You are on page 1of 18

แบบรายการประกอบคาขอประเมินผลงาน

ผลงานทีเ่ ป็ นผลการดาเนินงานที่ผ่านมา

เรื่อง การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคหอบหืดทีม่ ีภาวะแทรกซ้ อน


เฉียบพลัน จากภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia

ของ

นางสาวจุรีภรณ์ ชุ มจินดา
ตาแหน่ งพยาบาลวิชาชีพ ระดับชานาญการ
( เดิมตาแหน่ งพยาบาลวิชาชีพ ระดับ 6 )
ตาแหน่ งเลขที่ 1719
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพ ศูนย์ อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
กรมอนามัย

เพือ่ ให้ ได้ รับเงินประจาตาแหน่ ง


สาหรับตาแหน่ งประเภทวิชาการระดับชานาญการ
1
ผลงานทีเ่ ป็ นผลการดาเนินงานทีผ่ ่านมา
1. ชื่อผลงาน เรื่ อง การพยาบาลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจาก
ภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia
2. ระยะเวลาทีด่ าเนินการ 1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2553
3. สัดส่ วนของผลงานที่ผเู ้ สนอเป็ นผูป้ ฏิบตั ิ 100 %
4. ผู้ร่วมจัดทาผลงาน ไม่มี
5. บทคัดย่อ
การศึกษาเรื่ องการพยาบาลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉี ยบพลันจาก
ภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia การศึกษาครั้งนี้ เป็ นเฉพาะกรณี (Case study) โดยเลือกผูป้ ่ วยที่
แผนกผู้ป่ วยใน1 ในโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ศู น ย์อ นามัย ที่ 11 นครศรี ธ รรมราชจ านวน 1 ราย มี
วัต ถุ ป ระสงค์เพื่ อ เป็ นแนวทางให้ก ารพยาบาลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดที่ มี ภาวะแทรกซ้อ น
เฉียบพลันภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia ได้อย่างปลอดภัย
การจัดทากรณี ศึกษาในการดูแลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉี ยบพลัน
ภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia เป็ นหญิงไทย อายุ 66 ปี มารับบริ การที่โรงพยาบาลส่ งเสริ ม
สุ ขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 เวลา 16.30 น. มาด้วยอาการ 7 ชัว่ โมงก่อนมาโรงพยาบาล
หายใจเหนื่ อยหอบ ไอมีเสมหะ แรกรับตรวจระดับน้ าตาลในเลื อดโดยไม่ตอ้ งงดน้ าและอาหาร (DTX)196
มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซี ยส ชีพจร 110 ครั้งต่อนาที เร็ วแต่สม่าเสมอ อัตรา
การหายใจ 28 ครั้งต่อนาที หายใจเหนื่ อย ฟั งปอดทั้ง 2 ข้างมีเสี ยงวี้ด ความดันโลหิ ต 110/70 มิลลิเมตรปรอท
ออกซิ เจนในร่ างกาย 93 เปอร์ เซ็นต์ แพทย์รับไว้รักษาในโรงพยาบาลแผนกผูป้ ่ วยในได้รับการวินิจฉัยโรค
Asthmatic attack with Diabetes mellitus และได้วางแผนให้การพยาบาลตามกระบวนการทางการพยาบาล
โดยเรี ยงลาดับความสาคัญตามปั ญหาของผูป้ ่ วยดังนี้ 1. เสี่ ยงต่อภาวะเนื้ อเยื่อในร่ างกายได้รับออกซิ เจนไม่
เพียงพอเนื่ องจากการหดเกร็ งของหลอดลม 2. เสี่ ยงต่อภาวะช็อคเนื่ องระดับน้ าตาลในเลือดสู ง 3. มีภาวะ
น้ าตาลในเลื อดต่าเนื่ องจากได้รับอินซู ลินเพื่อลดระดับน้ าตาลในเลือด 4. ผูป้ ่ วยและญาติมีความวิตกกังวล
เนื่องจากอาการเจ็บป่ วย 5. ผูป้ ่ วยดูแลตนเองไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้ในการดูแลตนเอง
หลังจากได้รับการดูแลพยาบาลและมีการประเมินอาการและอาการแสดงจนอาการเป็ นปกติและวาง
แผนการจาหน่ ายโดยให้คาแนะนาให้ความรู ้ เกี่ ยวกับโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดด้า นการปฏิ บตั ิ ตนที่
เหมาะสม เรื่ องอาหาร การออกกาลังกาย การรับประทานยาอย่างต่อเนื่ อง การพ่นยาที่ถูกวิธีและสังเกตอาการ
ผิดปกติที่ ตอ้ งมาพบแพทย์และนัดเข้าคลิ นิก โรคหอบหื ดแนะนาให้ มารับการรักษาตามแพทย์นัด แพทย์
อนุญาตให้กลับบ้านได้เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2553 รวมวันนอน 6 วัน
2
6. บทนา
โรคเบาหวานเป็ นโรคที่มีความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมของร่ างกายก่อให้เกิดระดับน้ าตาลในเลื อด
สู งซึ่ งเป็ นผลมาจากการที่ร่างกายขาดฮอร์ โมนอินซู ลินหรื อฮอร์ โมนอินซู ลินออกฤทธิ์ ได้ลดลง (สุ กญ ั ญา สม
สู ญงาม,2550) โรคเบาหวานมีแนวโน้มการเกิดมากขึ้นทุกปี เนื่องจากพันธุ กรรม พฤติกรรมการบริ โภคอาหาร
ไม่ถูกสัดส่ วน การออกกาลังกายไม่เพียงพอ ร่ วมกับการเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่ อมตามวัยของประชากร ล้วน
เป็ นสาเหตุ สาคัญทาให้เกิ ดโรค โรคเบาหวานทาให้ผูป้ ่ วยมีคุณภาพชี วิ ตที่ ลดลงจากภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
จากนั้นผูป้ ่ วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยมานานกว่า 15 ปี ประมาณร้อยละ 2 จะมีความพิการทางสายตา (สุ
กัญญา สมสู ญงาม,2550) จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกพบว่าปั จจุบนั มีผปู ้ ่ วยเบาหวานราว 150 ล้านทัว่
โลกจะเพิ่มเป็ น 2 เท่าตัวในอีก 20 ปี ข้างหน้า ในประเทศไทยจากศึกษาพบว่าประมาณร้อยละ 3 และร้อยละ 7
ในผูช้ ายและผูห้ ญิงตามลาดับแต่รวมถึงภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวานคิดเป็ นร้อยละ 10 และร้อยละ
17 ในผูช้ ายและผูห้ ญิงตามลาดับ
โรคเบาหวานเป็ นโรคเรื้ อรังต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่ องเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อน ดังนั้นการ
พยาบาลที่สาคัญคือการค้นหาถึงสาเหตุ การประเมินภาวะเสี่ ยง การรั กษาและการป้ องกัน การค้นหาและการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลอย่างรอบคอบ
โรคหอบหื ดเป็ นผลมาจากการหดรัดตัวหรื อตี บตันของกล้ามเนื้ อรอบหลอดลม ช่ องทางเดิ นหายใจ
ส่ วนหลอดลม ทาให้หายใจขัดและอากาศเข้าสู่ ปอดน้อยลงปั จจัยที่ทาให้เกิดการตีบตันของหลอดลมคือ 1. การ
หดรัดตัวของกล้ามเนื้อรอบ ๆ หลอดลม 2. การบวมอักเสบของเยือ่ บุภายในหลอดลม 3.เสมหะจานวนมากที่คงั่
ค้างอยูภ่ ายในหลอดลม (ดาเกิง ตันธรรมจารึ ก, 2550.เว็บไซต์)
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรื อWHO) พบว่าผูป้ ่ วยโรคหื ดที่มีอยูป่ ระมาณ10 -
13 เปอร์ เซ็นต์ ทั้งในเด็กและผูใ้ หญ่นอกจากนี้ ยงั พบว่าผูป้ ่ วยโรคหื ดประมาณ 100 -150 ล้านรายและมีจานวน
ผูเ้ สี ยชีวติ ประมาณ 50,000 รายต่อปี โดยมีแนวโน้มว่าจานวนผูป้ ่ วยโรคหอบหื ดจะเพิ่มทัว่ โลก
สาหรับโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11พบว่าสถิติผปู ้ ่ วยเบาหวานในปี พ.ศ. 2552 - 2553
ร้อยละ 1.25, 3.43 ตามลาดับและผูป้ ่ วยโรคหอบหื ด ในปี พ.ศ. 2552 - 2553 ร้อยละ 0.45 - 2.0 ตามลาดับ ส่ วน
ผู้ป่ วยเบาหวานที่ มี ภ าวะแทรกซ้ อ นร้ อ ยละ3.21ซึ่ งจากสถิ ต อาจจะพบไม่ ม ากแต่ ผู ้ป่ วยเบาหวานที่ มี
ภาวะแทรกซ้อนก็ส่งผลกระทบต่อผูป้ ่ วยและครอบครัว
ผูป้ ่ วยโรคเบาหวานต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อน ดังนั้นการพยาบาลที่
สาคัญคือการค้นหาถึ งสาเหตุ การประเมินภาวะเสี่ ยง การรักษาและการป้ องกัน การค้นหาและการวิเคราะห์
ข้อมูลอย่างรอบคอบผูจ้ ดั ทาได้ตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าวจึงได้ทาการศึกษาข้อมูลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรค
หอบหืดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานในการดูแลผูป้ ่ วย
7. วัตถุประสงค์
เพื่อเป็ นแนวทางให้การพยาบาลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ด ที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉี ยบพลัน
จากภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia ได้อย่างปลอดภัย
3
8. วิธีการดาเนินงาน/วิธีการศึกษา/ขอบเขตงาน
8.1 ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. เลือกเรื่ องที่จะทาการศึกษาจากผูร้ ับบริ การที่ได้รับมอบหมายให้การพยาบาล 1รายเข้ารับการรักษา
ในโรงพยาบาลในวันที่ 1 ตุลาคม 2553 จาหน่ายออกจากโรงพยาบาลวันที่ 6 ตุลาคม 2553
2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ อาการสาคัญ, ประวัติการเจ็บป่ วย, ประวัติการแพ้ยาหรื อสารเคมี,
แบบแผนการดาเนินชีวติ พร้อมทั้งประเมินสภาพผูป้ ่ วย
3. ศึกษาผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการและแบบแผนการรักษาของแพทย์
4. ศึกษาค้นคว้าจากตาราข้อมูลทางอิเล็กทรอนิ กส์ เกี่ยวกับการพยาบาลผูป้ ่ วยเบาหวานและโรคหอบ
หืดและปรึ กษาแพทย์ที่ทาการรักษาเพื่อใช้เป็ นข้อมูล
5. นาข้อมูลที่ได้มารวบรวม วิเคราะห์ วางแผนให้การพยาบาลตามกระบวนการให้พยาบาล
คลอบคลุม ทั้งทางด้านร่ างกายและจิตใจ
6. ปฏิบตั ิการพยาบาล ประเมินผลการดูแลพยาบาลตามแผนที่กาหนด
7. สรุ ปการปฏิบตั ิการดูแลพยาบาลให้ขอ้ เสนอแนะและคาแนะนาแก่ผปู ้ ่ วยและญาติ
8. ปรับปรุ งแก้ไขจัดทารู ปเล่มและเผยแพร่ ผลงาน
8.2 ขอบเขตการศึกษา
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผศู ้ ึกษากาหนดขอบเขตกรณี ศึกษาไว้ดงั นี้
1. ระยะเวลาการศึกษา ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2553
2. การศึกษาครั้งนี้เป็ นการจัดทากรณี ศึกษาผูร้ ับบริ การ 1 ตัวอย่าง เป็ นผูร้ ับบริ การผูป้ ่ วยโรคเบาหวาน
และโรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉี ยบพลันจากภาวะHyperglycemia และ Hypoglycemia ที่ตึกผูป้ ่ วยใน
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11
9. ผลการดาเนินงาน/ผลการศึกษา
9.1 พยาธิสรีรวิทยา
ความหมาย
โรคเบาหวาน เป็ นโรคที่มีความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมของร่ างกายก่อให้เกิดระดับน้ าตาลในเลือด
สู งซึ่ งเป็ นผลมาจากการที่ร่างกายขาดฮอร์ โมนอินซูลินหรื อฮอร์ โมนอินซูลินออกฤทธิ์ ได้ลดลง
อาการและอาการแสดง
โรคเบาหวานที่มีผลต่อระบบต่าง ๆ ของร่ างกายทัว่ ไป อาการและอาการแสดงของโรคเกิดขึ้นเนื่ องจาก
ระดับน้ าตาลในเลือดสู งกว่าปกตินนั่ เอง อาการแสดงที่สาคัญมีอยู่ 4 อย่าง คือ
1. ถ่ ายปัสสาวะจานวนมาก (Polyuria) เมื่อระดับน้ าตาลในเลือดสู งเกินขีดจากัดของไต (ปกติประมาณ 180 mg
%) ร่ างกายจะขับน้ าตาลออกทางปั สสาวะทาให้แรงดัน osmotic ของปั สสาวะสู งขึ้น renal tubule จึงไม่สามารถ
ดูดซึ มน้ ากลับเข้าสู่ ร่างกายได้ ผูป้ ่ วยจึงถ่ายปั สสาวะออกมาจานวนมากและบ่อยครั้ง
4
2. ดื่มนา้ มาก (Polydipsia) เนื่องจากร่ างกายเสี ยน้ าทางปั สสาวะจานวนมาก จึงเกิดการขาดน้ าอย่างรุ นแรง ทา
ให้มีอาการกระหายน้ ามาก ดื่มน้ าบ่อยและจานวนมาก
3. นา้ หนักลด (Weight loss) เมื่อเซลล์ไม่สามารถนากลูโคสไปใช้เป็ นพลังงานได้ ร่ างกายก็จะสลายไขมัน
และโปรตีนที่เก็บสะสมไว้มาใช้เป็ นพลังงานแทน จึงเกิดการสู ญเสี ยเนื้ อเยื่อร่ วมกับภาวะที่ร่างกายขาดน้ า
น้ าหนักตัว จึงลดลงอย่างรวดเร็ ว นอกจากนั้นยังเกิดภาวะ negative nitrogen balance และเกิด Ketosis ได้
4. รับประทานอาหารจุ (Polyphagia) จากการที่ร่างกายมีการสลายเอาเนื้ อเยือ่ ส่ วนต่าง ๆ มาใช้จึงทาให้เกิด
ภาวการณ์ขาดอาหาร(starvation)เกิดขึ้นเพื่อชดเชยต่อภาวะนี้ผปู ้ ่ วยจะมีอาการหิ วบ่อยและรับประทานอาหารจุ
สาเหตุ
1. ความผิดปกติของตับอ่อน ตับอ่อนอาจถูกทาลายได้จากสาเหตุหลายอย่าง เช่นการอักเสบทั้งชนิ ด
เรื้ อรังและเฉี ยบพลัน เนื้องอก มะเร็ ง การผ่าตัดเอาตับอ่อนออก Hemochromatosis สาเหตุเหล่านี้จะทาให้ islet
ถูกทาลายไปด้วย ตับอ่อนจึงสร้างอินซูลินได้นอ้ ยหรื อสร้างไม่ได้เลย ในที่สุดจะเกิดโรคเบาหวานชนิดพึ่ง
อินซูลินขึ้น ในคนที่มีประวัติดื่มเหล้าจัดมานาน มักพบว่ามีปัญหาตับอ่อนอักเสบเรื้ อรังได้บ่อย
2. การเปลีย่ นแปลงของฮอร์ โมน ฮอร์ โมน Glucocorticoid, catecholamine, growth hormone และ
glucagon จะมีผลทาให้ระดับน้ าตาลในเลือดสู งขึ้น โดยกระตุน้ ให้มีการสร้างกลูโคสผ่านขบวนการ
glycogenesis และ glyconeogenesis ลดการนากลูโคสไปใช้ในเนื้อเยือ่ ส่ วนต่าง ๆ
3. ผลจากยา ยาหลายชนิดมีผลทาให้ความทนต่อกลูโคสของร่ างกายเสื่ อมลงโดยอาจมีผลทาให้การหลัง่
หรื อประสิ ทธิ ภาพของอินซูลินลดน้อยลงและยาบางตัวก็ทาให้ร่างกายสร้างกลูโคสมากขึ้นยาเหล่านี้ได้แก่
Glococorticoids, thiazide, phenytoin, phenothiazines, nicotinic acid, tricyclic antidepressants, aspirin และยา
เม็ดคุมกาเนิ ด
การรักษา
1. การให้สารน้ าเพื่อป้ องกันภาวะขาดน้ า
2. การฉี ดอินซูลินเพื่อลดภาวะน้ าตาลในเลือดสู งควรให้อินซูลินที่ออกฤทธิ์ เร็ วก่อนให้อินซูลินที่ออกฤทธิ์
ปานกลาง (NPH และLente) อินซูลินที่ออกฤทธิ์ เร็ วที่จะให้น้ นั ควรให้จานวนน้อยคือ 20 ยูนิต ทางกล้ามเนื้อ
ในตอนแรกและตามด้วย 5 ยูนิต ทุกชัว่ โมงหยุดให้เมื่อระดับน้ าตาลในเลือดเท่ากับหรื อน้อยกว่า 250 mg%
การป้องกัน
การป้ องกันการเกิดน้ าตาลในเลือดต่า เป็ นสิ่ งสาคัญที่จะต้องให้ผปู ้ ่ วยรับรู ้ เข้าใจถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น
และวิธีการป้ องกันภาวะน้ าตาลในเลือดต่านี้อย่างจริ งจัง
โรคหอบหืด
โรคหอบหื ด เป็ นผลมาจากการหดรัดตัวหรื อตีบตันของกล้ามเนื้ อรอบหลอดลม ช่องทางเดินหายใจ
ส่ วนหลอดลม ทาให้หายใจขัดและอากาศเข้าสู่ ปอดน้อยลงปั จจัยที่ทาให้เกิดการตีบตันของหลอดลม
5
อาการและอาการแสดง
อาการที่สาคัญของโรคหอบหื ด มี 3 อย่าง คือ
1. ไอ
2. หายใจเสี ยงวี้ด
3. หอบเหนื่อย
การใช้ ยารักษาโรคหอบหืด
ยาที่ใช้รักษาโรคหื ด จาแนกออกเป็ น 5 กลุ่ม ดังนี้
1. ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators) เช่น Epinephrine 1:10000 สาหรับฉีดเข้าใต้ผิวหนัง,
Isoproterenol, Ephedrine, salbutamal, terbutaline, theophyline หรื อ aminophyline
2. ยาลดการอักเสบและป้ องกันการหลัง่ Mediators เช่น Corticosteroids, Cromolyn sodium,
Nedicromil, Ketotifen
3. ยาปฏิชีวนะ เช่น Amoxicillin
4. ยาขับเสมหะและยาละลายเสมหะเช่น Iodides, glyceryl guaiacolate, Acetylcysrein, Bromhexine,
ambroxal
5. ยาป้ องกันการจับหื ด เช่น Sodium Cromoglycate และ Ketotifen
9.2 ข้ อมูลทัว่ ไป
ผูป้ ่ วยหญิงไทย อายุ 66 ปี ความสู งประมาณ 160 เซนติเมตร น้ าหนัก 64 กิโลกรัม เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย
นับถือศาสนาพุทธ ระดับการศึกษา เรี ยนจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 สถานภาพสมรสคู่ อาชีพงานบ้าน
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล : 1 ตุลาคม 2553
วันที่จาหน่าย : 6 ตุลาคม 2553
อาการสาคัญที่มาโรงพยาบาล : หายใจเหนื่อยหอบไอมีเสมหะ7 ชัว่ โมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่ วยในปั จจุบนั : 7 ชัว่ โมงก่อนมาโรงพยาบาล หายใจเหนื่อยหอบ ไอมีเสมหะ พ่นยาแบบ
ชนิดสู ดอาการเหนื่อยหอบไม่ดีข้ ึน อาเจียน 2 ครั้ง ปวดแน่นท้อง ญาติจึง
นาส่ งโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11
ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต : เป็ นโรคเบาหวาน นานประมาณ 13 ปี แต่ไม่ได้รับการรักษาอย่างสม่าเสมอ
เป็ นโรคหอบหืด 1 ปี จะมารับยาเมื่อมีอาการเหนื่อยหอบ
เคยเจ็บป่ วยและต้องนอนรับการรักษาในโรงพยาบาล 2 ครั้ง
เดือน มีนาคม 2551 อ่อนเพลีย ระดับน้ าตาลในเลือด 430 มิลลิกรัม
เปอร์เซนต์ ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วย Diabetes Mellitus
เดือน มกราคม 2552 อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ระดับน้ าตาลในเลือด 124
มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วย Fatigue หลังจาก
6
รักษาอาการอ่อนเพลียทุเลา ไม่เคยมีอาการเจ็บป่ วยใด ๆ อีกจนกระทัง่
เจ็บป่ วยครั้งนี้
ประวัติการเจ็บป่ วยในครอบครัว : สมาชิกในครอบครัวไม่มีใครเป็ นโรคเบาหวาน บิดาเป็ นโรคปอดอุดกั้น
เรื้ อรัง
ในครอบครัวไม่มีประวัติของโรคติดต่อ
ประวัติการแพ้ยาและสารเคมี : ปฏิเสธแพ้ยาแพ้อาหารและสารเคมี
ลักษณะทัว่ ไป ผูป้ ่ วยหญิงไทยวัยสู งอายุผวิ ขาวเหลือง รู ปร่ างท้วม รู ้สึกตัวดี อ่อนเพลีย ไม่ค่อยมีแรง หายใจ
เหนื่อย ได้รับออกซิ เจนแคนูลาได้รับสารน้ าทางเส้นเลือดดาที่แขนข้างซ้าย ผูป้ ่ วยมีสีหน้าอิดโรย บ่นเหนื่อย
เมื่อออกแรง
การตรวจร่ างกายตามระบบ
ผิวหนังและเล็บ ผิวหนังมีความตึงตัวดี เล็บมือและเล็บเท้าสะอาด
ศีรษะ ผมสั้นหยักโศกมีผมหงอกหนังศีรษะไม่มีรังแค กระโหลกศีรษะได้รูป
ใบหน้ า ใบหน้าเหมือนกันทั้งสองข้าง ไม่มี Facial palsy
ตา หนังตาไม่บวม ไม่ตก เปลือกตาไม่มีการอักเสบหรื อก้อนบวม ลูกตาปกติ เยือ่ บุตาไม่ซีด การเคลื่อนไหว
ของลูกตาปกติ รู ม่านตา 2.5 มม.ทั้งข้างซ้ายและขวา มีปฏิกิริยาต่อแสงทั้งสองข้าง
หู การได้ยนิ หูท้ งั 2 ข้างได้ยนิ ไม่ชดั เจน
จมูก รู ปร่ างปกติ มีน้ ามูกหรื อสิ่ งขับหลัง่ ออกจากจมูก กดบริ เวณโพรงจมูกไม่เจ็บ
ทรวงอกและทางเดินหายใจ ทรวงอกไม่เบี้ยว การเคลื่อนไหวเท่ากันทั้งสองข้าง หายใจเหนื่ อย ฟังปอดได้ยนิ
เสี ยงวี้ดทั้งสองข้าง อัตราการหายใจ 28 ครั้งต่อนาที ไม่มีอาการเจ็บหรื อแน่นหน้าอก
หัวใจและหลอดเลือด อัตราการเต้นของหัวใจ 110 ครั้งต่อนาที เต้นเร็ วแต่สม่าเสมอ เส้นเลือดดาที่คอไม่โพง
พอง
ระบบทางเดินอาหาร ผูป้ ่ วยมีประวัติอาเจียน 2 ครั้งคลื่นไส้ร่วมด้วย แน่นท้องไม่ถ่ายอุจจาระ 2 วันจากการ
ตรวจ ไม่เจ็บ คลาไม่พบก้อน ตาและตัวไม่เหลือง
ระบบประสาท การรับรู้ปกติ พูดคุยรู้เรื่ อง
กล้ ามเนือ้ และกระดูก กล้ามเนื้อและกระดูกมีการเคลื่อนไหวปกติ กาลังแขนขาปกติ กระดูกสันหลังตรง
ระบบปัสสาวะ กลางคืนผูป้ ่ วยปัสสาวะ 2 – 3 ครั้ง
ระบบต่ อมไร้ ท่อ ผูป้ ่ วยไม่เคยมีประวัติชกั จากระดับน้ าตาลในเลือดต่าแต่มีประวัติน้ าตาลในเลือดสู งและไม่เคย
มีประวัติ Ketoacidosis จากการตรวจพบต่อมไทรอยด์ไม่โต ระดับน้ าตาลในเลือด (FBS ) 470 มิลลิกรัม
เปอร์เซนต์
การประเมินสภาพจิตใจ ผูป้ ่ วยรับรู ้สภาพความเจ็บป่ วยว่าต้องรับการรักษาโดยการใช้ยารับประทานควบคุม
อาการของโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดตลอด ไม่มีอาการหงุดหงิดแต่มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่เป็ นอยู่
ให้ความร่ วมมือในการรักษาดี
7
แบบแผนการดาเนินชีวติ ผูป้ ่ วยช่วยเหลือตัวได้ปกตินอนหลับวันละ 6 - 8 ชัว่ โมง รับประทานอาหารวันละ
3 มื้อ ถ่ายปั สสาวะปกติตอนกลางวันวันละ 3 - 4 ครั้งตอนกลางคืน 2 - 3 ครั้ง ถ่ายอุจจาระ 2 วัน/ครั้ง ไม่ตอ้ ง
ใช้ยาระบาย ขณะรักษาตัวที่โรงพยาบาลกลางวันไม่นอน กลางคืนนอน 2- 3 ชัว่ โมง รับประทานอาหาร 3 มื้อ
มื้อละ 3 คา มีอาการคลื่นไส้แต่ไม่อาเจียน
ผลการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ
1 ตุลาคม 2553 DTX 196 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ BUN 18 มิลลิกรัมเปอร์ เช็นต์ Cretinine 0.9 มิลลิกรัมเปอร์ เช็นต์
การทางานของไตในผูป้ ่ วยรายนี้ปกติไม่มีปัญหาเกี่ยวกับไต
2 ตุลาคม 2553 FBS 470 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (งดน้ าและอาหารหลังเที่ยงคืนค่าปกติ 75 - 110 มิลลิกรัมเปอร์
เช็นต์) แสดงว่าผูป้ ่ วยรายนี้มีความผิดปกติทางเมตาบอลซึ มของร่ ายกายในการเผาผลาญคาร์ โบไฮเดรต โปรตีน
ไขมันทาให้เกิดระดับน้ าตาลในเลือดสู งกว่าปกติ
3 ตุลาคม 2553 DTX 186 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
4 ตุลาคม 2553 FBS 208 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ เวลา 12.50 น. DTX ได้ผล 58 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์
Blood sugar ซ้ าได้ผล 60 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
5 ตุลาคม 2553 FBS 180 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ระดับน้ าตาลในเลือดสู งแต่เมื่อได้รับการรักษาระดับน้ าตาลลด
ต่าลงแต่ยงั ไม่อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ
6 ตุลาคม 2553 FBS 185 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
การวินิจฉัยเบือ้ งต้ น : Asthmatic attack with Diabetes Mellitus
การวินิจฉัยครั้งสุ ดท้ าย : Asthmatic attack with Hypoglycemia with Hypoglycemia with Diabetes
Mellitus
จากกรณี ศึกษาพบว่าผูป้ ่ วยรายนี้เป็ นโรคบาหวาน 13 ปี เมื่อแรกรับเจาะระดับน้ าตาลในเลือด 196
มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ซ่ ึ งเป็ นความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมของร่ างกายสาเหตุเกิดจากความผิดปกติของตับอ่อน
ก่อให้เกิดระดับน้ าตาลในเลือดสู งผูป้ ่ วยจะมีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน กระหายน้ าบ่อย ปั สสาวะบ่อย
ตอนกลางคืน เมื่อเจาะระดับน้ าตาลในเลือดงดน้ าและอาหาร (2 ตุลาคม 2553) 470 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์
(3 ตุลาคม 2553) DTX 186 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ เวลา 15. 00 น. DTX 186 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
( 4 ตุลาคม 2553 ) FBS 208 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ ได้รับ Regular insulin 3 ยูนิต และได้รับยา Glipicize 1 เม็ด
ก่อนอาหารและ Metformin (500 mg) 1 เม็ดหลังอาหาร เวลา 12.50 น. ผูป้ ่ วยมีอาการคลื่นไส้อาเจียน 2 ครั้ง
เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่น เจาะ DTX ได้ผล 58 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์และเจาะ Blood Sugar ได้ผล 60 มิลลิกรัม
เปอร์เซ็นต์
(6 ตุลาคม 2553) FBS 185 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ นอกจากนี้ผปู ้ ่ วยยังมีโรคหอบหื ดร่ วมด้วยซึ่งมีอาการหายใจ
เหนื่อย ไอมีเสมหะอัตราการหายใจ 28 ครั้งต่อนาที ฟังปอดพบมีเสี ยงวี้ดทั้งสองข้าง ออกซิ เจนในร่ างกาย 93
เปอร์เซ็นต์
8
การรักษาขณะนอนพักรักษาในโรงพยาบาลแผนกผู้ป่วยใน
1. 0.9 NSS 1000 ซีซี เข้าเส้นเลือดดา 80 ซี ซี ต่อชัว่ โมง (1 ตุลาคม 2553 - 4 ตุลาคม 2553)
2. Dexamethasone 8 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาทันที (1 ตุลาคม 2553)
Dexamethasone 4 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาทุก 6 ชัว่ โมง ( 1 ตุลาคม 2553 - 2 ตุลาคม 2553)
เป็ นยาสตอรอยด์รักษาโรคหอบหื ดมีฤทธิ์ ลดกระบวนการสร้างสารในกระบวนการอักเสบจึงช่วยบรรเทาการ
อักเสบ
3. Sulbutamol 2 NB พ่น ทันที (1 ตุลาคม 2553 ) หลังจากนั้น Sulbutamol 1 NB พ่นทุก 6 ชัว่ โมง
(1 ตุลาคม 2553 - 2 ตุลาคม 2553) Sulbutamol MDI กด 1 - 2 ครั้ง เวลาหอบ เป็ นยาขยายหลอดลมบรรเทา
อาการเหนื่อยหอบ
4. Aminophyline 150 mg ผสมใน 5%D/ W 50 ซีซี เข้าทางเส้นเลือดดา ทุก 6 ชัว่ โมง (2 ตุลาคม 2553)
เป็ นขยายหลอดลมกระตุน้ การทางานของหัวใจและการหายใจหลังให้ยาสังเกตอาการข้างเคียงของยาคือใจสั่น
หน้ามืด ชีพจรเต้นเร็ ว ความดันโลหิ ตต่าสาหรับผูป้ ่ วยรายนี้ไม่มีอาการดังกล่าว
5. Milk of Magnesia 2 ช้อนโต๊ะ (3 ตุลาคม 2553) เป็ นยาระบายหลังจากผูป้ ่ วยรับประทานถ่ายอุจจาระ1
ครั้ง
6. 50% glucose 50 ซีซี เข้าเส้นเลือดดาช้า ๆ ( 4 ตุลาคม 2553) ใช้ปรับระดับน้ าตาลในเลือด
7. Regular insulin 10 ยูนิต ฉีดเข้าใต้ผวิ หนังทันที (2 ตุลาคม 2553)
Regular insulin 5 ยูนิต ฉีดเข้าใต้ผวิ หนังทันที (3 ตุลาคม 2553)
Regular insulin 3 ยูนิต ฉี ดเข้าใต้ผวิ หนังทันที (4 ตุลาคม 2553) เป็ นยาปรับระดับน้ าตาลในเลือดหลัง
ฉี ดยาควรเฝ้ าระวังอาการใจสั่น อ่อนเพลีย เหงื่อออก ตัวเย็นซึ่งยาจะออกฤทธิ์ สูงสุ ดภายใน1ชัว่ โมงและอยูไ่ ด้
นาน 6 - 16 ชัว่ โมงในผูป้ ่ วยรายนี้หลังได้รับยาผูป้ ่ วยจะมีอาการใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็นเจาะน้ าตาลในเลือด
ได้ผล 58 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์
8. Glipizide 1 เม็ด ก่อนอาหาร เช้า เริ่ มให้ (2 ตุลาคม 2553 - 6 ตุลาคม 2553) เป็ นยาลดระดับน้ าตาลใน
เลือด
9. Metformin (500 mg ) รับประทานครั้งละ1 เม็ด หลังอาหาร เช้า เที่ยง เย็น (2 ตุลาคม 2553 - 6 ตุลาคม
2553) เป็ นยาลดระดับน้ าตาลในเลือด
10. Prednisolone (5 mg) รับประทานครั้งละ3 เม็ด หลังอาหาร เช้า เย็น เป็ นยาช่วยบรรเทาอาการอักเสบ
ช่วยลดความรุ นแรงของโรคระบบภูมิคุม้ กันรักษาอาการแพ้อย่างรุ นแรง
11. Pulmicort MDI กดพ่น 1 ครั้ง เช้า เย็นใช้รักษาอาการหดเกร็ งของหลอดลม (3 ตุลาคม 2553 - 6
ตุลาคม 2553)
12. Ammon carb. จิบเวลาไอ เริ่ มให้ 1 ตุลาคม 2553
13. ยาอมมะแว้ง 1-2 เม็ด อมเพื่อให้ความชุ่มชื้นในลาคอ
14. 5%D/N2 1000 ซีซี เข้าเส้นเลือดดา 80 ซี ซี ต่อชัว่ โมง (4 ตุลาคม 2553 - 5 ตุลาคม 2553)
9

จากกรณีศึกษาสามารถสรุ ปข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้ ดังนี้


ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 1 เสี่ ยงต่ อภาวะเนือ้ เยือ่ ในร่ างกายได้ รับออกซิเจนไม่ เพียงพอเนื่องจากการหด
เกร็งของหลอดลม
ข้ อมูลสนับสนุน
Subjective Data 1. หายใจเหนื่อยหอบ
2. ผูป้ ่ วยไอบ่อยมีเสมหะเหนียวในคอ
Objective Data 1.ฟังเสี ยงปอดได้ยนิ เสี ยงวี้ดทั้งสองข้าง
2. อัตราการหายใจ 28 ครั้งต่อนาที ผูป้ ่ วยต้องออกแรงในการหายใจเข้าและหายใจออก
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เนื้อเยือ่ ในร่ างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอ
เกณฑ์ การประเมินผล
1. อัตราการหายใจอยูใ่ นช่วง 18 - 24 ครั้ง/นาที สม่าเสมอ ความเร็ ว ความลึกและจังหวะในการหาย
ใจปกติ
2. ไม่มีภาวะร่ างกายขาดออกซิ เจน (cyanosis) คือ ริ มฝี ปาก ปลายมือ ปลายเท้าเขียว
กิจกรรมการพยาบาล
1. ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม Salbutamal 2 NB ทันที และ 1 NB ทุก 6 ชัว่ โมง ตามแผนการรักษา
ของแพทย์และสังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยา เช่น ปวดศีรษะมาก ใจสั่น ความดันโลหิ ตลดลงอย่างรวดเร็ ว
หมดสติ ถ้าพบอาการดังกล่าวให้การช่วยเหลือตามขอบเขตแห่งวิชาชีพและรายงานแพทย์ทราบ
2. ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม aminophylin 150 มิลลิกรัมผสมใน สารน้ า 5% D/ W 50 ซีซี เข้าทาง
หลอดเลือดดาทุก 6 ชัง่ โมง ตามแพทย์การรักษาของแพทย์ และสังเกตอากรข้างเคียง เช่น ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ ว
หน้ามืด คลื่นไส้ อาเจียน หรื อความดันโลหิ ตต่าหากพบอาการดังกล่าวรี บรายงานแพทย์เวรทราบ
3.ให้ออกซิเจนแคนนูลา 3 ลิตรต่อนาทีเพื่อป้ องกันภาวะร่ างกายขาดออกซิ เจน
4. จัดให้ผปู้ ่ วยนอนศีรษะสู งประมาณ 45 องศา เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนตัว ปอดขยายตัวได้ดี
ขึ้นและปอดมีพ้นื ที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าชเพิม่ ขึ้น
5. ใช้หูฟังตรวจสอบเสี ยงการหายใจที่ปอด เพื่อประเมินความผิดปกติจากมีการอุดกั้นของทางเดิน
หายใจ ซึ่ งอาจเกิดเนื่ องจากเสมหะอยูใ่ นหลอดลมปอดหรื อถุงลมปอด
6. สังเกตอาการขาดออกซิ เจนที่ผวิ หนัง เล็บ เยือ่ บุช่องปาก ริ มฝี ปากเขียวหรื อไม่ โดยการกดเล็บมือ
พอให้เนื้ อเล็บใต้นิ้วมือซี ดแล้วปล่อยทันที ในคนปกติเนื้ อใต้เล็บที่ซีดจะกลับแดงภายใน 1 วินาที บันทึกอาการ
เปลี่ยนแปลงอย่างสม่าเสมอ ถ้าพบภาวะขาดออกซิเจนให้การช่วยเหลือตามขอบเขตแห่งวิชาชีพ รายงานแพทย์
และช่วยเหลือต่อไป
10
7. วัดสัญญาณชีพทุก 30 นาที และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผูป้ ่ วย สังเกตและบันทึกการหายใจ
เพื่อประเมินภาวการณ์หายใจและให้ความช่วยเหลืออย่างถูกต้องต่อไป
8. แนะนาการไออย่างมีประสิ ทธิ ภาพและวิธีการไอที่ถูกวิธีเพื่อช่วยในการขับเสมหะที่คงั่ ค้างใน
ระบบทางเดินหายใจออกได้ดีมีข้ นั ตอนดังนี้ให้ผปู ้ ่ วยนัง่ ในท่าที่สบายไม่เกร็ งกล้ามเนื้อส่ วนใดของร่ างกายหุ บ
ปากและสู ดหายใจเข้าทางจมูกช้า ๆ อย่างเต็มที่กลั้นหายใจไว้ประมาณ 2-3 วินาทีโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
อ้าปากกว้าง ๆแล้วไอออกมาติดต่อกันประมาณ 2 - 3 ครั้งเพื่อให้เสมหะออกมาแล้วพักโดยการหายใจเข้าออก
ช้า ๆ และเคาะปอดหลังพ่นยาเพื่อขับเสมหะได้ดีข้ ึน
9. แนะนาไม่ให้ผปู ้ ่ วยออกแรงหรื อพูดโดยไม่จาเป็ น ช่วยเหลือกิจกรรมในการรับประทานอาหาร ดื่ม
น้ า ให้ผปู ้ ่ วยทากิจกรรมทุกอย่างที่เตียงโดยพยายามทาในเวลาเดียวกันเพื่อให้ผปู ้ ่ วยได้พกั ผ่อนและลดการใช้
ออกซิ เจนในการเผาผลาญให้เกิดพลังงานของร่ างกาย
10. แนะนาวิธีการใช้ยาขยายหลอดลม Salbutamal MDI กดพ่น 1 ครั้งเวลามีอาการเหนื่ อย และ
Pulmicort MDI กดพ่น 1 - 2 ครั้ง เช้า เย็น ที่ถูกต้องแก่ผปู ้ ่ วยดังนี้
10.1 เปิ ดฝาครอบที่ปิดส่ วนสาหรับพ่นเข้าปากออกแล้วเขย่ากระป๋ องบรรจุยาเมื่อใช้แต่ละครั้ง
10.2 ถืออุปกรณ์สาหรับพ่นให้ต้ งั ตรงโดยนิ้วโป่ งอยูด่ า้ นล่างและวางอีกหนึ่ งหรื อสองนิ้วไว้บนกระป๋ อง
หายใจออกทางปากอย่างช้า ๆ
10.3 ใส่ อุปกรณ์ สาหรับพ่นเข้าปาก อมไว้ระหว่างพ่นบนกับฟั นล่างแล้วปิ ดปากให้สนิ ทเริ่ มหายใจเข้า
ทางปากช้า ๆ พร้อมกับกดกระป๋ องลงพ่นยา 1 ครั้ง หายใจเข้าลึก ๆ และสม่าเสมอ
10.4 นาอุปกรณ์สาหรับพ่นออกจากปากและกลั้นหายใจไว้ 10วินาทีหรื อนานเท่าที่ทาได้แล้วหายใจออก
ช้าๆ
10.5 ถ้าจะพ่นอีกครั้งให้รออย่างน้อย 1 นาที และทาซ้ าตามข้อ 2, 3, และ 4
10.6 หลังพ่นยาเสร็ จให้บว้ นปากด้วยน้ าอุ่นทุกครั้งเพื่อป้ องกันการเกิดเชื้อราในช่องปาก
ผลการประเมิน
1. อัตราการหายใจอยูใ่ นช่วง 24 - 26 ครั้ง/นาที ชีพจร 92 ครั้ง/นาที สม่าเสมอ ความดันโลหิต 110/70
มิลลิเมตรปรอท สัญญาณชีพปกติ
2. ไม่มีภาวะขาดออกซิ เจน ริ มฝี ปาก ปลายมือ ปลายเท้าไม่เขียว ออกซิ เจนในร่ างกาย 95 เปอร์เซ็นต์
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 2 เสี่ ยงต่ อภาวะช็ อกเนื่องจากระดับนา้ ตาลในเลือดสู ง
ข้ อมูลสนับสนุน
Subjective Data 1. ผูป้ ่ วยบอกว่ามีอาการใจสั่น เบื่ออาหาร กระหายน้ า
Objective Data 1. ผลระดับน้ าตาลในเลือด 470 มิลลิกรัม (2 ตุลาคม 2553)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อปลอดภัยจากภาวะช็อค
2. เพื่อลดระดับน้ าตาลในเลือดให้อยูใ่ นระดับปกติ
11
เกณฑ์ การประเมิน
1. ระดับน้ าตาลในเลือดอยูใ่ นเกณฑ์ 70 - 110 มิลลิกรัม
2.ไม่มีการเหงื่อออก ตัวเย็น หรื อผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋ คลื่นไส้อาเจียน ซึมลง หรื อหมดสติ
3. สัญญาณชีพปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1. ดูแลการได้รับยาลดระดับน้ าตาลอินซูลินRegular insulin 10 ยูนิตฉี ดเข้าใต้ช้ นั ผิวหนัง ตาม
แผนการรักษาของแพทย์
2. สังเกตระดับความรู้สึกตัวและสังเกตอาการภาวะน้ าตาลในเลือดสู งของผูป้ ่ วย เช่น ซึ ม กระวน
กระวาย ชักหรื อหมดสติ เพื่อให้ความช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้ทนั ท่วงที
3. ให้รับประทานยา Glipizide 1 เม็ด ก่อนอาหารเช้า และยา Metformin 500 มิลลิกรัม 1 เม็ด หลัง
อาหารเพื่อปรับระดับน้ าตาลในเลือด
4. วัดสัญญาณชีพทุก 30 นาที เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลง และวางแผนการช่วยเหลือได้
ทันท่วงที
5. ติดตามผลระดับน้ าตาลในเลือดทุก 1 ชัง่ โมง 2 ครั้งและหลังจากนั้นก่อนอาหารทุกมื้อเพื่อ
ประเมินระดับน้ าตาลในเลือด
การประเมินผล
1. ระดับความรู้สึกตัวดี Glasgow coma score 15 คะแนน
2. ระดับน้ าตาลในเลือดเฉลี่ยอยูใ่ นช่วง 180 - 190 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์
3. สัญญาณชีพปกติ ไม่มีภาวะระดับน้ าตาลในเลือดสู ง
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 3 มีภาวะนา้ ตาลในเลือดต่าเนื่องจากได้ รับอินซู ลนิ เพือ่ ลดระดับนา้ ตาลใน
เลือด
ข้ อมูลสนับสนุน
Subjective Data 1. ผูป้ ่ วยรับประทานอาหารได้นอ้ ย เพลีย
2. ผูป้ ่ วยมีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น ซึม
Objective Data 1.ระดับน้ าตาลในเลือดหลังให้ยา Regular insulinได้ผล 58 มิลลิกรัมและเจาะ
Blood sugarได้ผล 60 มิลลิกรัม
2. ผูป้ ่ วยได้รับยา Regular insulin ต่อเนื่องมา 3วันเฉลี่ยได้รับยา Regular
insulin เฉลี่ย 18 ยูนิต ตามแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะน้ าตาลในเลือดต่า
12
เกณฑ์ การประเมิน
1. ระดับความรู้สึกตัวดี
2.ไม่มีอาการของภาวะน้ าตาลในเลือดต่า เช่น เหงื่อออก ตัวเย็น หรื อผิวหนังแห้ง หมดสติ
3. ระดับน้ าตาลในเลือดมากกว่า 75 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
4. สัญญาณชีพปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1. ดูแลให้ได้รับ 50% glucose 50 ซี ซี เข้าทางหลอดเลือดดาช้าๆ ตามแผนการรักษาเพื่อให้สมองได้รับ
กลูโคสที่เพียงพอเพื่อป้ องกันอันตรายที่จะเกิดกับสมอง
2. ดูแลให้ผปู ้ ่ วยได้รับสารน้ าทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา 5% D /N/2 1000 ซี ซีเข้าทางเส้นเลือด
ดา 80 ซี ซีต่อชัว่ โมง เพื่อป้ องกันภาวะการขาดน้ า ซึ่ งจะทาให้เกิดภาวะน้ าตาลในเลือดต่าได้
3. สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงของผูป้ ่ วยหลังฉี ดยา Regular insulin เช่ น ซึ ม
กระวนกระวาย ชักหรื อหมดสติเพื่อให้ความช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้ทนั ท่วงที
4. วัดสัญญาณชีพทุก 30 นาที เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลง และวางแผนการช่วยเหลือได้ทนั ท่วงที
5. เจาะเลือดตรวจระดับน้ าตาลในเลือดหลังได้รับ 50% glucose 50 ซี ซี เข้าหลอดเลือดดาช้าเพื่อประเมิน
ระดับน้ าตาลในเลือดและวางแผนให้การรักษาพยาบาลได้ถูกต้อง
6. เฝ้ าระวังการเกิ ดอาการน้ าตาลในเลื อดต่ าซ้ า โดยสังเกตและแนะนาญาติในการสังเกตอาการผูป้ ่ วย
เช่น มึนงง ปวดศีรษะ หาว ตาพร่ ามัว พูดไม่ชดั เหงื่อออก ตัวเย็น ผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋ ถ้า มีอาการดังกล่าวรี บ
แจ้งพยาบาลเพื่อสามารถช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้ถูกต้อง
การประเมินผล
1. ระดับความรู้สึกตัวดี Glasgow coma score 15 คะแนน
2. ระดับน้ าตาลในเลือดค่าเฉลี่ยอยูใ่ นช่วง 180 - 190 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
3. สัญญาณชีพปกติผปู ้ ่ วยไม่มีอาการภาวะน้ าตาลในเลือดต่า
4. ไม่เกิดภาวะน้ าตาลในเลือดต่าซ้ า
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 4 ผู้ป่วยและญาติอยู่มีความวิตกกังวลเกีย่ วกับโรคทีเ่ ป็ นอยู่
ข้ อมูลสนับสนุน
Objective Data 1. ผูป้ ่ วยและญาติร้องเรี ยกพยาบาลให้มาอยูใ่ กล้ ๆ
2. ญาติมีสีหน้าไม่สบายใจ คอยซักถามอาการของผูป้ ่ วยอยูต่ ลอดเวลา
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวลของผูป้ ่ วยและญาติ
เกณฑ์ การประเมิน
1. ผูป้ ่ วยและญาติให้ความร่ วมมือในการรักษาพยาบาล
2. ญาติซกั ถามอาการของผูป้ ่ วยน้อยลง
13
3. ผูป้ ่ วยและญาติมีสีหน้าสดชื่นขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
1. แนะนาตัวแก่ผปู ้ ่ วยและญาติสร้างสัมพันธภาพเพื่อสร้างความไว้วางใจในการพยาบาลและให้ขอ้ มูล
แก่ผปู ้ ่ วยและญาติเกี่ ยวกับโรคที่เป็ นอยู่ได้แก่ สาเหตุ อาการและอาการแสดงของ แผนการรักษาของผูป้ ่ วยที่
ได้รับเพื่อลดความวิตกกังวล
2. อธิ บายให้ผปู ้ ่ วยและญาติทราบว่า ผูป้ ่ วยจะได้รับการดูแลช่วยเหลือจากแพทย์พยาบาล และเจ้าหน้าที่
ต่าง ๆ ซึ่ งอยูใ่ นระยะทีมองเห็นผูป้ ่ วยได้ชดั เจนและสามารถให้ความช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้ทนั ท่วงที เพื่อให้ผปู ้ ่ วย
และญาติเกิดความมัน่ คงทางจิตใจ คลายความวิตกกังวล และสามารถเผชิญต่อภาวะเครี ยดได้
3. อธิ บายทุกครั้งที่ให้การรักษาพยาบาลผูป้ ่ วยเพื่อให้ผปู ้ ่ วยพร้อมที่จะเผชิญกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น
4. ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล จับมือ ลูบตามตัวผูป้ ่ วยบ้างเพื่อเพิม่ ความอบอุ่นและมัน่ ใจแก่ผปู ้ ่ วย
5. ให้เวลาและให้โอกาสแก่ผปู ้ ่ วยและญาติซกั ถามข้อข้องใจและระบายความรู้สึก พยาบาลรับฟังข้อข้อง
ใจและให้ขอ้ มูลที่ไม่ตอ้ งให้ผปู ้ ่ วยหรื อญาติตอบคาถามเพื่อป้ องกันการเกิดความคับข้องใจจากการไม่สามารถ
ตอบคาถามความเข้าใจผิดและเกิดความภาวะเครี ยดได้
6. หลีกเลี่ยงการอภิปรายปั ญหาต่อหน้าผูป้ ่ วย หรื อพูดพาดพิงไปถึงผูป้ ่ วยอื่นซึ่ งอาจทาให้ผปู้ ่ วยหรื อญาติ
เกิดความเข้าใจผิดและเกิดความเครี ยดได้
การประเมินผล
1. ผูป้ ่ วยและญาติให้ความร่ วมมือในการรักษาพยาบาลเข้าใจและยอมรับสภาพความเจ็บป่ วยได้
2. สี หน้าสดชื่น
ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 5 ผู้ป่วยดูแลตนเองไม่ ถูกต้ องเนื่องจากขาดความรู้ ในการดูแลตนเอง
ข้ อมูลสนับสนุน
Subjective Data 1. ผูป้ ่ วยบอกว่าชอบรับประทานขนมหวานและผลไม้เพราะหลังรับประทานจะ
รู้สึกสดชื่น
2. ญาติบอกว่าผูป้ ่ วยไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย
3. ผูป้ ่ วยบอกว่าเมื่ อไม่มี อาการก็ไม่ ตอ้ งมารั บยาจะรั บประทานเมื่อมีอาการ
เช่นหน้ามืด ใจสั่น
Objective Data 1. จากการซักถามผูป้ ่ วยไม่ทราบถึ งภาวะแทรกซ้อนของโรคที่อาจจะเกิ ดหาก
รักษาไม่ต่อเนื่อง
2. จากข้อมูลในแฟ้ มประวัติผปู้ ่ วยรักษาโรคเบาหวานไม่ต่อเนื่ อง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผปู้ ่ วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองในด้านการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรค การ
ออกกาลังกาย การดูแลตนเองเพื่อป้ องกันจากภาวะแทรกซ้อนของโรค
2. เพื่อให้ผปู้ ่ วยตระหนักถึงความสาคัญในการรักษา
14
เกณฑ์ การประเมิน
1. ผูป้ ่ วยสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคได้
2. ผูป้ ่ วยมีความรู ้ในการออกกาลังกาย
3. ผูป้ ่ วยมีความรู ้ในเรื่ องการดูแลตนเองเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
กิจกรรมการพยาบาล
1. ให้คาแนะนาเกี่ยวกับเรื่ องอาหาร การเลื อกรับประทานอาหารที่ถูกต้องแลเหมาะสมกับโรคควร
งดเว้นการรับประทานขนมหวานอาหารจาพวกคาร์ โบไฮเดรต ควรรับประทานอาหารให้ตรงเวลา ครบ 3 มื้อ
2. การออกกาลังกายเพื่อกระตุน้ การไหลเวียนของเลือด โดยการเดิน การใช้กระบองปาบุญมีในการ
ออกกาลังกายแต่ละครั้งประมาณ 20 นาที
3. แนะนาการสังเกตภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นเช่นภาวะระดับน้ าตาลในเลือดต่าจะมีอาการใจสั่น
ตัวเย็น เหงื่อออก อ่อนเพลีย กระวนกระวาย สับสน ถ้าหากมีอาการดังกล่าวให้รีบดื่มน้ าหวานหรื ออมทอฟฟี่
4. แนะนาการสังเกตภาวะระดับน้ าตาลในเลื อดสู งจะมีอาการปั สสาวะบ่อย กระหายน้ า อ่อนเพลี ย
คลื่นไส้อาเจียน ระดับความรู ้สึกตัวลดลง ซึ มลง หมดสติ เมื่อมีอาการดังกล่าวให้รีบมาโรงพยาบาล
5. แนะนาสังเกตอาการผิดปกติที่ตอ้ งมาพบแพทย์ คือ มีแผลที่เท้า ชาปลายมือปลายเท้า ตาพร่ ามัว
แขนขาอ่อนแรง มีอาการบวมทัว่ ร่ างกายและมีไข้
6 . แนะนาให้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องห้ามปรับขนาดยาเองและมาตรวจตามแพทย์นดั ทุกครั้ง
การประเมินผล
1. ผูป้ ่ วยมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหาร
2. ผูป้ ่ วยมีความรู ้ในการออกกาลังกาย
3. ผูป้ ่ วยอธิบายถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่ อง
6 ตุลาคม 2553 แพทย์อนุญาตให้กลับไปฟื้ นฟูสุขภาพต่อที่บา้ นยาที่ให้ไปรับประทานต่อที่บา้ น
1. Metformin (500 mg)รับระทานครั้งละ 1 เม็ดหลังอาหาร เช้า เย็น เป็ นยาลดระดับน้ าตาลในเลือด
2. Glipizide รับระทานครั้งละ 1 เม็ดก่อนอาหาร เช้า เป็ นยาลดระดับน้ าตาลในเลือด
3. Prednisolone (5 mg ) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด หลังอาหาร เช้า เย็น เป็ นยาช่วยบรรเทาอาการ
อักเสบช่วยลดความรุ นแรงของโรคทางระบบภูมิคุม้ กันรักษาอาการแพ้อย่างรุ นแรงและอาการหอบหืด
4. Paracetamal (500 mg) รับประทานครั้งละ 2 เม็ดเวลามีไข้ห่างกัน 4 ชัง่ โมง
5. Aminophylline รับประทานครั้งละ 1 เม็ดหลังอาหาร เช้า เที่ยง เย็น
6. Salbutamal รับประทานครั้งละ 1 เม็ดหลังอาหาร เช้า เที่ยง เย็น
7. Salbutamal MDI กดพ่น1 - 2 ครั้งเวลาหอบใช้ป้องกันอาการหดเกร็ งของหลอดลมในโรคหอบ
8. Pulmicort MDI กดพ่น 1 ครั้ง เช้า เย็น ยาพ่นที่ใช้รักษาอาการหดเกร็ งของหลอดลม
9. Milk of Magnesia 2 ช้อนโต๊ะเป็ นยาระบาย รับประทานเวลาท้องผูก
10. ยาอมมะแว้ง อมเพื่อให้ความชุ่มชื้นในลาคอ
15
11. Ammon carb. จิบเวลาไอ
คาแนะนาก่อนกลับบ้ าน
1. เน้นย้าให้ผปู ้ ่ วยตระหนักถึงความสาคัญในการดูแลตนเองในเรื่ องการควบคุมอาหาร การออกกาลังกาย
2. แนะนาเรื่ องการรับประทานยาควรรับประทานยาอย่างต่อเนื่ องห้ามหยุดยาเอง
3. แนะนาสังเกตอาการผิดปกติที่ตอ้ งมาพบแพทย์
4. แนะนามาพบแพทย์ตามนัด
9.3 สรุ ปและอภิปรายผล
กรณี ศึกษาผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉี ยบพลันจากภาวะ Hyperglycemia
และ Hypoglycemia เป็ นหญิงไทยอายุ 66 ปี มารับบริ การที่โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11
นครศรี ธรรมราช เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 เวลา16.30 น. ด้วยอาการ 7 ชัว่ โมงก่อนมาโรงพยาบาล หายใจเหนื่ อย
ไอมีเสมหะ ตรวจสัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซี ยส ชีพจร 110 ครั้งต่อนาที อัตราการหายใจ 28 ครั้งต่อ
นาที ฟั ง ปอดได้ยิ น เสี ย งวี้ ด ทั้ง สองข้า ง ความดัน โลหิ ต 110/70 มิ ล ลิ เ มตรปรอท ออกซิ เ จนในร่ า งกาย 93
เปอร์ เซ็นต์ได้รับการพ่นยา Salbutamol 2 NB ทันที ฉี ดยา Dexathasone 8 mg เข้าทางหลอดเลือดดาทันทีหลัง
พ่นยาให้ออกซิ เจนแคนนู ลา 3 ลิตรต่อนาที เจาะระดับน้ าตาลในเลือด (DTX) 196 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ และรับ
รักษาในโรงพยาบาลแผนกผูป้ ่ วยใน (2 ต.ค.53) เจาะระดับน้ าตาลในเลือด(FBS) 470 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ ได้รับ
การฉี ดยา Regular insulin 10 ยูนิต ฉี ดเข้าใต้ผิวหนัง หลังฉี ดยา Regular insulin ได้เฝ้ าติดตามระดับน้ าตาลใน
เลือด (DTX) ก่อนอาหารทุกมื้อค่าเฉลี่ยอยูใ่ นช่วง 180 – 190 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ (4 ต.ค 53) เจาะระดับน้ าตาล
ในเลือด(FBS) 208 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ได้รับการฉี ดยา Regular insulin 3 ยูนิต ฉี ดเข้าใต้ผิวหนัง เวลา 12.50 น.
ผูป้ ่ วยมีอาการเหงื่ออก ตัวเย็น สับสน ซึ ม เจาะระดับน้ าตาลในเลือด (DTX) 58 มิลลิกรัมเปอร์ เซ็นต์ ได้รับการ
รักษาโดยฉีด 50 % glucose 50 ซี ซีทางหลอดเลือดดาช้า ๆ และให้สารน้ า5% D/N/2 1000 ซีซี เข้าทางหลอดเลือด
ดา 80 ซี ซีต่อชัว่ โมงเพื่อเพิ่มระดับน้ าตาลในเลื อดและเฝ้ าติดตามระดับน้ าตาลในเลือดอย่างใกล้ชิดและให้การ
พยาบาลตามกระบวนการทางการพยาบาลมีการเฝ้ าระวังอาการและอาการแสดงอย่างต่อเนื่ องจนผูป้ ่ วยอยู่ใน
ภาวะปกติและได้วางแผนการจาหน่ายโดยเน้นย้าเรื่ องการปฏิบตั ิตนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมอาหาร
การออกกาลังกาย แนะนาวิธีการพ่นยาชนิ ดสู ด (MDI)แนะนาเรื่ องการเคาะปอด การหายใจเข้า - ออกที่ถูกวิธี
และประสานทีมเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่ อง นัดเข้าคลินิกโรคหอบหื ด วันที่ 6 ตุลาคม 2553
แพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน รวมวันนอนพักรักษาในโรงพยาบาล 6 วัน
10. การนาไปใช้ ประโยชน์
1. เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับ การพยาบาลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อน
เฉียบพลันจากภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia
2. เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับบุคลากรสาธารณสุ ขหรื อผูท้ ี่สนใจในการดูแลพยาบาลผูป้ ่ วยโรคเบาหวาน
และโรคหอบหืดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia
16
11. ความยุ่งยากในการดาเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค
ด้ านผู้ป่วย
ผูป้ ่ วยรายนี้เป็ นผูส้ ู งอายุมีปัญหาเรื่ องการได้ยนิ และการสื่ อสาร
ด้ านบุคลากร
เนื่ อ งจากอัต ราก าลัง พยาบาล 1 คน ต้องรั บ ผิ ด ชอบผูป้ ่ วย 15 คน ซึ่ งส่ ง ผลให้ ดูแ ลผูป้ ่ วยได้ไ ม่
ครอบคลุม
ด้ านผู้จัดทากรณีศึกษา
การจัดทากรณี ศึกษาครั้งนี้ เกิดความล่าช้า เนื่ องจากตัวผูจ้ ดั ทายังขาดความรู ้ ที่ใหม่ ๆ และหนังสื อตารา
วิชาการที่หลากหลายต้องอาศัยยืมเพื่อนร่ วมงานและค้นคว้าทาง Internet อีกทั้งโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 11 และทางแผนกผูป้ ่ วยในไม่มีตวั อย่างผลงานวิจยั หรื อวิทยานิ พนธ์ให้ดูเป็ นแนวทางในการ
จัดทากรณี ศึกษา
12. ข้ อเสนอแนะ/วิจารณ์
จากกรณี ศึกษาจะพบได้ว่าผูป้ ่ วยรายนี้ เป็ นโรคเบาหวานและโรคหอบหื ดร่ วมด้วยและมีภาวะน้ าตาล
ในเลื อดสู งและภาวะน้ าตาลในเลื อดต่าเป็ นอันตรายต่อชี วิตเป็ นอย่างมาก ดังนั้นผูป้ ่ วยรายนี้ ควรเน้นเรื่ องการ
ให้ความรู ้เกี่ยวกับโรคที่ถูกต้องเพื่อป้ องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นซ้ าและตระหนักถึงการรักษาที่ต่อ
เนื่องโดยให้ญาติได้มีส่วนร่ วมในการดูแลผูป้ ่ วยเพื่อจะส่ งเสริ มการรักษาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
13. กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบพระคุณนายแพทย์ ชนัต วงศ์ประเสริ ฐสุ ข ที่ให้แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลผูป้ ่ วยโรคเบาหวานและ
โรคหอบหื ดที่มีภาวะแทรกซ้อนเฉี ยบพลัน จากภาวะ Hyperglycemia และ Hypoglycemia ตลอดจนให้ความ
ช่วยเหลือในการตรวจสอบข้อบกพร่ องต่างๆในการจัดทากรณี ศึกษาเจ้าหน้าที่แผนกผูป้ ่ วยในที่ให้ความร่ วมมือ
และให้คาแนะนาเจ้าหน้าที่เวชระเบียนในการให้ยืมแฟ้ มประวัติผรู้ ับบริ การและช่วยเหลือในการรวบรวมและ
สื บค้นข้อมูล ผูร้ ับบริ การและญาติซ่ ึ งยินดี ในการให้ขอ้ มูลส่ วนตัวเพื่อเป็ นประโยชน์ในการจัดทากรณี ศึกษา
ฉบับนี้ ให้สาเร็ จไปได้ดว้ ยดี และต้องขอขอบคุ ณกลุ่มงานยุทธ์ศาสตร์ ที่ได้เผยแพร่ ผลงานผ่าน internet ของ
ศูนย์อนามัยที่ 11 ผูศ้ ึกษากรณี ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งมา ณ โอกาสนี้
14. เอกสารอ้างอิง
ชมนาด วรรณพรสิ ริและ วราภรณ์ สัตยวงศ์ .การพยาบาลผูป้ ่ วย เล่ม 1 . พิมพ์ครั้งที่ 1 . นนทบุรี:
บริ ษทั ธนาเพรส จากัด. 2550.
ดาเกิง ตันธรรมจารึ ก. โรคหอบหืด .กรุ งเทพฯ: วิชยั ยุทธจุลสาร, 2550.
วัลลา ตันตโยทัย, อดิสัย สงดี . การพยาบาลผูป้ ่ วยเบาหวาน. เล่ม 4. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุ งเทพฯ : วี.เจ.พริ้ นติ้ง,
2543.
17
ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์ . พยาธิสรี รวิทยาทางการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุ งเทพฯ :
บริ ษทั บุญศิริการพิมพ์, 2546.
สุ กญั ญา สมสู ญงาม, พัชรวีร์ จันทร์ ดี. Management of Type 2 DM in Outpatient setting. กรุ งเทพมหานคร:
โรงพิมพ์แห่ งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
http//hpc 9.anamai.moph.th. วันที่สืบค้น. 20 กุมภาพันธ์ 2554.
www.vichaiyut.co.th . วันที่สืบค้น . 20 กุมภาพันธ์ 2554 .

ขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็ นความจริ งทุกประการ

ลงชื่อ…………………………..
(นางสาวจุรีภรณ์ ชุมจินดา)
พยาบาลวิชาชีพ ระดับชานาญการ
ผูเ้ สนอผลงาน
21 / มีนาคม / 2554

ได้ตรวจสอบแล้วขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นถูกต้องตรงกับความเป็ นจริ งทุกประการ

ลงชื่อ.................................................. ลงชื่อ ................................................


(น.ส.ชนธิรา พูนขันธ์) (นายไกรวุฒิ ก้วนหิ้น)
พยาบาลวิชาชีพ ระดับชานาญการ ผูอ้ านวยการศูนย์
หัวหน้าแผนกผูป้ ่ วยใน 21 / มีนาคม/ 2554
21 / มีนาคม / 2554

You might also like