You are on page 1of 32

คณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คู่มอื รายวิชา 388-641


เวชปฏิบตั คิ รอบครัวและชุมชน
(Practice in Family and Community Medicine)
นักศึกษาแพทย์ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565

โรงพยาบาลควนเนียง อ.ควนเนียง จ.สงขลา


โรงพยาบาลควนขนุน อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
โรงพยาบาลปากพะยูน อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง
โรงพยาบาลละงู อ.ละงู จ.สตูล
โรงพยาบาลพัทลุง จ.พัทลุง
โรงพยาบาลสตูล จ.สตูล
คำนำ

1
รายวิชา 388-641 เวชปฏิบตั ิครอบครัวและชุมชน เป็ นรายวิชา สำหรับนักศึกษาแพทย์ภาค
เวชปฏิบตั ิ (Extern) จัดการเรี ยนการสอนโดยสาขาวิชาเวชศาสตร์ ครอบและเวชศาสตร์ ป้องกัน ซึง่
กระบวนการเรี ยนการสอน กำหนดให้ นกั ศึกษาฝึ กปฏิบตั งิ านที่โรงพยาบาลชุมชนเป็ นระยะเวลา 2
สัปดาห์ ณ คลินิกเวชปฏิบตั ิครอบครัวของโรงพยาบาลสมทบการฝึ กอบรมนักศึกษาระดับก่อน
ปริ ญญา ได้ แก่ โรงพยาบาลควนเนียง จังหวัดสงขลา โรงพยาบาลควนขนุน โรงพยาบาลปากพะยูน
โรงพยาบาลพัทลุง จังหวัดพัทลุง และโรงพยาบาลละงู โรงพยาบาลสตูลจังหวัดสตูล เพื่อ ฝึ กทักษะ
บริ การลักษณะเวชปฏิบตั ิครอบครัว การติดต่อสื่อสาร การอ่านและวิจารณ์วารสาร การฝึ กสอนแบบ
จุลภาค และการฝึ กทักษะการปฏิบตั งิ านทางเวชปฏิบตั ทิ ่โี รงพยาบาลชุมชน การดูแลผู้ป่วยแบบองค์
รวม การส่งต่อผู้ป่วย ร่วมกับบุคลากรด้ านสุขภาพอืน่ ๆ ของโรงพยาบาลชุมชน
คูม่ ือรายวิชา จะทำให้ นกั ศึกษาทราบขอบเขตของรายวิชา วัตถุประสงค์ เนื ้อหารายวิชา การ
จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล บุคคล สื่อการเรี ยนรู้ วิธีการศึกษา
คณะกรรมการรายวิชาหวังว่าคูม่ ือนี ้จะเป็ นประโยชน์ตอ่ นักศึกษา หากมีข้อเสนอแนะ
ปรับปรุงให้ เหมาะสมและดียิ่งขึ ้น กรุณาแจ้ งที่ประธาน หรื อนักวิชาการ

คณะกรรมการประจำรายวิชา
พฤษภาคม 2565

2
สารบัญ
หน้ า
รายชื่อคณะกรรมการประจำรายวิชา 4
รายวิชา 388-641
จำนวนหน่วยกิต 5
คำอธิบายรายวิชา 5
วัตถุประสงค์ 5
เนื ้อหา 6
การจัดการเรี ยนการสอนเวชศาสตร์ ครอบครัว 6
ตารางสอนโรงพยาบาลควนเนียง 7
ตารางสอนโรงพยาบาลพัทลุง 9
ตารางสอนโรงพยาบาลควนขนุน 11
ตารางสอนโรงพยาบาลปากพะยูน 13
ตารางสอนโรงพยาบาลปากละงู 15
ตารางสอนโรงพยาบาลสตูล 17
แผนการสอน : คุณภาพและระบบบริการสุขภาพ (Quality and health services) 19
Critical Appraisal Worksheet for Therapy 20
Critical Appraisal Worksheet for Systematic Review 21
Critical Appraisal Worksheet for Diagnosis 22
Critical Appraisal Worksheet for Prognosis 23
Critical Appraisal Worksheet for Harm 24

สื่อการเรี ยนรู้ 25

บุคคลและรายชื่อแพทย์พี่เลี ้ยง 26

การวัดและประเมินผล 28

แบบประเมินการปฏิบตั ิงานรายบุคคล 29
แบบประเมินกิจกรรมกลุม่ Journal appraisal 30
แบบประเมินผลนักศึกษาแพทย์ภาคเวชปฏิบตั ิ 31

3
รายชื่อคณะกรรมการประจำรายวิชา
คณาจารย์สาขาวิชาเวชศาสตร์ ครอบครัวและเวชศาสตร์ ป้องกัน

1. ผศ.พญ.ธารทิพย์ แสงสุวรรณ์ ประธาน


2. ผศ.พญ.รัตนาภรณ์ ชูทอง รองประธาน
3. ผศ.นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ กรรมการ
4. พญ.ธนิษฐา ศิริรักษ์ กรรมการ
5. นพ.นฤชา โกมลสุรเดช กรรมการ
6. ดร.นพ.ชนนท์ กองกมล กรรมการ
7. ดร.นพ.วิศรุต ศรี สนิ ธร กรรมการ
8. ดร.นพ.ธรรมสินธ์ อิงวิยะ กรรมการ
9. ผศ.นพ.พิชญานนท์ งามเฉลียว กรรมการ
10. นพ.ปั ญญา จำรูญเกียรติกลุ กรรมการ
11. ผศ.พญ.ธารี รัตน์ อนันต์ชยั ทรัพย์ กรรมการ
12. พญ.อรพรรณ ฟูมณีโชติ กรรมการ
13. นพ.ปณิธาน วัจนาคมกุล กรรมการ
14. นพ.ศุภกร ศรี แผ้ ว กรรมการ
15. ผศ.ดร.นพ.พลเทพ วิจิตรคุณากร กรรมการ
16. พญ.สุภิญญา โสโน กรรมการ
17. นพ.ภูมิใจ สรเสณี กรรมการ
18. พญ.ภาวิตา ลิ ้มสมวงษ์ กรรมการ
19. นางทัษนีย์ พิณสุวรรณ เลขานุการ

4
รหัสวิชา 388-641 เวชปฏิบัตคิ รอบครั วและชุมชน
Practice in Family and Community Medicine

จำนวนหน่ วยกิต 2 (0-12-0)


รายวิชาบังคับก่ อน 388-541, 388-542
ระยะเวลา 2 สัปดาห์

คำอธิบายรายวิชา
การฝึ ก ปฏิบตั ิง านที่ค ลินิก เวชปฏิบ ตั ิค รอบครัว และโรงพยาบาลชุม ชน การบริ ห ารงาน
สาธารณสุข เทคนิคการให้ ความรู้ การอ้ างอิงหลักฐานทางการแพทย์ การเพิ่มทักษะการให้ บริ การ
ปฐมภูมิ การบริบาลแบบผสมผสานและเบ็ดเสร็ จ การบริ การสาธารณสุขมูลฐาน การเยี่ยมบ้ านผู้
ป่ วย การอภิปรายปั ญหาผู้ป่วย การสื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัว การให้ ค ำแนะนำและคำปรึกษา
การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรักษาต่อหรื อปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เน้ นการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การประสาน
งานสาธารณสุขระดับอำเภอ ฝึ กหัดการสอนบุคลากรสาธารณสุขอื่น ๆ

วัตถุประสงค์
เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยนการสอน นักศึกษา
1. สามารถยกตัวอย่างงานคุณภาพในโรงพยาบาลได้
2. มีทศั นคติที่ดี และเข้ าใจบริบทการทำงานของโรงพยาบาลชุมชน
3. มีทกั ษะในการดูแลผู้ป่วยในเวชปฏิบตั ิครอบครัว
4. มีทกั ษะในการดูแลผู้ป่วย ในบริบทของโรงพยาบาลชุมชน
5. สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องทุกระดับ
6. สามารถอ่านและวิจารณ์วารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขได้ อย่างมีวจิ ารณญาณ

5
เนือ้ หา
1. Practice in family and community medicine
- common problems: diagnosis, management and care
- comprehensive, continuous and holistic care
- home care
- self care
2. Quality and health services
3. Critical appraisal of journal articles

การจัดการเรี ยนการสอนเวชศาสตร์ ครอบครั ว


1. ฝึ กปฏิบตั ิงาน
- คลินิกเวชปฏิบตั ิครอบครัว โรงพยาบาลชุมชน
- แผนกผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และระบบงานที่เกี่ยวข้ องในโรงพยาบาลชุมชน
- แผนกฉุกเฉิน
2. เยี่ยมบ้ านผู้ป่วยร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
3. Journal appraisal รวม 1 เรื่ อง
4. SDL
5. บันทึกประสบการณ์ การตรวจผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยที่เยี่ยมบ้ าน ลงใน Logbook (ในระบบ
LMS)
6. Community Hospital Case discussion รพ.ละ 1 case (อภิปรายกับแพทย์พี่เลี ้ยงประจำโรง
พยาบาลของตนเอง)
7. Topic discussion: Quality and health services รพ.ละ 1 เรื่ อง

6
ตารางการเรียนการสอนรายวิชาเวชปฏิบัตคิ รอบครั วและชุมชน
นักศึกษาแพทย์ ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565 โรงพยาบาลควนเนียง อำเภอควนเนียง จังหวัด
สงขลา
* ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษาหยุดการปฏิบตั ิงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต้ องมีเวลาฝึ กปฏิบตั ิงาน 100%
** ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษานำยานพาหนะส่วนตัวไปโรงพยาบาลชุมชนที่ฝึกปฏิบตั ิงาน 
สัปดาห์ที่ 1
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
(อาจารย์ที่ปรึกษา) เดินทางไป รพช.
พบแพทย์พี่เลี ้ยง –
จันทร์ เวลา 08.30 น. รถรับที่หอพักบินหลา เข้ าที่พกั
ปฐมนิเทศ
4 เวลา 10.00 น.
สาย A: Ward round สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
อังคาร A
สาย B: OPD โรงพยาบาล เภสัชกรรม
เวร ER
พุธ ทันตกรรมโรงเรี ยน
B
สาย B : Ward round เวร ER
สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานห้ องคลอด
พฤหัสบดี A
และผ่าตัด
สาย A : OPD โรงพยาบาล
สาย B : Ward round สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ ายบริ การ เวร ER
ศุกร์
สาย A : OPD โรงพยาบาล พยาบาล B
เวร ER เวร ER
เสาร์ B A
เวร ER เวร ER
อาทิตย์
A B

7
สัปดาห์ที่ 2
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
สาย A: งานสุขภาพชุมชน สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ ายสุขภาพ เวร ER
จันทร์ OPD โรงพยาบาล A
จิต, HIV
เวร ER
อังคาร OPD CMU / เยี่ยมบ้ าน / ปฏิบตั ิงานในชุมชน B
สาย A : OPD โรงพยาบาล * Community Hospital Case เวร ER
พุธ discussion A,B
สาย B : Ward round
กับโรงพยาบาลที่ฝึกปฏิบตั ิ
สาย A : Ward round พบแพทย์พี่เลี ้ยง – เดินทางกลับ
พฤหัสบดี สาย B : OPD โรงพยาบาล สรุป ม.อ.
- Topic Discussion (Quality &
ศุกร์ Group working Health Services)
โรงพยาบาลละ 1 เรื่อง
- Journal Appraisal 1 เรื่ อง

8
ตารางการเรียนการสอนรายวิชาเวชปฏิบัตคิ รอบครั วและชุมชน
นักศึกษาแพทย์ ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565 โรงพยาบาลพัทลุง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

* ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษาหยุดการปฏิบตั ิงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ มีเวลาฝึ กปฏิบตั ิงาน 100%


** ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษานำยานพาหนะส่วนตัวไปโรงพยาบาลชุมชนที่ฝึกปฏิบตั ิงาน  
สัปดาห์ที่ 1
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
(อาจารย์ที่ปรึกษา) เดินทางไป รพช.
พบแพทย์พี่เลี ้ยง –
จันทร์ เวลา 08.30 น. รถรับที่หอพักบินหลา เข้ าที่พกั
ปฐมนิเทศ
4 เวลา 10.00 น.
Ward เวร ER
อังคาร round
ออกตรวจศูนย์แพทย์ชมุ ชน เยี่ยมบ้ านผู้ป่วย A
Ward เวร ER
พุธ round
ออกตรวจศูนย์แพทย์ชมุ ชน เยี่ยมบ้ านผู้ป่วย B
Ward เวร ER
พฤหัสบดี round
ออกตรวจศูนย์แพทย์ชมุ ชน เยี่ยมบ้ านผู้ป่วย A
Ward สังเกตการณ์ฝ่ายต่าง ๆ ของโรง เวร ER
ศุกร์ ออกตรวจ รพ.สต B
round พยาบาล
Ward เวร ER เวร ER
เสาร์ round B A
Ward เวร ER เวร ER
อาทิตย์ round A B

9
สัปดาห์ที่ 2
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
Ward เวร ER
จันทร์ round
ออกตรวจศูนย์แพทย์ชมุ ชน เยี่ยมบ้ านผู้ป่วย A
Ward เวร ER
อังคาร round
ออกตรวจศูนย์แพทย์ชมุ ชน เยี่ยมบ้ านผู้ป่วย B
Ward
* Community Hospital Case เวร ER
พุธ round
ออกตรวจ รพ.สต discussion A,B
กับโรงพยาบาลที่ฝึกปฏิบตั ิ
Ward พบแพทย์พี่เลี ้ยง – เดินทางกลับ
พฤหัสบดี ออกตรวจ รพ.สต
round สรุป ม.อ.
- Topic Discussion (Quality &
ศุกร์ Group working Health Services)
โรงพยาบาลละ 1 เรื่อง
- Journal Appraisal 1 เรื่ อง

10
ตารางการเรียนการสอนรายวิชาเวชปฏิบัตคิ รอบครั วและชุมชน
นักศึกษาแพทย์ ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565 โรงพยาบาลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

* ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษาหยุดการปฏิบตั ิงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต้ องมีเวลาฝึ กปฏิบตั ิงาน 100%


** ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษานำยานพาหนะส่วนตัวไปโรงพยาบาลชุมชนที่ฝึกปฏิบตั ิงาน  
สัปดาห์ที่ 1
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
(อาจารย์ที่ปรึกษา) เดินทางไป รพช.
พบแพทย์พี่เลี ้ยง –
จันทร์ เวลา 08.30 น. รถรับที่หอพักบินหลา เข้ าที่พกั
ปฐมนิเทศ
4 เวลา 10.00 น.
Ward สังเกตการณ์/ ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
อังคาร ออกตรวจ รพ.สต A
round เภสัชกรรม
Ward สังเกตการณ์/ ปฏิบตั ิงานฝ่ ายทันต เวร ER
พุธ ออกตรวจ รพ.สต B
round กรรม
Ward เวร ER
พฤหัสบดี round
ออกตรวจ รพ.สต เยี่ยมบ้ านผู้ป่วย A
Ward สังเกตการณ์/ ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
ศุกร์ ออกตรวจ รพ.สต B
round บริ การพยาบาล
Ward เวร ER เวร ER
เสาร์ round B A
Ward เวร ER เวร ER
อาทิตย์ round A B

11
สัปดาห์ที่ 2
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
Ward สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานห้ องคลอด เวร ER
จันทร์ ออกตรวจ รพ.สต A
round และผ่าตัด
Ward สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ ายสุขภาพ เวร ER
อังคาร ออกตรวจ รพ.สต B
round จิต, HIV
* Community Hospital Case เวร ER
Ward
พุธ round
ออกตรวจ รพ.สต discussion A,B
กับโรงพยาบาลที่ฝึกปฏิบตั ิ
Ward พบแพทย์พี่เลี ้ยง – เดินทางกลับ
พฤหัสบดี ออกตรวจ รพ.สต
round สรุป ม.อ.
- Topic Discussion (Quality &
ศุกร์ Group working Health Services)
โรงพยาบาลละ 1 เรื่อง
- Journal Appraisal 1 เรื่ อง

12
ตารางการเรียนการสอนรายวิชาเวชปฏิบัตคิ รอบครัวและชุมชน
นักศึกษาแพทย์ ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565 โรงพยาบาลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

* ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษาหยุดการปฏิบตั ิงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต้ องมีเวลาฝึ กปฏิบตั ิงาน 100%


** ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษานำยานพาหนะส่วนตัวไปโรงพยาบาลชุมชนที่ฝึกปฏิบตั ิงาน 
สัปดาห์ ท่ ี 1
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
(อาจารย์ที่ปรึกษา) เดินทางไป รพช.
พบแพทย์พี่เลี ้ยง –
จันทร์ เวลา 08.30 น. รถรับที่หอพักบินหลา เข้ าที่พกั
ปฐมนิเทศ
4 เวลา 10.00 น.
Ward สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
อังคาร OPD โรงพยาบาล A
round เภสัชกรรม
Ward สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ ายทันต เวร ER
พุธ OPD CMU B
round กรรม
Ward เวร ER
พฤหัสบดี OPD โรงพยาบาล เยี่ยมบ้ าน/ ปฏิบตั ิงานในชุมชน A
round
Ward สังเกตการณ์ / ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
ศุกร์ OPD TB B
round บริ การพยาบาล
Ward เวร ER เวร ER
เสาร์
round B A
Ward เวร ER เวร ER
อาทิตย์
round A B

13
สัปดาห์ที่ 2
วัน 7-9 9-10 10-11 11-12 13-14 14-15 15-16.30 18-22
Ward สังเกตการณ์/ ปฏิบตั ิงานห้ องคลอด เวร ER
จันทร์ OPD CMU A
round และผ่าตัด
Ward สังเกตการณ์/ ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
อังคาร OPD โรงพยาบาล B
round สุขภาพจิต, HIV
* Community Hospital Case เวร ER
Ward
พุธ round
OPD CMU discussion A,B
กับโรงพยาบาลที่ฝึกปฏิบตั ิ
Ward พบแพทย์พี่เลี ้ยง – เดินทาง
พฤหัสบดี OPD โรงพยาบาล
round สรุป กลับ ม.อ.
- Topic Discussion (Quality &
ศุกร์ Group working Health Services)
โรงพยาบาลละ 1 เรื่อง
- Journal Appraisal 1 เรื่ อง

14
ตารางการเรียนการสอนรายวิชาเวชปฏิบัตคิ รอบครัวและชุมชน
นักศึกษาแพทย์ ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565 โรงพยาบาลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

* ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษาหยุดการปฏิบตั ิงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต้ องมีเวลาฝึ กปฏิบตั ิงาน 100%


** ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษานำยานพาหนะส่วนตัวไปโรงพยาบาลชุมชนที่ฝึกปฏิบตั ิงาน
สัปดาห์ที่ 1
วันเดือนปี เช้09.00า (07.00 – เช้ า (09.00 – 12.00 น.) 13.00-16.30 น. 18-22 น.
น.)
ปฐมนิเทศ เดินทางไป รพช. พบผู้อำนวยการ ฯ , รู้จกั โรงพยาบาลชุมชน
จันทร์ เวลา 8.30 น. รถรับที่หอพักบินหลา 4 เวลา 10.00 น. , เยี่ยมชม ฝ่ าย/งาน
Extern กลุม่ 1 : LR รพ.
สังเกตการณ์/ปฏิบตั ิงานห้ อง เวร ER
อังคาร Round ward Extern กลุม่ 2 : OPD รพ. คลอด/ห้ องผ่าตัด A
Extern กลุม่ 3 รพ.สต.น้ำผุด
Extern กลุม่ 1 รพ.สต.ปากน้ำ
เวร ER
พุธ Round ward Extern กลุม่ 2 : LR รพ. เรี ยนรู้งานสุขภาพจิตชุมชน B
Extern กลุม่ 3 : OPD รพ.
Extern กลุม่ 1 : PCU กำแพง
สังเกตการณ์ /ปฏิบตั ิงาน คลินิก เวร ER
พฤหัส Round ward Extern กลุม่ 2 : รพ.สต.ปากน้ำ Asthma A
Extern กลุม่ 3 : รพ.สต.น้ำผุด
Extern กลุม่ 1 : PCU กำแพง
เยี่ยมบ้ าน /ปฏิบตั ิงานใน เวร ER
ศุกร์ Round ward Extern กลุม่ 2 : รพ.สต.ปากน้ำ ชุมชน B
Extern กลุม่ 3 : รพ.สต.น้ำผุด
Round ward B เวร ER
เสาร์ A
Round ward A เวร ER
อาทิตย์ B

15
สัปดาห์ที่ 2
วันเดือนปี เช้ า เช้ า 13.00-16.30 18-22 น.
เรียนรู้งานฝ่ ายเวชกรรมชุมชน
1.DHS เวร ER
จันทร์ Round ward สังเกตการณ์ /ปฏิบตั ิงาน คลินิก ANC 2.ศูนย์เยี่ยมบ้ าน A
3.งานควบคุมป้องกันโรค
4.เอดส์
Extern กลุม่ 1 : OPD รพ.
เยี่ยมบ้ าน/ปฏิบตั ิงาน เวร ER
อังคาร Round ward Extern กลุม่ 2 : PCU กำแพง ในชุมชน B
Extern กลุม่ 3 : LR รพ.
Extern กลุม่ 1 : PCU กำแพง * Community Hospital เวร ER
พุธ Round ward Extern กลุม่ 2 : รพ.สต.ปากน้ำ Case discussion A,B
Extern กลุม่ 3 : รพ.สต.น้ำผุด กับโรงพยาบาลที่ฝึกปฏิบตั ิ
เดินทางกลับ มอ.
สังเกตการณ์/ปฏิบตั ิงาน คลินิก HT พบแพทย์ พี่เลี ้ยง –
พฤหัส Round ward สรุป 15.00 น.
- Topic Discussion (Quality & Health
ศุกร์ Group working Services) โรงพยาบาลละ 1 เรื่ อง
- Journal Appraisal 1 เรื่ อง
หมายเหตุ : 1.ในการ round ward แพทย์พี่เลี ้ยงจะทำการมอบหมาย WARD ให้ ในแต่ละสัปดาห์
2. ในการออกปฏิบตั ิงาน รพ.สต.และชุมชน มอบหมายให้ นศ.แต่ละกลุม่ รับผิดชอบพื ้นที่เดิมตลอด 2
สัปดาห์ของการฝึ กปฏิบตั ิ โดยแต่ละกลุม่ มีพี่เลี ้ยงจากโรงพยาบาลติดตามดูแล
3. การเยี่ยมบ้ าน/ปฏิบตั ิงานในชุมชน จัดให้ มีการเยี่ยมร่วมกันของทุกกลุม่ 1 ครัง้ โดยสัญจรทุกพื ้นที่ที่
นศ.ดูแล เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์หน้ างาน
*** บ้ านพักโรงพยาบาลที่สามารถรองรับ นศ.ได้ : บ้ านพัก 1 หลัง 2 ห้ องนอน พักได้ 4 คน และ
แฟลตบุคลากร 3 ยูนิต ๆ ละ 2 คน
4. กรณีที่โรงพยาบาลจัดกิจกรรมคุณภาพหรื อกิจกรรม case conference ให้ นศ. เข้ าร่วมกิจกรรมของ
โรงพยาบาล โดยให้ งดกิจกรรมตามที่ตารางกำหนดไว้

16
ตารางการเรียนการสอนรายวิชาเวชปฏิบัตคิ รอบครัวและชุมชน
นักศึกษาแพทย์ ปีที่ 6 ปี การศึกษา 2565 โรงพยาบาลสตูล อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

* ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษาหยุดการปฏิบตั ิงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต้ องมีเวลาฝึ กปฏิบตั ิงาน 100%


** ไม่อนุญาตให้ นกั ศึกษานำยานพาหนะส่วนตัวไปโรงพยาบาลชุมชนที่ฝึกปฏิบตั ิงาน
สัปดาห์ที่ 1
เช้ า (07.00 –
วันเดือนปี เช้ า (09.00 – 12.00 น.) 13.00-16.30 น. 18-22 น.
09.00 น.)
เดินทางไป รพช. พบผู้อำนวยการ ฯ, รู้จกั โรงพยาบาลชุมชน, เยี่ยมชม
ปฐมนิเทศ
จันทร์ รถรับที่หอพักบินหลา 4 เวลา ฝ่ าย/งาน
เวลา 8.30 น.
10.00 น.
Extern กลุม่ 1 : PCU สังเกตการณ์ /ปฏิบตั ิงานห้ อง เวร ER
อังคาร Round ward
Extern กลุม่ 2 รพ.สต. คลอด/ห้ องผ่าตัด A
Extern กลุม่ 1 รพ.สต. สังเกตการณ์ /ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
พุธ Round ward
Extern กลุม่ 2 : PCU สุขภาพจิต,HIV B
Extern กลุม่ 1 : PCU สังเกตการณ์/ปฏิบตั ิงาน เวร ER
พฤหัส Round ward
Extern กลุม่ 2 : รพ.สต. ฝ่ ายเภสัชกรรม A
Extern กลุม่ 1 รพ.สต. เวร ER
ศุกร์ Round ward เยี่ยมบ้ าน/ปฏิบตั ิงานในชุมชน
Extern กลุม่ 2 : PCU B
Round ward A เวร ER
เสาร์
B
Round ward B เวร ER
อาทิตย์
A

17
สัปดาห์ที่ 2
วันเดือนปี เช้ า เช้ า 13.00-16.00 18-22 น.
Extern กลุม่ 1 : PCU สังเกตการณ์/ปฏิบตั ิงานฝ่ าย เวร ER
จันทร์ Round ward
Extern กลุม่ 2 : รพ.สต. ทันตกรรม A
Extern กลุม่ 1 รพ.สต. เวร ER
อังคาร Round ward เยี่ยมบ้ าน /ปฏิบตั ิงานในชุมชน
Extern กลุม่ 2 : PCU B
Extern กลุม่ 1 : PCU * Community Hospital Case
พุธ Round ward discussion เวร ER
Extern กลุม่ 2 : รพ.สต. กับโรงพยาบาลที่ฝึกปฏิบตั ิ A
Extern กลุม่ 1 : PCU เดินทางกลับ มอ.
พบแพทย์พี่เลี ้ยง –
พฤหัส Round ward
Extern กลุม่ 2 : รพ.สต. สรุป 15.00 น.
- Topic Discussion (Quality & Health Services)
ศุกร์ Group working โรงพยาบาลละ 1 เรื่ อง
- Journal Appraisal 1 เรื่ อง
หมายเหตุ : 1.ในการ round ward แพทย์พี่เลี ้ยงจะทำการมอบหมาย WARD ให้ ในแต่ละสัปดาห์
2. ในการออกปฏิบตั ิงาน รพ.สต.และชุมชน มอบหมายให้ นศ.แต่ละกลุม่ รับผิดชอบพื ้นที่เดิมตลอด 2
สัปดาห์ของการฝึ กปฏิบตั ิ โดยแต่ละกลุม่ มีพี่เลี ้ยงจากโรงพยาบาลติดตามดูแล
3. การเยี่ยมบ้ าน/ปฏิบตั ิงานในชุมชน จัดให้ มีการเยี่ยมร่วมกันของทุกกลุม่ 1 ครัง้ โดยสัญจรทุกพื ้นที่
ที่ นศ.ดูแล เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์หน้ างาน
4. กรณีที่โรงพยาบาลจัดกิจกรรมคุณภาพหรื อกิจกรรม case conference ให้ นศ. เข้ าร่วมกิจกรรม
ของ โรงพยาบาล โดยให้ งดกิจกรรมตามที่ตารางกำหนดไว้

18
แผนการสอน : คุณภาพและระบบบริการสุขภาพ (Quality and health services)

วัน เดือน ปี :การฝึ กปฏิบตั ิ 2 สัปดาห์ ณ หน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาลชุมชน


การอภิปราย ในวันศุกร์ สดุ ท้ ายของการฝึ กปฏิบตั ิ ผ่านระบบ zoom conference
กับอาจารย์ที่ปรึกษา
วัตถุประสงค์  
เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยนการสอนนักศึกษาสามารถ
1.บอกภาพรวมของระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้
2.ยกตัวอย่างระบบคุณภาพของโรงพยาบาลได้
3.สรุปและอภิปรายการพัฒนาระบบคุณภาพโรงพยาบาลได้

เนือ้ หา
1.ระบบบริการสุขภาพในปั จจุบนั ของประเทศไทย และระบบสุขภาพที่พงึ ประสงค์
2.คุณภาพและระบบบริการสุขภาพ

การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้
1.การบรรยายเรื่ อง  ระบบบริการสุขภาพในปั จจุบนั ของประเทศไทย และระบบสุขภาพที่พงึ ประสงค์
2.การฝึ กปฏิบตั ิ ณ หน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาลชุมชน
3.การอภิปรายกลุม่ ย่อย

สื่อการเรียนรู้
1.PowerPoint  file: เรื่ อง ระบบบริการสุขภาพในปั จจุบนั ของประเทศไทย และระบบสุขภาพที่พงึ ประสงค์
2.PDF file: เรื่ อง A Framework for Managing  the Quality in Health Services in New South Wales
3. VDO ตัวอย่างงานคุณภาพ (ในระบบ LMS)

19
Critical Appraisal Worksheet for Therapy

Study citation: ……………………..………………………………………………….………………………….......


Method of study: ……………………………………………………………………………..……..………………..

I. Are the results of this single preventive or therapeutic trial valid?


Items Yes/No Note
1. Was the assignment of patients to treatments randomized?
2. Was the randomization list concealed?
3. Were all patients analyzed in the groups to which they were
randomized (intention-to-treat)?
4. Were patients and clinicians kept "blind" to treatment?
5. Were the groups treated equally, apart from the experimental
treatment (co-intervention)?
6. Were all patients who entered the trial accounted for at its
conclusion (follow up complete)?

II. Are the valid results of this randomized trial important?


Trial Event rate RRR = ARR = NNT =
CER EER |CER-EER|/CER |CER-EER| 1/ARR

III. Can you apply this valid, important evidence about therapy in caring for your patient?
Items Yes/No Note

1. Is your patient so different from those in the study that its


 
results cannot apply?
2. Is the treatment feasible in your setting?  
3. Is your patient met by this regimen and its consequences
 
on benefit and harm?
4. Do your patient and you have a clear assessment of their
 
values and preferences?

Resolution of Patient Problem: ………………………………………….……………………………..……………


……………………………………………………………………………………………….………………………......

20
Critical Appraisal Worksheet for Systematic Review

Study citation: ……………………..………………………………………………….………………………….......


Method of study: ……………………………………………………………………………..……..………………..

I. Are the results of this single preventive or therapeutic trial valid?


Item Yes/No Note
1. Was it a systematic review of randomized trials of the
 
treatment you are interested in?
2. Did it include a method section described the finding and
 
including all the relevant trials?
3. Did it include a method section described the assessing their
 
individual validity?
4. Was the consistency of individual study considered in the
 
method?

II. Are the valid results of this randomized trial important?


Trial Event rate RRR = ARR = NNT =
CER EER |CER-EER|/CER |CER-EER| 1/ARR

III. Can you apply this valid, important evidence about therapy in caring for your
patient?
Items Yes/No Note
1. Is your patient so different from those in the study that
 
its results cannot apply?
2. Is the treatment feasible in your setting?  
3. Is your patient met by this regimen and its
 
consequences on benefit and harm?
4. Do your patient and you have a clear assessment of
 
their values and preferences?

Resolution of Patient Problem: ………………………………………….……………………………..……………


……………………………………………………………………………………………….………………………......

21
Critical Appraisal Worksheet for Diagnosis

Study citation: ……………………..………………………………………………….………………………….......


Method of study: ……………………………………………………………………………..……..………………..

I. Are the results of this single preventive or therapeutic trial valid?


Item Yes/No Note
1. As there an independent, blind comparison with a reference
 
(“gold”) standard of diagnosis?
2. Was the diagnostic test evaluated in an appropriate spectrum
 
of patients (like those in whom it would be used in practice)?
3. Was the reference standard applied regardless of the
 
diagnostic test result?

II. Are the valid results of this randomized trial important?


Sensitivity Specificity Positive Negative LR+ LR- Post-test
Predictive Predictive probability
Value Value

III. Can you apply this valid, important evidence about therapy in caring for your
patient?
Items Yes/No Note
1. Is the diagnostic test available, affordable, accurate, and
 
precise in your setting?
2. Are the results applicable to my patients?  
3. Will the results change my management?  
4. Will patients be better off as a result of this test?  

Resolution of Patient Problem: ………………………………………….……………………………..……………


……………………………………………………………………………………………….………………………......

Critical Appraisal Worksheet for Prognosis

22
Study citation: ……………………..………………………………………………….………………………….......
Method of study: ……………………………………………………………………………..……..………………..

I. Are the results of this single preventive or therapeutic trial valid?


Item Yes/No Note
1. Was a defined, representative sample of patients assembled
 
at a common (usually early) point in the course of their disease?
2. Was patient follow-up sufficiently long and complete?  

3. Were objective outcome criteria applied in a “blind” fashion?  


4. If subgroups with different prognoses are identified, was
there adjustment for important prognostic factors?

II. Are the valid results of this randomized trial important?


Items Note

1. How likely are the outcomes over time?


2. How precise are the prognostic estimates?

III. Can you apply this valid, important evidence about therapy in caring for your
patient?
Items Yes/No Note

1. Are the study patients similar to your own?  

2. Can I use the results in managing patients in my practice?  

Resolution of Patient Problem: ………………………………………….……………………………..……………


……………………………………………………………………………………………….………………………......

Critical Appraisal Worksheet for Harm

Study citation: ……………………..………………………………………………….………………………….......


Method of study: ……………………………………………………………………………..……..………………..

I. Are the results of this single preventive or therapeutic trial valid?


23
Item Yes/No Note
1. Were there clearly groups of patients, similar in all important
 
ways?
2. Were treatment exposures and clinical outcomes measured
 
the same ways in both groups?
3. Was the follow-up of study patients complete and long
 
enough?
4. Do the results satisfy for causation?  

II. Are the valid results of this randomized trial important?


Items Note
1. How strong is the association between exposure
and outcomes?
2. How precise are the estimates?

III. Can you apply this valid, important evidence about therapy in caring for your patient?
Items Yes/No Note
1. Is your patient so different from those in the study that its
 
results cannot apply?
2. Is your patient met by this regimen and its consequences
 
on benefit and harm?
3. Do your patient and you have a clear assessment of their
 
values and preferences?

4. Are alternative treatments available?  

Resolution of Patient Problem: ………………………………………….……………………………..……………


……………………………………………………………………………………………….………………………......

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. สายพิณ หัตถีรตั น์. บทนำเวชศาสตร์ ครอบครัว. กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์หมอชาวบ้ าน; 2545.
2. นพ.พงษ์ พิสทุ ธิ์ จงสุขอุดม และ ทัศนีย์ สุรกิจโกศล (บรรรณาธิการ). เวชปฏิบตั ิครอบครัว บริ การ
ใกล้ ใจและใกล้ บ้าน : แนวคิดและประสบการณ์ . โครงการปฏิรูประบบบริ การสาธารณสุข. 2542
3. ภาควิชาเวชศาสตร์ ครอบครัว . ประวัติและความเป็ นมาของวิชาเวชศาสตร์ ครอบครัว . คณะ
แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. เอกสารประกอบการสอน
4. Taylor R B. Family Medicine:Principles and Practice 5thed. New York : Springer, 1996.
24
5. Rakel RE. Textbook of Family Practice. 5th ed. Philadelphia : W.B. Saunders, 1995.
6. Rakel RE, Rakel DP, editors. Textbook of Family Medicine. 9th ed. Philadelphia; 2016.
7. Saultz JW. Textbook of Family Medicine. New York : McGraw-Hill. 2000.
8. Sloane PD, Slatt LM, Curtis P. Ebell MH. Essentials of Family Medicine. 3rd ed. Baltimor
: Williams and Wilkins, 1998.
9. THOMAS CORNWELL, House Calls: Providing Care Beyond the Office Walls. FPM
2021.
10. Websites :
- World Organization of Family Doctors (http://www.wonca.org/)
- Family Practice (http://fampra.oupjournals.org/)
- American Academy of Family Physicians (http://www.aafp.com/)  Family
Practice  Definitions
11. Family Medicine (http://search.yahoo.com/search?p=family+medicine)

บุคคล
1. ประธาน รองประธาน และคณะกรรมการรายวิชา
1.1 พญ.ธารทิพย์ แสงสุวรรณ์ ประธาน
1.2 พญ.รัตนาภรณ์ ชูทอง รองประธาน
2. โรงพยาบาลชุมชน
2.1 โรงพยาบาลควนเนียง โทรศัพท์ 0 7468 1718
2.2 โรงพยาบาลควนขนุน โทรศัพท์ 0 7468 2071-3
2.3 โรงพยาบาลปากพะยูน โทรศัพท์ 0 7469 9023
2.4 โรงพยาบาลพัทลุง โทรศัพท์ 0 7460 9500
2.5 โรงพยาบาลละงู โทรศัพท์ 0 7477 3563-8
2.6 โรงพยาบาลสตูล โทรศัพท์ 0 7472 3500-9
3. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
25
3.1 สำนักงานสาขาวิชาเวชศาสตร์ ครอบครัวและเวชศาสตร์ ป้องกัน
โทรศัพท์ 0 7445 1330-1 Fax 0 7445 1333
3.2 คณาจารย์สาขาวิชาเวชศาสตร์ ครอบครัวและเวชศาสตร์ ป้องกัน
พญ.ธารทิพย์ แสงสุวรรณ์ โทร 0 8997 6007 1 e-mail : be_med29@hotmail.com
พญ.รัตนาภรณ์ ชูทอง โทร 0 8430 0678 9 e-mail: rattanaporn.ch2529@gmail.com
ผศ.นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ โทร 0 8154 3012 3e-mail : Krishna.s@psu.ac.th
ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปั ญญา โทร 0 8914 5376 1 e-mail : chutaratster@gmail.com
ผศ.ดร.ฐิ ตวิ ร ชูสง โทร 0 8879 0470 8 e-mail : cthitiwo@medicine.psu.ac.th
พญ.ธนิษฐา ศิริรักษ์ โทร 0 8699 7279 2 e-mail : doctha@hotmail.com
นพ.ชนนท์ กองกมล โทร 0 8426 6676 7 e-mail : kchanon@medicine.psu.ac.th
นพ.วิศรุต ศรี สนิ ธร โทร 0 8154 1500 8 e-mail : wissri@hotmail.com
นพ.พิชญานนท์ งามเฉลียว โทร 0 8159 9225 3 e-mail : pitchayanont@hotmail.com
นพ.นฤชา โกมลสุรเดช โทร 0 9539 2495 1 e-mail : okluck@gmail.com
พญ.ธารี รัตน์ อนันต์ชยั ทรัพย์ โทร 0 8588 9859 2 e-mail : bluebridge_golf@hotmail.com
พญ.อรพรรณ ฟูมณีโชติ โทร 0 8987 8100 5 e-mail : orfp_1187@hotmail.com
นพ.ปั ญญา จำรูญเกียรติกลุ โทร 0 8189 8576 8 e-mail : to_panya@hotmail.com
นพ.ปณิธาน วัจนาคมกุล โทร 0 8965 6245 0 e-mail : panitan_w@outlook.com
ดร.นพ.ธรรมสินธ์ อิงวิยะ โทร 0 9184 7727 1 e-mail : thammasin@yahoo.com
นพ.ศุภกร ศรี แผ้ ว โทร 0 6523 7773 2 e-mail : citrus_hystrix@hotmail.com
นพ.พลเทพ วิจิตรคุณากร โทร 0 8749 4812 5 e-mail : polathep.v@psu.ac.th
พญ.สุภิญญา โสโน โทร 0 9146 1687 1 e-mail : supi.sono@gmail.com
นพ.ภูมิใจ สรเสณี โทร 0 954204713 e-mail : ezipnary@gmail.com
พญ.ภาวิตา ลิ ้มสมวงศ์ โทร 0 933269066 e-mail : tianpawiiez@gmail.com
3.3 เจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ อง โทรศัพท์ 0 7445 1330-2
คุณคณาภา พลากร เลขานุการภาควิชา e-mail : kanapa.p@psu.ac.th
คุณทัษนีย์ พิณสุวรรณ ประสานงานด้ านการเรี ยนการสอน e-mail : pinsuwan_t@hotmail.com
คุณรัดเกล้ า แย้ มหนู ประสานงานด้ านการเงิน e-mail : pradglaw@gmail.com
คุณกมลวรรณ ทองศรี ประสานงานจัดรถบริการ รับ-ส่ง e-mail : tkamanwa@medicine.psu.ac.rh
4. รายชื่อแพทย์ พ่ เี ลีย้ งและผู้ประสานงาน
โรงพยาบาลควนเนียง
1. นพ.คณาวุฒิ  นิธิกลุ         แพทย์พี่เลี ้ยง  โทร.090 269935
2. คุณปั ณฑิตา  วรรณโชติ   ผู้ประสานงาน  โทร.086 4917473
โรงพยาบาลพัทลุง
1. นพ.ธีรยุทธ  คงทองสังข์  แพทย์พี่เลี ้ยง  โทร.089 6674262
2. นพ.นรากร  พูลเกื ้อ  แพทย์พี่เลี ้ยง 
โรงพยาบาลควนขนุน
1. นพ.เชษฐพงศ์  สัจจาผล  แพทย์พี่เลี ้ยง  โทร.081 7471656
26
2. คุณศราลักษณ์  ศรี บญ ุ ลือ  ผู้ประสานงาน  โทร.090 4811468
โรงพยาบาลปากพะยูน
1. นพ.พิพฒ
ั น์  พิพฒ ั น์รัตนเสรี   ผอ./แพทย์พี่เลี ้ยง 
2. คุณละออง  ทองสีออ่ น  ผู้ประสานงาน  โทร.089 8762573
โรงพยาบาลละงู
1. นพ.ปวิตร  วณิชชานนท์ ผอ.
2.  นพ.อดิศกั ดิ์   แพทย์พี่เลี ้ยง โทร 090 7154705
3. คุณเมษยา  ผู้ประสานงาน  โทร 085 3554776
โรงพยาบาลสตูล
1. นพ.วิชญะ  เด่นปรี ชาวงศ์  แพทย์พี่เลี ้ยง โทร 084 9967615
2. คุณสมประสงค์ นิ่มนวล  ผู้ประสานงาน  โทร 085 1185897

27
การวัดและประเมินผล

รายวิชา 388-641 เวชศาสตร์ ปฏิบัติครอบครั วและชุมชน


จำนวนหน่ วยกิต 2 (0-12-0)

ผู้ประเมิน
(1) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และแพทย์พ่เี ลียง ้ ซึง่ แต่งตังเป็
้ นอาจารย์พเิ ศษ
ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ประเมินตามเกณฑ์ ท่คี ณะกำหนด 4 หมวด คือ
หมวดที่ 1 หมวดความรู้ คะแนนเต็มร้ อยละ 35
หมวดที่ 2 หมวดทักษะและการแก้ ปัญหา คะแนนเต็มร้ อยละ 35
หมวดที่ 3 หมวด Professional คะแนนเต็มร้ อยละ 30
หมวดที่ 4 ผลการประเมินสมรรถนะทางคลินิกภาพรวม คะแนนเต็มร้ อยละ 7
ขัน้ ตอนการประเมิน
- การสังเกตขณะฝึ กปฏิบตั งิ านและอภิปรายกับผู้อำนวยการหรือแพทย์พเ่ี ลียง้
- พิจารณาจาก log book ที่นกั ศึกษาแพทย์เขียน
(2) สาขาวิชาเวชศาสตร์ ครอบครั วและเวชศาสตร์ ป้องกัน
ขัน้ ตอนการประเมิน
- พิจารณาจากแบบประเมินของแพทย์พี่เลี ้ยงโรงพยาบาลชุมชน
- แบบประเมินการปฏิบัติงานนักศึกษาแพทย์ชนปี ั ้ ที่ 6 (รายบุคคล)
- การนำเสนอ Journal Appraisal, Case scenario, งานคุณภาพโรงพยาบาล
- จากความสมบูรณ์ของ lob book ที่นกั ศึกษาเขียนส่งในระบบ lms2
- แบบประเมิน Journal Appraisal รายกลุม่
เกณฑ์ ผ่านประเมิน นักศึกษาต้ องได้ คะแนนผ่านเกณฑ์ทกุ หมวด

แบบประเมินการปฏิบัตงิ านนักศึกษาแพทย์ ชัน้ ปี ที่ 6 (ราย


บุคคล)

28
29
30
รู ป
แบบประเมินผลนักศึกษาแพทย์ ภาคเวชปฏิบัติ นักศึกษา

ชื่อ........................................ปฏิบตั ิงานที่แผนก/ภาควิชา...........................................โรง
พยาบาล………………………ปฏิบตั งิ านวันที่..........................ถึงวันที่............................เวลาปฏิบตั งิ าน
จริง ( ) ครบ ( ) ป่ วย...........วัน ( ) ลา...........วัน ( ) ขาด.............วัน

หมวดการประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์ผ่าน คะแนนที่ได้


1. หมวดความรู้ 35 20
2. หมวดทักษะและการแก้ ปัญหา 35 20
3. หมวด Professionalism 30 17
4. Overall competency 7 4

การประเมินผล มี 4 หมวด คือ


หมวดที่ 1 หมวดความรู้ คะแนนเต็มร้ อยละ 35 ประกอบด้ วย
ข้ อ 1. Medical knowledge (20%)
ข้ อ 4. Medical care (15%)
หมวดที่ 2 หมวดทักษะทางคลินิกและการแก้ ปัญหา คะแนนเต็มร้ อยละ 35 ประกอบด้ วย
ข้ อ 2. Clinical skill (20%)
ข้ อ 3. Clinical judgment (15%)
หมวดที่ 3 หมวด Professionalism คะแนนเต็มร้ อยละ 30 ประกอบด้ วย
ข้ อ 5. Humanistic attributes (10%)
ข้ อ 6. Attitude and professional bearing (20%)
หมวดที่ 4 ข้ อ 7. Overall clinical competency
เกณฑ์ การตัดสิน นักศึกษาต้ องได้ คะแนนผ่ านเกณฑ์ ทุกหมวด (ร้ อยละ 57)

ลงนามผู้ประเมิน.................................................
(.......................................................)
หัวหน้ ากลุม่ งาน/หัวหน้ าสาขาวิชา

แบบประเมินผลนักศึกษาภาคเวชปฏิบัติ
1. ความรู้ทางการแพทย์ (Medical knowledge) มีความรู้พื ้นฐานทางการแพทย์ , รู้จดุ บกพร่อง และมีความกระตือรื อร้ นในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติม
1.1 Medical knowledge มีความรู้น้อยมาก ไม่คอ่ ยมีความรู้ บางโอกาสขาดความรู้ น้อยครังขาดความรู้
้ ตามทีห่ วัง ดีมาก มีความรู้สงู กว่าระดับที่
น้ำหนักคะแนนร้อยละ 10 ตามทีห่ วัง 5 6 เรียน
1 2 3 4 7
1.2 Scholarly attitude ไม่สนใจแสวงหาความรู้ แก้ไขจุดบกพร่องบางโอกาส เป็ นทีพ่ อใจ ดี และพยายามในการ ดีมากถ่ายทอดความรู้ให้ผอู้ น่ ื
2 3 ปรับปรุงดีขนึ ้ 7
31
น้ำหนักคะแนนร้อยละ 10 1 4 5 6
2. ทักษะทางคลินกิ (Clinical Skil ) ซักประวัตแิ ละตรวจร่างกายได้ครบถ้วน ถูกต้อง น่าเชือ่ ถือ มีความสามารถในการทำหัตถการ โดยคำนึงถึงความเสีย่ ง
2.1 History ขาดข้อมูลทีส่ ำคัญ มีข้อมูลสำคัญบางส่วน ข้อมูลสำคัญส่วนใหญ่มคี รบ มีข้อมูลประเด็นทีย่ ากเพิม่ เติม มีข้อมูลประเด็นทีย่ ากอย่าง
บ้าง สม่ำเสมอ
น้ำหนักคะแนนร้อยละ 5 1 2 3 4 5 6 7
2.2 Physical examination ไม่ครบถ้วน ขาดทักษะพืน้ ไม่คอ่ ยดีนกั มีข้อผิดพลาด ครบถ้วน มีข้อผิดพลาดเพียง ครอบคลุม และได้ข้อมูลที่ คล่องแคล่ว ถูกต้อง ได้ข้อมูล
ฐาน ทีส่ ำคัญ เล็กน้อย สำคัญ สำคัญรวมทังข้้ อมูลส่วนทีย่ าก
น้ำหนักคะแนนร้อยละ 5 7
1 2 3 4 5 6
2.3 Procedural skil s พบข้อผิดพลาดบ่อย ไม่คำนึง คุณภาพไม่ดเี ท่าทีค่ วร มีข้อผิดพลาดเล็กน้อย มีความชำนาญและมีข้อผิด เป็ นแบบอย่างได้ และคำนึงถึง
ถึงความเสีย่ ง และความเดือด เนือ่ งจากขาดประสบการณ์ พลาดน้อยมาก ความเสีย่ งและความเดือด
ร้อนของผู้ป่วย ร้อนของผู้ป่วย
น้ำหนักคะแนนร้อยละ 10 1 2 3 4 5 6 7
3. การตัดสินใจทางคลินิก (Clinical Judgment) รวบรวมข้ อมูลจากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และผลการตรวจวินิจฉัย รู้ศกั ยภาพของตนเอง นำเสนอ
รายงานและเขียนรายงานได้ กระชับ ถูกต้ อง และสังเคราะห์ข้อมูลได้ อย่างเหมาะสม
3.1 Problem list ไม่สามารถจับประเด็นได้ จับประเด็นที่สำคัญได้ จับประเด็นที่สำคัญได้ ครบ จับประเด็นสำคัญครบ ครอบคลุมทุกประเด็น
Differential Dx ไม่ครบ และประเด็นรองได้
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 3 1 2 3 4 5 6 7
3.2 Diagnostic studies; บ่อยครัง้ ที่ไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่เหมาะสม เหมาะสมเสมอ
appropriateness
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 3 1 2 3 4 5 6 7
3.3 Diagnostic studies, ไม่สามารถแปลผลได้ แปลผลได้ น้อยกว่าที่คาด แปลผลได้ ตามคาดหวัง แปลผลได้ เกินควาดหวัง
interpretation หวัง
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 3 1 2 3 4 5 6 7
3.4 Synthesis of clinical data สับสน คุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร พอใช้ ดี เป็ นขันตอน
้ สมบูรณ์มแี นวคิด
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 3 1 2 3 4 5 6 7
3.5 Case presentations สับสน ไม่เป็ นขันตอน
้ สับสนและเป็ นขันตอนบ้้ าง พอใช้ ดี มีขนตอนและถู
ั้ กต้ อง ดีมาก กระชับเป็ นหตุเป็ น
ไม่ชดั เจน มีข้อผิดพลาดมาก และยังมีข้อผิดพลาด ผลและมีแนวคิด
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 3 1 2 3 4 5 6 7
4. การดูแลรักษา (Medical Care) แสดงความรู้และหรื อให้ การดูแลรักษาอย่างเหมาะสม รู้ปัญหาของการส่งตรวจและวิธีการรักษาต่างๆ หลีกเลี่ยง
ภาวะแทรกซ้ อนที่อาจเกิดขึ ้นจากการดูแลรักษา และให้ การเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างใกล้ ชิด
Medical care ไม่ดี ทำผิดพลาดเห็นได้ ชดั พอใช้คณ ุ ภาพไม่สม่ำเสมอ พอใช้ ทำผิดพลาดเพราะ ดี ทำผิดพลาดน้ อย ดีมาก
ขาดประสบการณ์
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 15 1 2 3 4 5 6 7
5. คุณลักษณะการเป็ นแพทย์ (Humanistic attributes) มีเมตตา กรุณา เอื ้อเฟื อ้ สุภาพ ให้ เกียรติสามารถสื่อสารกับผู้ป่วย ญาติได้อย่างดี
Humanistic attributes ไม่ดี ปานกลาง ดี ดีมาก
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 10 1 2 3 4 5 6 7
6. เจตคติและพฤตินิสยั ในการประกอบวิชาชีพ (Attitudes and Professional bearing) ให้ เกียรติผ้ รู ่วมงาน สื่อสารและให้ ความร่วมมือกับผู้ร่วมงานเป็ นอย่างดี
6.1 Attitude ก้ าวร้ าว สร้ างความขัดแย้ ง ยอมรับได้ แต่อาจมี ปานกลาง ดี เป็ นที่ยอมรับโดยคน ดีมาก
ปั ญหาข้ อขัดแย้ ง ส่วนใหญ่
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 10 1 2 3 4 5 6 7
6.2 Professional bearing ไม่ดีอย่างยิง เห็นแก่ตวั ไม่มากไม่น้อย ไม่สนใจ ปานกลางทำงานเป็ นทีม ดีเกินคาด ช่วยเหลือ ดีมาก ทำมากว่าที่เป็ น
นักช่วยเหลือเมื่อจำเป็ น อาสาสมัคร หน้ าที่ เป็ นคนริ เริ่ ม
น้ำหนักคะแนนร้ อยละ 10 1 2 3 4 5 6 7
7. สมรรถนะทางคลินิกในภาพรวม (Overall Clinical Competence)
Overall clinical ไม่เป็ นทีพ่อใจ เกือบปานกลาง ปานกลาง ดี ดีมาก
competency 1 2 3 4 5 6 7
นำหนักคะแนนร้ อยละ 100
ความคิดเห็นเพิ่มเติมกรณีข้อ 7 ได้ คะแนนต่ำกว่า …………………………………………………………………………………………………………ข้ อเสนอแนะสำหรับ
จุดที่นกั ศึกษาต้ องพัฒนา………………………………………..………………..…………………………………………………………………………………..……..
จุดเด่น……………………………………………………………..………………..…………………………………………………………………………………..……
อื่นๆ ………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….…

32

You might also like