You are on page 1of 26

วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561

13

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นด้อยโอกาสไทยในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง*
FACTORS INFLUENCING DEPRESSION IN THAI DISADVANTAGED
ADOLESCENTS IN A PROVINCE IN THE CENTRAL REGION
โสภิณ แสงอ่อน, RN, Ph.D. (Sopin Sangon, R.N., Ph.D.) **
พัชรินทร์ นินทจันทร์, RN, Ph.D. (Patcharin Nintachan, R.N., Ph.D.)***
จุฑาทิพย์ กิ่งแก้ว, พย.บ., วท.ม. (Jutathip Kingkaew, B.N.S, M.Sc.)****

Abstract of Perceived Social Support Thai version. Data


Objective: The purpose of this predictive were analyzed using descriptive statistics,
correlational research was to examine the influence Spearman’s rank correlation, and stepwise
of resilience, stress, friend intimacy, and social multiple regression.
support on depression in disadvantaged Results: 1) 27.1 percent of the disadvantaged
adolescents in a province in the central region. adolescents in this study had depression. 2) Stress
Methods: The participants consisted of was positively and significantly related to
399 Mattayomsuksa 1-6 students from a Sueksa depression in disadvantaged adolescents (rs = .342,
Songkhro school under Special Education p < .01) and resilience, friend intimacy, and social
Bureau, Office of the Basic Education support were negatively and significantly related
Commission for Central Region, Ministry of to depression in disadvantaged adolescents
Education. The purposive sampling was used to (rs = -.229, p < .01; rs = -.112, p < .05; rs = -.142,
recruit the participants. Data were collected p < .05, respectively). 3) Resilience and stress
using the following six questionnaires: 1) the could jointly explain 16 % of the variance of
Demographic Data Questionnaire, 2) The Thai depression in disadvantaged adolescents (F =
Mental Health Questionnaire (depression 37.514, df = 2, 396, p < .001). Stress was the
dimension), 3) The Resilience Inventory, 4) The strongest predictor (β = .33, p < .001), followed
Perceived Stress Scale, 5) The Friendship Intimacy by resilience (β = -.158, p = .001).
Questionnaire, and 6) Multi-dimensional Scale

*การศึกษาครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจาก ทุนอุดหนุนการทำ�วิจัยของอาจารย์พยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี


คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
**Corresponding author, ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ โรงเรี ย นพยาบาลรามาธิ บ ดี คณะแพทยศาสตร์ โ รงพยาบาลรามาธิ บ ดี
มหาวิทยาลัยมหิดล E-mail: sopin.san@mahidol.edu
***รองศาสตราจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
****อาจารย์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

_18-0724(013-038)2.indd 13 7/21/61 BE 11:30 AM


14 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

Conclusion: The study findings provided ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน


important information to develop prevention ผลการศึกษา: 1) วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
program for depression in disadvantaged ในการศึกษาครั้งนี้มีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 27.1
adolescents. 2) ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะ
ซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญ
Keywords: Disadvantaged adolescents, ทางสถิติ (rs = .342, p < .01) และความแข็งแกร่ง
Depression, Resilience, Stress, Friend intimacy ในชีวิต ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้
แรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับ
บทคัดย่อ ภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาสอย่างมีนยั ส�ำคัญ
วั ต ถุ ป ระสงค์: การวิจัยแบบศึกษาความ ทางสถิติ (rs = -.229, p < .01; rs = -.112, p < .05;
สั ม พั น ธ์ เ ชิ ง ท� ำ นาย (predictive correlational rs = -.142, p < .05, ตามล�ำดับ) และ 3) ความ
design) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ แข็งแกร่งในชีวิตและความเครียดสามารถร่วมกัน
ความแข็งแกร่งในชีวิต ความเครียด ความผูกพัน อธิบายความแปรปรวนของภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น
ใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้แรงสนับสนุนทาง กลุ่มด้อยโอกาสได้ร้อยละ 16 (F = 37.514, df = 2,
สังคมต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสใน 396, p < .001) โดยปัจจัยที่มีอ�ำนาจในการท�ำนาย
จังหวัดหนึ่งในภาคกลาง สูงสุดคือ ความเครียด (β = .33, p < .001) รองลงมา
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน คือ ความแข็งแกร่งในชีวิต (β = -.158, p = .001)
ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาอยู ่ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-6 ของ สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อมูล
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์จ�ำนวน 1 โรงเรียน สังกัด ส�ำคัญที่สามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาโปรแกรม
ส� ำ นั ก บริ ห ารงานการศึ ก ษาพิ เ ศษ ส� ำ นั ก งาน เพือ่ ป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อย
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ภาค โอกาส
กลาง กระทรวงศึกษาธิการ จ�ำนวนทัง้ หมด 399 คน
เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือ ค�ำส�ำคัญ: วัยรุ่นด้อยโอกาส ภาวะซึมเศร้า ความ
ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมี 6 ส่วน ได้แก่ แข็งแกร่งในชีวิต ความเครียด ความผูกพันใกล้ชิด
1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบวัด กับเพื่อน
สุขภาพจิตคนไทย (เฉพาะส่วนของการประเมิน
ภาวะซึมเศร้า) 3) แบบประเมินความแข็งแกร่ง ความส�ำคัญของปัญหา
ในชีวิต 4) แบบวัดการรับรู้ความเครียด 5) แบบ ภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ เป็นปัญหาสาธารณสุข
สอบถามความผู ก พั น ใกล้ ชิ ด กั บ เพื่ อ น และ ที่ส�ำคัญ การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าในวัยรุ่นใช้เกณฑ์
6) แบบสอบถามการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม ในการวินจิ ฉัยเดียวกับวัยผูใ้ หญ่ ต่างกันเพียงเล็กน้อย
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติความ คือ อารมณ์เศร้าในวัยรุ่นอาจแสดงเป็นอารมณ์
สัมพันธ์อันดับของสเปียร์แมน และการวิเคราะห์ หงุดหงิดได้ (American Psychiatric Association,

_18-0724(013-038)2.indd 14 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
15

2013) อย่างไรก็ตามกลุ่มอาการซึมเศร้าที่พบบ่อย วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสจึงเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงที่จะเกิด


ในวัยรุ่นได้แก่ รู้สึกซึมเศร้า หงุดหงิด หมดหวัง ปัญหาทั้งด้านพฤติกรรม ปัญหาด้านจิตใจ และ
ไม่ยินดียินร้าย ไร้อ�ำนาจ เหนื่อยล้า ไม่มีสมาธิ อารมณ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาด้านภาวะซึมเศร้า
นอนมากกว่าปกติ น�้ำหนักลด และคิดฆ่าตัวตาย (Buckner, Beardslee, & Bassuk, 2004; Cleverley
(Fu & Wang, 2008; Yorbik, Birmaher, Axelson, & Kidd, 2011; Dashiff, DiMicco, Myers, &
Williamson, & Ryan, 2004) และพบว่าปัจจัยเสี่ยง Sheppard, 2009; Kempfer et al., 2017; Nasreen,
ที่ส�ำคัญต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น ได้แก่ Alam, & Edhborg, 2016; Rehan, Antfolk,
ความยากจน ครอบครั ว แตกแยก การเผชิ ญ Johansson, Jern, & Santtila, 2017; Torikka et al.,
เหตุการณ์เลวร้ายในวัยเด็ก การที่บิดามารดาไม่ได้ 2014) ซึ่งจากการศึกษาก็พบว่า วัยรุ่นด้อยโอกาส
เป็นผู้เลี้ยงดู เป็นต้น (สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล, ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีภาวะด้อยทางสังคมและ
2558; Rudolph, 2009) เศรษฐกิจ (low socioeconomic) นั้นจะมีผลต่อการ
วั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสเป็ น กลุ ่ ม วั ย รุ ่ น ที่ อ ยู ่ ใ น พัฒนาของสมองของวัยรุ่นในส่วนที่จะส่งผลต่อ
สภาวะยากล�ำบาก มีชีวิตความเป็นอยู่ด้อยกว่าเด็ก การเกิดภาวะซึมเศร้า (Swartz, Hariri, & Williamson,
ปกติ ทั่ ว ไป อาศั ย อยู ่ ใ นสภาพที่ เ ป็ น ปั ญ หาของ 2017; Uddin, Jansen, & Telzer, 2017) ผลการศึกษา
สังคม อาจเป็นกลุม่ วัยรุน่ ทีม่ าจากครอบครัวยากจน ในกลุ ่ ม วั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสประเทศฟิ น แลนด์
พิการ อพยพย้ายถิ่นตามบิดามารดา อยู่ในพื้นที่ ปี ค.ศ. 2000-2011 พบว่ากลุ่มวัยรุ่นด้อยโอกาส
ห่างไกล ทุรกันดาร หรืออยู่ในชุมชนแออัด ขาด มี ค วามชุ ก ของการเกิ ด โรคซึ ม เศร้ า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น
โอกาสในการศึกษา (ส�ำนักงานคณะกรรมการ (Torikka et al., 2014) การศึกษาในกลุม่ ประเทศทีม่ ี
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2554; รายรับอยู่ในระดับปานกลางและต�่ำ ก็พบว่าเด็ก
Chopra, 2015; Heller, Larrieu, D’Imperio, & วัยรุ่นมีภาวะซึมเศร้าเพิ่มสูงขึ้นในช่วง 2010-2015
Boris, 1999; Unicef, 2012) วัยรุ่นด้อยโอกาสต้อง (Erskine et al., 2017; Kempfer et al., 2017) จาก
มี ก ารปรั บ ตั ว หลายด้ า นทั้ ง ด้ า นการปรั บ ตั ว กั บ การศึกษาในวัยรุน่ ด้อยโอกาสในศูนย์ฝกึ อาชีพสตรี
สภาวะแวดล้อมและปรับตัวด้านพัฒนาการของ จังหวัดลําพูนพบว่า มีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 28.53
ตนเอง (American Psychological Association, 2002; (กอร์ปบุญ ภาวะกุล, 2558) และในวัยรุ่นพิการ
Dumont & Provost, 1999) วัยรุ่นด้อยโอกาส ทางการได้ยินพบว่า มีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 57.3
มักจะขาดโอกาสที่จะได้รับการพัฒนาทั้งทางด้าน (จตุรพร แสงกูล และกนกวรรณ โมสิกานนท์,
สติปัญญา อารมณ์ และจิตใจอย่างเหมาะสม การ 2559) และจากการศึกษาในวัยรุ่นด้อยโอกาสที่
จั ด การกั บ เหตุ ก ารณ์ ต ่ า ง ๆ ในชี วิ ต ของวั ย รุ ่ น อาศั ย อยู ่ ใ นสถานรั บ เลี้ ย งเด็ ก ก� ำ พร้ า ของหลาย
ด้ อ ยโอกาสจึ ง มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะเป็ น ไปอย่ า งไม่ มี ประเทศ ก็พบว่ามีภาวะซึมเศร้ามากกว่าวัยรุน่ ทัว่ ไป
ประสิทธิภาพ วัยรุ่นด้อยโอกาสจึงเป็นกลุ่มที่มี (Karadag Caman & Özcebe, 2011; Prem Kumar,
ความพร่องในปัจจัยพืน้ ฐานหลายด้าน มีปจั จัยเสีย่ ง Dandona, Anil Kumar, Ramgopa, & Dandona, 2014;
ต่อภาวะซึมเศร้าหลายปัจจัยอยู่ในตนเอง ดังนั้น Ramagopal, Narasimhan, & Uma Devi, 2016)

_18-0724(013-038)2.indd 15 7/21/61 BE 11:30 AM


16 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

ภาวะซึ ม เศร้ า ในวั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสส่ ง ผล Edhborg, 2016; Pereira, Matos, Rosário Pinheiroa,
กระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของวัยรุ่นกลุ่มนี้เป็น & Costaa, 2016) การท�ำหน้าที่ของครอบครัวต�่ำ
อย่างยิ่ง ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นสาเหตุส�ำคัญ (Hovey, 2000; Nam, Kim, DeVylder, & Song, 2016)
ของการเกิดความทุพพลภาพ และมีคณ ุ ภาพชีวติ ต�ำ่ การรับรูค้ ณุ ภาพการใช้ชวี ติ ในโรงเรียนต�ำ่ (Eamon,
(Lynch & Clarke, 2006; Sobocki, Lekander, 2002; Lee et al., 2012) การรับรูค้ วามสามารถของ
Borgstro¨m, Stro¨m, & Runeson, 2007) มีความ ตนเองต�่ำ (Dallaire et al., 2008) มีปัญหาสุขภาพ
ผิดปกติของการใช้สารเสพติด (Lewinsohn, Solomon, (Eamon, 2002) การถูกทารุณกรรมทางจิตใจและ
Seeley, & Zeiss, 2000) ในรายที่มีภาวะซึมเศร้า ร่ า งกาย (Rehan et al., 2017) การขาดทั ก ษะ
รุนแรงจะมีโอกาสพัฒนาไปสู่โรคซึมเศร้า และ การเผชิญปัญหา (Stapinski et al., 2013) ความ
มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (Jane-Llopis & แข็งแกร่งในชีวิตต�่ำ (Ding et al., 2017; Hjemdal,
Braddick, 2008) อีกทั้งยังพบว่า วัยรุ่นด้อยโอกาส Friborg, Stiles, Rosenvinge, & Martinussen, 2006;
ยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้ใหญ่ มีภาวะ Nam et al., 2016; Zhou, Wu, & An, 2016; Ziaian,
กลับเป็นซ�้ำของโรคซึมเศร้า และมีความคงอยู่ของ de Anstiss, Antoniou, Baghurst, & Sawyer, 2012)
โรคได้มากกว่าวัยรุ่นทั่วไป (Li, D’Arcy, & Meng, ความเครียดสูง (Anyan & Hjemdal, 2016; Hammack,
2016; Nanni, Uher, & Danese, 2012; Nelson, Robinson, Crawford, & Li, 2004; Hatcher, Rayens,
Klumparendt, Doebler, & Ehring, 2017; Wilson, Peden, & Hall, 2008; Thapar, Collishaw, Pine, &
Vaidyanathan, Miller, McGue, & Iacono, 2014) Thapar ,2012; Yue, Dajun, Yinghao, & Tianqiang,
ซึ่งภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นจะน�ำไปสู่ภาระต่อบุคคล 2016) การสนับสนุนทางสังคมน้อย (ศุภชัย ตูก้ ลาง,
ครอบครัวและประเทศชาติ (Kapornai & Vetro, อรพรรณ ทองแตง, ธีรศักด์ สาตรา, และสุชีรา
2008; Lynch & Clarke, 2006; Sobocki et al, 2007) ภัทรายุตวรรตน์, 2555; Eamon, 2002; Nasreen et al.,
จากการทบทวนวรรณกรรมพบปั จ จั ย ที่ 2016; Hovey, 2000; Huurre, Eerola, Rahkonen,
เกี่ ย วข้ อ งกั บ ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นด้อยโอกาส & Aro, 2006; Sangalang & Gee, 2012) ความ
หลากหลายได้แก่ การมีปญ ั หาทางการเงิน (จตุรพร ผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนต�่ำ (Lee et al., 2012; Teja,
แสงกูล และกนกวรรณ โมสิกานนท์, 2559) การ Kimbery, & Reichl, 2013)
มีความคิดอัตโนมัตทิ างลบ (ศุภชัย ตูก้ ลาง, อรพรรณ จากการที่ วั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสเป็ น กลุ ่ ม ที่ มี
ทองแตง, ธีรศักด์ สาตรา, และสุชรี า ภัทรายุตวรรตน์, ความเสีย่ งสูงทีจ่ ะเกิดภาวะซึมเศร้า การป้องกันการ
2555) การเห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเองต�่ ำ (Moksnes, เกิดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มนี้จึงมีความส�ำคัญ
Moljord, Espnes, Byrne, 2010) ต้นทุนชีวิตต�่ำ และควรได้รับความสนใจ ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่
(กอร์ ป บุ ญ ภาวะกุ ล , 2558) การมี พ ่ อ หรื อ แม่ เกีย่ วข้องกับภาวะซึมเศร้าในกลุม่ วัยรุน่ ด้อยโอกาส
เสี ย ชี วิ ต (จตุ ร พร แสงกู ล และกนกวรรณ จึงมีความจ�ำเป็นและส�ำคัญกับพยาบาลจิตเวชและ
โมสิ ก านนท์ , 2559) มี ป ั ญ หาสั ม พั น ธภาพใน สุ ข ภาพจิ ต ที่ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการดู แ ลและ
ครอบครัว (Eamon, 2002; Nasreen, Alam, & ให้ บ ริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพจิ ต อย่ า งไรก็ ดี จ ากการ

_18-0724(013-038)2.indd 16 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
17

ทบทวนวรรณกรรมข้างต้น แสดงให้เห็นว่าการ ความผู ก พั น ใกล้ ชิ ด กั บ เพื่ อ นและการรั บ รู ้ แ รง


ศึ ก ษาปั จจั ยที่เ กี่ยวข้องกับ ภาวะซึมเศร้า ในเด็ ก สนับสนุนทางสังคมสามารถร่วมกันท�ำนายภาวะ
ด้ อ ยโอกาสนั้ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การศึ ก ษาใน ซึ ม เศร้ า ในวั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสในจั ง หวั ด หนึ่ ง ใน
ต่ า งประเทศ และการศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ล ภาคกลาง
ต่ อ ภาวะซึ ม เศร้ า ของวั ย รุ ่ น กลุ ่ ม ด้ อ ยโอกาสใน
ประเทศไทยยังพบน้อย การศึกษาปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพล กรอบแนวคิดการวิจัย
ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาสในบริบท กรอบแนวคิ ด ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ด้ จ าก
สั ง คมไทย จะเป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานส� ำ คั ญ ที่ จ ะใช้ การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับวัยรุ่นด้อยโอกาส
ในการวางแผนการดูแลป้องกันภาวะซึมเศร้าใน ปั จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ละมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ภาวะ
วัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป ซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาสและวัยรุน่ กลุม่ อืน่
ที่ใกล้เคียง (เช่นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นและ
วัตถุประสงค์การวิจัย ตอนปลาย และนักศึกษามหาวิทยาลัย เป็นต้น)
1. เพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่ม ซึ่งปัจจัยคัดสรรที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าใน
ด้อยโอกาสในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง การศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ด้ แ ก่ ความแข็ ง แกร่ ง ในชี วิ ต
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความ ความเครียด ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และ
แข็งแกร่งในชีวิต ความเครียด ความผูกพันใกล้ชิด แรงสนับสนุนทางสังคม ดังนี้
กับเพือ่ น และการรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคม กับ ความแข็งแกร่งในชีวิต: ความแข็งแกร่งใน
ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสในจังหวัด ชีวิตเป็น “ความสามารถหรือศักยภาพของบุคคล
หนึ่งในภาคกลาง ในการยืนหยัดอยูไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ามกลาง
3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของความแข็งแกร่ง สภาวการณ์เลวร้ายในชีวติ (adversity of life) หรือ
ในชีวิต ความเครียด ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน เหตุการณ์ทกี่ อ่ ให้เกิดความเครียดในชีวติ (stressful
และการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม ต่อภาวะ life events) พร้อมทัง้ สามารถทีจ่ ะฟืน้ ตัว และน�ำพา
ซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาสในจังหวัดหนึง่ ใน ชีวิตของตนให้ผ่านพ้นจากการได้รับผลกระทบที่
ภาคกลาง เกิดจากสภาวการณ์นั้นได้ในเวลารวดเร็ว อันจะ
น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ เติบโตขึน้ และเข้าใจ
สมมติฐานการวิจัย ชีวติ มากขึน้ ” (พัชรินทร์ นินทจันทร์, 2558, หน้า 8;
1. ความแข็ ง แกร่ ง ในชี วิ ต ความเครี ย ด พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา
ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้แรง ทวีคูณ, 2555, หน้า 20; Grotberg, 1995) ความ
สนั บ สนุ น ทางสั ง คมมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ภาวะ แข็ ง แกร่ ง ในชี วิ ต ตามแนวคิ ด ของ กร็ อ ทเบิ ร ์ ก
ซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาสในจังหวัดหนึง่ ใน (Grotberg, 1995; 1997; 1999; 2005) นั้นมี 3
ภาคกลาง องค์ประกอบหลัก คือ ‘I have’ ‘I am’ และ ‘I can’
2. ความแข็ ง แกร่ ง ในชี วิ ต ความเครี ย ด โดยที่ “1) I have (ฉันมี...) เป็นแหล่งสนับสนุน

_18-0724(013-038)2.indd 17 7/21/61 BE 11:30 AM


18 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

ภายนอกที่ส่งเสริมให้เกิดความแข็งแกร่งในชีวิต ในทางตรงกันข้ามกลับพบว่า บุคคลที่มีคะแนน


(เช่น ฉันมีคนทีพ่ ร้อมจะให้กำ� ลังใจและสนับสนุน ความแข็งแกร่งในชีวิตต�่ำมีระดับภาวะซึมเศร้า
ให้ เ ป็ น ตั ว ของตั ว เอง และฉั น มี ค รอบครั ว และ สูงขึน้ เมือ่ ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ทกี่ อ่ ให้เกิดความ
ชุมชนที่มั่นคง เป็นต้น) 2) I am (ฉันเป็น...) เป็น ยุ่งยากใจ (Hjemdal, Friborg, Stiles, Rosenvinge,
ความเข้มแข็งภายในของแต่ละบุคคล (เช่น ฉัน & Martinussen, 2006) ซึ่งจากการศึกษาในวัยรุ่น
เป็นคนที่สามารถที่จะรักและเป็นที่รักของผู้อื่นได้ ด้อยโอกาส (Ding et al., 2017; Zhou et al., 2016;
ฉันเป็นคนที่มีพื้นอารมณ์ดี และฉันเป็นคนที่มี Ziaian et al., 2012) และวั ย รุ ่ น ก็ พ บว่ า ความ
ความภาคภูมิใจในตนเอง แต่ในขณะเดียวกันก็ แข็งแกร่งในชีวิตมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะ
พร้อมที่จะยอมรับและยกย่องผู้อ่ืน เป็นต้น) และ ซึมเศร้า (นฤมล สมรรค เสวี และโสภิณ แสงอ่อน,
3) I can (ฉันสามารถ….) เป็นทักษะในการจัดการ 2558; พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และ
กับปัญหาและสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (เช่น จริยา วิทยะศุภร, 2556; Bitsika, Sharpley, & Peters,
ฉันสามารถที่จะมุ่งมั่นในงานที่ท�ำอยู่จนกว่าจะ 2010; Hjemdal, Aune, Reinfjell, Stiles, & Friborg,
ส�ำเร็จ ฉันสามารถที่จะบอกความคิด ความรู้สึก 2007; Hjemdal et al., 2006; Hjemdal, Vogel,
ของตนเองให้กับผู้อื่น และฉันสามารถที่จะหา Solem, Hagen, & Stiles, 2011; Pereira et al., 2016;
ทางออก หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่ใช้ในการจัดการกับ Roy, Sarchiapone, & Carli, 2007)
ปัญหาทีเ่ ผชิญอยู่ เป็นต้น) (พัชรินทร์ นินทจันทร์, ความเครี ย ด: ความเครี ย ดเป็ น ความคิ ด
2558, หน้า 15-16; พัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ, ความรู ้ สึ ก และการรั บ รู ้ ข องบุ ค คลในทางลบ
2555, หน้า 20-22; Grotberg, 1997; 2005) เมื่อ ไม่สบายใจ ทุกข์ใจ กดดันเกีย่ วกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ
บุคคลเผชิญกับเหตุการณ์ทกี่ อ่ ให้เกิดความยุง่ ยากใจ ในชีวิตที่ตนเองรู้สึกว่าไม่สามารถคาดการณ์ได้
บุคคลที่มีความแข็งแกร่งในชีวิตสูงจะสามารถ ไม่สามารถควบคุมได้ หรือมีความกดดันมากเกินไป
จัดการกับสภาวการณ์นนั้ ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ มีผลต่อพฤติกรรมการปรับตัวของตนเอง (Cohen,
มากกว่ า บุ ค คลที่ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง ในชี วิ ต ต�่ ำ Kamarck, & Mermelstein, 1983; Cohen &
(Grotberg, 2005; Luthar, Cicchetti, & Becker, Williamson, 1988) วัยรุน่ เป็นวัยทีต่ อ้ งเผชิญกับการ
2000; Rutter, 2000) นัน่ คือบุคคลทีม่ คี วามแข็งแกร่ง เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม
ในชีวิตต�่ำมื่อต้องพบกับเหตุการณ์เลวร้ายในชีวิต จึงเป็นวัยที่เปราะบางต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่อาจ
ก็นา่ จะมีแนวโน้มทีจ่ ะมีภาวะซึมเศร้ามากกว่าบุคคล ก่อให้เกิดความเครียดในชีวติ (Byrne, Davenport, &
ที่มีความแข็งแกร่งในชีวิตสูง (โสภิณ แสงอ่อน, Mazanov, 2007) โดยเฉพาะวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
2558) จากการศึกษาของเฮมเดล และคณะ พบว่า ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีภาวะด้อยทางสังคมและ
บุคคลที่มีคะแนนความแข็งแกร่งในชีวิตสูงระดับ เศรฐกิจจึงมีโอกาสที่จะเผชิญความเครียดสูงกว่า
ภาวะซึมเศร้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อต้องเผชิญ วัยรุ่นทั่วไป ซึ่งวัยรุ่นที่มีความเครียดสูงจะมีความ
กับเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความยุ่งยากใจ ซึ่งบ่งชี้ว่า เสีย่ งต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตโดยเฉพาะอย่างยิง่
เหตุการณ์ทกี่ อ่ ให้เกิดความยุง่ ยากใจไม่มผี ลกระทบ ภาวะซึมเศร้า (Byrne et al., 2007) มีงานวิจัยพบว่า
ทางลบต่อบุคคลผู้ซึ่งมีความแข็งแกร่งในชีวิตสูง วั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสที่ มี ก ารรั บ รู ้ ค วามเครี ย ดสู ง มี

_18-0724(013-038)2.indd 18 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
19

แนวโน้มทีจ่ ะมีภาวะซึมเศร้าสูง (Anyan & Hjemdal, เพื่ อ นน้ อ ย มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ไ ม่ ดี กั บ เพื่ อ นจะมี
2016; Hammack et al., 2004; Hatcher et al., 2008; แนวโน้มที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าสูง
Thapar et al., 2012) รวมทั้งการรับรู้ความเครียด การรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม: การรับรู้
เป็นปัจจัยท�ำนายภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ ด้อยโอกาส แรงสนับสนุนทางสังคมเป็นความเข้าใจและการ
(Anyan & Hjemdal, 2016; Hammack et al., 2004; รับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับการสนับสนุนจากบุคคล
Hatcher et al, 2008; Moksnes, & Lazarewicz, ในครอบครัว เพื่อน และบุคคลส�ำคัญ ทั้งทางด้าน
2017) ร่างกาย จิตใจ และสังคม และส่งผลให้เกิดความ
ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน: ความผูกพัน พึงพอใจต่อผู้ได้รับการสนับสนุนนั้น ๆ (Zimet,
ใกล้ชิดกับเพื่อนเป็นการรับรู้เกี่ยวกับความผูกพัน Dahlem, Zimet, & Farley, 1988) จากการศึกษา
ใกล้ ชิ ด กั บ เพื่ อ นในลั ก ษณะของการมี มิ ต รภาพ พบว่าการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวมี
การเปิดเผยตนเอง การสนับสนุนทางอารมณ์ และ อิทธิพลต่อการลดการเกิดโรคซึมเศร้า (Sangalang
ความพึงพอใจในสัมพันธภาพ (มัณฑนา นทีธาร, & Gee, 2012) แรงสนับสนุนทางสังคมต�่ำมีผลต่อ
2546; Buhrmester, 1990) ในช่วงวัยรุ่น กลุ่มเพื่อน การเกิดภาวะซึมเศร้าในกลุม่ ทีม่ ภี าวะด้อยทางสังคม
มีความส�ำคัญมากทีจ่ ะท�ำให้วยั รุน่ รูส้ กึ เป็นทีย่ อมรับ เศรษฐกิจ (ศุภชัย ตู้กลาง และคณะ, 2555; Hovey,
ของกลุม่ รูส้ กึ เป็นทีร่ กั มีความรูส้ กึ ภูมใิ จ (ศรีเรือน 2000; Huurre et al., 2006; Nasreen et al., 2016;
แก้วกังวาล, 2553; Buhrmester, 1990) วัยรุ่นที่มี Sangalang & Gee, 2012) บุคคลทีต่ อ้ งเผชิญกับสิง่ ที่
ความสามารถในการสร้างความผูกพันใกล้ชิดกับ ก่อให้เกิดความยุ่งยากใจ/ ความเลวร้ายในชีวิตที่มี
เพื่อนดีจึงน่าจะมีความเสี่ยงที่จะมีภาวะซึมเศร้า การมีการรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคมต�ำ่ มีแนวโน้ม
น้อย มีงานวิจัยสนับสนุนถึงความสัมพันธ์และ ที่จะมีภาวะซึมเศร้าสูง (Cheng et al., 2014; Van
อิทธิพลของความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนต่อภาวะ Droogenbroeck, Spruyt, & Keppens, 2018; Wang,
ซึมเศร้าในวัยรุ่นและวัยรุ่นด้อยโอกาส ซึ่งพบว่า Cai, Qian, & Peng, 2014) ในทางตรงกันข้ามบุคคล
ความผูกพันใกล้ชดิ กับเพือ่ นมีความสัมพันธ์ทางลบ ทีม่ ีการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคมสูงก็น่าที่จะมี
และมีอทิ ธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ ด้อยโอกาส ภาวะซึมเศร้าต�่ำ ซึ่งผลการทบทวนงานวิจัยพบว่า
(Lee et al., 2012; Teja et al., 2013) รวมทั้งมีงาน แรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบ
วิจัยที่พบว่า ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนมีความ กับภาวะซึมเศร้า (Cheng et al., 2014; Hovey, 2000;
สัมพันธ์ทางลบและมีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้า Huurre et al, 2006; Nasreen et al., 2016; Van
ในวัยรุ่น (ณิชาภัทร รุจิรดาพร, 2551; นวลจิรา Droogenbroeck et al., 2018; Van Harmelen et al.,
จันระลักษณะ, ทัศนา ทวีคณ ู , และโสภิณ แสงอ่อน, 2016)
2558; สุนันท์ เสียงเสนาะ, ดวงใจ วัฒนสินธุ์, ดังนั้น ความแข็งแกร่งในชีวิต ความเครียด
ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, และเวทิส ประทุมศรี, ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้แรง
2560; Ueno, 2005; Van Harmelen et al., 2016) สนับสนุนทางสังคม จึงน่าจะมีความสัมพันธ์และ
จึงอาจกล่าวได้ว่าวัยรุ่นที่มีความผูกพันใกล้ชิดกับ มีอทิ ธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาส

_18-0724(013-038)2.indd 19 7/21/61 BE 11:30 AM


20 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

ความแข็งแกร่งในชีวิต

ความเครียด
ภาวะซึมเศร้า
ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน

การรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีด�ำเนินการวิจัย เท่ากับ .031 ค่าอัลฟ่าเท่ากับ .05 power เท่ากับ .80


การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบศึกษาความ และจ�ำนวนตัวแปรอิสระเท่ากับ 4 ตัว ได้จ�ำนวน
สั ม พั น ธ์ เ ชิ ง ท� ำ นาย (predictive correlational กลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 378 คน และเพื่อป้องกันการ
design) ตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน ไม่ครบถ้วนของแบบสอบถาม จึงเพิม่ ขนาดตัวอย่าง
ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาอยู ่ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-6 ของ ร้อยละ 5 รวมหน่วยตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์จ�ำนวน 1 โรงเรียน สังกัด ทัง้ สิน้ 397 คน ซึง่ การศึกษาครัง้ นีม้ จี ำ� นวนตัวอย่าง
ส� ำ นั ก บริ ห ารงานการศึ ก ษาพิ เ ศษ ส� ำ นั ก งาน 399 คน ซึ่งเพียงพอตามข้อก�ำหนดข้างต้น
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ภาค เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
กลาง กระทรวงศึกษาธิการ เลือกกลุม่ ตัวอย่างแบบ การรวบรวมข้ อ มู ล ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ใช้
เฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์คัดเข้าคือ เป็นนักเรียน แบบสอบถามซึง่ แบ่งออกเป็น 6 ส่วน ประกอบด้วย
ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-6 โรงเรี ย น ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล
ศึ ก ษาสงเคราะห์ สั ง กั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร สร้างโดยทีมผูว้ จิ ยั ประกอบด้วยข้อค�ำถามเกีย่ วกับ
สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยได้ และยินดีเข้าร่วม เพศ อายุ น�้ำหนัก ระดับการศึกษา ผลการเรียน
งานวิจัย ก�ำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้หลักการ รายได้ของครอบครัว ทีม่ าของรายได้ ความเพียงพอ
Power analysis ของโคเฮน (Cohen, 1988) และ ของรายได้ สถานภาพสมรสของบิ ด ามารดา
ค�ำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G* Power บรรยากาศในครอบครั ว การสู บ บุ ห รี่ แ ละดื่ ม
3.1 (Faul, Erdfelder, Lang, & Buchner, 2007) เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 1 เดือนทีผ่ า่ นมา และจ�ำนวน
จากการทบทวนวรรณกรรมที่ผ่านมาพบว่ามีบาง ชั่วโมงการใช้คอมพิวเตอร์ต่อวัน
ตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า (Zhou ส่วนที่ 2 แบบวัดสุขภาพจิตคนไทย (เฉพาะ
et al., 2016) ผูว้ จิ ยั จึงก�ำหนดค่า effect size ขนาดเล็ก ส่วนของการประเมินภาวะซึมเศร้า) (Thai Mental
ตามการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย multiple regression Health Questionnaire: TMHQ) พัฒนาโดย สุชีรา

_18-0724(013-038)2.indd 20 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
21

ภัทรายุวรรตน์ และคณะ (2542) ประกอบด้วยข้อ Edith Henderson Grotberg (1995; 1997; 1999)
ค�ำถาม 70 ข้อ ใช้วัดภาวะสุขภาพจิต 5 ด้าน คือ โดย พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และ
ด้านความเจ็บป่วยทางกายที่เป็นผลจากภาวะทาง ทัศนา ทวีคูณ (2555) ซึ่งมี 3 องค์ประกอบหลัก
จิตใจ (somatization) 10 ข้อ (ข้อ 1-10) ด้านภาวะ คือ ‘I have’ ‘I am’ และ ‘I can’ โดยที่ I have
ซึมเศร้า (depression) 20 ข้อ (ข้อ11-30) ด้านความ (ฉันมี……) เป็นแหล่งสนับสนุนภายนอกทีส่ ง่ เสริม
วิตกกังวล (anxiety) 15 ข้อ (ข้อ 31-45) ด้านภาวะ ให้เกิดความแข็งแกร่งในชีวิต I am (ฉันเป็นคนที่
ทางจิต (psychotic) 10 ข้อ (ข้อ 46-55) และด้านการ .......) เป็นความเข้มแข็งภายในของแต่ละบุคคลและ
ท� ำ หน้ า ที่ ท างสั ง คม (social function) 15 ข้ อ I can (ฉันสามารถที่จะ….) เป็นปัจจัยด้านทักษะ
(ข้ อ 56-70) ซึ่ ง อาการแต่ ล ะข้ อ ย่ อ ยของแบบ ในการจัดการกับปัญหาและสัมพันธภาพระหว่าง
สอบถามได้มาจากเกณฑ์การวินิจฉัยโรคในกลุ่ม บุคคล แบบสอบถามนี้ มีข้อค�ำถามรวมทั้งสิ้น
นั้น ๆ ของ DSM-IV (Diagnostic and Statistical 28 ข้อ เป็นข้อค�ำถามเกีย่ วกับ ‘I have’ จ�ำนวน 9 ข้อ
Manual of Mental Disorders, Fourth Edition) ‘I am’ จ�ำนวน 10 ข้อ และ ‘I can’ จ�ำนวน 9 ข้อ
อันเป็นเกณฑ์ระดับสากลในการวินิจฉัยโรคทาง โดยที่แต่ละข้อมีค�ำตอบให้เลือก เพื่อแสดงระดับ
จิตของจิตแพทย์ ความเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย 5 ระดับ จาก 1
การศึกษาครั้งนี้ใช้ในส่วนของการประเมิน หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด จนถึง 5 หมายถึง
ด้านภาวะซึมเศร้า (depression) ซึ่งประกอบด้วย เห็นด้วยมากที่สุด คะแนนความแข็งแกร่งในชีวิต
ข้อค�ำถาม 20 ข้อ โดยที่แต่ละข้อมีให้เลือกค�ำตอบ คือ คะแนนรวมจาก 28 ข้อ แปลผลโดยการรวม
เพื่อแสดงระดับอาการที่ปรากฏ 5 ระดับ ตั้งแต่ 0 คะแนนของข้อค�ำถามทั้ง 28 ข้อ โดยคะแนนรวม
หมายถึง ไม่มอี าการ จนถึง 5 หมายถึง มีอาการมาก มีค่าตั้งแต่ 28-140 คะแนน คะแนนมากแสดงว่า
การแปลผลจะต้องน�ำคะแนนผลรวมไปค�ำนวณหา มีความแข็งแกร่งในชีวิตสูง จากการหาค่าความ
T-Score โดยรวมคะแนนแล้วหารด้วยจ�ำนวนข้อ เชื่ อ มั่ น โดยการหาค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟ่ า ของ
แล้วจึงน�ำไปเทียบกับค่า T-Score ที่เป็นเกณฑ์ ครอนบราค แบบประเมินนี้มีค่าความเชื่อมั่นใน
มาตรฐานของเครื่องมือที่บ่งชี้ว่ามีแนวโน้มที่จะ วั ย รุ ่ น กลุ ่ ม ด้ อ ยโอกาสเท่ า กั บ .85 (พั ช ริ น ทร์
มีปัญหา (ค่า T-Score ด้านภาวะซึมเศร้า > 1.37) นินทจันทร์, วารีรัตน์ ถาน้อย, โสภิณ แสงอ่อน,
จากการทดสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือทั้งชุด มาณวิ ภ า พั ฒ นมาศ, และช่ อ ทิ พ ย์ อิ น ทรั ก ษา,
พบว่าได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราค 2560) และในกลุ่มวัยรุ่นเท่ากับ .90 (มะลิวรรณ
(Cronbach’s Alpha Coefficient) ระหว่าง .82- .94 วงษ์ ขั น ธ์ , พั ช ริ น ทร์ นิ น ทจั น ทร์ , และโสภิ ณ
(สุชีรา ภัทรายุวรรตน์ และคณะ, 2542) ในการ แสงอ่อน, 2558) ในการศึกษาครั้งนี้มีค่าความ
ศึกษาครั้งนี้มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 เชื่อมั่นเท่ากับ .89
ส่ ว นที่ 3 แบบประเมิ น ความแข็ ง แกร่ ง ส่ ว นที่ 4 แบบวั ด การรั บ รู ้ ค วามเครี ย ด
ในชีวิต (The Resilience Inventory) พัฒนาจาก (Perceived stress Scale) เป็นแบบวัดที่พัฒนาโดย
แนวคิดความแข็งแกร่งในชีวิต (resilience) ของ โคเฮนและคณะ (Cohen et al., 1983) ซึ่งแปลเป็น

_18-0724(013-038)2.indd 21 7/21/61 BE 11:30 AM


22 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

ภาษาไทย โดยโสภิณ แสงอ่อน (Sangon, 2004) พบว่าได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราค


แบบสอบถามประกอบด้วยข้อค�ำถามทัง้ หมด 14 ข้อ เท่ากับ .82-.93 (ฉันทนา แรงสิงห์, 2554; นวลจิรา
โดยแบ่งเป็นค�ำถามเชิงบวก 7 ข้อ (ข้อที่ 4, 5, 6, 7, จันระลักษณะ และคณะ, 2558; มัณฑนา นทีธาร,
9, 10 และ 13) ค�ำถามเชิงลบ 7 ข้อ (ข้อที่ 1, 2, 3, 8, 2546; สุนันท์ เสียงเสนาะ และคณะ, 2560) และ
11, 12 และ 14) ค�ำตอบในแต่ละข้อมี 5 ตัวเลือก ในการศึกษาครั้งนี้มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .89
(ให้คะแนนตัง้ แต่ 0-4) โดยที่ “ไม่เคย” ให้ 0 คะแนน ส่ ว นที่ 6 แบบสอบถามการรั บ รู ้ แ รง
“แทบจะไม่เคย” ให้ 1 คะแนน “บางครั้ง” ให้ สนับสนุนทางสังคม
2 คะแนน “ค่อนข้างบ่อยครั้ง” ให้ 3 คะแนน แบบสอบถามความรู ้ สึ ก หลากหลายมิ ติ
“บ่อยมาก” ให้ 4 คะแนน คะแนนรวมอยู่ระหว่าง เกี่ ย วกั บ ความช่ ว ยเหลื อ ทางสั ง คม (Multi-
0-56 คะแนน คะแนนสูง หมายถึงมีการรับรู้ความ dimentional Scale of Perceived Social support:
เครียดสูง จากการหาค่าความเชื่อมั่นในกลุ่มวัยรุ่น MSPSS) พัฒนาโดย ไซเมตและคณะ (Zimet et al.,
พบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราค 1988) แปลเป็นภาษาไทยด้วยวิธกี ารแปลย้อนกลับ
เท่ากับ .84 - .87 (Cohen et al., 1983; Yarcheski, โดย ณหทัย วงศ์ปการันย์ และทินกร วงศ์ปการันย์
Mahon, Yarcheski, & Hanks, 2010) ในการศึกษา (Wongpakaran, Wongpakaran, & Ruktrakul, 2011)
ครั้งนี้มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 เป็นการประเมินการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม
ส่วนที่ 5 แบบสอบถามความผูกพันใกล้ชิด ของบุคคลที่ได้รับจากบุคคลส�ำคัญ เพื่อน และ
กับเพื่อน พัฒนาโดยเบอร์เมสเตอร์ (Buhrmester, ครอบครัว ประกอบด้วยข้อค�ำถาม 12 ข้อ ค�ำตอบ
1990) ซึ่งมัณฑนา นทีธาร (2546) ได้ท�ำการแปล เป็นมาตรประมาณค่า (rating scale) 7 อันดับ ตัง้ แต่
และเรียบเรียงแบบประเมินเป็นภาษาไทย มีข้อ 1–7 คะแนน คือ ไม่เห็นด้วยอย่างมาก เท่ากับ
ค�ำถามทั้งหมด 12 ข้อ เป็นการประเมินการรับรู้ 1 คะแนน จนถึงเห็นด้วยอย่างมาก เท่ากับ 7 คะแนน
เกี่ยวกับความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนในลักษณะ คะแนนรวมมีค่าระหว่าง 12-84 คะแนน แปลผล
การมีมิตรภาพ การเปิดเผยตนเอง การสนับสนุน โดย คะแนนรวมมากแสดงว่ามีการสนับสนุนทาง
ทางอารมณ์ และความพึงพอใจในสัมพันธภาพ สังคมมาก และคะแนนรวมน้อยแสดงว่ามีการ
แบบสอบถามมีลกั ษณะค�ำตอบเป็นแบบมาตราส่วน สนับสนุนทางสังคมน้อย เครื่องมือนี้ได้รับการ
ประมาณค่า 5 ระดับ ตั้งแต่ 1 คะแนนคือ ไม่เคย ตรวจสอบค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของเครื่ อ งมื อ พบว่ า
จนถึง 5 คะแนนคือเกือบทุกครั้ง มีค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคของแอลฟาเท่ากับ .91
การแปลผลโดยรวมคะแนนทั้ ง 12 ข้ อ และในองค์ ป ระกอบย่ อ ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เพื่ อ น
คะแนนอยู่ระหว่าง 12-60 คะแนน คะแนนสูง ครอบครัว และบุคคลส�ำคัญ มีค่าสัมประสิทธิ์
หมายถึง มีความผูกพันใกล้ชดิ กับเพือ่ นในระดับสูง ครอนบาคของแอลฟา เท่ากับ .91, .87 และ .85
แบบสอบถามความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนนี้ ได้ ตามล�ำดับ (Zimet et al., 1988) และในฉบับภาษาไทย
มีการทดสอบคุณภาพด้านความตรงตามเนื้อหา จากการน�ำเครือ่ งมือไปใช้ในวัยรุน่ พบค่าสัมประสิทธิ์
โดยผูท้ รงคุณวุฒิ และจากการทดสอบความเชือ่ มัน่ ครอนบาคของแอลฟา มีคา่ .91 และในองค์ประกอบ

_18-0724(013-038)2.indd 22 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
23

ย่อยที่เกี่ยวข้องกับ เพื่อน ครอบครัว และบุคคล ในช่วงเวลาที่ว่างจากการเรียนการสอน ซึ่งใช้เวลา


ส�ำคัญ ค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคของแอลฟามีค่า ในการตอบแบบสอบถามประมาณ 30-40 นาที
.91, .83 และ .86 ตามล�ำดับ (Wongpakaran et al.,
2011) ในการศึกษาครั้งนี้มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ การวิเคราะห์ข้อมูล
.92 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและตัวแปรที่
การพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่าง ศึกษาโดยใช้สถิตบิ รรยาย และจากการทดสอบการ
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ด้ ผ ่ า นการอนุ มั ติ จ าก กระจายของตัวแปรที่ศึกษาพบว่า ความแข็งแกร่ง
คณะกรรมการจริยรรมการวิจัยในคน คณะแพทย- ในชีวิตมีการกระจายแบบปกติ (normal distribu-
ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล tion) แต่ความเครียด ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน
และได้รับอนุญาตจากผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ก่อน การรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคมและภาวะซึมเศร้า
การเก็บรวบรวมข้อมูลนักเรียนได้รับการชี้แจง ไม่มกี ารกระจายแบบปกติ (non-normal distribution)
รายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัย ได้แก่ วัตถุประสงค์ จึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิตคิ วามสัมพันธ์
ของการวิจัย การด�ำเนินการวิจัย และสิทธิของการ อันดับของสเปียร์แมน (spearman’s Rho correlation)
เข้าร่วมการวิจยั โดยการเข้าร่วมการวิจยั เป็นไปด้วย และวิเคราะห์ปจั จัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อภาวะซึมเศร้าใน
ความสมัครใจ นักเรียนสามารถปฏิเสธการเข้าร่วม วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสโดยใช้การวิเคราะห์สมการ
การวิจยั ได้ตลอดเวลาโดยไม่มผี ลกระทบใด ๆ ทัง้ สิน้ ถดถอยพหุคณ ู แบบเป็นขัน้ ตอน (stepwise regression
รวมถึงข้อมูลจากการวิจัยจะถูกเก็บเป็นความลับ analysis) จากการทดสอบข้อตกลงเบือ้ งต้นของการ
และการน�ำเสนอข้อมูลจากการวิจัยเป็นลักษณะ ใช้สถิติ ผลการทดสอบเป็นไปตามข้อตกลงเบือ้ งต้น
ภาพรวมทั้งหมดเท่านั้น เมื่อนักเรียนยินดีเข้าร่วม
การวิจยั โดยการลงนามในหนังสือยินยอมโดยได้รบั ผลการวิจัย
การบอกกล่าวและเต็มใจ ผู้วิจัยจึงด�ำเนินการเก็บ 1. ข้อมูลส่วนบุคคล
รวบรวมข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่ม
การเก็บรวบรวมข้อมูล ตั ว อย่ า งวั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสพบว่ า เป็ น เพศหญิ ง
หลังได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการจริยธรรม ร้อยละ 57.6 (230 คน) และเพศชายร้อยละ 42.4
การวิ จั ย ในคน คณะแพทยศาสตร์ โ รงพยาบาล (169 คน) เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3
รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คณะผูว้ จิ ยั ท�ำหนังสือ ใกล้เคียงกันร้อยละ 22 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึง 6
ขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้อ�ำนวยการ ร้อยละ 7.5-13 อายุเฉลี่ย 14.96 ปี (SD = 1.84) มี
โรงเรียน ผู้วิจัยติดต่อประสานงานกับคณาจารย์ เกรดเฉลี่ย 2.68 (SD = .65) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การวิ จั ย และ ได้รับเงินจากผู้ปกครองเพียงพอร้อยละ 50.6 บิดา
ประสานงานเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลใน มารดาอาศัยอยู่ด้วยกันร้อยละ 53.1 บรรยากาศ
นักเรียนที่ยินดีเข้าร่วมการวิจัย โดยใช้เวลาช่วงที่ ในครอบครัวทะเลาะกันเป็นบางครั้ง ร้อยละ 61.4
ว่างจากการเรียนการสอนหรือหลังเลิกเรียน หรือ นอกจากนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างสูบบุหรี่ในระยะ

_18-0724(013-038)2.indd 23 7/21/61 BE 11:30 AM


24 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

1 เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 11.3 และดื่มสุราในระยะ วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติความ


1 เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 16.5 สัมพันธ์อันดับของสเปียร์แมน (spearman’s rho
2. ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส correlation) (ตารางที่ 1) พบว่าความเครียดมีความ
ผลการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ภาวะซึ ม เศร้ า ใน สัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่ม
กลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นกลุ่มด้วยโอกาสพบว่า มีภาวะ ด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (rs = .342,
ซึมเศร้าร้อยละ 27.1 p < .01) ความแข็งแกร่งในชีวติ ความผูกพันใกล้ชดิ
3. ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่ง กับเพื่อน และการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคมมี
ในชีวิต ความเครียด ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน ความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่
และการรั บ รู ้ แ รงสนั บ สนุ น ทางสั ง คมกั บ ภาวะ ด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (rs = -.229,
ซึมเศร้า ในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาสในจังหวัดหนึง่ ใน p < .01; rs = -.112, p < .05; rs = -.142, p < .05,
ภาคกลาง ตามล�ำดับ)

ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบอันดับของสเปียร์แมนระหว่าง ความแข็งแกร่งในชีวิต


ความเครียด ความผูกพันใกล้ชดิ กับเพือ่ น การรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้า
ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส (n = 399)
ตัวแปร 1 2 3 4 5
1. ความแข็งแกร่งในชีวิต 1.000
2. ความเครียด -.232** 1.000
3. ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน .194** .086 1.000
4. การรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม .418** -.107* .229** 1.000
5. ภาวะซึมเศร้า -.229** .342** -.112* -.142* 1.000
*p < .05 **p <.01, two-tailed

4. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าใน ท�ำนายสูงสุด คือ ความเครียด (β = .33, p < .001)


วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส รองลงมาคือ ความแข็งแกร่งในชีวิต (β = -.158,
ผลการวิ เ คราะห์ ถ ดถอยพหุ คู ณ ด้ ว ยวิ ธี p = .001) (ตารางที่ 2 และ 3) โดยจากผลการวิจัย
แบบขั้นตอนพบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตและ ครัง้ นีส้ ามารถสร้างสมการการท�ำนายภาวะซึมเศร้า
ความเครียดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวน ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสได้ดังนี้
ของภาวะซึ ม เศร้ า ในวั ย รุ ่ น กลุ ่ ม ด้ อ ยโอกาสได้ สมการในรู ป แบบค่ า คะแนนมาตรฐาน
ร้อยละ 16 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (F = 37.514, (standardized score)
df = 2, 396, p < .001) โดยปัจจัยที่มีอ�ำนาจในการ Z(ภาวะซึมเศร้า) = .33Z(ความเครียด) - .158Z (ความแข็งแกร่งในชีวิต)

_18-0724(013-038)2.indd 24 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
25

ตารางที่ 2 ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์พหุคณ ู ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวติ ความเครียด ความผูกพัน


ใกล้ชดิ กับเพือ่ น การรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าในวัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาส
(n = 399)
Model R R2 R2 change F change p-value
1. ความเครียด .368 .136 .136 62.375 .000
2. ความเครียดและความแข็งแกร่งในชีวิต .339 .159 .024 37.514 .000

ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิถ์ ดถอยของ ความแข็งแกร่งในชีวติ ความเครียด ความผูกพันใกล้ชดิ กับเพือ่ น


และการรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคมของสมการถดถอยพหุคณ ู ทีใ่ ช้ในการพยากรณ์ทำ� นาย
ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส (n = 399)
ตัวแปรท�ำนาย b SEb β t p-value
ความเครียด .947 .136 .33 6.945 .000
ความแข็งแกร่งในชีวิต -.181 .054 -.158 -3.327 .001
Constant (a) = 12.301, R = .399, R = .159, R adj = .155, F (2, 396) = 37.514, p < .001
2 2

การอภิปรายผลการวิจัย ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส ส่วนความแข็งแกร่งในชีวติ ความผูกพันใกล้ชดิ กับ
ในการศึกษาครั้งนี้มีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 27.1 ซึ่ง เพือ่ น และการรับรูแ้ รงสนับสนุนทางสังคมมีความ
ใกล้เคียงกับการศึกษาที่ผ่านมาที่พบภาวะซึมเศร้า สั ม พั น ธ์ ท างลบกั บ ภาวะซึ ม เศร้ า ในวั ย รุ ่ น กลุ ่ ม
ในวัยรุ่นด้อยโอกาสในศูนย์ฝึกอาชีพสตรีจังหวัด ด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ แต่ผลการ
ลําพูน ร้อยละ 28.53 (กอร์ปบุญ ภาวะกุล, 2558) วิเคราะห์อิทธิพลพบว่า มีเพียงความแข็งแกร่ง
อย่างไรก็ ตามการศึกษาครั้งนี้พบภาวะซึมเศร้า ในชีวิตและความเครียดสามารถร่วมกันอธิบาย
น้อยกว่าการศึกษาในนักเรียนพิการทางการได้ยิน ความแปรปรวนของภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่ม
ทีพ่ บว่ามีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 57.3 (จตุรพร แสงกูล ด้อยโอกาสได้ร้อยละ 16 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
และกนกวรรณ โมสิกานนท์, 2559) และวัยรุ่น โดยปัจจัยที่มีอ�ำนาจในการท�ำนายสูงสุดคือ ความ
ด้อยโอกาสในบ้านเด็กก�ำพร้าที่มีภาวะซึมเศร้า เครียด รองลงมาคือ ความแข็งแกร่งในชีวิต ซึ่ง
ร้อยละ 48 (Ramagopal et al. 2016) แต่พบว่าภาวะ อภิปรายผลการศึกษาได้ดังนี้
ซึมเศร้ามากกว่าการศึกษาในต่างประเทศที่พบ ความเครียด: ผลการศึกษาในครั้งนี้พบว่า
ภาวะซึมเศร้าร้อยละ 11.4 -14 (Kempfer et al., 2017; ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกและเป็นปัจจัย
Nasreen et al., 2016; Torikka et al., 2014) ที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่ม
ผลการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ พ บว่ า ความ ด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ผลการศึกษา
เครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้า ครั้งนี้สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมาที่พบความ

_18-0724(013-038)2.indd 25 7/21/61 BE 11:30 AM


26 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

สัมพันธ์ทางบวกระหว่างความเครียดกับภาวะ ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
ซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส และพบอิทธิพล การศึกษาครั้งนี้ได้ผลการศึกษาเช่นเดียวกับการ
ของความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่ม ศึกษาที่ผ่านมาที่พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตมี
ด้อยโอกาส (Anyan, & Hjemdal, 2016; Hammack ความสัมพันธ์ทางบวกและเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล
et al., 2004; Hatcher et al., 2008; Hovey, 1997; ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส (Ding
Moksnes & Lazarewicz, 2017) ทั้งนี้ความเครียด et al., 2017; Zhou et al., 2016; Ziaian et al., 2012)
เป็นการรับรูข้ องบุคคลในทางลบ ไม่สบายใจ ทุกข์ใจ ซึ่งความแข็งแกร่งในชีวิตนั้นเป็น “ความสามารถ
กดดันเกี่ยวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตที่ตนเอง หรือศักยภาพของบุคคลในการยืนหยัดอยู่ได้อย่าง
รูส้ กึ ว่าไม่สามารถคาดการณ์ได้ ไม่สามารถควบคุม มีประสิทธิภาพ ท่ามกลางสภาวการณ์เลวร้ายใน
ได้ หรือมีความกดดันมากเกินไป (Cohen et al., 1983; ชีวิต (adversity of life) หรือเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิด
Cohen & Williamson, 1988) จึงอาจกล่าวได้ว่า ความเครียดในชีวติ (stressful life events) พร้อมทัง้
วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสที่รับรู้ว่าตนเองไม่สามารถ สามารถที่จะฟื้นตัว และน�ำพาชีวิตของตนให้ผ่าน
คาดการณ์ หรือควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิต พ้นจากการได้รับผลกระทบที่เกิดจากสภาวการณ์
ของตนได้ซึ่งจะมีการรับรู้ความเครียดในชีวิตสูง นัน้ ได้ในเวลารวดเร็ว อันจะน�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง
ก็น่าจะมีแนวโน้มที่จะมีภาวะซึมเศร้าสูง ผลการ ทีด่ ขี นึ้ เติบโตขึน้ และเข้าใจชีวติ มากขึน้ ” (พัชรินทร์
ศึกษาครั้งนี้เป็นไปตามทฤษฏีทางสังคมวิทยาที่ นินทจันทร์, 2558, หน้า 8; พัชรินทร์ นินทจันทร์
เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะซึมเศร้า (social theory) และคณะ, 2555, หน้า 20) ความแข็งแกร่งในชีวิต
ที่อธิบายความเชื่อมโยงระหว่างความเครียดกับ ตามแนวคิดของกร็อทเบิร์ก (Grotberg, 1995;
การเกิ ด ภาวะซึ ม เศร้ า ซึ่ ง มองว่ า การที่ บุ ค คลมี 1997) มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ ‘I have’ (ฉันมี...)
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและ เป็นแหล่งสนับสนุนภายนอก ‘I am’(ฉันเป็น...)
ทางสังคมซึง่ เป็นสิง่ เร้าทีเ่ ข้ามาคุกคามส่งผลท�ำให้ เป็นความเข้มแข็งภายในของแต่ละบุคคล และ
บุคคลเสียสมดุล ซึ่งหากบุคคลไม่สามารถปรับตัว ‘I can’ (ฉันสามารถ….) เป็นทักษะในการจัดการ
กับสิ่งเร้าที่เข้ามาคุกคามได้ก็จะเกิดความเครียด กับปัญหาและสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Grotberg,
และน�ำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ (Hammen, 2005; 1995; 1997; 1999; 2005) จากผลการศึกษาที่ได้จึง
Kessler, 1997) รวมทัง้ สอดคล้องกับการวิจยั ทีพ่ บว่า สามารถอธิบายได้วา่ การทีว่ ยั รุน่ ทีม่ คี วามแข็งแกร่ง
ระดับความด้อยโอกาสทางสังคมมีความสัมพันธ์ ในชี วิ ต สู ง ก็ จ ะเป็ น บุ ค คลที่ ส ามารถใช้ แ หล่ ง
กับประสบการณ์ความเครียดในบุคคลและส่งผล ประโยชน์ต่าง ๆ (I have) ในการจัดการกับปัญหา
ต่อความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า (Burns ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (I can) อันจะส่งเสริมให้
et al., 1995; Fergusson & Horwood, 1987) วัยรุน่ ด้อยโอกาสมีความภาคภูมใิ จในตนเองมากขึน้
ความแข็งแกร่งในชีวิต: ผลการศึกษาใน (I am) ซึ่งจากการศึกษาที่ผ่านมาก็แสดงให้เห็นว่า
ครัง้ นีพ้ บว่า ความแข็งแกร่งในชีวติ มีความสัมพันธ์ บุคคลทีม่ คี วามภาคภูมใิ จในตนเองสูงมีแนวโน้มที่
ทางลบและเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้า จะมีภาวะซึมเศร้าต�่ำ (Manna, Falgares, Ingoglia,

_18-0724(013-038)2.indd 26 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
27

Como, & De Santis, 2016) เมื่อวัยรุ่นด้อยโอกาส สั ม พั น ธ์ ท างลบกั บ ภาวะซึ ม เศร้ า ในวั ย รุ ่ น กลุ ่ ม
เห็นคุณค่าในตนเองสูง จะมีความมั่นใจในความ ด้อยโอกาส ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับการ
สามารถของตนเอง (I am) จะสามารถมองเห็น ศึ ก ษาที่ ผ ่ า นมาที่ พ บว่ า ความผู ก พั น ใกล้ ชิ ด กั บ
แหล่งประโยชน์ที่อยู่รอบตัวเพื่อดึงมาใช้ในการ เพื่อนมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าใน
จัดการกับความเครียดหรือปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส (Lee et al., 2012; Teja et al.,
ในชีวิตได้ (I can) จึงมีแนวโน้มรับรู้ความเครียดต�่ำ 2013) การทีพ่ บความสัมพันธ์ทางลบระหว่างความ
น�ำไปสูก่ ารมีภาวะซึมเศร้าต�ำ่ (Moksnes et al., 2010; ผูกพันใกล้ชดิ กับเพือ่ นกับภาวะซึมเศร้า อาจอธิบาย
Orth, Robins, & Roberts, 2008) ยิง่ ไปกว่านัน้ วัยรุน่ ได้ว่า เพื่อนเป็นบุคคลที่มีความส�ำคัญมากส�ำหรับ
ด้อยโอกาสทีม่ คี วามแข็งแกร่งในชีวติ สูงจะเป็นผูท้ ี่ วัยรุ่น โดยเฉพาะวัยรุ่นด้อยโอกาส การที่มีความ
มีทักษะในการจัดการกับปัญหา โดยจะใช้วิธีการ ผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน จะท�ำให้วัยรุ่นรับรู้ว่ามี
เผชิญปัญหาในการจัดการกับปัญหา รู้จักขอความ บุคคลที่รักและเชื่อใจได้อยู่รอบตัว คอยยับยั้งหรือ
ช่วยเหลือในเวลาที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือ ห้ามปรามก่อนทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ทเี่ ลวร้าย มีบคุ คล
รูจ้ กั ใช้อารมณ์ขนั เพือ่ ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด ที่ ค อยให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ยามเจ็ บ ป่ ว ยหรื อ ยาม
รวมทั้งเป็นผู้ที่มีทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับ ตกอยู่ในอันตราย การมีความผูกพันใกล้ชิดกับ
ผูอ้ นื่ ดี เช่น มีความโอบอ้อมอารี รูจ้ กั เห็นอกเห็นใจ เพือ่ นก็เป็นการแสดงถึงการทีบ่ คุ คลสามารถทีจ่ ะมี
ผู้อื่น รู้จักกาลเทศะในการพูดคุยกับผู้อื่น (I can) ความรัก ยินดีกบั ผูอ้ นื่ อย่างจริงใจ เคารพตนเองและ
นอกจากนี้วัยรุ่นด้อยโอกาสที่มีความแข็งแกร่งใน ผูอ้ นื่ และสามารถสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ตนเองสูงยังเป็นผู้ที่รับรู้ว่าตนเองมีคนที่รัก ที่ไว้ใจ ได้ดี (Buhrmester, 1990; Feldman & Elliott, 1990)
ได้ทั้งในและนอกครอบครัว (I have) เป็นที่รัก รวมทั้งการมีความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนมีความ
ของผู้อื่น (I am) คุณสมบัติเหล่านี้เอื้ออ�ำนวยให้ สัมพันธ์กับความเข้มแข็ง ความสามารถในการ
วัยรุ่นด้อยโอกาสสามารถจัดการกับปัญหาอย่าง ปรับตัว ความรูส้ กึ เป็นทีย่ อมรับของกลุม่ ความรูส้ กึ
มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (I can) จึ ง น� ำ ไปสู ่ ก ารมี ภ าวะ มี อ� ำ นาจและรู ้ สึ ก ภาคภู มิ ใ จในตนเองในวั ย รุ ่ น
ซึมเศร้าต�่ำ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา (ศรีเรือน แก้วกังวาล, 2553; Buhrmester, 1990;
พบว่าการใช้การมุง่ แก้ปญ ั หาในการจัดการกับปัญหา Feldman & Elliott, 1990) ซึง่ วัยรุน่ ทีม่ คี วามสามารถ
และการมีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่นส่งผลให้ ในการสร้างความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนดีจึงมี
บุคคลมีแนวโน้มที่จะมีภาวะซึมเศร้าต�่ำ (สุนันท์ แนวโน้มที่จะมีภาวะซึมเศร้าต�่ำ
เสียงเสนาะ และคณะ, 2560; Davila, Hammen, อย่ า งไรก็ ต ามผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ม่
Burge, Paley, & Daley, 1995; Goodman, Gravitt, & สอดคล้องกับผลการศึกษาทีผ่ า่ นมาซึง่ พบว่า ความ
Kaslow, 1995) ดังนั้นวัยรุ่นด้อยโอกาสที่มีความ ผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนมีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้า
แข็งแกร่งในชีวิต (I have, I am, และ I can) สูง ในวัยรุ่นด้อยโอกาส (Lee et al., 2012; Teja et al.,
จึงน่าจะมีภาวะซึมเศร้าต�่ำ 2013) ทั้งนี้อาจเนื่องจากกลุ่มตัวอย่างอาศัยอยู่ใน
ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน: ผลการศึกษา จังหวัดใหญ่ ต้องต่อสู้ ดิ้นรนหาเลี้ยงชีพเอง และ
ในครัง้ นีพ้ บว่า ความผูกพันใกล้ชดิ กับเพือ่ นมีความ ช่วยเหลือบิดามารดาในการประกอบอาชีพ อาจ

_18-0724(013-038)2.indd 27 7/21/61 BE 11:30 AM


28 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

ท�ำให้วัยรุ่นกลุ่มนี้มีเวลาอยู่กับเพื่อนไม่มากนัก จึง มั่นใจและภาคภูมิใจในตนเอง (ขาด I am) การที่


อาจท�ำให้ผลการศึกษาครั้งนี้ไม่พบอิทธิพลของ วัยรุ่นด้อยโอกาสมีความแข็งแกร่งในชีวิตต�่ำ (ขาด
ความผู ก พั น ใกล้ ชิ ด กั บ เพื่ อ นต่ อ ภาวะซึ ม เศร้ า I have, I am, และ I can) จึงน่าจะมีแนวโน้มที่จะ
อย่างไรก็ดี การศึกษาครั้งนี้พบว่ามีความสัมพันธ์ มีภาวะซึมเศร้า จากการศึกษาทีผ่ า่ นมาพบว่าบุคคล
ทางลบ ดังนั้นความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนจึงยัง ทีข่ าดแหล่งสนับสนุน ขาดทักษะการเผชิญปัญหา
น่าจะเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าใน และขาดความมั่นใจและภาคภูมิใจในตนเอง (ขาด
วัยรุ่นด้อยโอกาส แต่การศึกษาครั้งนี้เป็นการเก็บ I have I am I can) มีแนวโน้มจะมีภาวะซึมเศร้า
ข้ อ มู ล จากสถานที่ เ ดี ย วในภาคกลาง ดั ง นั้ น (สุนันท์ เสียงเสนาะ และคณะ, 2560; Coifman,
การศึกษาครั้งต่อไปจึงน่าจะมีการศึกษาในวัยรุ่น 2012; Davila et al., 1995; Goodman et al., 1995;
ด้อยโอกาสทีม่ าจากบริบททีแ่ ตกต่างกันทัว่ ทุกภาค Väänänena, Marttunen, Helminen, & Kaltiala-
ของประเทศ Heinog, 2014)
การรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม: ผลการ อย่างไรก็ตามผลการศึกษาครัง้ นีไ้ ม่สอดคล้อง
ศึกษาในครัง้ นีพ้ บว่า การรับรูแ้ หล่งสนับสนุนทาง กั บ การศึ ก ษาที่ ผ ่ า นมาที่ พ บว่ า การรั บ รู ้ แ หล่ ง
สังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าใน สนับสนุนทางสังคมมีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้า
วัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาส ผลการศึกษาครัง้ นีส้ อดคล้อง ในวัยรุ่นด้อยโอกาส (Hovey, 2000; Huurre et al.,
กั บ การศึ ก ษาที่ ผ ่ า นมาที่ พ บว่ า การรั บ รู ้ แ หล่ ง 2006; Nasreen et al., 2016) ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก
สนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบกับ การศึกษาครัง้ นีก้ ลุม่ ตัวอย่างมาจากเพียง 1 โรงเรียน
ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส (Hovey, และส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่นด้อยโอกาสที่ยากจน จึง
2000; Huurre et al., 2006; Nasreen et al., 2016) น่าจะมีการศึกษาเพิ่มเติมในกลุ่มวัยรุ่นด้อยโอกาส
การที่พบความสัมพันธ์ทางลบระหว่างการรับรู้ กลุ่มอื่นต่อไป
แหล่ งสนั บ สนุนทางสัง คมกับ ภาวะซึมเศร้า ใน การศึกษาครั้งนี้พบว่า ตัวแปรที่น�ำมาศึกษา
วัยรุน่ กลุม่ ด้อยโอกาส อาจอธิบายได้วา่ กลุม่ ตัวอย่าง สามารถอธิบายความแปรปรวนของภาวะซึมเศร้า
วั ย รุ ่ น ด้ อ ยโอกาสในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ส ่ ว นใหญ่ ในวัยรุ่นด้อยโอกาสได้เพียงร้อยละ 16 แสดงว่ายัง
เป็นเด็กยากจน ครอบครัวต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ มีตัวแปรทางจิตสังคมอื่น ๆ ที่น่าจะร่วมอธิบาย
ในการประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงชีพ จึงน่าจะมีเวลา ความแปรปรวนของภาวะซึ ม เศร้ า ได้ อี ก เช่ น
ค่อนข้างน้อยส�ำหรับการดูแล อบรมสัง่ สอน และให้ สัมพันธภาพในครอบครัว (Nasreen et al., 2016;
ค�ำปรึกษา เป็นแหล่งสนับสนุนให้วยั รุน่ ด้อยโอกาส Pereira et al., 2016) การท�ำหน้าที่ของครอบครัว
กลุม่ นี้ (ขาด I have) เด็กวัยรุน่ กลุม่ นีจ้ งึ น่าจะเรียนรู้ (Hovey, 2000) การรับรู้การใช้ชีวิตในโรงเรียน
หรือเผชิญปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง อาจจะท�ำให้ (Lee et al., 2012) การเห็ น คุ ณ ค่ า ในตนเอง
ไม่สามารถเผชิญปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตได้ (Moksnes et al., 2010) ซึ่งควรมีการศึกษาเพิ่มเติม
อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร (ขาด I can) สิ่ง ต่อไป
เหล่านี้น่าจะส่งผลให้วัยรุ่นด้อยโอกาสขาดความ

_18-0724(013-038)2.indd 28 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
29

ข้อเสนอแนะ จตุ ร พร แสงกู ล และกนกวรรณ โมสิ ก านนท์ .


1. ผลการศึ ก ษาพบว่ า ความเครี ย ดและ (2559), ภาวะซึ ม เศร้ า ในนั ก เรี ย นพิ ก าร
ความแข็งแกร่งในชีวติ เป็นปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์ ทางการได้ ยิ น ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา โรงเรี ย น
และมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ภาวะซึ ม เศร้ า ในวั ย รุ ่ น กลุ ่ ม โสตศึกษา จังหวัดสงขลา. สงขลานครินทร์
ด้ อ ยโอกาส ดั ง นั้ น จึ ง ควรจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ลด เวชสาร, 34(5), 281-288.
ความเครียดและเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต ฉันทนา แรงสิงห์. (2554). ปัจจัยท�ำนายภาวะ
ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส ซึ ม เศร้ า ของนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา
2. ควรมีการศึกษาตัวแปรทางจิตสังคมอืน่ ๆ ส� ำ นั ก งาน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา จั ง หวั ด
เช่น สัมพันธภาพในครอบครับ การท�ำหน้าที่ของ เชียงราย. วารสารสภาการพยาบาล, 26(2),
ครอบครัว การรับรูก้ ารใช้ชวี ติ ในโรงเรียน การเห็น 42-56.
คุณค่าในตนเอง เป็นต้น ที่น่าจะสามารถท�ำนาย ณิชาภัทร รุจิรดาพร. (2551). ภาวะซึมเศร้าของ
ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นด้อยโอกาสไทย และควร นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายใน
ศึกษาในกลุม่ ตัวอย่างทีห่ ลากหลายจากทุกภาคของ โรงเรียนสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการ
ประเทศไทย การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
3. ควรมีการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ในเขต กรุ ง เทพมหานคร. วิ ท ยานิ พ นธ์
ของปัจจัยทางจิตสังคมต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ด้อยโอกาสไทย สุขภาพจิต, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
กิตติกรรมประกาศ นฤมล สมรรคเสวี และโสภิณ แสงอ่อน. (2558).
ขอขอบคุณโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะ ปั จ จั ย ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ ภาวะซึ ม เศร้ า ใน
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย นักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาล
มหิดล ทีใ่ ห้การสนับสนุนเงินทุนส�ำหรับการศึกษา จิตเวชและสุขภาพจิต, 29(3), 11-27.
ในครั้งนี้ และขอขอบคุณนักเรียนทุกท่านที่ยินดี นวลจิรา จันระลักษณะ, ทัศนา ทวีคูณ, และโสภิณ
เป็นส่วนหนึง่ ของการวิจยั ครัง้ นีส้ ง่ ผลให้การศึกษา แสงอ่ อ น. (2558). ปั จ จั ย ท� ำ นายภาวะ
วิจัยครั้งนี้ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ซึมเศร้าในนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย.
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต,
เอกสารอ้างอิง 29(2), 128-143.
กอร์ปบุญ ภาวะกุล. (2558). ต้นทุนชีวิตกับภาวะ พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ความแข็งแกร่ง
ซึมเศร้าของเด็กด้อยโอกาสในศูนย์ฝกึ อาชีพ ในชี วิ ต : แนวคิ ด การประเมิ น และการ
สตรีจงั หวัดลําพูน. วารสารสวนปรุง, 31(3), ประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: จุดทอง.
1-15. พัชรินทร์ นินทจันทร์, วารีรัตน์ ถาน้อย, โสภิณ
แสงอ่อน, มาณวิภา พัฒนมาศ, และ ช่อทิพย์

_18-0724(013-038)2.indd 29 7/21/61 BE 11:30 AM


30 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

อิ น ทรั ก ษา. (2560). ปั จ จั ย ท� ำ นายความ ตอนต้นในโรงเรียนขยาย โอกาสทางการ


แข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส. ศึกษา จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสมาคม
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(3), 283-294.
31(1), 13-28. สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ และคณะ. (2542). แบบวัด
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา สุขภาพจิตในคนไทย (Thai Mental Health
ทวีคูณ. (2555). การพัฒนาแบบประเมิน Questionnaire: TMHQ). สารศิริราช, 51,
ความแข็งแกร่งในชีวิต. รายงานการวิจัย 946-52.
โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพประชากรไทย สุนันท์ เสียงเสนาะ, ดวงใจ วัฒนสินธุ์, ภรภัทร
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เฮงอุ ด มทรั พ ย์ , และเวทิ ส ประทุ ม ศรี .
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). อิทธิพลของปัจจัยด้านสัมพันธภาพ
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และจริยา ระหว่างบุคคล ต่อภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่น
วิทยะศุภร. (2556). ความแข็งแกร่งในชีวิต ตอนปลาย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรม
เหตุการณ์ทสี่ ร้างความยุง่ ยากใจ และสุขภาพ ราชชนนีกรุงเทพ, 33(3), 59-69.
จิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารการ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
พยาบาลและสุขภาพ, 7(2), 12-26. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). รายงานการ
มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, พัชรินทร์ นินทจันทร์, และ วิจยั เรือ่ งการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่มีความ ศึกษาส�ำหรับเด็กด้อยโอกาส. กรุงเทพฯ:
สัมพันธ์กบั ความแข็งแกร่งในชีวติ ในวัยรุน่ . ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, พื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ.
29(1), 57-75. สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล. (2558). ระบาดวิทยาของ
มัณทนา นทีธาร. (2546). ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อภาวะ โรคซึมเศร้า. ในสุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล
ซึมเศร้าของเด็กวัยรุน่ ในอ�ำเภอเมือง จังหวัด และสรยุทร วาสิกนานนท์ (บรรณาธิการ),
เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญา พยาบาล ต�ำราโรคซึมเศร้า (หน้า 29-47). ขอนแก่น:
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต คลังนานาวิทยา.
และการพยาบาลจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย, โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ภาวะซึมเศร้า: ปัจจัยเสีย่ ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปัจจัยปกป้อง และความแข็งแกร่งในชีวิต.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการ ใน พัชรินทร์ นินทจันทร์ (บรรณาธิการ),
ชีวิตทุกช่วงวัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ความแข็ ง แกร่ ง ในชี วิ ต (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1).
ธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุดทอง
ศุภชัย ตู้กลาง, อรพรรณ ทองแตง, ธีรศักด์ สาตรา, American Psychological Association. (2002).
และสุชรี า ภัทรายุตวรรตน์. (2555). ปัจจัยทีม่ ี Developing adolescents: A reference for
อิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของ นักเรียนวัยรุน่ professionals. Retrieved October 26, 2016,

_18-0724(013-038)2.indd 30 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
31

from http://www.apa.org/pi/families/ Byrne, D. G., Davenport, S. C., & Mazanov, J.


resources/develop.pdf (2007). Profiles of adolescent stress:
American Psychiatric Association. (2013). the development of the adolescent stress
Diagnostic and statistical manual of mental questionnaire (ASQ). Journal of Adoles-
disorders (5th ed.). Washington, D.C.: cence, 30, 393–416.
Author. Cheng, Y., Li, X. C., Lou, C., Sonenstein, F. L.,
Anyan, F. & Hjemdal, O. (2016). Adolescent stress Kalamar, A., Jejeebhoy, S., et al. (2014).
and symptoms of anxiety and depression: The association between social support and
Resilience explains and differentiates the mental health among vulnerable adoles-
relationships. Journal of Affective cents in five cities: Findings from the study
Disorders, 203, 213-220. of the well-being of adolescents in vulner-
Bitsika, V., Sharpley, C. F., & Peters, K. (2010). able environments. Journal of Adolescent
How is resilience associated with anxiety Health, 55(6 supplement), S31-S38.
and depression? Analysis of factor score Chopra, G. (2015). Child rights in India.:
interactions within a homogeneous sample. Challenges and social action. Springer.
German Journal of Psychiatry, 13, 9-16. Retrieved February 1, 2018 from https://
Retrieved December 19, 2012, from http:// link.springer.com/content/pdf/10.1007
www.gjpsy.uni-goettingen.de %2F978-81-322-2446-4.pdf
Buckner, J. C., Beardslee, W. R., & Bassuk, E. L. Cleverley, K., & Kidd, S. A. (2011). Resilience and
(2004). Exposure to violence and low- suicidality among homeless youth. Journal
income children’s mental health: Direct, of Adolescent Health, 34(5), 1049-1054.
moderated, and mediated relations. American doi: 10.1016/j.adolescence.2010.11.003
Journal of Orthopsychiatry, 74, 413–425. Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for
Buhrmester, D. (1990). Intimacy of friendship, the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale,
interpersonal competence, and adjustment NJ: Lawrence Earlbaum Associates.
during preadolescence and adolescence. Cohen, S., Kamarck, T., & Mermelstein, R. (1983).
Child Development, 61(4), 1101-1111. A global measure of perceived stress.
Burns, B. J., Costello, E. J., Angold, A., Tweed, Journal of Health and Social Behavior,
D., Stangl, D., Farmer, E. M., et al. (1995). 24(4), 385-396.
Children’s mental health service use across Cohen, S., & Williamson, G. (1988). Perceived
service sectors. Health Affairs, 14(3), stress in a probability sample of the United
147-159. States. In S. Spacapan, & S. Oskamp (Eds.),

_18-0724(013-038)2.indd 31 7/21/61 BE 11:30 AM


32 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

The social psychology of health: Claremont Eamon, M. K. (2002). Influences and mediators of
symposium on applied social psychology the effect of poverty on young adolescent
(pp. 31-67). Newbury Park, CA: Sage. depressive symptoms. Journal of Youth and
Coifman, J. (2012). Long-term effects of Adolescence, 31(3), 231-242.
adolescent social support on young adult Erskine, H. E., Baxter, A. J., Patton, G., Moffitt, T.
depression and suicide risk. Unpublished E., Patel, V., Whiteford, H. A., et al. (2017).
Master of Public Health, University of The global coverage of prevalence data
Washington. for mental disorders in children and
Dashiff, C., DiMicco, W., Myers, B., & Sheppard, adolescents. Epidemiology and Psychiatric
K. (2009). Poverty and adolescent mental Sciences, 26(4), 395-402. doi: 10.1017/
health. Journal of Child and Adolescent S2045796015001158
Psychiatric Nursing, 22(1), 23-32. doi: Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner,
10.1111/j.1744-6171.2008.00166.x A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical
Davila, J., Hammen, C., Burge, D., Paley, B., & power analysis program for the social,
Daley, S. E. (1995). Poor interpersonal behavioral, and biomedical sciences.
problem solving as a mechanism of stress Behavior Research Methods, 39, 175-191.
generation in depression among adolescent Feldman, S. S. & Elliott, G. R. (1990). At the
women. Journal of Abnormal Psychology, threshold: The developing adolescent.
104(4), 592-600. Massachusetts: Harvard University.
Ding, H., Han, J., Zhang, M., Wang, K., Gong, J., Fergusson, D. M., & Horwood, L. J. (1987).
& Yang, S. (2017). Moderating and Vulnerability to life events exposure.
mediating effects of resilience between Psychological Medicine, 17, 739 –749.
childhood trauma and depressive symptoms Fu, L., & Wang, Y. P. (2008). Comparison of
in Chinese children. Journal of Affective demographic and clinical characteristics
Disorders, 211, 130-135 between children and adolescents with
Dumont, M., & Provost, M. A. (1999). Resilience major depressive disorder. Revista
in adolescents: Protective role of social Brasileira Priquiatria, 30(2), 124-31.
support, coping strategies, self-esteem, and Goodman, S. H., Gravitt, G. W., & Kaslow, N. J.
social activities on experience of stress (1995). Social problem solving: A moderator
and depression. Journal of Youth and of the relation between negative life stress
Adolescence, 28(3), 343-363. and depression symptoms in children.

_18-0724(013-038)2.indd 32 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
33

Journal of Abnormal Child Psychology, Heller, S. S., Larrieu, J. A., D’Imperio, R., &
23(4), 473-485. Boris, N. W. (1999). Research on resilience
Grotberg, E. H. (1995). A guide to promoting to child maltreatment: Empirical consid-
resilience in children: Strengthening the erations. Child Abuse & Neglect, 23(4),
human spirit. The Hague: The Bernard van 321–338.
Leer Foundation. Hjemdal, O., Aune, T., Reinfjell, T., Stiles, T.C., &
Grotberg, E. H. (1997). The International resilience Friborg, O. (2007). Resilience as a predictor
project: Findings from the research and the of depressive symptoms: A correlational
effectiveness of interventions. Retrieved study with young adolescents. Clinical
September 15, 2009, from http://resilnet. Child Psychology and Psychiatry, 12(1),
uiuc.edu/library/grotb97a.html 91–104. doi: 10.1177/1359104507071062
Grotberg, E. H. (1999). Tapping your inner Hjemdal, O., Friborg, O., Stiles, T. C., Rosenvinge,
strength: How to find the resilience to deal J. H., & Martinussen, M., (2006). Resilience
with anything. Oakland: New Harbinger. predicting psychiatric symptoms: A
Grotberg, E. H. (2005). Resilience for tomorrow. prospective study of protective factors and
Retrieved September 15, 2009, from http:// their role in adjustment to stressful life
resilnet.uiuc.edu/library/grotberg2005_ events. Clinical Psychology and Psycho-
resilience-for-tomorrow- brazil.pdfH therapy, 13, 194–201.
Hammack, P. L., Robinson, W. L. Crawford, I., & Hjemdal, O., Vogel, P. A., Solem, S., Hagen, K.,
Li, S. T. (2004). Poverty and depressed & Stiles, T. C. (2011). The relationship
mood among urban African-American between resilience and levels of anxiety,
adolescents: A family stress perspective. depression, and obsessive-compulsive
Journal of Child and Family Studies, 13(3), symptoms in adolescents. Clinical
309–323. Psychology and Psychotherapy, 18(4),
Hammen, C. (2005). Stress and depression. 314-321.
Annual Review of Clinical Psychology, Hovey, J. D. (1997). Acculturative stress, depression,
1(1), 293–319. and suicidal ideation among Latino migrants.
Hatcher, J., Rayens, M. K., Peden, A. R., & Hall, Unpublished Dissertation. The University
L. A. (2008). Predictors of depression for of Michigan, Ann Arbor.
low-income African American single Hovey, J. D. (2000). Acculturative stress,
mothers. Journal of Health Disparities depression, and suicidal ideation in
Research and Practice, 2(3), 89-110. Mexican immigrants. Cultural Diversity

_18-0724(013-038)2.indd 33 7/21/61 BE 11:30 AM


34 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

and Ethnic Minority Psychology, 6(2), Lee, G., McCreary, L., Kim, M. J., Park, C. G.,
134-151. Jun, W. H., & Yang, S. (2012). Depression
Huurre, T., Eerola, M., Rahkonen, O., & Aro, in low-income elementary school children
H. (2006). Does social support affect the in South Korea: Gender differences. The
relationship between socioeconomic status Journal of School Nursing, 29(2), 132-141.
and depression? A longitudinal study Lewinsohn, P. M., Solomon, A., Seeley, J. R., &
from adolescence to adulthood. Journal Zeiss, A. (2000). Clinical implications of
of Affective Disorders, 100(1), 55-64. “subthreshold” depressive symptoms.
doi:10.1016/j.jad.2006.09.019 Journal of Abnormal Psychology, 109,
Jane-Llopis, E., & Braddick, F. (2008). Mental 345-351.
health in youth and education. Consensus Li, M., D’Arcy, C., & Meng, X. (2016). Maltreatment
paper. Luxembourg: European Communi- in childhood substantially increases the
ties. risk of adult depression and anxiety in
Kapornai, K. & Vetro, A. (2008). Depression in prospective cohort studies: Systematic
children. Current Opinion of Psychiatry, review, meta-analysis, and proportional
21(1), 1-7. attributable fractions. Psychological
Karadag Çaman, Ö., & Özcebe, H. (2011). Medicine, 46(4), 717-730. doi:10.1017/
Adolescents living in orphanages in s0033291715002743
Ankara: Psychological symptoms, level Luthar, S., Cicchetti, D., & Becker, B. (2000).
of physical activity, and associated The construct of resilience: a critical
factors. Turkish Journal of Psychiatry, evaluation and guidelines for future work.
22(2), 93-103. Child Development, 71, 543–562.
Kempfer, S. S., Fernandes, G., Reisdorfer, E., Lynch, F. L., & Clarke, G. N. (2006). Estimating
Girondi, J. B. R., Sebold, L. F., Porporatti, the economic burden of depression in
A. L., et al. (2017). Epidemiology of children and adolescents. American Journal
depression in low income and low of Preventive Medicine, 31(6S1), S143–
education adolescents: a systematic review S151.
and meta-analysis. The Grant Medical Manna, G., Falgares, G., Ingoglia, S., Como, M. R.,
Journals, 2(4), 67-77. & De Santis, S. (2016). The Relationship
Kessler, R.C. (1997). The effects of stressful life between self-esteem, depression and
events on depression. Annual Review of anxiety: Comparing vulnerability and scar
Psychology, 48, 191-214. model in the Italian context. Mediterranean

_18-0724(013-038)2.indd 34 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
35

Journal of Clinical Psychology, 4(3), 1-16. Nelson, J., Klumparendt, A., Doebler, P., & Ehring,
doi: 10.6092/2282-1619/2016.4.1328 T. (2017). Childhood maltreatment and
Moksnes, U. K., & Lazarewicz, M. (2017). The characteristics of adult depression:
association between stress, resilience, Meta - analysis. The British Journal of
and emotional symptoms in Norwegian Psychiatry, 210(2), 96-104. doi:10.1192/
adolescents from 13 to 18 years old. bjp.bp.115.180752
Journal of Health Psychology, 1–10 doi: Orth, U., Robins, R. W., & Roberts, B. W. (2008).
10.1177/1359105316687630 Low self-esteem prospectively predicts
Moksnes, U. K., Moljord, I. E. O., Espnes, G. A., depression in adolescence and young
& Byrne, D. G. (2010). The association adulthood. Journal of Personality and
between stress and emotional states in Social Psychology, 95(3), 695–708.
adolescents: The role of gender and self- Pereira, L., Matos, A. P., Rosário Pinheiroa, M.,
esteem. Personality and Individual & Costaa, J. J. (2016). Resilience and
Differences, 49(5), 430-435. doi:https://doi. depressive symptomatology in adolescents:
org/10.1016/j.paid.2010.04.012 The moderator effect of psychosocial
Nam, B., Kim, J. Y., DeVylder, J. E., & Song, A. functioning. The European Proceeding of
(2016). Family functioning, resilience, and Social & Behavioral Sciences. Retrieved
depression among North Korean refugees. May 21, 2018, from http://www.fu-
Psychiatry Research, 245, 451-457. tureacademy.org.uk/files/images/
Nanni, V., Uher, R., & Danese, A. (2012). Childhood upload/7ichandhpsy2016.pdf
maltreatment predicts unfavorable course Prem Kumar, S. G., Dandona, R., Anil Kumar, G.,
of illness and treatment outcome in Ramgopa, S. P. & Dandona, L. (2014).
depression: A meta-analysis. American Depression among AIDS-orphaned children
Journal of Psychiatry, 169(2), 141-151. higher than among other orphaned children
doi:10.1176/appi.ajp.2011.11020335 in southern India. International Journal of
Nasreen, H. E., Alam, M. A., & Edhborg, M. Mental Health Systems, 8(13), 1-9.
(2016). Prevalence and associated Ramagopal, G., Narasimhan, S., & Uma Devi, L.
factors of depressive symptoms among (2016). Prevalence of depression among
disadvantaged adolescents: Results from children living in orphanage. International
a population-based study in Bangladesh. Journal of Contemporary Pediatrics, 3(4),
Journal of Child and Adolescent Psychiatric 1326-1328.
Nursing, 29, 135–144. Rehan, W., Antfolk, J., Johansson, A., Jern, P., &

_18-0724(013-038)2.indd 35 7/21/61 BE 11:30 AM


36 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

Santtila, P. (2017). Experiences of severe Stapinski, L. A, Montgomery, A. A., Heron, J.,


childhood maltreatment, depression, Jerrim, J., Vignoles, A., & Araya, R. (2013).
anxiety and alcohol abuse among adults in Depression symptom trajectories and
Finland. Plus One, 12(5), 1-12. associated risk factors among adolescents
Roy, A., Sarchiapone, M., & Carli, V. (2007). in Chile. Plos one, 8(10), e78323. doi:
Low resilience in suicide attempters: 10.1371/journal.pone.0078323
Relationship to depressive Symptoms. Swartz, J. R., Hariri, A. R., & Williamson, D. E.
Depression and Anxiety, 24, 273–274. (2017). An epigenetic mechanism links
Rudolph, K. D. (2009). Adolescent depression. socioeconomic status to changes in
In I. H. Gotlib & C. L. Hammen (Eds.), depression-related brain function in high-
Handbook of depression (pp. 444-466). risk adolescents. Molecular psychiatry,
New York: The Guilford. 22(2), 209-214. doi:10.1038/mp.2016.82
Rutter, M. (2000). Resilience reconsidered: Teja, Z., Kimbery, A., & Reichl, S. (2013). Peer
Conceptual considerations, empirical relations of Chinese adolescent newcomer:
findings, and policy implication. In E. F. Relations of peer group integration and
Zigler, J. P. Shonkoff, & S. J. Meisels friendship quality to psychological and
(Eds.), Handbook of early childhood school adjustment. Journal of International
intervention (pp. 651–682). Cambridge: Migration and Integration, 14, 535-556.
Cambridge University. doi:10.1007/s12134-012-0253-5
Sangalang, C. C., & Gee, G. C. (2012). Depression Thapar, A., Collishaw, S., Pine, D. S., & Thapar,
and anxiety among Asian Americans: The A. K. (2012). Depression in adolescence.
effects of social support and strain. Social Lancet, 379(9820), 1056–1067. doi:
Work, 57(1), 49-60. 10.1016/S0140-6736(11)60871-4
Sangon, S. (2004). Predictors of depression in Torikka, A., Kaltiala-Heino, R., Rimpelä, A.,
Thai women. Research and Theory for Marttunen, M., Luukkaala, T., & Rimpelä,
Nursing Practice: An International M. (2014). Self-reported depression is
Journal, 18(2/3), 243-260. increasing among socio-economically
Sobocki, P., Lekander, I., Borgstro¨m, F., Stro¨m, disadvantaged adolescents–repeated cross-
O., & Runeson, B. (2007). The economic sectional surveys from Finland from 2000
burden of depression in Sweden from to 2011. BMC public health, 14(1), 408.
1997 to 2005. European Psychiatry, 22 (3) Uddin, M., Jansen, S., & Telzer, E. H. (2017).
146-152. Adolescent depression linked to socioeco-

_18-0724(013-038)2.indd 36 7/21/61 BE 11:30 AM


วารสารการพยาบาลจิ ต เวชและสุ ข ภาพจิ ต ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2561
37

nomic status? Molecular approaches for in At-Risk Adolescents. Public Library of


revealing premorbid risk factors. Bioessays, Science ONE, 11(5), e0153715. doi:10.1371/
39(3). doi:10.1002/bies.201600194 journal.pone.0153715
Ueno, K. (2005). The effects of friendship Wang, X., Cai, L., Qian, J., & Peng, J. (2014).
networks on adolescent depressive Social support moderates stress effects on
symptoms. Social Science Research, 34(3), depression. International Journal of Mental
484-510. doi:https://doi.org/10.1016/j. Health Systems, 8(41), 1-5.
ssresearch.2004.03.002 Wilson, S., Vaidyanathan, U., Miller, M. B.,
Unicef. (2012). The state of the world’s children: McGue, M., & Iacono, W. G. (2014).
Children in an urban world. Retrieved Premorbid risk factors for major depressive
June, 29, 2017, from https://www.unicef. disorder: are they associated with early
org/sowc/files/SOWC_2012-Main_ onset and recurrent course? Development
Report_EN_21Dec2011.pdf and Psychopathology, 26(4 Pt 2), 1477-
Väänänena, J. M., Marttunen, M., Helminen, 1493. doi:10.1017/s0954579414001151
M., & Kaltiala-Heinog, R. (2014). Low Wongpakaran, T., Wongpakaran, N., & Ruktrakul,
perceived social support predicts later R. (2011). Reliability and validity of the
depression but not social phobia in middle multidimensional scale of perceived social
adolescence. Health Psychology & support (MSPSS): Thai version. Clinical
Behavioural Medicine, 2(1), 1023–1037. Practice and Epidemiology in Mental
http://dx.doi.org/10.1080/21642850.2014 Health, 7, 161-166. doi:10.2174/17450
.966716 17901107010161
Van Droogenbroeck, F., Spruyt, B., & Keppens, Yarcheski, T. J., Mahon, N. E., Yarcheski, A., &
G. (2018). Gender differences in mental Hanks, M. M. (2010). Perceived stress and
health problems among adolescents and wellness in early adolescents using the
the role of social support: Results from the Neuman systems model. The Journal of
Belgian health interview surveys 2008 and School Nursing, 26(3),230-237.
2013. BioMed Central Psychiatry, 18(1), 6. Yorbik, O. Birmaher, B. Axelson, D. Williamson,
doi:10.1186/s12888-018-1591-4 D. E., Ryan, N. (2004). Clinical character-
Van Harmelen, A.-L., Gibson, J. L., St Clair, M. C., istics of depressive symptoms in children
Owens, M., Brodbeck, J., Dunn, V., et al. and adolescents with major depressive
(2016). Friendships and Family Support disorder. Journal of Clinical Psychiatry,
Reduce Subsequent Depressive Symptoms 65(12), 1654-1659.

_18-0724(013-038)2.indd 37 7/21/61 BE 11:30 AM


38 Vol.32 No.2 May - August 2018 The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health

Yue, L., Dajun, Z., Yinghao, L., & Tianqiang, H. Zimet, G. D., Dahlem, N. W., Zimet, S. G., &
(2016). Meta-analysis of the relationship Farley, G.K. (1988). The multidimensional
between life events and depression in scale of perceived social support. Journal
adolescents. Journal of Pediatric Care, 2, of Personality Assessment, 52, 30-41.
1-13.
Zhou, X., Wu, X., & An, Y. (2016). Understanding
the relationship between trauma exposure
and depression among adolescents after
earthquake: The roles of fear and resilience.
Frontiers in Psychology, 7(2044), 1-9.
Ziaian, T., de Anstiss, H., Antoniou, G., Baghurst,
P., & Sawyer, M. (2012). Resilience and
its association with depression, emotional
and behavioural problems, and mental
health service utilisation among refugee
adolescents living in South Australia.
International Journal of Population
Research, 2012, 1-10. doi: 10.1155/2012/
485956

_18-0724(013-038)2.indd 38 7/21/61 BE 11:30 AM

You might also like