You are on page 1of 5

คํานํา

ปญหาการติดยาเสพติดเปนปญหาทีม่ ีองคประกอบสลับซับซอน และมักเปนปญหาทีเ่ กิด


จากสาเหตุหลายประการประกอบกัน ซึง่ อาจสรุปไดวาประกอบดวยองคประกอบทีส่ าํ ค คน ยา 3 สวน ไดแก
และสิง่ แวดลอม
ในสวนขององคประกอบท่เกีี ย่ วกับคนน้นั ประเด็นของระดับเชาวนปญญาและบุคลิกภาพเปน เร่องที ื น่ าสน
ใจเปนอยางยิง่ เน่ืองจากคนโดยทั่วไปอาจจะคิดวาคนทีต่ ดิ ยาเสพติด นาจะเปนคนท่มีี สติปญญาต่าํ จึงไดถูกชักจูง
หลอกลอ ใหห ลงตกเปนทาสของยาเสพติดได
เทาทีผ่ านมาไดมีผู ศึกษาวิจยั เกีย่ วกับเชาวนปญญาและบุคลิกภาพของผูติดยาเสพติด ไวบางแลว แตยัง
ไมพบงานวิจยั ดังกลาวในกลุมผเสพ
ู ู สารเสพติดทีย่ งั ไมใชผติ
ู ู ดยา โดยเฉพาะใน กลุมเปาหมายพืน้ ทีจ่ งั หวัดสงขลา
ผูวิจยั ซึง่ เปนน จิตวิทยาประจําศนยู บําบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา และเปนหนึ่งในทีม
ประสานแกไขปญหายาเสพติดในพื้นทีจ่ งั หวัดสงขลา จึงไดสนใจท่จะศึ ี กษาระดับเชาวนปญญาและ ลักษณะ
บุคลิกภาพของเยาวชนกลุมเสพยาเสพติดท่ีเขารวมโครงการคายบําบัดฟนฟูเยาวชน
ติดยาเสพติดของวิทยาล อาชีวศกษึ าสงขลา เพือ่ จะไดทราบขอมูล อนั จะเปนประโยชนตอกา รวางแผน
ปองกัน และแกไขปญหาการติดสารเสพติดของเยาวชนตอไป

ผูวิจยั
ประกาศคุณูปการ

ั ้สาํ เร็จลุลวงไปไดดวยความชวยเหลืออยางดียง่ิ จาก


การวิจยั คร้งนี
อาจารย ทัศนา ณ สงขลา ูผอํู านวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลาทีอ่ นุญาตใหทําการเก็บ ขอมูล
ในคายบําบดฟนฟูเยาวชนติดยาเสพติดของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลาได
นายแพทยกวี ชีวะเสรีชล ผูอํานวยการศูนยบําบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ทีก่ รุณา อนุญาต
ใหผูวิจยั ไดท ําการวิจยั คร้งนี้
คณาจารยท ุกทานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา วิทยากร และพีเ่ ลี้ยงทุกทานในคายฯ ทีไ่ ด
ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลของผู จิ ยั
เยาวชนทุกคนในคายฯทีก่ รุณาสละเวลาและใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามและ การ
ทดสอบทางจิตวิทยาดวยดี
คุณจรรยา เจตนสมบูรณ ทีก่ รุณาชวยเหลือจัดพิมพงานวิจยั ครัง้ นี้และอํานวยความสะดวก
ตาง ๆ
ผูวิจยั จึงใครขอขอบพระคุณทุกทานทีม่ ีสวนชวยเหลือมา ณ ทีน่ ้ดี วย
ผู ิจยั หวังวาผลการวิจยั จะเปนประโยชนตอการหาแนวทางวางแผน ปองก แกไขปญหาการ
ติดสารเสพติดในกลุมเด็กและเยาวชน ซ่งจะเปนทรั ึ พยากรมนุษยทีม่ คี าของประเทศตอไป

ผูวิจยั
สารบัญ

หน
คํานํา ประกาศ

คุณูปการ

บทที่ 1 บทนํา
ความเปนมาและความสําคญของปญหา 1
วัตถุประสงคการวิจยั 2
สมมุตฐิ านการวิจยั 2
คํานิยามการวิจยั 3
ขอบเขตการวิจยั 3
ประโยชนท คี่ าดวาจะไดรับ 3

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจยทีเ่ ก่ยวของ
แนวคิดทฤษฎีทเ่ี กีย่ วของกบ การแกไขปญหายาเสพติด 4
แนวคิดทฤษฎีทเกีี่ ย่ วของกบ เชาวนปญญาและบุคลิกภาพ 17

งานวิจยทีเ่ ก่ยวของ 26

บทที่ 3 วิธดี าํ เนินการวิจยั


ประชากรและกลุมตัวอยาง 30
เครือ่ งมือทีใ่ ชใ นการวิจยั 30
การเก็บรวบรวมขอมูล 31
การวิเคราะหขอมูล 31

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ลักษณะทวั่


ไปของกลุมตัวอยาง 32
ลกั ษณะทางครอบครัว ลักษณะปญหา และวิธจี ดั การกับปญหา 34
ประวัตกิ ารใชส ารเสพติด 38
ระดับเชาวนปญญาและบุคลิกภาพ 41
การทดสอบสมมุตฐิ าน 42
หนา
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ
สรุปผลการวิจยั 45
อภิปรายผล 47
ขอเสนอแนะ 50

บรรณานุกรม 52

ภาคผนวก 54
ระดับเชาวน ญญาและบุคลิกภาพ
ของเยาวชนในคายบําบัดฟนฟูเยาวชนติดยาเสพติด
ของวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสงขลา

นางสาวเนตรนภิส จันทวัฒนะ

กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ ศูนยบําบดรักษายาเสพติด
จังหวัดสงขลา กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2544

You might also like