You are on page 1of 23

งานวิจยั การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลทาให้คนประจาเรื อเกิด

ความตึงเครี ยด และการจัดการความตึงเครี ยดเพือ่ เพิม่


ประสิ ทธิภาพในการทางาน

1
บทที่1
ที่มาและความสาคัญ
การพัฒนาระบบเศษฐกิจของประเทศนั้นเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างมาก เพื่อให้ประชาชน ในประเทศได้มี
คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีทั้งนี้หนึ่งในการพัฒนาและขับเคลื่อนระบบเศษฐกิจของไทยนั้นคือการค้าขาย ไม่ว่าจะ
เป็นการค้าขายผลผลิตทางงการเกษตร เช่น ข้าว ปาล์ม ข้าวโพด ยางพารา ผลไม้ อื่นๆ อีกมากมาย ทั้งหมดนี้ สามารถ
สร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นอย่างมาก ในปัจจุบันนี้ช่องทางในการขนส่งสินค้าหรือผลผลิตทางการเกษตรของประเทศ
ไทย ช่องทางหลักๆคือการขนส่งทางทะเล นิยมการใช้เรือเดินสมุทรในการขนส่งสินค้า เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการขนส่ง
นั้น ถูกกว่า และมีความเหมาะสมกับสินค้ามากกว่าช่องทางอื่น การขนส่งสินค้าโดยใช้เรือเดินสมุทรนั้น เป็นที่นิยม และ
เป็นกาลังหลักในการพัฒนาเศษฐกิจ ทั้งนี้ผู้ที่เป็นส่วนสาคัญในการดูแลรับผิดชอบในการขนส่งสินค้านั้นก็คือ คนประจาเรือ
สินค้านั้นเอง อาชีพนักเดินเรือ ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายมากนัก โดยคนส่วนใหญ่มักจะคิดกันว่าพวกเขานั้นคือ
ทหารเรือ หน้าที่หลัก ของนักเดินเรือคือการขนส่งสินค้า ผ่านทางแม่น้า หรือ มหาสมุทรจากพื้นที่หนึ่ง ไปยังอีกพื้นที่หนึ่ง
โดยการดูแลกากับเรือสินค้าให้ถึงที่หมายได้อย่างปลอดภัย
อาชีพนักเดินเรือเป็นอาชีพที่แตกต่างจากอาชีพอื่นอย่างสิ้นเชิง ลักษณะในการทางานที่ต้องใช้ชีวิตในการทางานอยู่บน
เรือสินค้ายาวนานแรมปี ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก ไม่มีสิ่งอานวยความสะดวกในการดารงชีวิต เหมือนกับในหลายๆ
อาชีพที่อยู่บนฝั่ง และมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่ค่อนข้างสูง มีความเสี่ยงสูง เป็นเหตุให้เกิดความกดดันและความเครียดใน
การทางาน ทาให้การทางานที่ได้รับมอบหมายไม่เต็มประสิทธิภาพ ในลาดับถัดมา.

2
การเกิดความเครียดของคนประจาเรือเกิดได้จากหลายปัจจัย คนประจาเรือที่ต้องใช้ชีวิตในการทางานห่างไกลจากครอบครัว
และคนรัก ต้องใช้ชีวิต อยู่กับเพื่อนร่วมงาน จากหลายสัญชาติ หลายวัฒนธรรม -ต้องรู้จักการปรับตัวและการเข้าหาผู้อื่น ซึ่งเป็นสิ่ง
ที่มีความท้าทายเป็นอย่างมาก และยังต้องทางานร่วมกันกับผู้คนเหล่านี้เป็นเวลายาวนาน นั่นเป็นสิ่งที่ค่อนข้างมีความกดดันและ
เครียดในการทางาน การทางานบนเรือเป็นรูปแบบที่ต้องทางานทุกวัน ที่ไม่มีวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ และต้องทางานตลอด24 ชม.
ตามข้อกาหนดเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน คนประจาเรือต้องมีความอดทนต่อสภาพอากาศ หรือการเสี่ยงภัยภัย
ธรรมชาติ คลื่นลมทะเล หรือพายุ จากหน้าที่ความรับผิดชอบต่อการทางานและลักษณะความเป็นอยู่บนเรือ ทาให้คนเรือนั้นไม่ค่อย
มีเวลาว่าง เกิดความอ่อนเพลีย และวิตกกังวล ต่อมาคือ ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้น เมื่อวิตกกังวลมาก ๆ ก็จะกลายเป็นความเครียด
ซึ่งจะเกิดจาก สถานการณ์ต่าง ๆ ที่ทาให้เครียด ทุกคนอาจจะมีภาวะของคุณลักษณะของตัวเองแตกต่างกันไป คือ มากบ้าง น้อย
บ้าง แม้กระทั่งคนที่อารมณ์ดี สุขภาพจิตดี ปรับตัวได้ แต่ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาก็สามารถทาให้คน ๆ นั้นเครียดได้
ความเครียดที่สะสมเหล่านี้เมื่อไม่ได้รับการปรับปรุงแก้ไข อาจทาให้ ผู้คนเหล่านั้นคิดสั้น และอาจถึงแก่ชีวิตได้.
การลดความเครียดของคนเรือสามารถทาได้โดยการ จัดกิจกรรมให้คนเรือได้ทาร่วมกัน เพื่อให้ลูกเรือเกิดความสนิทสนมกันเป็น
กันเองและสามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีความเข้าอกเข้าใจกันเป็นอย่างดี อาจจะเป็นการจัดการแข่งขันกีฬา หรือจัดงานสรรค์
สรร เป็นประจาสม่าเสมอ เป็นการพักผ่อน และผ่อนคลาย จากการทางานหนัก มีเวลาพักผ่อนอย่างเต็มที่ มีสุขภาพร่างกายที่
แข็งแรง ส่วนใหญ่เวลาคนเราเครียดมักจะไม่ค่อยรู้ตัวว่าตนเองเครียด โดยจะมีพฤติกรรมไปบ่นกับคนโน้น คนนี้ ฉะนั้น วิธีแรก คือ
หาใครสักคน โดยจะต้องเลือกที่เรียกว่า เป็นกัลยาณมิตรของเรา โดยจะเป็นคนที่เรารู้สึกว่าไว้ใจได้ เพราะมิเช่นนั้นแล้วคนนั้น
อาจจะทาให้เราเครียดมากเพิ่มขึ้น

3
มนุษย์ทุกคนจะต้องพึ่งตัวเองตนเป็นที่พึ่งแห่งตนเหลียวซ้ายแลขวาไม่เจอใครตัดสินใจไม่ได้จึงกรีดข้อมือตนเอง นั้นแสดงว่า เด็ก
คนนั้นมีการจัดการเรื่องของความเครียดได้ไม่ดี โดยการจัดการกับความเครียดสามารถปฏิบัติได้ตามหลักของพุทธศาสนา คือ
อโกธะ ซึ่งเป็นหนึ่งในทศพิธราชธรรม คือ ความไม่โกรธ นั่นคือ สามารถระงับความรู้สึกเครียดได้หรือไม่ เช่น เรามีความโกรธ
เพราะไม่ได้อย่างใจ คะแนนสอบออกมาไม่ดี เรารู้สึกว่าเราเครียด เราไม่พอใจ เราไม่สบายใจ แต่เราระงับความเครียดได้ไหม
หลายคนอาจจะอาละวาด ขว้างปาสิ่งของ แต่หลายคนก็จะใช้ความนิ่ง นั่งตรึกตรอง โดยคนที่มีวุฒิภาวะทางอารมณ์สูงจะระงับ
ได้ดีกว่า เช่น พ่อ แม่ จะระงับอารมณ์ได้ดีกว่า ลูก ตามหลักพุทธศาสนากล่าวไว้ว่า เมื่อเรามีทุกข์ ให้หาเหตุแห่งทุกข์นั้น เช่น
สอบได้คะแนนต่า หาเหตุแห่งทุกข์ว่าทาไมถึงสอบได้คะแนนน้อย อ่านหนังสือไม่มากพอหรือไม่ หรือว่าเริ่มมีแฟนเลยไม่ค่อยได้
อ่านหนังสือการเรียนเลยตกลง หรือจะเป็นปัญหาเรื่องเงิน เมื่อหาสาเหตุเจอจะได้ดับทุกข์ซึ่งทาให้เกิดความเครียดลงได้ วิธีการ
ของตะวันตก คือ วิธีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อร่างกายเพื่อให้เกิดการผ่อนคลายจิตใจ เช่น การเกร็ง การคลาย การออกกาลังกาย
เช่น เมื่อเครียดอยู่ให้แขม่วท้อง แหงนหน้าขึ้น ขมิบก้น หรือ การกามือ ประมาณ 10 วินาที เพราะเมื่อเครียดเราไม่สามารถ
ออกมาวิ่งรอบมหาวิทยาลัยได้ บางครั้งเกิดความเครียดแต่เราต้องเผชิญ จึงสามารถใช้เทคนิคเหล่านี้เพื่อคลายความเครียด รู้สึก
ผ่อนคลายลงได้ วิธีคิดแบบตะวันตกเช่นกัน คือ ให้มองไปข้างหน้า เมื่อเครียดให้นึกถึงภาพในอนาคต รวมทั้งคิดถึงสิ่งที่ทาให้
เราสบายใจ ซึ่งเป็นการสร้างจินตนาการ เช่น สอบได้คะแนนไม่ดีให้คิดถึงวันที่เราเรียนจบ นึกถึงวันที่เราทางานมีเงินเดือนเลี้ยง
ตนเองได้
ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการจัดการแก้ปัญหาการเกิดความเครียดของคนประจาเรือ จึงได้ทาการวิจัย
เกี่ยวกับ การศึกษาค้นคว้าถึงปัจจัยที่ส่งผลทาให้เกิดความตึงเครียดของการทางานบนเรือ และวิธีการจัดการความตึงเครียดใน
การทางานเพื่อให้คนประจาเรือสามารถทางานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ.
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาถึงปั จจัยที่ส่งผลทาให้คนประจาเรื อเกิดความตึงเครี ยด
2.เพื่อจัดการความตึงเครี ยดและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานของนักเดินเรื อ
3.เพื่อเปรี ยบเทียบผลลัพธ์ก่อนและหลังจากการทางานวิจยั

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีความรู ้ความเข้าใจถึงปั จจัยที่ส่งผลทาให้คนประจาเรื อเกิดความตึงเครี ยด.
2.สามารถจัดการปั ญหาความตึงเครี ยด เเละ เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้กบั คนประจาเรื อ.

ขอบเขตของงานวิจัย
1.ทางด้านการศึกษา เป็นการศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลทาให้คนประจาเรือเกิดความตึงเครียด และการศึกษา
วิธีการจัดการความเครียดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของคนประจาเรือ
2.ขอบเขตของพื้นที่ในการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีทางทะเลแห่งเอเชีย
3.ขอบเขตทางด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คนประจาเรือสินค้า ภายในประเทศไทย ทั้งระดับ
ลูกเรือและนายประจาเรือ.
บทที่2
ทฤษฏีบทและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
-กรมสุขภาพจิต (2539) ให้ความหมายว่า ความเครียดเป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกถูกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวาย
ใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เกิดจากการที่บุคคลรับรู้หรือประเมินสิ่งที่เข้า มาในประสบการณ์
ของตนว่าเป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ หรือก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย อันเป็นผลให้ สภาวะสมดุลของร่างกาย
และจิตใจเสีย
-สาเหตุของความเครียด ความเครียดเกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยใหญ่ๆ นั่นคือ
1.ปัจจัยภายนอก เช่น เรื่องงาน การหย่าร้าง ความขัดแย้งในความสัมพันธ์การย้ายบ้านเป็นต้น
2.ปัจจัยภายใน โดยที่บางคนมีนิสัยคิดมาก ชอบวิตกกังวลในเรื่องเล็กน้อย หรือสารเคมีในสมองไม่สมดุลทา
ให้เกิดอารมณ์เครียดและเศร้าง่าย
-ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดความเครียด เกิดได้ทั้งจากกรรมพันธุ์ที่ทาให้ระบบประสาทเกิดความเครียดง่าย
หรือพ่อแม่มีนิสัยเครียด กังวลง่าย ลูกก็เรียนรู้นิสัยจากพ่อแม่ รวมถึงคนที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เครียด เช่น
ทางานที่กดดัน มีปัญหาในครอบครัว
อายุที่เสี่ยงต่อการเกิดความเครียดได้ง่าย คือช่วงที่เป็นรอยต่อ จากเด็กไปสู่วัยรุ่น เพราะมีการเปลี่ยนแปลง
ทางฮอร์โมน มีการปรับตัวในสังคม และในช่วงของวัยใกล้หมดประจาเดือน (menopause) ของผู้หญิง
รวมถึงผู้ชายวัยทองที่มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเช่นกัน ถึงแม้อาการน้อยกว่าผู้หญิง แต่ก็ทาให้มี
อารมณ์หงุดหงิด วิตกกังวลและโกรธง่ายเช่นกัน
-ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเครียดของนักศึกษา จากการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการตั้งใจเรียนของนักศึกษา
ซึ่งเป็นสารนิพนธ์ในหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ โดย แบ่งตัวแปรที่เป็นปัจจัยในตัวเองออกเป็น 3 กลุ่ม ซึ่งจะ แปรผกผันกับความเครียด
กลุ่มแรก คือ จิตลักษณะ ซึ่งก็คือสิ่งที่ติดตัวมา อย่างแรก คือ ลักษณะมุ่งอนาคตและการควบคุมตนเอง
โดยการเรียนบางอย่างมันยาก เช่น การได้เกียรตินิยม ถ้าเรามุ่งอนาคตอยากได้เกียรตินิยม เมื่อรับปริญญา
พ่อยิ้ม แม่ยิ้ม ภูมิใจในตัวเรา ตรงนี้จะทาให้เขาควบคุมตนเองไม่เหลวไหล แม้เขาไม่อยากอ่านหนังสือแต่
เขาอยากได้เกียรตินิยม เขาก็ จะมุ่งอนาคตและควบคุมตนเพื่อให้ได้เกียรตินิยม
ต่อมา คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ คือ ทาอะไรต้องสาเร็จ ต้องดี ไม่ใช่เรียนแล้วเรียนไม่จบ ต้องเรียนให้จบ ซึ่ง
อันนี้เป็นปัจจัยที่ทาให้คนมีพฤติกรรมที่ดี ตั้งใจเรียน สุดท้าย คือ เห็นคุณค่าในตัวเอง เป็นความรู้สึกที่
เกิดขึ้นภายในตนเองเกี่ยวกับการยอมรับนับถือตนเอง เห็นคุณค่าและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
ปัจจัยต่อมา คือ สถานการณ์ ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอก เช่น พฤติกรรมการสอนของอาจารย์ ความคาดหวัง
ของผู้ปกครอง สัมพันธภาพภายในครอบครัว สัมพันธภาพกับเพื่อน ซึ่งล้วนเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้
สุดท้ายเป็นปัจจัยที่เอาปัจจัยภายในและภายนอกมารวมกัน คือ จิตลักษณะบวกกับสถานการณ์ เรียกว่า
จิตสถานการณ์เช่น ทัศนคติต่อสถานศึกษา ความเครียด
-ทฤษฎีความเครียด มณฑาทิพย์ ไชยศักดิ์ (2538, หนา 27) ไดกลาวถึงทฤษฎีความเครียดทางดานจิตวิทยา
ประกอบด้วย 3 รูปแบบ ดังนี้
1.รูปแบบพื้นฐานของการตอบสนอง (response - based model) อธิบายวาความเครียด เปนกลุม
ของสิ่งรบกวนขัดขวางการตอบสนองสรีรวิทยาของบุคคลตอภาวะคุกคาม ทฤษฎีกลุมนี้ไดแก ทฤษฎีพื้นฐาน
ความเครียดของเซลเย (Selye, 1956, pp. 31 - 35) ที่อธิบายวาความเครียดเปนการตอบสนอง ของ
บุคคลตอการกระตุนซึ่งจะแสดงออกในรูปแบบของกลุมอาการที่ไมเฉพาะเจาะจงเปนตน
2.รูปแบบพื้นฐานของสิ่งเรา (stimulation based model) เปนรูปแบบที่อธิบายวาความเครียดเปน
กลุมของสถานการณของสิ่งแวดลอมที่เปนสิ่งเรากระตุนในเกิดการตอบสนองและสิ่งเราเหลานีเ้ ปนบ่อเกิดของ
ความเครียดที่ทาใหมนุษย์ต้องปรับตัว
3.รูปแบบปฏิสัมพันธของความเครียด (interaction model of stress) เปน
รูปแบบที่มีพื้นฐานแนวคิดจาก2รูปแบบแรกรวมกันและศึกษาในมติที่ว่าความเครียดเปนความไมสมดุลระหวาง
ความตองการ และความสามารถในการตอบสนองของบุคคลความเครียดจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลไดรับการคุกคาม
และไมสามารถจัดการกลับความเครียดไดถาบุคคลมีแรงจูงใจมีความสมดุลระหวางความ ตองการ และการ
ตอบสนองนั้นจะปลอดภัยจากความเครียด
-ทฤษฎีของไรห (Riehl)กลาวถึงกระบวนการของความเครียด (stree process) วาเมื่อสิ่งเร้ามากระตุนให
เกิดความเครียด จากรางกายจะเกิดความเครียดก็จะทาใหเกิดสภาพการตอบสนอง หรือเปลี่ยนแปลงทาง
รางกายซึ่งเป็นผลจากความเครียดปฏิกิริยาตอบสนองจากการปรับตัวของรางกายตอภาวะความเครียดและ
ความเครียดโดยตรงในการปรับตัวนั้นอาจออกมาในทางบวกหรือลบกได้แตสวนใหญแล้วจะอยูระหวางบวก
และลบในการที่จัดการใหเขาใจกับความเครียด มนุษยอาจปรับตัวได้หลายวิธีอาจหลีกเลี่ยงหรือปองกัน การ
เกี่ยวของกับสิ่งที่มากระตุนใหเกิดความเครียดลดลงหรือแกไขความเครียดนั้นมีบ่อยครั้งที่มนษยุ แสวงหา
หรือตองการเผชิญกับความเครียดเพื่อเปนการทาทายหรือเพื่อให้ตนเองคนเคยกับความเครียดจะไดระวัง
ตนเองและเสริมสรางตนเองใหแข็งแกรงและงอกเงยขึ้นในการปรับตัวของ
รางกายเมื่อไดรับความเครียดจะทาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงภายในรางกายซึ่งอาจทาใหเกิดดการเพิ่ม
หรือลดการทางานของรางกายไดทั้งนี้ขึ้นอยูกับความรุนแรงการประสานงานของอวัยวะ
ตางๆของรางกายและวิถีทางการปรับตัวของมนุษย์ไรห(Riehl)กาหนดลักษณะดัชนีของความเครียด(stress
index)ไว้6ประการคือ(อางถึงในกาญจนา สุนทรสิทธิพงศ, 2544)
1.ผลของความเครียด (stress quotient) เปนสัดสวนระหวางความเครียดเฉพาะ (specific stress)
และผลรวมของความเครียด (total stress) ซึ่งมนุษยไดประสบในชวงเวลาหนึ่งมาแลวโดยที่ ผลรวมของ
ความเครียดเปนความเครียดที่สะสมอยูจากประสบการณในอดีตและยังมีผลตอมนุษย ในปจจุบนั เชน
ความกลัว ความกังวลความลมเหลวความพิการ หรือความตานทานของรางกายเปนตน
2. สัดสวนของความเครียดที่สังเกตเห็นตามคาบอกกลาว (objective of stress) เปนความสัมพันธ เชิง
ปริมาณระหวางความเครียดที่วัดไดจากการสังเกตของเราและความเครียดที่ได้จากคาบอกกลาว หรือแปร
ตาม
3.ความรุนแรงและความเขมขนของความเครียด (intensity of stress) เปนการแบงความเข้มขนของ
ความเครียดออกเปนระดับสูง (severe)ปานกลาง(moderate) และต่า(mild) ถาความเครียดสูงย่อม ตอง
การความชวยเหลือดวยการลดถามีระดับปานกลางหรือต่ายอมต้องการประคับประคองการดูแลจึงตอง
ขึ้นอยู่กับความคงทนของอวัยวะนั้นๆตอความเครียดเตรียมพรอมเพื่อทางของความเครียด
4.ขอบเขตความไมสมบูรณ (scope of impact)เปนการกระจายความเครียด เชนเปอรเซ็นต ของ
เนื้อเยื่อที่ ถูกทาลายหรือมีการเปลี่ยนแปลง
5.ความไวในการเกิด (speed of impact)ระยะเวลาของการเกิดสิ่งเราที่ต่างกันไป
6.ระยะเวลาที่เกิด (deration)ยอมใหผลเฉพาะตอภาวะความเครียดและการปรับตัวของรางกายแล้วแต
บุคคล
-ในชวงที่รางกายมีการปรับตัวอันเนื่องมาจากภาวะความเครียดไรห (Riehl)ไดกาหนดดัชนีชี้วัดปฏิกิริยาของ
ความเครียด (stress reaction index) นามาประยุกตใชกับภาวะความเครียดและการปรับตัว โดยปฏิกิริยา
ความเครียดที่พบได้คือ
1. การเปลี่ยนแปลงทางความรูสึก (affective change) เป็นความผิดปกติหรือการเปลี่ยนแปลง ทางดานความ
รูสึก
ซึ่งจะปรับไปตามระดับอารมณ์และความรูสึกของมนุษย
2. การเปลี่ยนแปลงทางความคิด (cognitive change) เปนการเปลี่ยนหน้าที่ทางดานการรับรู เชน การ
เปลี่ยนแปลงทางความคิดการตัดสินใจและความสามารถในการแกปญหา เปนตน
3. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ (psychological change) เป็นปฏิกิริยาตอความเครียดที่ครอบคลุม ไปถึงการ
ตอบสนองหรืออาการแสดงออกซึ่งแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของระบบตอมทอประสารทการทางานของเซลล
และการเปลี่ยนทางเคมีที่มีตอ
ภาวะความเครียดทางชีววิทยาและจิตใจ
4. การเปลี่ยนแปลงทางกิจกรรม (activity change) เปนการตอบสนองของ
รางกายทั้งตัว ทาใหเกิดพฤตกรรม 6 อยางซึ่งสามารถจะสังเกตหรือคนหาไดเช่น การใชแบบแผนของ
พฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงทางดานความไวตอสิ่งแวดลอมพฤติกรรมซึ่งสะทอนถึงการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ
วิทยา และพฤติกรรมซึ่งแสดงถึงการรับรูตอความจริงบิดเบือนไป.
-ประเภทของความเครียด ความเครียดสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้
1.Acute stress คือ ความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีจากความกดดันในสถานการณ์ที่เฉพาะเจาะจง เช่น เส้นตายในการ
ทางาน การเผชิญหน้ากับความท้าทายหรือเหตุการณ์ที่ทาให้สะเทือนใจ เมื่อความเครียดหายไป ร่างกายก็จะกลับมา
เป็นปกติเหมือนเดิม
2.Episodic acute stress คือ เกิดจากการประสบกับความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีหลายครั้งติดต่อกัน เช่น เริ่มจากมี
ปัญหาสุขภาพ หลังจากนั้นตกงาน ตามมาด้วยการหย่าร้าง เป็นต้น หรือบางคนชอบเครียดและวิตกกังวลจนรีบเร่ง
และใจร้อนในทุกเรื่อง ทาให้เกิดความเครียดบ่อยๆ
3.Chronic stress คือ ความวิตกกังวลและความกดดันที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเหมือนไม่มีวันสิ้นสุดจนสะสมเป็น
ความเครียดเรื้อรัง ความเครียดเช่นนี้มีผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต

-วันเพ็ญ วัดน้อย และ สุนันทา สมวจีเลิศ ศึกษาเรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน


ด้านการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล GUIDELINES FOR OPTIMIZING
WORKER PERFORMANCE. DISBURSEMENT OF RESEARCH SUBSIDY FACULTY OF SCIENCE, MAHIDOL
UNIVERSIT

-วิไลวรรณ อิศรเดช ศึกษาเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสาปฏิบัติการวิชาชีพและบริหาร


ทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
OPTIMIZING THE PERFORMANCE OF PROFESSIONAL STAFF OF
MAHACHULALONGKORNRAJAVIDYALAYA UNIVERSITY
บทที่3
วิธีการดาเนินงาน
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลทาให้คนประจาเรือนั้นเกิดความตึงเครียด และ
ศึกษาวิธีการจัดการความเครียดเพื่อเพิ่ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยมีรายละเอียด
เกี่ยวกับวิธีดาเนินการวิจัย ดังนี้
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. เกณฑ์การแปลผล
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
-ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ คนประจาเรือสินค้าภายในประเทศไทย จานวน 100คน
-กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือคนประจาเรือสินค้าภายในประเทศไทย จานวน 100
คน โดยมีขั้นตอน ดังนี้การกาหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างคานวณจากสูตรของ ทาโร ยามาเน่
(Taro Yamane, 1967อ้างถึงใน ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2549, หน้า 47) ที่ระดับความเชื่อมั่น
95 % โดยใช้ความคลาดเคลื่อนในการสุ่ม 5% ดังนี้

n = N 1 /1+ Ne*2

เมื่อ n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N = ขนาดประชากร
e = ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการสุ่มตัวอย่างโดยกาหนดเป็น0.5 สามารถคานวณขนาด
กลุ่มตัวอย่างได้ ดังนี้
ฝ่าย จานวนจริง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง

1.ปากเรือ 50 40

1.1นายเรือฝ่ายปากเรือ 25 20

1.2ลูกเรือฝ่ายเดินเรือ 25 20

2.ห้องเครื่อง 50 40

2.1นายเรือฝ่ายช่างกลเรือ 25 20

2.2ลูกเรือฝ่ายช่างกล 25 20

และทาการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Random Sampling)


ตามจานวน กลุ่มตัวอย่างในแต่ละพื้นที่
2.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อมูลพื้นฐาน สภาพสังคมความเป็นอยู่และ


ความเหมาะสมของการแก้ปัญหา โดยแบ่งเป็น 2 ตอนดังนี้
ตอนที่1
แบบสอบถาม เพื่อการศึกษา ปัจจัยของการเกิดปัญหาแบ่งเป็น4รูปแบบ

-แบบที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปส่วนบุคคล เป็นแบบเลือกตอบ (Check List) ได้แก่ เพศ อายุ


สถานภาพ ระดับการศึกษา ตาแหน่งงาน จานวน 5ข้อ
-แบบที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพชีวิต ความเป็นอยู่ บนเรือ ทัศนะคติที่มีต่อเพื่อนร่วมงาน หรือหัวหน้า
งานได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และ
หลักความคุ้มค่า เป็นคาถามปลายปิด จานวน 21 ข้อโดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

มากที่สุด กาหนดให้ 5 คะแนน


มาก กาหนดให้ 4 คะแนน
ปานกลาง กาหนดให้ 3 คะแนน
น้อย กาหนดให้ 2 คะแนน
น้อยที่สุด กาหนดให้ 1 คะแนน
แบบที่ 3 เป็นคาถามเกี่ยวกับ ปัญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติงานบนเรือสินค้า เป็นคาถามแบบ
ปลายปิด 3 ตัวเลือก จานวน5ข้อ
แบบที่ 4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหา หรือข้อปรับปรุงแก้ไขที่ควรมี เป็นคาถามแบบ
ปลายเปิด จานวน 1 ข้อ
ตอนที่2(หลังจากทราบถึงปัจจัยปัญหาแล้ว)
แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจ และความเหมาะของวิธีการแก้ปัญหา 2 รูปแบบดังนี้

-แบบที1่ วิธีการแก้ปัญหา เกี่ยวกับ สภาพชีวิต ความเป็นอยู่ บนเรือ เพื่อนร่วมงาน หรือหัวหน้า


งานได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความ
รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า เป็นคาถามปลายปิดจานวน20ข้อโดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
มากที่สุด กาหนดให้ 5 คะแนน
มาก กาหนดให้ 4 คะแนน
ปานกลาง กาหนดให้ 3 คะแนน
น้อย กาหนดให้ 2 คะแนน
น้อยที่สุด กาหนดให้ 1 คะแนน

-แบบที2
่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหาจานวน1ข้อ
3.การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
แบบสอบถามฉบับนี้ ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง มีขั้นตอนการสร้าง ดังนี้

แบบสอบถามตอนที่1
1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการจัดการความเครียด จากนั้นนามากาหนดกรอบ
แนวคิดที่ใช้ในการวิจัย กาหนดนิยามและเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
2. สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ ทัศนคติ มุมมอง ข้อบกพร่อง และตรวจสอบเนื้อหาของ
แบบสอบถามว่าครอบคลุมวัตถุประสงค์หรือไม่จากนั้นนาไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบแล้วนามา
ปรับปรุงตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา
3. นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงตามคาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาให้ผู้เชี่ยวชาญ3 ท่าน ได้แก่
1.อาจารย์ อิศรา ทองคง (อาจารย์โลจิสติก)
2.กัปตัน กฤษฎา รักวงศ์ ( อาจารย์รายวิชาเดินเรือ )
3.อาจารย์ พัฒน์ นรดี ( หัวหน้าฝ่ายงานทรัพยากร )

เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากนั้นปรับปรุงแก้ไขตาม


คาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ
แบบสอบถามตอนที2่
1. เก็บข้อมูลจากคนประจาเรือ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการจัดการ
ความเครียด จากนั้นนามากาหนดกรอบแนวคิดที่ใช้ในการแก้ปัญหา กาหนดนิยาม วิธีการเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
2. สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับ วิธีการแก้ปัญหา ชีวิตความเป็นอยู่ ทัศนคติ มุมมอง ข้อบกพร่อง และ
ตรวจสอบเนื้อหาของวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหาว่าครอบคลุมวัตถุประสงค์หรือไม่ จากนั้นนาไปให้
กลุ่มตัวอย่างของคนประจาเรือทาแบบสอบถามตรวจสอบแล้วนามาปรับปรุงตามคาแนะนาของกลุ่ม
ตัวอย่างของ
4.การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลมีขั้นตอนดังนี้

แบบสอบถามที่1
1. ผู้วิจัย ได้สร้างแบบสอบถาม สาหรับสอบถามข้อมูลของคนประจาเรือ
2. การแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างผ่านระบบออนไลน์
และแบบฟอร์ม จานวน 80 คน
3. จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามไป จานวน 80 ชุด โดย
แบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา และมีความสมบูรณ์ จานวน 80 ชุด คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์
4.ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม จากแหล่งข้อมูลต่างๆเช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์

แบบสอบถามที่2.
1.ผู้วิจัย ได้สร้างรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา และใช้แบบสอบถามสาหรับถามความคิดเห็นของคนประจาเรือ.
2. การแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างผ่านระบบออนไลน์
และแบบฟอร์ม จานวน 80 คน
3. จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามไป จานวน 80 ชุด โดย แบบสอบถาม ที่ได้รับ
กลับคืนมา และมีความสมบูรณ์ จานวน 80 ชุด คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์
5.การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลสาหรับการวิจัยครั้งนี้ แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 4 ตอน คือ ข้อมูล


ทั่วไปความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพชีวิต ความเป็นอยู่ บนเรือ ทัศนะคติที่มีต่อเพื่อนร่วมงาน หรือหัวหน้า
งาน หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า ปัญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหา หรือข้อปรับปรุงแก้ไขที่ควรมี โดยใช้วิธีการประมวลผลค่าทางสถิติ
ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจัยเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและตอบวัตถุประสงค์ของการ
วิจัย ดังนี้
1.ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษาอาชีพ วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ และค่าร้อยละและนาเสนอใน รูปแบบตารางประกอบคาบรรยาย
2.ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพชีวิต ความเป็นอยู่ บนเรือ ทัศนะคติที่มีต่อเพื่อนร่วมงาน หรือหัวหน้างาน
หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่าวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อย
ละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนาเสนอในรูปแบบตารางประกอบคาบรรยาย
3. เกี่ยวกับ ปัญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติงานบนเรือสินค้า
4. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหา หรือข้อปรับปรุงแก้ไขที่ควรมี
ค่าเฉลี่ย ระดับความคิดเห็นของประชาชน
1.00 - 1.80 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด
1.81 - 2.60 หมายถึง เห็นด้วยมาก
2.61 - 3.40 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง
3.41 - 4.20 หมายถึง เห็นด้วยน้อย
4.21 - 5.00 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด

You might also like