You are on page 1of 4

ใบงานที7่

กิจกรรมที่ 1

1. โรคไข้หวัดใหญ่

อาการ

มีอาการรุนแรงมากกว่าไข้หวัดธรรมดา มักเกิดขึน้ ทันทีทนั ใด ด้วยการปวดศีรษะ หนาวสั่น มีไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนือ้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร

เชือ้ โรคและพาหะนาโรค

เกิดจากเชือ้ ไวรัส มีอยู่ 3 ชนิด คือ ชนิดเอ ชนิดบี และซี บางครัง้ ใช้ช่ือตามเมืองที่ระบาด เช่น ไข้หวัดฮ่องกงหรือไข้หวัดใหญ่ 2009 เป็ นต้น

การป้องกันและการรักษา

การป้องกันและควบคุมโรค ดังนี ้ 1.ไม่ควรคลุกคลีกบั ผูป้ ่ วย 2.ไม่ใช้ของใช้รว่ มกับผูป้ ่ วย 3.เวลาไอหรือจามควรปิ ดปาก ปิ ดจมูก 4.รักษา
ร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ

การรักษา ไข้หวัดใหญ่ไม่มียารักษา ต้องรักษาตามอาการของโรคและป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน

การแก้ปัญหาการแพร่ระบาดในชุมชน โดยวิธี

1.หากมีอาการป่ วยไม่รุนแรง และรับประทานอาหารได้สามารถรักษาตามอาการด้วยตนเองที่บา้ นได้ ไม่จาเป็ นต้องไปโรงพยาบาล ควรใช้


พาราเซตามอลเพื่อลดไข้ (ห้ามใช้ยาแอสไพริน) นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และดื่มนา้ มากๆ

2.ควรหยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหายเป็ นปกติ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดหรือใช้สิ่งของร่วมกับผูอ้ ่นื

3.สวมหน้ากากอนามัยเมื่อจาเป็ นต้องอยู่กบั ผูอ้ ่นื หรือใช้กระดาษทิชชู่ ผ้าเช็ดหน้า ปิ ดปากและจมูกทุกครัง้ ที่ไอ จาม

4.ล้างมือบ่อยๆ ด้วยนา้ และสบู่ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลทาความสะอาดมือโดยเฉพาะหลังการไอ จาม

5.หากมีอาการรุนแรง เช่น หายใจลาบาก หอบเหนื่อย อาเจียนมาก ซึม ควรรีบไปพบแพทย์


ใบงานที7่
กิจกรรมที่ 1

1.ชื่อยา ยาหอม

สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ

วิธีใช้ รับประทานครัง้ ละ 600 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายนา้ สุก เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครัง้

ข้อควรระวัง - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุม่ สารกันเลือดเป็ นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด


(antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาในผูป้ ่ วยที่แพ้ละอองแก้เกสรดอกไม้

2.ยาสมุนไพร

ชื่อยา ยาฟ้าทะลายโจร

สรรพคุณ บรรเทาอาการเจ็บคอ

บรรเทาอาการของโรคหวัด (common cold) เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยกล้ามเนือ้

วิธีใช้ รับประทานครัง้ ละ 500 มิลลิกรัม – 2 กรัม วันละ 4 ครัง้ หลังอาหารและก่อนนอน

ข้อควรระวัง - หากใช้ยานีต้ ิดต่อกันเป็ นเวลานาน อาจทาให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง


- หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือมีอาการรุ นแรงขึน้ ระหว่างใช้ยา ควรหยุดใช้และพบแพทย์
- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุม ่ สารกันเลือดเป็ นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยานีร้ ว่ มกับยาลดความดันเลือด เพราะอาจเสริ่มฤทธิ์กน ั ได้
- ควรระวังการใช้ยานีร้ ว่ มกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซม ึ ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP 450) เนื่องจากสารฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์
ยับยัง้ CYP 1A2, CYP 2A9 และ CYP 3A4
ใบงานที่ 8
กิจกรรมที่ 1

1.ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทันทีท่สี านักงาน ป.ป.ส.โทร022459414 หรือ 02247090119ต่อ258 โทรสาร 022468526 หรือสามารถแจ้งที่


ศูนย์รบั แจ้งข่าวยาเสพติด สานักงานตารวจแห่งชาติ โทร 1688

2.ปฏิเสธอย่างสุภาพแต่จริงจังยืนยันว่าจะไม่เสพแล้วบอกเหตุผลว่าสารเสพติดอันตรายอย่างไรแล้วอาจจะทาให้ติดคุกได้เพราะเป็ นการทาผิด
กฎหมายอีกด้วย แล้วชักชวนให้เพื่อนเลิกเสพสารเสพติดโดยแนะนาการบาบัดที่ถกู ต้อง

3.คุยบอกกล่าวถึงอันตรายและผลที่จะเกิดจากการใช้ยา และแนะนาให้ไปบาบัดหรือขอคาปรึกษาที่โรงพยาบาลใกล้บา้ น หรือเข้ารับการ


บาบัดได้ท่สี ถาบันบาบัดรักษาและฟื ้ นฟูผตู้ ิดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และโรงพยาบาลธัญญารักษ์ในส่วนภูมิภาค

กิจกรรมที่ 2

ร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรูเ้ กี่ยวกับโทษหรืออันตรายจากสิ่งเสพติดทัง้ ในโรงเรียนและชุมชน ร่วมกิจกรรมเล่นกีฬาต้านยาเสพติดเพื่อใช้เวลา


ว่างให้เป็ นประโยชน์และห่างไกลจากยาเสพติด ร่วมกิจกรรมในโรงเรียนตอนสมัยเรียนมัธยมต้นโดยจะจัดกิจกรรมรณรงค์ตา้ นยาเสพติดทุกๆ
วันวันยาเสพติดโลกของทุกๆปี โดยจะมีการเดินขบวนพาเหรดถือป้ายรณรงค์และมีปา้ ยสื่อการเรียนรูเ้ กี่ยวกับยาเสพติดรอบๆพืน้ ที่โรงเรียน
และชุมชนใกล้เคียง
ใบงานที่9

1. เราสามารถป้องกันการเกิดอันตรายได้โดยใช้หลักการ 5 ส. ได้แก่
• สะสาง หมายถึ งการแยกแยะงานดี -งานเสี ย

• สะดวก หมายถึ งการจัดการให้เป็ นระเบี ยบเป็ นหมวดหมู่


• สะอาด หมายถึ งการทาความสะอาดเครื่ องมื อ สถานที่ ทั้งก่ อนและหลังการใช้งาน
• สุ ขลักษณะ หมายถึง การที่จะต้องรักษาสุ ขอนามัยของตัวเอง เครื่ องมือ และสถานที่
• สร้ างนิ สัย หมายถึง การสร้างนิ สัยที่ดีเพื่อสร้างความปลอดภัยในสถานที่
รวมถึงรู ้ จกั การใช้อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลเพื่อป้ องกันอวัยวะของร่ างกายและทางานอยูในพืน้ ฐานของสติและกฎข้อบังคับเพื่อ
ความปลอดภัยของสถานที่นนั้ ๆ

2.เป็ นการช่วยเหลือผูป
้ ่ วยก่อนที่จะถึงมือแพทย์หรือโรงพยาบาล เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายถึงชีวิต โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะให้มีชีวิตอยู่
เพื่อไม่ให้รบั อันตรายเพิ่ม และเพื่อให้กลับคืนสภาพได้เร็ว โดยหลักทั่วไปในการปฐมพยาบาลนั่นควรตัง้ สติ ตรวจดูอาการของผูบ้ าดเจ็บ ไม่ควร
กรอกยาหรือนา้ ให้ผบู้ าดเจ็บ และรีบปฐมพยาบาลเมื่อเกิดการบาดเจ็บมากที่มีความอันตรายถึงแก่ชีวิตเช่นขาดอากาศหายใจ การตกเลือด
และการช็อก การสัมผัสหรือได้รบั ผิดรุนแรง ตัวอย่างการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นที่มกั เกิดขึน้ ในชีวิตประจาวันบ่อยๆ

1)ข้อเคล็ด เกิดจากการฉีกขาดหรือการยึดตัวของกล้ามเนือ้ หรือเอ็นรอบข้อต่อ จะมีอาการปวดเมื่อเคลื่อนไหวจุดที่เคล็ดและมีอาการบวมแดง


วิธีการปฐมพยาบาลคือไม่ควรขยับหรือมีของหนักกดทับบริเวณที่เคล็ด

2)ตาบาดเจ็บ เกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าตาให้ลา้ งด้วยนา้ สะอาด ส่วนถ้าสารเคมีเข้าตา ให้ใช้นา้ ล้างตาโดยให้นา้ ไหลผ่านลูกตาจนกว่า


สารเคมีจะออก ทัง้ สองกรณีถา้ ไม่หายใช้ผา้ สะอาดปิ ดตาแล้วไปพบแพทย์

You might also like