าย ท้อแท้ ดีใจ ชอบใจ รัก
ชื่นชม สนุก สุขสบาย
ผลที่มีต่อสุขภาพ
ทางบวก : สดชื่น ยิม
้ แย้ม
แจ่มใส ร่าเริงฯลฯ
ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดท้อง
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
หงุดหงิด อาละวาด พูดคำ
หยาบ ฯลฯ
๓. บันทึกอารมณ์และความ
รู้สึกที่ตนเองแสดงออกอย่าง
เหมาะสมและไม่เหมาะสมใน
สถานการณ์ต่าง ๆ นำมา
วางแผนพัฒนาการแสดงออก
ทางอารมณ์และความรู้สึกของ
ตนเอง
๔. สืบค้นวิธีการบรรเทา
ความเครียด อาการวิตกกังวล
และความโศกเศร้า เลือกวิธีที่
เหมาะสมกับตนเอง นำมาท
ดลองใช้เพื่อนำไปสู่การไปใช้
ในชีวิตจริง เมื่อประสบ
ความเครียด
๕. ทำกิจกรรมเอาใจเขามา
ใส่ใจเรา
- ฝึ กการสื่อสารด้วยถ้อยคาที่
ตนเองต้องการได้รับ จากผู้อ่ น

เช่นเดียวกัน เหมาะสมกับ
กาลเทศะ และบุคคล
- ฝึ กการสื่อสารที่แสดงความ
เห็นใจผู้อ่ น
ื อย่างจริงใจ
- ฝึ กการใช้คำพูดชื่นชมผู้อ่ น

อย่างจริงใจ
- ฝึ กการแสดงออกทางความ
คิดของตนเอง อย่างจริงใจ
โดยไม่ทำลายความรู้สึกของผู้
อื่น
- ฝึ กการตอบสนองพฤติกรรม
ที่ไม่สุภาพ หรือ หยาบคาย
ของผู้อ่ น
ื อย่างเหมาะสม
- ฝึ กรู้จักปฏิเสธและการต้าน
แรงกดดันเชิงลบ จากเพื่อน
หรือสถานการณ์ต่าง ๆ
ฝึ กการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
โดยเน้นประเด็นปั ญหา
มากกว่าตัวบุคคล ไม่ใช้ความ
รุนแรง
๘. สร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว เพื่อนและบุคคล
ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน แก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ใช้
ความรุนแรง ยอมรับความแตกต่างระหว่างของบุคคล
8.1 สร้างและรักษาสัมพันธภาพ ๑. ทำกิจกรรมในสถานการณ์
ที่ดี กับครอบครัว เพื่อนและ ทัง้ ในชีวิตประจำวัน และ
บุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิต สถานการณ์ ในโอกาสพิเศษ
ประจำวัน โดยเลือกวิธีการที่ ร่วมกับเพื่อน ครู และคนใน
เหมาะสมกับสถานการณ์ คำนึง ครอบครัว
ถึงผลดีและผลเสีย ของทางเลือก ๒. จัดสถานการณ์ที่ท้าทายให้
ที่มีต่อตนเองและผู้อ่ น
ื นักเรียนได้ทำงานหรือใช้ชีวิต
8.2 รับรู้อารมณ์และความรู้สึก ร่วมกันกับเพื่อน มีโอกาสให้
ของผู้อ่ น
ื ทำงานกับเพื่อนร่วมห้อง
8.3 ไม่กลั่นแกล้งผู้อ่ น
ื แสดงออก เพื่อนในระดับชัน
้ นักเรียน
ด้วยเข้าใจ ความแตกต่างระหว่าง ระดับชัน
้ อื่น ๆ เป็ น
ตนเองกับผู้อ่ น
ื และเห็นอก สถานการณ์ ที่เน้นให้นักเรียน
เห็นใจ แก้ไขความขัดแย้งโดยไม่ ได้ทำความรู้จักกับบุคคลที่ไม่
ใช้ความรุนแรง คุ้นเคย เพื่อฝึ กการสร้าง
สัมพันธภาพ
๓. ทำกิจกรรมเพื่อนคู่คิด ให้
นักเรียนดูแลเพื่อนที่เป็ นคู่
ของตนเอง และสลับคูไ่ ด้ เพื่อ
ฝึ กการสร้างและรักษา
สัมพันธภาพ
๔. เล่นเกม ทำกิจกรรมเพื่อฝึ ก
การรับรู้อารมณ์และความรู้
ของเพื่อน และฝึ กการ
แสดงออกให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์
๕. ฝึ กวิเคราะห์อารมณ์และ
ความรู้สึกของตัวละครใน
นิทานหรือเรื่องเล่า
- ฝึ กการแสดงออกที่เหมาะสม
ตามอารมณ์ และความรู้สึก
ของตัวละคร เช่น ตัวละครมี
อารมณ์โกรธ ทำลายข้าวของ
นักเรียนจะแสดงออกอย่างไร
ถ้านักเรียนเป็ นตัวละครนัน

- ฝึ กการรับมือกับอารมณ์และ
ความรู้สึกของตัวละคร เช่น
หากเจอตัวละครที่มีอารมณ์
โกรธ และทำลายข้าวของ
นักเรียนจะรับมืออย่างไร
๖. ประชุมผู้ปกครอง ฟั ง
วิทยากร ให้คำแนะนำเรื่อง
การเลีย
้ งดูลูกให้เข้าใจพัฒนา
ตามวัยของนักเรียน เชิญชวนผู้
ปกครอง ให้สร้างและรักษา
สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้
ปกครอง และนักเรียน
๗. จัดกิจกรรมให้นักเรียนและ
ผู้ปกครองทำร่วมกันทัง้ ที่บ้าน
และที่โรงเรียน
- ที่บ้าน เช่น การประกอบ
อาหาร การทำงานบ้าน การ
ประดิษฐ์ของให้ผู้ปกครองใน
โอกาสพิเศษที่โรงเรียน เช่น
การเล่นกีฬาและกิจกรรม
นันทนาการ
ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับรูปแบบการนำเสนอสาระการเรียน
รู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะเฉพาะและผลลัพธ์การเรียนรู้
(ข้อเสนอแนะและความเห็นจากคณะทำงาน)
สมรรถนะ ตัวบ่งชี ้ รายการ ผลลัพธ์การ
เฉพาะ พฤติกรรม เรียนรู้เมื่อจบ
ช่วงชัน
้ ที่2
๑. การสร้าง 1. ความ 1.1 เลือกรับ ๑. ดูแลรักษา
เสริมสุขภาพ สามารถใน ประทาน ร่างกาย และ
และความ การดูแล อาหารให้ครบ สุขภาพของ
ปลอดภัย รักษาร่างกาย หมู่ ในปริมาณ ตนเองให้ทำงาน
ของตนเอง และสุขภาพ เหมาะสมตาม ตามปกติ โดย
และผู้อ่ น
ื ของตนเองให้ วัย วิเคราะห์เหตุ
ทำงานตาม หลีกเลี่ยง และผลของการ
ปกติ อาหารและ รับประทาน
2. ความ ผลิตภัณฑ์ อาหาร การขับ
สามารถใน สุขภาพที่เป็ น ถ่าย การ
การป้ องกัน อันตรายต่อ เคลื่อนไหว
ตนเองจาก สุขภาพ ขับ ร่างกาย การ
อุบัติเหตุ ถ่ายให้เป็ น ออกกำลังกาย
และการใช้ เวลา พักผ่อน การเล่นกีฬา
สารเสพติด และนอนหลับ การพักผ่อนและ
3. ความ ให้เพียงพอ การนอนหลับที่
สามารถใน 1.2 เข้าร่วม ส่งผลต่อ การมี
การดูแล กิจกรรม สุขภาพดีและ
สุขภาพทาง นันทนาการ การเจริญเติบโต
เพศที่เหมาะ และออกกำลัง รับรู้และแลก
สมกับวัย กายสม่ำเสมอ เปลี่ยนข้อมูล
4. ความ 1.3 หลีกเลี่ยง ข่าวสารด้านการ
สามารถใน การเกี่ยวข้อง สร้างเสริมสุข
การใช้และรู้ กับบุหรี่ สุรา ภาพ ข้อมูลบน
เท่าทันสื่อ สารเสพติด ฉลากผลิตภัณฑ์
เทคโนโลยี การติดเกม อาหาร ยา และ
อย่างถูกต้อง และการพนัน ผลิตภัณฑ์
ปลอดภัย ตลอดจน สุขภาพ สื่อ
5. ความ ชักชวนผู้อ่ น
ื โฆษณา ในการ
สามารถใน ให้หลีกเลี่ยง ตัดสินใจเลือก
การ บุคคล ซื้อและเลือกใช้
ปฐมพยาบาล สถานการณ์ อย่างมีเหตุผล
ตนเองและผู้ สถานที่ สภาพ ๒. ดูแลสุขภาพ
อื่นให้ แวดล้อมที่เป็ น ทางเพศตามช่วง
ปลอดภัยจาก อันตรายต่อ วัย ป้ องกัน
การเจ็บป่ วย ตนเองและผู้ ตนเองให้
อื่น ปลอดภัยจาก
1.4 ป้ องกัน การคุกคามทาง
ตนเองจากโรค เพศและไม่
และอุบัติเหตุที่ แสดงพฤติกรรม
พบบ่อยในชีวิต คุกคามทางเพศ
ประจำวัน ผู้อ่ น
ื ทัง้ กายและ
และขอความ
ช่วยเหลือเมื่อ
มีปัญหา
สุขภาพ

สมรรถนะ ตัวบ่งชี ้ รายการ ผลลัพธ์การ


เฉพาะ พฤติกรรม เรียนรู้เมื่อจบ
ช่วงชัน
้ ที่2
1.5 ใช้ยาอย่าง วาจา ด้วยความ
ถูกต้องตามคำ เข้าใจในผลเสีย
แนะนำของ หรืออันตรายที่
แพทย์ หรือ เกิดจาก
เภสัชกร พฤติกรรมเสี่ยง
1.6 อันอาจนำไปสู่
ปฐมพยาบาล ปั ญหาทางเพศ
ได้อย่างถูกต้อง และผลกระทบ
ตามความ อื่นๆที่ตามมา
เหมาะสมกับ รู้ทันสื่อ และ
สถานการณ์ ระวังอันตราย
1.7 แสดง จากบุคคลที่ร้จ
ู ัก
พฤติกรรมที่รับ ผ่านทาง
ผิดชอบต่อ ออนไลน์ซงึ่ อาจ
สุขภาพของ นำไปสูก
่ ารล่วง
ตนเองและ ละเมิดทางเพศ
สังคมส่วนรวม การข่มเหงรังแก
1.8 ดูแล และการใช้ความ
สุขภาพทาง รุนแรงทาง
เพศ(SDG ออนไลน์ โดยหา
vocab)ตาม ทางออกได้อย่าง
ช่วงวัย ป้ องกัน เหมาะสม
ตนเองให้ ปรึกษาและขอ
ปลอดภัยจาก ความช่วยเหลือ
การคุกคาม จากผู้ใหญ่ที่
ทางเพศและไม่ ไว้ใจหรือหน่วย
แสดง งานที่รับผิดชอบ
พฤติกรรม หลีกเลี่ยงและ
คุกคามทาง ปฏิเสธอย่าง
เพศผู้อ่ น
ื ทัง้ รู้ทัน
กายและวาจา สถานการณ์ที่ไม่
ด้วยความ ปลอดภัยและไม่
เข้าใจในผล เหมาะสม
เสียหรือ 3. หลีกเลี่ยง
อันตรายที่เกิด บุคคล
จากพฤติกรรม สถานการณ์
เสี่ยงอันอาจ สถานที่ สภาพ
นำไปสู่ปัญหา แวดล้อม ที่จะ
ทางเพศและ นำไปสูก
่ าร
ผลกระทบ เกี่ยวข้องกับ
อื่นๆที่ตามมา บุหรี่ สุรา สาร
1.9 สืบค้นและ เสพติด การติด
แลกเปลี่ยน เกมและการ
ข้อมูลข่าวสาร พนัน โดยเข้าใจ
ด้านการส่ง ผลเสียที่มีต่อ
เสริมสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ
และการ อารมณ์ สังคม
ป้ องกันโรค และสติปัญญา

สมรรถนะ ตัวบ่งชี ้ รายการ ผลลัพธ์การ


เฉพาะ พฤติกรรม เรียนรู้เมื่อจบ
ช่วงชัน
้ ที่2
1.10 รู้เท่าทัน ตลอดจน
สื่อ และระวัง ชักชวนให้ผู้อ่ น

อันตรายจาก หลีกเลี่ยงสิง่ ที่
สื่อสังคม เป็ นอันตรายต่อ
ออนไลน์ ตนเองและผู้อ่ น

4. ป้ องกันและ
หลีกเลี่ยงโรค
และอุบัติเหตุที่
พบบ่อยในชีวิต
ประจำวัน แจ้ง
ผู้ใหญ่เพื่อขอ
ความช่วยเหลือ
บอกปั ญหา
สุขภาพของ
ตนเอง ใช้ยา
ตามคำแนะนำ
ของแพทย์
ให้การ
ปฐมพยาบาลได้
อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม
และแสดง
พฤติกรรมที่รับ
ผิดชอบต่อ
สุขภาพของ
ตนเองและส่วน
รวมโดย รับรู้
และแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร
ด้านการป้ องกัน
โรค การใช้ยา
และการ
ปฐมพยาบาล
เพื่อการดูแล
สุขภาพที่ดี
-คำว่า
“วิเคราะห์
ปั จจัย”
(หวาน มัน
เค็ม:เพิ่ม
ใน content)
(อวัยวะทุกอย่าง
ต้องทำงาน
สัมพันธ์กันอย่าง
สมดุล)

สมรรถนะ ตัวบ่งชี ้ รายการ ผลลัพธ์การ


เฉพาะ พฤติกรรม เรียนรู้เมื่อจบ
ช่วงชัน
้ ที่2
๒. การ 1. ความ 2.1 5. เคลื่อนไหว
เคลื่อนไหว สามารถใน เคลื่อนไหว ร่างกายแบบ
ร่างกายและ การ ร่างกายแบบ ผสมผสานและมี
กิจกรรม เคลื่อนไหว ผสมผสาน อยู่ กิจกรรมทาง
กีฬาตามกฎ ร่างกายแบบ กับที่ แบบ กายด้วยตนเอง
กติกาและ ผสมผสาน เคลื่อนที่ แบบ และร่วมกับผู้อ่ น

ข้อตกลง 2. ความ ใช้อุปกรณ์ ทัง้ แบบอยู่กับที่
อย่าง สามารถใน ประกอบ และ แบบเคลื่อนที่
สนุกสนาน การทำ ไม่มีอุปกรณ์ และแบบใช้
และ กิจกรรมทาง 2.2 ฝึ กทักษะ อุปกรณ์
ปลอดภัยทัง้ กายในชีวิต การเคลื่อนไหว ประกอบ ผ่าน
ต่อตนเอง ประจำวัน ในการรับแรง การฝึ กทักษะ
และผู้อ่ น
ื 3. ความ การใช้แรง การเคลื่อนไหว
สามารถใน ความสมดุล เรื่องการรับแรง
การพัฒนา ของร่างกาย การใช้แรง
สมรรถภาพ อย่างมีสติ ความสมดุลของ
ทางกาย สม่ำเสมอ และ ร่างกายอย่างมี
4. ความ คำนึงถึงความ สติ สม่ำเสมอ
สามารถใน ปลอดภัยของ และคำนึงถึง
การออก ตนเองและผู้ ความปลอดภัย
กำลังกาย อื่น ของตนเองและ
เล่นเกม และ 2.3 ปฏิบัติ ผู้อ่ น
ื โดยเห็น
กีฬา อย่าง กิจกรรมทาง คุณค่าของการ
สร้างสรรค์ กายด้วย พัฒนา
สนุกสนาน ตนเอง และ สมรรถภาพทาง
และ ร่วมกับผู้อ่ น
ื กายอย่างต่อ
ปลอดภัย 2.4 ทดสอบ เนื่อง
และพัฒนา 6. ออกกำลัง
สมรรถภาพ กาย เล่นเกม
ทางกายอย่าง เล่นกีฬาไทย
ต่อเนื่อง และกีฬาสากล
2.5 ออกกำลัง ประเภทบุคคล
กาย เล่นเกม และทีม ที่
เล่นกีฬาไทย ตนเองชอบและ
และกีฬาสากล มีความสามารถ
ประเภทบุคคล โดยเห็น
และทีม ที่ ประโยชน์ที่เกิด
ตนเองชอบ กับตนเองและผู้
และมีความ อื่นจากการ
สามารถ ปฏิบัติเป็ น
เหมาะสมตาม ประจำ เป็ นทัง้ ผู้
วัย เล่นและผู้
2.6 เล่นเกม ดำเนินการได้
และกีฬา โดย อย่างเหมาะสม
เข้าใจและ ตามวัย ยอมรับ
ยอมรับความ ความแตกต่าง
แตกต่าง ระหว่างบุคคล
ระหว่างบุคคล ในการเล่นเกม
2.7 ปฏิบัติ และกีฬา มี
ตามกฎ กติกา ความสามัคคี มี
ข้อตกลง ของ น้ำใจนักกีฬา
การเล่นเกม ปฏิบัติตามกฎ
และกีฬา กติกาและข้อ
ตกลง

สมรรถนะ ตัวบ่งชี ้ รายการ ผลลัพธ์การ


เฉพาะ พฤติกรรม เรียนรู้เมื่อจบ
ช่วงชัน
้ ที่2
มีความสามัคคี วิเคราะห์ทักษะ
และมีน้ำใจ การเล่น จุดแข็ง
นักกีฬา กลวิธีการเล่น
2.8 ร่วม ของทีมเพื่อ
วางแผนและ ปรับปรุงทีมให้
ปรับปรุงการ ประสบความ
เล่นเกมและ สำเร็จ
กีฬา ให้ทีม
ประสบความ
สำเร็จ
3. การ 1. ความ 3.1 ฝึ กการมี 7. มีสติ รู้เท่า
จัดการ สามารถใน สติให้ร้เู ท่าทัน ทันอารมณ์ และ
อารมณ์และ การควบคุม อารมณ์ และ ความรู้สึกที่เกิด
ความรู้สึก อารมณ์ และ ความรู้สึกของ ขึน
้ โดยรู้ขีด
ของตนเอง ความรู้สึก ตนเองที่เกิด จำกัดด้าน
สร้างและ ของตนเอง ขึน
้ กับ อารมณ์และ
รักษา 2. ความ สถานการณ์ ความรู้สึกของ
สัมพันธภาพ สามารถใน ต่าง ๆ ในชีวิต ตนเอง รู้สาเหตุ
ที่ดีกับผู้อ่ น
ื การปรับ ประจำวัน ของความเครียด
อารมณ์ และ 3.2 ระบุ นำไปสูก
่ าร
ความรู้สึก ให้ สาเหตุของ ควบคุมตนเอง
เกิดความ ปั ญหาทาง ให้แสดงอารมณ์
สมดุล อารมณ์ และ และความรู้สึก
3. ความ ปรับอารมณ์ ในสถานการณ์
สามารถใน ความรู้สึกของ ต่าง ๆ และการ
การสร้างและ ตนเอง ให้ บรรเทา
รักษา เหมาะสมกับ ความเครียด
สัมพันธภาพ สถานการณ์ อย่างเหมาะสม
ที่ดีกับผู้อ่ น
ื อย่างเข้าใจผล และเข้าใจผลดี
ดีและผลเสียที่ และผลเสียที่
เกิดขึน
้ กับ เกิดขึน
้ ต่อ
ตนเองและผู้ ตนเองและผู้อ่ น

อื่น 8. สร้างและ
3.3 สร้างและ รักษา
รักษา สัมพันธภาพที่ดี
สัมพันธภาพที่ กับครอบครัว
ดีกับสมาชิกใน เพื่อนและบุคคล
ครอบครัว ที่เกี่ยวข้องกับ
เพื่อน และ การใช้ชีวิต
บุคคลที่ ประจำวัน แก้ไข
เกี่ยวข้องใน ความขัดแย้ง
ชีวิตประจำวัน โดยไม่ใช้ความ
3.4 แก้ไข รุนแรง ยอมรับ
ปั ญหาความ ความแตกต่าง
ขัดแย้งโดยไม่ ระหว่างของ
ใช้ความรุนแรง บุคคล
และยอมรับ
ความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล

You might also like