You are on page 1of 50

การทบทวนงานวิจัย

เกี่ยวกับนวัตกรรม
การบริการและ
การท่องเที่ยว
อย่างเป็นระบบ
Presented by Sakchai
หัวข้อในการนำเสนอ

ง า น วิจั ย
น วัต ก ร ร ม น วัต ก ร ร ม ใ น วิธี ก า ร วิจั ย
ก า ร บ ริ ก า ร แ ล ะ
บ ท นำ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ ท ส รุ ป
บทนำ
บทนำ

“เศรษฐกิจสมัยใหม่และการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใน
ยุคปัจจุบันได้ส่งผลให้ภาคบริการได้รับความนิยมและ
เกิดการจ้างงานมากยิ่งขึ้น”

เมื่อการจ้างงานมากยิ่งขึ้น มักตามมาด้วย
บทนำ

“เศรษฐกิจสมัยใหม่และการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใน
ยุคปัจจุบันได้ส่งผลให้ภาคบริการได้รับความนิยมและ
เกิดการจ้างงานมากยิ่งขึ้น”

เมื่อการจ้างงานมากยิ่งขึ้น มักตามมาด้วย

“การแข่งขัน”
เสมอ
V A T I O N ”
“ I NNO
ปัญหาที่เกิดขึ้น
นักวิจัยส่วนใหญ่มุ่งเน้นในการศึกษา
นวัตกรรมการผลิต แต่มีเพียงงานวิจัย
ของ CARLBORG และคณะที่มุ่งเน้น
งานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมยัง
ในการวิจัยนวัตกรรมในอุตสาหกรรม ขาดซึ่งความเชื่อมโยงของข้อมูล
การให้บริการ

“จึงส่งผลให้งานวิจัย “อันเนื่องมาจากการศึกษา
นวัตกรรมการท่องเที่ยว งานวิจัยอย่างไม่เป็นระบบ”
และบริการนั้นมีจำนวนไม่
เพียงพอต่อการศึกษา”
จุดมุ่งหมายของงานวิจัย
01

เพื่อนำเสนอสถานะของบทความ 03
เชิงวิชาการในสาขานวัตกรรมการ
บริการและการท่องเที่ยวในปัจจุบัน

“แสดงให้เห็นถึงพื้นฐานของทฤษฎี
(theoretical foundation) ผ่าน
02 กระบวนการวิเคราะห์บรรณมิติ
(bibliometric analysis)”
มุ่งเน้นที่การศึกษาอย่างเป็นระบบ
เพื่อสร้างความเชื่อมโยงของข้อมูล
ทางด้านนวัตกรรมสร้างความน่าเชื่อ
ถือให้กับข้อมูลด้วยกระบวนการทาง
ด้านวิทยาศาสตร์
งานวิจัยนวัตกรรม
“นวัตกรรม
คือ การดำเนินการเพื่อให้เกิดสิ่ง
ใหม่ หรือ การพัฒนาสิ่งที่มีอยู่
เดิมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น”
นวัตกรรมใน
อุตสาหกรรมการผลิต

นวัตกรรม นวัตกรรม
ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ

นวัตกรรม นวัตกรรม
การตลาด องค์กร
“อย่างไรก็ตาม แนวคิดของ
นวัตกรรมยังมีความซับซ้อน
เนื่องจาก นักวิจัยในแต่ละสาขามี
ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมที่
แตกต่างกัน และความสำคัญของ
นวัตกรรมนั้นขึ้นอยู่กับผู้ใช้”
นวัตกรรมการบริการ
มีลักษณะเฉพาะ 4 ประการ คือ

ไม่สามารถแยกออก
ไม่สามารถจับต้องได้
จากกันได้

เกิดการโต้ตอบขึ้น ณ มีความหลากหลายใน
ช่วงเวลานั้น การบริการ
“อย่างไรก็ตาม นวัตกรรมการ
บริการสามารถลอกเลียนแบบได้
ง่าย และมีความซับซ้อนในการวัดค่า
ของนวัตกรรม จึงกล่าวได้ว่า
นวัตกรรมการบริการมุ่งเน้นที่ความ
สำคัญของทักษะพนักงาน และการ
สร้างสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า”
นวัตกรรมในการบริการ
และการท่องเที่ยว
ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ ช่วยให้ซัพพลายเออร์
ทางการท่องเที่ยวมี มีบทบาทสำคัญมากขึ้น
มูลค่ามากยิ่งขึ้น

ความสำคัญ
ของนวัตกรรม
ช่วยให้ผู้ประกอบการแหล่ง
ท่องเที่ยวสร้างประสบการณ์
สร้างเอกลักษณ์
ที่มีต่อ ที่แตกต่างให้กับนักท่อง
เที่ยวที่คาดว่าจะมา

การบริการและ
การท่องเที่ยว
เป็นปัจจัยสำคัญใน
การสร้างความสำเร็จ เพื่อสร้างความได้เปรียบ
ทางการแข่งขัน
ในการประกอบธุรกิจ
แนวคิดของ Hjalager (2010)
ได้แสดงให้เห็นถึงแนวคิด 5 ประเภทของนวัตกรรมการท่องเที่ยวที่ได้รับ
การยอมรับ มากที่สุด ประกอบไปด้วย

นวัตกรรม
นวัตกรรม การบริหาร
นวัตกรรม นวัตกรรม
ผลิตภัณฑ์ หรือ จัดการ นวัตกรรมสถาบัน
กระบวนการ การตลาด
การบริการ (การเพิ่ม (การทำงาน
(การลงทุนกับ (แนวคิดการ
(การบริการในรูป ศักยภาพและ ร่วมกันในรูปแบบ
เทคโนโลยี) สร้างตลาดใหม่)
แบบใหม่ ๆ ) ผลตอบแทน ใหม่)
ให้กับพนักงาน)

อย่างไรก็ตาม นวัตกรรมทั้ง 5 ประเภทมีความสัมพันธ์ที่ใกล้เคียงกัน


จึงทำให้ยากต่อการแยกแยะความต่างของนวัตกรรม ทั้ง 5 ประเภทนี้
วิธีการวิจัย
(METHODOLOGY)
วิธีการวิจัย (Methodology)
ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่

การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล


(Data collection) (Analysis) (Deduction)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
(Data collection)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection)
ได้ดำเนินการค้นหาโดยใช้คำสำคัญ (Keyword)
ในฐานข้อมูลที่ได้ทำการคัดเลือกไว้แล้ว โดย
เฉพาะฐานข้อมูล Web of Knowledge ซึ่ง
พิจารณาเฉพาะบทความที่เป็นที่ประจักษ์และได้
รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเท่านั้น
การสืบค้น ที่ได้ผลลัพธ์มากที่สุด คือ การสืบค้น
โดยใช้คำสำคัญ “นวัตกรรม” และ “การท่อง
เที่ยว” ในช่องหัวเรื่องผลที่ปรากฏคือ
บทความ

จำนวน 315 บทความ


ดำเนินการวิเคราะห์จำนวนของบทความต่อวารสาร และต่อปี จากการวิเคราะห์นี้เผยให้เห็นถึงการเติบโตของการศึกษา
บทความเชิงวิชาการเกี่ยวกับนวัตกรรมการท่องเที่ยว ตั้งแต่ปี 2535 จนถึง วันที่ 19 กันยายน 2557 ซึ่งปี 2555
เป็นปีที่ได้รับการตีพิมพ์มากที่สุด และในช่วง 5 ปีก่อนการสืบค้น มีการตีพิมพ์มากกว่า 75% ของบทความทั้งหมด
ที่ได้ทำการสืบค้นในครั้งนี้
การวิเคราะห์ข้อมูล
(Analysis)
พื้นที่ของการศึกษา
จากการทบทวนบทคัดย่อของบทความทั้ง 315
บทความ และดำเนินการตามกระบวนการที่กำหนด ระเบียบวิธีการที่ใช้
ไว้ ทำให้ทราบว่า
แหล่งที่มาของข้อมูล
มีเพียง 152 บทความ
ที่สามารถนำมาใช้ในงานศึกษานี้ต่อไปได้ จากนั้น นำ ระดับของการวิเคราะห์
บทความที่ผ่านการคัดเลือกจำนวน 152 บทความ
มาจัดระเบียบข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ประเภทของนวัตกรรม
โดยเฉพาะโปรแกรม Microsoft Excel ซึ่งในข้อมูล
ที่สำคัญที่ได้ทำการจัดหมวดหมู่ ประกอบไปด้วย
พื้นที่ของการศึกษา
ส่วนใหญ่ของการศึกษาจะมุ่งเน้นไปที่พื้นที่แหล่งท่องเที่ยวในทวีปยุโรป โดยมีมากถึง 75 บทความ
หรือ 50.44% ซึ่งประเทศสเปนเป็นประเทศที่มีการศึกษามากที่สุด
ไม่เชื่อมโยง
14

มากกว่า 1 ประเทศ
18

ออสเตรเลีย
5 ยุโรป
แอฟริกา 75
6

อเมริกาและแคริบเบียน
12

เอเชีย
22
ระเบียบวิธีการ
ศึกษาบทความวิจัยหรือ บทความทางวิชาการ จำนวน 152 บทความ โดยส่วนมากเป็นการศึกษาด้วย
ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ คิดเป็น 45.39% ของงานวิจัยทั้งหมด
แบบผสานวิธี
12
เอกสารวิชาการ
15

วิจัยเชิงปริมาณ
69

วิจัยเชิงคุณภาพ
56
แหล่งที่มาของข้อมูล
มีการจัดหมวดหมู่ตามการนำเสนอมุมมองของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทางด้านการท่องเที่ยวทั้งหมด
ผ่านการทำแบบสอบถาม โดยการตอบแบบสอบถามของฝั่ งอุปทานเป็นแหล่งที่มาของข้อมูลที่มากที่สุด
คิดเป็น 59.21% จากทั้งหมด นักท่องเที่ยวและซัพพลายเออร์
3 นักท่องเที่ยว ซัพพลายเออร์ คนในพื้นที่ 3

นักวิจัย
46

อุปสงค์
อุปทาน
7
90

คนในพื้นที่ 3
ระดับของการวิเคราะห์
บทความถูกแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบไปด้วย ระดับจุลภาค ระดับมหภาค และระดับทั่วไป
ซึ่งบทความโดยส่วนมากจะมุ่งเน้นในการศึกษาในระดับจุลภาค คิดเป็น 69.08% จากบทความทั้งหมด
ซึ่งธุรกิจโรงแรมเป็นธุรกิจที่ได้รับการศึกษามากที่สุด
ทั่วไป
10

มหภาค
37

จุลภาค
105
ประเภทของนวัตกรรม
บทความทั้งหมดได้มีการกล่าวถึงความหลากหลายของนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการแยกตามประเภทนวัตกรรมการท่องเที่ยวของ
Hjalager (2010) ประกอบไปด้วย นวัตกรรมกระบวนการ (26.97%) นวัตกรรมทั่วไป (18.42%) นวัตกรรมสถาบัน (12.39%) นวัตกรรม
ผลิตภัณฑ์และการบริการ (10.53%) และนวัตกรรมแบบผสมผสาน (10.53%) นอกเหนือจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงหัวข้อของนวัตกรรมอื่น
ๆ ประกอบไปด้วย การถ่ายทอดความรู้ทางด้านนวัตกรรม นวัตกรรมสิ่งแวดล้อม ลักษณะเฉพาะของผู้ประกอบการ และนวัตกรรมสีเขียว

นวัตกรรมกระบวนการ
อื่น ๆ
41
37

นวัตกรรมแบบผสมผสาน
16

นวัตกรรมทั่วไป
28
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์
16
การวิเคราะห์บรรณมิติ
(Bibliometric analysis)
การวิเคราะห์บรรณมิติ คือ การดำเนินการวิเคราะห์
เพื่อแสดงให้เห็นถึงงานศึกษาก่อนหน้าที่มีอิทธิพล
ในสาขานวัตกรรมการท่องเที่ยวผ่านการตรวจสอบ
รูปแบบการอ้างอิงร่วม (Co-citation) ซึ่งการ
อ้างอิงร่วมจะวัดความเหมือนระหว่างบทความโดย
อิงจากการอ้างอิงในงานวิจัยอื่น ๆ ซึ่งความเชื่อม
โยงของการอ้างอิงร่วม (Co-citation matrix)
เกิดขึ้นจากการนำงานวิจัยไปอ้างอิงมากกว่า 5 ครั้ง
ในวรรณกรรมของนวัตกรรมการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์บรรณมิติ
(Bibliometric analysis)
จากการวิเคราะห์บรรณมิติ ทำให้ทราบถึงพื้ นฐานทางด้านทฤษฎีและลักษณะของสาขาวิชาที่สำคัญ
จากบทความทั้งหมด 152 บทความสามารถจำแนกการอ้างอิงร่วมออกเป็น 9 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 5


กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 9
การศึกษา การศึกษา นวัตกรรม
ความรู้ เทคโนโลยี
พื้นฐาน องค์กร ในการบริการ

กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 8
ทฤษฎีฐาน
กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 6 การจัดการ
ทรัพยากรและ ระบบ
เครือข่าย นวัตกรรม
ประโยชน์ของ นวัตกรรม
การแข่งขัน องค์กร
กลุ่มที่ 1 การศึกษาพื้นฐาน
จากการพิจารณาการศึกษาในกลุ่มนี้แสดงให้เห็นว่า งานวิจัยของ Hall and Williams (2008)
และHjalager (2010) คือบทความที่มีอิทธิพลมากที่สุดในสาขานวัตกรรมการท่องเที่ยว มากไปกว่านั้น งานวิจัย
ของ Weidenfeld และคณะ (2010) ยังได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย
กลุ่มที่ 2 ทฤษฎีฐานทรัพยากร (Resource-Base View)
และประโยชน์ของการแข่งขัน
จากการพิจารณาการศึกษาในกลุ่มนี้ กล่าวถึง ความเชื่อมโยงของนวัตกรรมโดยอิงตามฐานทรัพยากรของ
องค์กร และประโยชน์ของการแข่งขัน โดยงานวิจัยชิ้นสำคัญ ได้แก่ งานวิจัยของ Barney (1991) Hjalager
(2002) และ Narver and Slater’s (1990)
กลุ่มที่ 3 การศึกษาองค์กร
จากการพิจารณาการศึกษา พบว่า กลุ่มนี้มุ่งเน้นที่การศึกษานวัตกรรมภายในองค์กร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจโรงแรม
กลุ่มที่ 4 เครือข่าย
จากการพิจารณาการศึกษา พบว่า กลุ่มนี้มุ่งเน้นที่ความสำคัญของเครือข่าย และ
พันธมิตร ที่มีต่อการสร้างโอกาสทางด้านนวัตกรรมให้กับบริษัทท่องเที่ยวให้สามารถประสบ
ความสำเร็จทางด้านการแข่งขัน
กลุ่มที่ 5 นวัตกรรมในการบริการ
จากการพิจารณาการศึกษา พบว่า กลุ่มนี้มุ่งเน้นไปที่ประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่มีต่ออุตสาหกรรมการ
บริการ และได้มีการศึกษางานวิจัยเก่า ๆ เพิ่มเติม 4 เรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ของความซับซ้อนขององค์กรและนวัตกรรม ความซับซ้อนของภาคการบริการ และ
การกำหนดเครือข่าย (Chain) เปรียบเสมือนกับของสะสมของบริษัทการให้บริการ
กลุ่มที่ 6 ระบบนวัตกรรม
จากการพิจารณาการศึกษา พบว่า กลุ่มนี้ศึกษาเกี่ยวกับระบบของนวัตกรรมการท่องเที่ยว โดยมุ่งเน้นที่
ความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวกับสวัสดิการ การขับเคลื่อนสู่เศรษฐกิจฐานความรู้เพื่อสร้างความได้
เปรียบทางการแข่งขัน และนำเสนอวิธีการดำเนินชีวิตของผู้ประกอบการที่ริเริ่มการสร้างสรรค์นวัตกรรม
กลุ่มที่ 7 ความรู้

กลุ่มนี้มุ่งเน้นที่งานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ การถ่ายทอดความรู้ ความสามารถใน


การดูดซับความรู้ และบทบาทของเครือข่ายในการอำนวยความสะดวกให้เกิดการถ่ายทอด
ความรู้และสร้างการเรียนรู้
กลุ่มที่ 8 การจัดการนวัตกรรมองค์กร

กลุ่มนี้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมขององค์กรในบริหารจัดการ การพัฒนา และการนำ


นวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ อีกทั้งยังศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมองค์กรอีกด้วย
กลุ่มที่ 9 เทคโนโลยี
กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งมีการศึกษาบทความที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีในด้านนวัตกรรมการ
ท่องเที่ยว รวมไปถึงผลงานที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่นวัตกรรม ความสามารถทางการแข่งขัน และ
วรรณกรรมพื้นฐานของนวัตกรรม
การอภิปรายผล (Deduction)

กรอบแนวคิดนี้ทำหน้าที่เป็นพื้นฐานสำหรับ
การนำเสนอและอภิปรายข้อค้นพบ
ส่วนที่ตามมาของบทความยังแสดงให้เห็นถึง
ความกระจัดกระจายของงานวิจัยทางด้าน
นวัตกรรมและความไม่เชื่อมโยงของงานวิจัย และ
จากผลที่ตามมานี้ จึงเป็นที่มาของการศึกษางาน
วิจัยชิ้นนี้
กลุ่มที่ 1
การวิเคราะห์บทความที่กล่าวถึง
ความสำคัญของนวัตกรรมที่มีต่อ
บริษัท

การอภิปรายผล (Deduction)
ขั้นตอนสุดท้ายของการวิเคราะห์ข้อมูล คือ
กลุ่มที่ 2
การนำเสนอข้อมูลโดยละเอียดที่ได้มาจากการ บทความเกี่ยวกับนวัตกรรม
ศึกษาบทความจำนวน 152 บทความ โดยจาก ในระดับภูมิภาค

การศึกษานี้ทำให้สามารถจำแนกบทความได้เป็น
3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 3
บทความที่มุ่งเน้นที่
นวัตกรรมทั่วไป
ระดับบริษัท (Firm level)
งานศึกษาในระดับบริษัท ได้นำเสนอข้อมูลสำคัญ ดังนี้
การทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายเพื่อให้เกิดการแบ่งปันทางด้านความรู้ทั้งภายในองค์กร
และภายนอกองค์กร
การนำเทคโนโลยี และ ICT มาใช้ในกิจกรรมทางธุรกิจ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้กับ
ผลิตภัณฑ์และพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขัน
การใช้งานระบบอินเทอร์เน็ตยังมีความสำคัญต่อการดำเนินงานระหว่างประเทศ
ทรัพยากรมนุษย์และนวัตกรรมในการปฏิบัติทางด้านสิ่งแวดล้อม จึงเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับ
ธุรกิจโรงแรม
บริษัทขนาดเล็กเลือกที่จะคัดลอกแนวคิดทางด้านนวัตกรรมที่มีอยู่แล้วมากกว่าการลงทุน
สร้างงานวิจัย หรือนวัตกรรมใหม่
ระดับมหภาค (Macro level)
งานศึกษาในระดับมหภาคจะมุ่งเน้นที่งานศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมในระดับภูมิภาค ส่วนมาก
กล่าวถึงนวัตกรรมในแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งได้นำเสนอข้อมูลสำคัญ ดังนี้
ความต้องการของนักท่องเที่ยวและการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ICT
มีอิทธิพลต่อการสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ ๆ
ความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ หรือเครือข่าย มีความสำคัญต่อการเพิ่มขีด
ความสามารถทางการแข่งขันและสร้างความสำเร็จให้กับแหล่งท่องเที่ยว อีกทั้ง ยังมีบทบาท
สำคัญต่อการพัฒนากิจกรรมทางด้านนวัตกรรม
นโยบายและสถาบันของรัฐบาลยังได้รับการยอมรับว่าเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในการ
กำหนดการพัฒนาที่ยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวที่อาศัยธรรมชาติเป็นฐานอีกด้วย
ระดับทั่วไป (General level)
งานศึกษาในระดับทั่วไปของนวัตกรรมการท่องเที่ยว แสดงให้เห็นถึงการนำเสนอแนวคิดของนัก
วิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมและผลกระทบของนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการท่องเที่ยวในประเด็นที่
แตกต่างกัน ดังนี้
Hjalager นำเสนอถึงข้อมูลเกี่ยวกับนวัตกรรมการท่องเที่ยวไว้ดังนี้
นักท่องเที่ยว คนในท้องถิ่น และหน่วยงานท้องถิ่นมีอิทธิพลต่อนวัตกรรม
ให้นิยามการแยกแยะความแตกต่างระหว่างนวัตกรรมการท่องเที่ยวประเภทต่าง ๆ
นำเสนอเกี่ยวกับนโยบายนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพสำหรับการท่องเที่ยวและภาคส่วนอื่น ๆ
การพิจารณางานเทศกาล เสมือนกับปรากฏการณ์การของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ
การใช้แนวทางระบบนวัตกรรมเพื่อนำเสนอพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของผู้จัดงานเทศกาล
นำเสนอความสัมพันธ์ของนวัตกรรมด้านการแพทย์กับเศรษฐศาสตร์การท่องเที่ยว
ระดับทั่วไป (General level)
งานศึกษาในระดับทั่วไปของนวัตกรรมการท่องเที่ยว แสดงให้เห็นถึงการนำเสนอแนวคิดของนัก
วิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรมและผลกระทบของนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการท่องเที่ยวในประเด็นที่
แตกต่างกัน ดังนี้
Fasani และคณะ ได้รับการพิจารณาว่าเป็นแนวทางใหม่ในการปกป้องมรดกทางธรรมชาติ
และทางธรณีวิทยา ซึ่งอาจนำไปสู่ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการสร้างงาน
Weidenfeld ได้มุ่งเน้นไปที่วิธีการถ่ายทอดความรู้และนวัตกรรมในภูมิภาคข้ามพรมแดน
Denicolai และคณะ มุ่งเน้นที่ความสำคัญของความสามารถในการปรับตัวของผู้จัดการ
แหล่งท่องเที่ยวและความสามารถหลักของการท่องเที่ยวในการส่งเสริมนวัตกรรม
งานวิจัยของ Badawy ได้กล่าวถึง ความสำคัญของการจัดการทางด้านเทคโนโลยีและโซ
เชียลมีเดียผ่านการวิเคราะห์แนวคิด Service constellation
งานวิจัยของ Van Riel และคณะ มุ่งเน้นไปที่ความสำคัญของการใช้กลยุทธ์ทางด้าน
นวัตกรรมในการประสานงานระหว่างพันธมิตรเมื่อดำเนินงานต่าง ๆ
บทสรุป
(CONCLUSION)
ข้อจำกัดของการศึกษา
1. ฐานข้อมูลที่นำมาใช้อาจไม่ได้รวบรวมงานวิจัยทั้งหมด
2. บางบทความที่มีความเกี่ยวข้องกับนวัตกรรมอาจถูกละเลยโดยไม่ได้
3. การศึกษาในครั้งนี้ไม่ได้มีส่วนช่วยในการพัฒนาทฤษฎีหรือแบบจำลอง
เพื่อใช้ในงานวิจัยชิ้นถัดไป
บทสรุปทางด้านทฤษฎี
1. การนำเสนอการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบด้วยวิธีการวิจัยที่มีความหลากหลาย
และนำเสนอภาพรวมของนวัตกรรมการท่องเที่ยวที่สามารถเสริมสร้างความรู้ทางด้าน
นวัตกรรมให้กับธุรกิจท่องเที่ยว
2. แสดงให้เห็นถึงการเผชิญหน้าของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการกับความ
ท้าทายทางด้านนวัตกรรมอันเนื่องมาจากลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
และการบริการ
3. แสดงให้เห็นถึงความจำเป็นในการพัฒนาคำจำกัดความและมาตรการที่ชัดเจนสำหรับ
นวัตกรรมในภาคนี้
บทสรุปทางด้านการปฏิบัติ
1. นวัตกรรมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการส่งผลกระทบเชิงบวกต่อ
ประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กร
2. บริษัทด้านการบริการและการท่องเที่ยวต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของโลก
และนักท่องเที่ยวอยู่เสมอเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
3. ผู้กำหนดนโยบายควรสนับสนุนและปรับปรุงนโยบายอย่างจริงจัง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรม
เชิงนวัตกรรมของบริษัทและแหล่งท่องเที่ยว
4. ส่งเสริมการแบ่งปันความรู้ ฝึกอบรมพนักงานให้มีความสามารถที่หลากหลาย และ
การให้ความสำคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
ข้อเสนอแนะ
ในงานวิจัยชิ้นถัดไป

1. ควรพัฒนาและทดสอบ 2. ควรศึกษาเพิ่มเติมโดยตั้ง
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทฤษฎี โดยการ
ปัจจัยเชิงประจักษ์ของ
เสนอแนวความคิดทางด้านทฤษฎี และ
การเชื่อมโยงระหว่าง โมเดลทางด้านทฤษฎีใหม่ ๆ และศึกษา
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ เพิ่มเติมด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพและ
การวิจัยเชิงอุปนัย เพื่อกระตุ้นให้เกิด
นวัตกรรมและการส่งออก
การทำงานที่ดีในอนาคต
ทางด้านนวัตกรรม
THANK
YOU

You might also like