You are on page 1of 7

กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง

โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
เรื่อง การลดอุบัติการณ์ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงด้วย OAS
ระยะเวลาดาเนินการ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 5 สิงหาคม 2560

ผู้รับผิดชอบหลัก บุคลากรในกลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1 ดังนี้


1. นางสิรินาฎ รัชฎามาศ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
2. นางจิรายุ อิ่มแก้ว พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
3. นางอรสา ศรีเสริม พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
4. นางสาวสุธิสา ดีเพชร พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
5. นางสุภาพร แก้วกุล พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
6. นายสุรเชษฐ์ หัสดี พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
7. นายบุญมี วงศ์สายตา พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
8. นายทวีจิตร สารราษฎร์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
9. นายอัครเดช สุธีร์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
10. นางสังวาล แก้วคาแพง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
11. นางปิยวรรณ สารมาศ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
12. นางสาวพัชรี เจริญสุข พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
13. นายจานง ทองไทย พนักงานช่วยเหลือคนไข้
14. นายสิทธิชัย สุขเสริม พนักงานช่วยเหลือคนไข้
15. นายสมบัติ ทองกลึง พนักงานช่วยเหลือคนไข้
16. นายจิรชาติ วานมนตรี พนักงานช่วยเหลือคนไข้
17. นายไพโรจน์ ชารี พนักงานช่วยเหลือคนไข้
18. นายปิยวิรุทธ์ สมบูรณ์ พนักงานช่วยเหลือคนไข้
19. นายสรรเพชร ไชยรักษ์ พนักงานช่วยเหลือคนไข้
20. นายชวลิต มุสิกะวัน พนักงานช่วยเหลือคนไข้
21. นายภัทรพล ไนยะกุล พนักงานช่วยเหลือคนไข้
22. นายพันธ์ศักดิ์ วงศ์ด้วง พนักงานช่วยเหลือคนไข้
1. Quality Gap Statement
จากการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2560 ช่วงเดือนเมษายน–มิถุนายน 2560 มีผู้ป่วยรับไว้รักษาทั้งหมด
จานวน 243 ราย มีผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ จากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง จานวน 2 ราย คิ ดเป็นร้อยละ 1.62
แบ่งเป็นระดับ D จานวน 1 ราย ระดับ E จานวน 1 ราย แสดงให้เห็นว่าอัตราจานวนการได้รับบาดเจ็บไม่เป็นไป
ตามตัวชี้วัด
2. หลักการและเหตุผล
กลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1 มีภารกิจหลักคือ การบริการดูแลผู้ป่วยจิตเวชชายที่เป็น
ผู้ป่ วยหนักและผ่านพ้น ระยะวิกฤติ โดยรับย้ายผู้ป่วยจากกลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายผู้ป่วยหนัก โดยใช้
เกณฑ์การประเมินตาม PTP หมวด 1,2,6 ระดับคะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 และใช้แบบประเมิน SIE จากการ
ดาเนินงานและผลการปฏิบัติ พบว่า ตั้งแต่เดือนเมษายน–มิถุนายน 2560 มีผู้ป่วยที่รับไว้รักษาทั้งหมด จานวน
243 ราย เกิดอุบัติการณ์ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง จานวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.62
แบ่งเป็นระดับ D จานวน 1 ราย ระดับ E จานวน 1 ราย ซึ่งส่งผลกระทบต่อร่างกายจิตใจทาให้ได้รับบาดเจ็บทั้ง
ต่อตัวเอง และผู้ป่วยคนอื่น รวมทั้งทรัพย์สินเสียหาย ดังนั้นกลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1 จึง
เห็นความสาคัญของปัญหาดังกล่าว และได้พัฒนาคุณภาพกระบวนการพยาบาลผู้ ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวขึ้น
โดยใช้กระบวนการคัดกรองความเสี่ยงเกิดพฤติกรรมรุนแรง OAS เพื่อป้องกันผู้ป่วยทาร้ายกันเอง ผู้ป่วยทาลาย
ทรัพย์สนิ ของโรงพยาบาล ลดอุบัติการณ์เกิดซ้า และลดระดับความรุนแรงของอุบัติการณ์
3. วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงขณะรับไว้รักษา
3.2 เพือ่ ลดระดับความรุนแรงของอุบัติการณ์การได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
4. การวิเคราะห์ปัญหา/ โอกาสพัฒนา
4.1 จาก Quality Gap Statement ดังกล่าวข้างต้น ทีมได้ทาการวิเคราะห์ปัญหาโดยการใช้
เทคนิคแบบแผนของปัญหา โดยการใช้เทคนิค ตารางเป็นปัญหาและไม่เป็นปัญหา (Is-Is not Matrix) ดังนี้
ประเด็นพิจารณา เป็นปัญหา ไม่เป็นปัญหา คาอธิบาย
1. วัน/เวลา ✓
2. สถานที่ ✓
3. บุคคล
3.1 ผู้ป่วย ✓ - ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าว ปฏิเสธการเจ็บป่วย ไม่ร่วมมือ
ในการรักษา อาการทางจิตกาเริบ มีพฤติกรรมหวาดระแวง
มีอาการประสาทหลอน เช่นมีหูแว่ว ภาพหลอน มีอารมณ์
หุนหันพลันแล่น สับสน ควบคุมตนเองไม่ได้ อยากกลับบ้าน
มาก และผู้ป่วยปัญญาอ่อนระดับ mild มีพฤติกรรม
แสดงออกมากกว่าปกติ กระตุ้นผู้อื่น ไวต่อสิ่งกระตุ้น ผู้ป่วย
ที่มีประวัติก่อความรุนแรง เข้าเกณฑ์การประเมิน SMIV
3.2 บุคลากร ✓ - ประเมินอาการช่วงรับย้ายเฉพาะแบบประเมินเฝ้าระวัง
ความเสี่ยง Injury ไม่ได้ประเมินระดับความรุนแรงของ
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
4. สื่อและอุปกรณ์ ✓ - แบบประเมินผู้ป่วยก่อนรับย้ายไม่สามารถคัดแยกผู้ป่วยที่
มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงได้
4.2 หา Root Causes โดยใช้แผนภูมิก้างปลา

จากการปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2560 ช่วงเดือนเมษายน–มิถุนายน 2560 มีผู้ป่วยรับไว้รักษาทั้งหมด


จานวน 243 ราย มีผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง จานวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ
1.62 แบ่งเป็นระดับ D จานวน 1 ราย ระดับ E จานวน 1 ราย แสดงให้เห็นว่าอัตราจานวนการได้รับ
บาดเจ็บไม่เป็นไปตามตัวชี้วัด

อาการทางจิต
แสดงออกพฤติกกรมก้าวร้าวภายหลัง
ไม่ทุเลา

ผู้ป่วยยังมี
พฤติกรรมก้าวร้าว
แต่ไม่แสดงออก
ไม่มี ไม่มี

สถานที่ วัน/เวลา ผู้ป่วย มีอุบัติการณ์


ผู้ป่วยได้รับ
บาดเจ็บจาก
พฤติกรรม
สื่ออุปกรณ์ บุคลากร(พยาบาล) ก้าวร้าวรุนแรง

แบบประเมินผู้ป่วยก่อน ประเมินอาการช่วงรับ
รับย้ายไม่สามารถคัด ย้ายเฉพาะแบบประเมิน
แยกผู้ป่วยที่มีพฤติกรรม เฝ้าระวังความเสี่ยง
ก้าวร้าวรุนแรงได้ Injury ไม่ได้ประเมิน
ระดับความรุนแรงของ
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
4.3 หาต้นเหตุของปัญหาโดยใช้เทคนิค Cause effect Diagram

แบบประเมินผู้ป่วยช่วงรับ
ย้ายไม่สามารถคัดแยก
ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรม
ก้าวร้าวรุนแรงได้
ชัดเจน บุคลากรประเมินระดับ
พฤติกรรมก้าวร้าวของ
ผู้ป่วยไม่ครอบคลุม

ผู้ป่วยมีพฤติกรรม
ก้าวร้าวแต่ยังไม่
แสดงออกในช่วง
รับย้าย

สรุปว่า Root cause คือ แบบประเมินผู้ป่วยช่วงรับย้ายไม่สามารถคัดแยกผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงได้


5. แผนและการดาเนินการทดลองทางเลือก

Quality Gap Statement


จากการปฏิบั ติงานปี งบประมาณ 2560 ช่วงเดือนเมษายน–มิถุนายน 2560 มีผู้ ป่วยรับไว้รักษา
ทั้งหมด จานวน 243 ราย มีผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง จานวน 2 ราย คิดเป็นร้อย
ละ 1.62 แบ่งเป็นระดับ D จานวน 1 ราย ระดับ E จานวน 1 ราย แสดงให้เห็นว่าอัตราจานวนการได้รับ
บาดเจ็บไม่เป็นไปตามตัวชี้วัด

ต้นเหตุ
1.แบบประเมินผู้ป่วยช่วงรับย้ายไม่คัดแยกผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงได้

ทางเลือก
จัดประชุมวิชาการในหน่วยงาน เรื่องการเรียนรู้แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
(OAS : Overt Aggression Scale for objective rating of verbal and physical aggression)
ที่มา : เจตน์ภาดา นาคบุตร. (2547). การพัฒนารูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชที่มี
พฤติกรรมรุนแรง, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

แผนและกิจกรรม
1. ประชุมทีมพยาบาล ชี้แจงการใช้แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
(OAS : Overt Aggression Scale for objective rating of verbal and physical aggression)
2. ทดลองฝึกปฏิบัติ ตามแผนการประเมินไปทดลองใช้
3. นาแบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS) ไปประเมินผู้ป่วย ระหว่าง วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง
วันที่ 5 สิงหาคม 2560 โดยใช้ประเมินผู้ป่วยช่วงรับย้าย และผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง หรือมีแนวโน้ม
จะมีพฤติกรรมก้าวร้าว โดยแปลผล ดังนี้
คะแนน 0 หมายถึง ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
คะแนน 1 หมายถึง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ที่ยังสามารถรับฟังคาเตือนแล้วสงบลงได้
คะแนน 2 หมายถึง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่เริ่มควบคุมตนเองไม่ได้ มีท่าทีที่อาจเกิด
อันตรายต่อ ตนเอง ผู้อื่น และทรัพย์สิน
คะแนน 3 หมายถึง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จนเกิดอันตราย
ต่อตนเอง หรือผู้อื่น หรือทรัพย์สิน
แนวปฏิบัติหลังได้รับการประเมินด้วยแบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS)
1) ผู้ป่วยที่อยู่ในระดับ 3 พิจารณาย้ายคืนกลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายผู้ป่วยหนักในทันที
2) ผู้ป่วยที่อยู่ในระดับ 1 และ 2 พิจารณาแยกผู้ป่วยในห้องแยก บ่งชี้ตัวผู้ป่วยทุก 1 ชั่วโมง
พิจารณาจากัดพฤติกรรมเมื่อจาเป็นและให้ยา PRN ตามเกณฑ์ ส่งต่อข้อมูลทุกเวร และเฝ้าระวัง
ความเสี่ยงอย่างใกล้ชิด
3) กรณีผู้ป่วยที่อยู่ในระดับ 1 และ 2 ได้รับยา PRN ตามเกณฑ์แล้ว ประเมินซ้ายังมีความเสี่ยงที่จะ
เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ให้พิจารณาย้ายคืนกลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายผู้ป่วยหนักทันที
4. ถอดบทเรียน เรื่อง การประเมินผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ในวันที่ 8 สิงหาคม 2560
5. สรุป ผลการพัฒนา วันที่ 10 สิงหาคม 2560
6. รายงานผลการพัฒนา

6. ตัวชี้วัด / ผลสาเร็จของการทดลองและเป้าหมาย

ตัวชี้วัด เป้าหมาย สูตรตัวชี้วัด เครื่องมือ


อัตราผู้ปว่ ยได้รับบาดเจ็บจาก ร้อยละ 0 จานวนผู้ปว่ ยได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรม แบบประเมิน
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงขณะ ก้าวร้าวรุนแรงขณะรับไว้รักษา x100 พฤติกรรม
รับไว้รักษา จานวนของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาใน ก้าวร้าวรุนแรง
กลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1
(OAS)

7. ผลการดาเนินการ / การปรับปรุงและพัฒนา
จากการปฏิบั ติตามแผนและการดาเนินการทดลองเรื่อง การลดอุบัติการณ์ ผู้ป่วยได้รับ บาดเจ็บ จาก
พฤติกรรมก้าวร้าว ในกลุ่ มงานการพยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1 ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 5
สิงหาคม 2560 มีผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาใน กลุ่มงานการพยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1 เป็นจานวน 106
ราย พบว่าแบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS) สามารถช่วยคัดแยกผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
ช่วงรับย้ายได้ ช่วงรับย้ายมีผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินว่ามีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงและต้องย้ายคืนกลุ่มงานการ
พยาบาลจิตเวชชายผู้ป่วยหนั กในทัน ที จานวน 4 ราย มีผู้ป่วยหลังรับย้ายมา 2 วัน ที่ได้รับการประเมิน ว่ามี
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง 2 ราย มีผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง จานวน 1 ราย หลังได้รับ
การปฏิบัติตามแผนการดาเนินการแผนการแล้ว คิดเป็นร้อยละ 0.94 ดังตาราง และแผนภูมิด้านล่าง

ตัวชี้วัด เป้าหมาย สูตรตัวชี้วัด เครื่องมือ


อัตราผู้ปว่ ยได้รับบาดเจ็บจาก ร้อยละ 0 1 แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงขณะ X 100 = 0.94 (OAS)
รับไว้รักษา 106
แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลจากการใช้แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS)

แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลจากการใช้แบบประเมิน
พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS)
1.8
1.6
1.4
1.2
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0
ก่อนใช้ หลังใช้

8. สรุปการเรียนรู้
ผลการดาเนินการ / การปรับปรุงและพัฒนา
8.1 การเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัด
จากการดาเนินการทดลองปฏิบัติใช้แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS) ระหว่าง
วัน ที่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 5 สิงหาคม 2560 ผลการดาเนินการพบว่าผู้ ป่วยได้รับบาดเจ็บ จากพฤติกรรม
ก้าวร้าวรุน แรงขณะรับ ไว้รักษา 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.94 ซึ่งพฤติกรรมผู้ป่วยรายนี้เป็นพฤติกรรมทาลาย
ทรัพย์สินของโรงพยาบาล เกิดจากความกังวลอยากกลับบ้าน
8.2 ผลกระทบ
8.2.1 ต่อระบบอื่น ไม่มีผลกระทบ
8.2.2 ต่อทีมพัฒนา
1) บุคลากรได้ใช้เครื่องมือในการประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงให้ชัดเจน
มากขึ้น และนาไปสู่การวางแผนการดูแลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
2) บุคลากรมีความมั่นใจในการประเมินผู้ป่วยพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
8.3 ประสิทธิผลของทางเลือกที่ได้ดาเนินการทดลอง
ทางเลื อ กที่ เลื อ กได้ ผ ลดี เห็ น ควรมี ก ารด าเนิ น การต่ อ ไปอย่ างต่ อ เนื่ อ งในกลุ่ ม งานการ
พยาบาลจิตเวชชายเร่งรัดบาบัด 1
8.4 ปัญหาและอุปสรรคของทางเลือก
ในช่วงแรกบุ คลากรขาดความมั่นใจในการทาแบบประเมิน จึงเสริมด้วยการเข้ากลุ่ มทา
ความเข้าใจแบบประเมิน และฝึกทาแบบประเมินก่อน เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้และนาสู่การปฏิบัติจริง
8.5 การขยายผลหรือทาให้เกิดความยั่งยืน
แจ้งเวียนเอกสารเผยแพร่ไปยังทุกกลุ่มงาน พร้อมทั้งเชิญชวนให้นาไปใช้ประโยชน์

You might also like