You are on page 1of 79

พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง

จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Consumer Buying Behavior on Organic products in Mueang District
Surat Thani Province

นราธิป โปณะทอง
Naratip Ponathong
วรางรัตน์ วงศ์ฤทธิ์
Warangrat Wongrit
วริทธิ์ รัตนไชย
Varich Rattanachai
อนัญญา รูปโอ
Ananya Rob-O
อะรีนา โต๊ะหมาด
Areena Tohmad

โครงงานวิจัยนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรี
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
A Research Project Submitted in Partial Fulfillment of the
Requirements for the Degree of Bachelor of Business Administration
in Business Development Prince of Songkla University
2567
พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Consumer Buying Behavior on Organic products in Mueang District
Surat Thani Province

นราธิป โปณะทอง
Naratip Ponathong
วรางรัตน์ วงศ์ฤทธิ์
Warangrat Wongrit
วริทธิ์ รัตนไชย
Varich Rattanachai
อนัญญา รูปโอ
Ananya Rob-O
อะรีนา โต๊ะหมาด
Areena Tohmad

โครงงานวิจัยนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรี
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
A Research Project Submitted in Partial Fulfillment of the
Requirements for the Degree of Bachelor of Business Administration
in Business Development Prince of Songkla University
2567

ชื่อโครงงานวิจัย พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี


คณะผู้วิจัย 1.นายนราธิป โปณะทอง
2.นางสาววรางรัตน์ วงศ์ฤทธิ์
3.นายวริทธิ์ รัตนไชย
4.นางสาวอนัญญา รูปโอ
5.นางสาวอะรีนา โต๊ะหมาด
สาขาวิชา การจัดการธุรกิจ
ปีการศึกษา 2566

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ และอาศัย อยู่ในอาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธ านี จานวน 000 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมื อ ใน
การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุต่ากว่าหรือเทียบเท่า 22 ปี ระดับ
การศึกษาขั้นสูงสุดอยู่ในระดับปริญญาตรี อาชีพนักเรียน/นักศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 8,001-15,000 บาท
สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคซื้อเป็นประจาคือ ผักสด จานวน 130 คน วัตถุประสงค์หลักในการซื้อสินค้าเพื่อ
นาไปบริโภคเอง จานวน 357 คน เหตุผลหลักในการซื้อสินค้าเพราะปลอดสารพิษ จานวน 188 คน ตัดสินใจ
ซื้ อสิ น ค้า ด้ว ยตนเอง จ านวน 188 คน ได้รับข้อมูล เกี่ยวกับสิ นค้าผ่ านช่องทาง Social media เช่น Line,
Facebook จานวน 190 คน ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความถี่ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
8-10 ครั้ ง จ านวน 108 คน ค่ า ใช้ จ่ า ยเฉลี่ ย ต่ อ ครั้ ง 1,501 บาทขึ้ น ไป จ านวน 150 คน นิ ย มซื้ อ
สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ตลาด/ร้านค้า (เช่น Surat Thani Farmer Market) จานวน 131 คน ซื้อในช่วงเวลาเย็น
(16.01 น.-18.00 น.) จานวน 162 คน และส่วนใหญ่ นิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในรูปแบบผ่านหน้าร้าน
จานวน 367 คน ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ
และรายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น ส่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ข องผู้ บ ริ โ ภคในอ าเภอเมื อ ง
จังหวัดสุราษฎร์ธานีที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05

คาสาคัญ: พฤติกรรมการซื้อ สินค้าเกษตรอินทรีย์


กิตติกรรมประกาศ

โครงงานวิ จั ย ธุ ร กิ จ ฉบั บ นี้ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทุ น วิ จั ย ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี จาก
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ประจาปีงบประมาณ 2567
งานวิจัยในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี โดยได้รับความอนุเคราะห์และช่วยเหลือ ให้คาปรึกษาดู แล
เอาใจใส่เป็นอย่างดีจากหลาย ๆ ฝ่าย ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ ดร.ระพีพันธ์ เผ่าชู อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
ที่ ก รุ ณ าให้ ค าปรึ ก ษาและข้ อ เสนอแนะต่ า ง ๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการท าวิ จั ย ท าให้ มี ค วามสมบู ร ณ์
อี ก ทั้ ง คอยเป็ น ก าลั ง ใจให้ ผู้ วิ จั ย เสมอมา ผู้ วิ จั ย ตระหนั ก ถึ ง ความตั้ ง ใจจริ ง และความทุ่ ม เทของอาจารย์
และขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบพระคุ ณ ดร.สิ ริ ภั ท ร์ โชติ ช่ ว ง ดร. ชมพู นุ ท ด้ ว งจั น ทร์ และอาจารย์ ม นสิ ก าญจน์
เกื้ อ ประจง ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ก รุ ณ าสละเวลาอั น มี ค่ า พิ จารณาสารนิพ นธ์แ ละให้ ค วามอนุ เคราะห์ ป ระเมิน
พร้อมทั้งให้คาแนะนาอันเป็นประโยชน์ทาให้สารนิพนธ์ฉบับนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้
ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ความรู้คาแนะนาแก่ผู้วิจัยตลอดระยะเวลาที่ได้ศึกษา ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี

ขอขอบพระคุ ณ ผู้ ต อบแบบสอบถามทุ ก ท่ า นที่ ก รุ ณ าเสี ย สละเวลาในการตอบค าถามที่ เ อื้ อ ต่ อ


การทาวิจั ย ตลอดจนผู้ ที่ช่วยเหลือทุกท่านที่กรุณาให้ความร่วมมือและเป็นประโยชน์ในการทาวิจัยครั้งนี้
จนทาให้งานวิจัยสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี

สุดท้ายนี้ผู้วิจัยหวังว่า งานวิจัยฉบับนี้ คงเป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ ที่ส นใจ


ศึกษาต่อไป

คณะผู้วิจัย

สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อ ........................................................................................................................................................ ก
กิตติกรรมประกาศ ......................................................................................................................................... ข
สารบัญ........................................................................................................................................................... ค
สารบัญตาราง ................................................................................................................................................ จ
สารบัญภาพ ................................................................................................................................................... ฉ
บทที่ 1 บทนา ................................................................................................................................................ 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ .................................................................................................................... 1
1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย ................................................................................................................................ 2
1.3 สมมติฐานการวิจัย .................................................................................................................................... 2
1.4 ขอบเขตการวิจัย ....................................................................................................................................... 2
1.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย ........................................................................................................................... 3
1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ................................................................................................................... 3
1.7 นิยามศัพท์ ................................................................................................................................................ 0
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................ 5
2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ ............................................................................................ 5
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค .......................................................................................... 7
2.3 สินค้าเกษตรอินทรีย์ ............................................................................................................................... 10
2.0 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ................................................................................................................................. 19
บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย ................................................................................................................................ 20
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ..................................................................................................................... 20
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการทดสอบคุณภาพเครื่องมือ .................................................................... 25

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................................................ 28


3.0 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล .............................................................................................. 28
3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และทดสอบสมมติฐาน ...................................................................................... 29
บทที่ 4 รายงานผลการศึกษา ...................................................................................................................... 30
0.1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ...................................................................................... 31
0.2 ข้อมูลพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ........................................................................................... 33
4.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน ....................................................................................................................... 36
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย ............................................................................................................................... 39
5.1 ผลสรุปการวิจัย ...................................................................................................................................... 39
5.2 อภิปรายผลการวิจัย................................................................................................................................ 00
5.3 ข้อเสนอแนะ........................................................................................................................................... 01
บรรณาณุกรรม............................................................................................................................................. 03
ภาคผนวก .................................................................................................................................................... 06
ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์/แบบสอบถาม................................................................................................... 07
ภาคผนวก ข ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ .......................................................................................... 50
ประวัติคณะผู้วิจัย ........................................................................................................................................ 69

สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ 2.1 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค..........................................................................................................8


ตารางที่ 2.2 ตารางสังเคราะห์ตัวแปร..............................................................................................................23
ตารางที่ 3.1 สถานที่เก็บข้อมูล และจานวนตัวอย่าง........................................................................................25
ตารางที่ 3.2 ตัวแปรและรายการคาถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล...................................................................26
ตารางที่ 3.3 ตัวแปรและรายการคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์…………………………….26
ตารางที่ 0.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม....................................................................................31
ตารางที่ 0.2 พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้ตอบแบบสอบถาม...................................................33
ตารางที่ 0.3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
โดยใช้สถิติไค-สแควร์...................................................................................................................37

สารบัญภาพ

หน้า

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิด....................................................................................................................................3


ภาพที่ 2.1 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค S-R Model ..........................................................................................6
ภาพที่ 2.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ IFOAM หรือ IFOAM Accredited...........................................12
ภาพที่ 2.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (EU).....................................................................13
ภาพที่ 2.0 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา............................................................................13
ภาพที่ 2.5 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์แคนาดา...................................................................................10
ภาพที่ 2.6 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น.........................................................................................10
ภาพที่ 2.7 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ไบโออะกิเสิร์ช..........................................................................15
ภาพที่ 2.8 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์บีเอสซี......................................................................................15
ภาพที่ 2.9 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์อีโคเสิร์ช...................................................................................16
ภาพที่ 2.10 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีต์ ไอเอ็ม-คอนโทรล..................................................................16
ภาพที่ 2.11 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มกท......................................................................................17
ภาพที่ 2.12 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร
และอาหารแห่งชาติ- มกอช........................................................................................................17
ภาพที่ 2.13 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ - มอน..................18
ภาพที่ 2.10 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.).............18
ภาพที่ 2.15 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี เพชรบูรณ์ (มก.พช.).........19
ภาพที่ 2.16 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ชมรมเกษตรอินทรีย์เกาะพะงัน..............................................19
1

บทที่ 1
บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ
ในปัจจุบันสินค้าเกษตรอินทรีย์มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วด้วยปั จจัยสนับสนุนหลัก ได้แก่ กระแส
ความนิยมในการบริโภคอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของประชากรโลกที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก
ปัญหาการเจ็บป่วยที่เกิดจากพิษของสารเคมีที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และมีผลกระทบไปถึงชีวิตและสุขภาพ
ของประชาชน (สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ, 2558)
สหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Agriculture : IFOM) ให้คานิยาม เกษตร
อิน ทรี ย์ ว่าเป็ น “ระบบการเกษตรที่ ผ ลิ ต อาหารและเส้ น ใยด้ว ยความยั่ง ยืน ทางสิ่ งแวดล้ อ ม สั งคม และ
เศรษฐกิจ โดยเน้นหลักการปรับ ปรุงบารุงดิน การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และนิเวศ
การเกษตร เกษตรอินทรีย์จึงลดการใช้ปัจจัยการผลิตภายนอก และหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ย
สารกาจัดศัตรูพืช และเวชภัณฑ์สาหรับสัตว์ และในขณะเดียวกันก็พยายามประยุกต์ใช้ธรรมชาติในการเพิ่ม
ผลผลิตและพัฒนาความต้านทานโรคของพืชและสัตว์เลี้ยง” หลักการเกษตรอินทรีย์จึงเป็นหลักการสากลที่
สอดคล้องกับเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม ภูมิอากาศ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น เนื่องจากก่อให้เกิดผลผลิตที่
ปลอดภั ย จากสารพิ ษ และช่ ว ยฟื้ น ฟู ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องดิ น มี ห ลั ก การของการอยู่ ร่ ว มกั น และพึ่ ง พิ ง
ธรรมชาติทั้งบนดินและใต้ดิน ใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเห็นคุณค่า และมีการอนุรักษ์ให้อยู่อย่างยั่งยืน นอกจากนี้
ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาแบบเป็นองค์รวมและความสมดุลที่เกิดจากความหลากหลายทางชีวภาพใน
ระบบนิเวศทั้งระบบ (สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2561)
ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ จานวน 1,403,441 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาที่มีจานวน
1,348,155 ไร่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 4) คิดเป็นมูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ 9,169.29 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่าน
มาที่ มี มู ล ค่ า 7,127.63 ล้ า นบาท (เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 27) ทั้ ง นี้ ประเทศไทยได้ ก าหนดเป้ า หมายเพิ่ ม พื้ น ที่
เกษตรอิ น ทรี ย์ เ ป็ น 2 ล้ า นไร่ ในปี 2570 ภายใต้ แ ผนปฏิ บัติ ก ารด้ านเกษตรอิ น ทรี ย์ พ.ศ. 2566 – 2570
(สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2566) จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า ทิศทางของสินค้า
เกษตรอินทรี ย์มีแนวโน้มที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เกษตรอินทรีย์ และกระแส
ความนิยมการดูแลสุขภาพของผู้บริโภค โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุตามโครงสร้างประชากรไทยที่เปลี่ยนแปลงไป
อีกทั้งเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสภาพภูมิอากาศ ทาให้การทาการเกษตรแบบยั่งยืน หรือเกษตรอินทรีย์ มี
ความสาคัญและเป็นที่ต้องการมากยิ่งขึ้น เพื่อรักษาระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งสินค้า
เกษตรอินทรีย์มโี อกาสและช่องทางการขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศได้เพิ่มขึ้น (สานักงานเกษตร
และสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2566)
2

สาหรับปัญหาของผู้ประกอบการสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่พบอันดับหนึ่ง คือ มีผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์น้อย


ราย และปัญหาอันดับที่สอง คือเกษตรกรขาดความเชื่อมั่นในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ปัญหา
อันดับสาม คือไม่มีการส่งเสริมในการผลิต ผู้ผลิตมีการรวมกลุ่มน้ อยทาให้ขาดพลังในการผลิต รวมทั้งผู้ผลิต
หรือเกษตรกรอีกมากที่ยังไม่เข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์และขาดข้อมูลในการผลิต ปัญหาอันดับสุดท้าย คือ
ปัญหาในการผลิตสินค้าออกมาให้มีคุณภาพที่ดี ปัญหาขาดวัตถุดิบที่เป็นเกษตรอินทรีย์ สินค้าเกษตรอินทรีย์มี
น้อยและขาดความหลากหลาย การขาดกฎระเบียบที่ดีต่อผู้ผลิตทาให้การผลิตเกษตรอินทรีย์ไม่ได้มาตรฐาน
ปัญหาผลผลิตเกษตรอินทรีย์ต่อไร่ต่า ปัญหาเกี่ยวกับฐานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรส่วนใหญ่นั้นต่า และ
ปัญหาการใช้เทคโนโลยีที่ผิดของเกษตรกร (พีรชัย และ อิสระ, 2550) จะเห็นได้ว่าหากผู้ผลิตสินค้าเกษตร
อิน ทรี ย์ มีข้อมูล เกี่ย วกับ พฤติกรรมการซื้อของผู้ บริโ ภค จะช่ว ยให้ ผู้ ผ ลิ ตสามารถวางแผนการผลิตและจัด
จาหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ได้มากขึ้น
จากเหตุผลทั้งหมดที่กล่าวมาผู้วิจัยจึงสนใจพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคใน
อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อค้นหาพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในปัจจุบัน
เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการในการนาข้อมูลไปวางกลยุทธ์ให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

1.3 สมมติฐานการวิจัย
ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ส่งผลต่อพฤติกรรม
การซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

1.4 ขอบเขตการวิจัย
การศึกษาโครงการวิจัยในครั้งนี้ศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.4.1ขอบเขตด้านเนื้อหา
มุ่งศึกษาพฤติกรรมการซื้อสิ น ค้าเกษตรอินทรี ย์ของผู้ บริโ ภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี
ตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
1.4.2 ขอบเขตด้านประชากร
กลุ่มประชากร คือผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
3

1.4.3 ขอบเขตด้านพื้นที่
สถานที่ที่มีการขายสินค้าเกษตรอินทรีย์ ในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ ไฮเปอร์มาร์เก็ต
ซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านเฉพาะสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตลาด และช่องทางค้าปลีกอื่นๆ

1.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิด
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
1.เพศ ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
2.อายุ 1. ประเภทของสินค้า
3.ระดับการศึกษา
2. วัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า
0.อาชีพ 3. เหตุผลหลักในการซื้อสินค้า
5.รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
4. บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า
5. ช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
6. ความถี่ในการซื้อสินค้า
7. ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
8. สถานที่ที่นิยมซื้อสินค้า
9. ช่วงเวลาในการซื้อสินค้า
10. รูปแบบในการซื้อสินค้า

k
1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
1.6.1 ท าให้ ท ราบถึ ง พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ของผู้ บ ริ โ ภคในอ าเภอเมื อ ง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.6.2 ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรอินทรีย์สามารถนาผลวิจัยไปพัฒนากลยุทธ์เพื่อส่งเสริ มพฤติกรรม
การซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์มากขึ้น
1.6.3 หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี สามารถนา
ผลการวิจัยไปส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ เช่น ผักปลอดสารพิษ ผู้เลี้ยงไก่ไข่ ให้เพียงพอต่อ
ความต้องการของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น
4

1.7 นิยามศัพท์
สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ หมายถึ ง สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ม าจากระบบการผลิ ต แบบเกษตรอิ น ทรี ย์ ที่ ไ ม่ ใ ช้
สารสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ไม่ใช้พันธุ์พืช หรือสัตว์ที่ดัดแปรพันธุกรรม (GMO) ระบบ
การผลิ ต ไม่ ก ระทบระบบนิ เ วศ และสิ่ ง แวดล้ อ ม จึ ง เป็ น ผลิ ต ผลที่ มั่ นใจได้ ว่ าปลอดภัย ดี ต่ อ สุ ข ภาพและ
สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผักสด ผลไม้ เนื้อ ไข่ นม ข้าว อาหารทะเล (สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหาร
แห่งชาติ, 2566)
พฤติ ก รรมการซื้ อ หมายถึ ง พฤติ ก รรมการซื้ อ ของผู้ บ ริ โ ภคคนสุ ด ท้ า ยไม่ ว่ า จะเป็ น บุ ค คลหรื อ
ครอบครัวที่ทาการซื้อสินค้าและบริการ ตามหลัก 6W1H (ศิริวรรณ, 2509)
5

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์
ธานี ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อประกอบการวิจัย ซึ่งได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎี
และหลักการต่าง ๆ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้
2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
2.3 สินค้าเกษตรอินทรีย์
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ
พฤติ ก รรมการซื้ อ (Consumer Buying Behavior) หมายถึ ง พฤติ ก รรมการซื้ อ ของ ผู้ บ ริ โ ภคคน
สุดท้ายไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือครอบครัวที่ทาการซื้อสินค้าและบริการ การบริโภคส่วนตัวผู้บริโภคเหล่านี้เรียก
รวมกันเป็นตลาดผู้บริโภค (Consumer Market) (ศิริวรรณ, 2509)
ตั ว แบบพฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภค S-R Model เป็ น การศึ ก ษาถึ ง เหตุ จู ง ใจที่ ท าให้ เ กิ ด การตั ด สิ น ใจซื้ อ
ผลิตภัณฑ์ โดยเริ่มจากสิ่งกระตุ้น (Stimulus) ที่ทาให้เกิดความต้องการ จากนั้นสิ่งกระตุ้ นจะผ่านเข้ามาใน
ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ (Buyer's black box) ซึ่งผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่สามารถคาดคะเนได้ความรู้สึกนึกคิดของ
ผู้ซื้อจะได้รับอิทธิพลจากลักษณะที่แตกต่างกันของผู้ซื้อ (Buyer's characteristics) แล้วจึงจะมีการตอบสนอง
ของผู้ซื้อ (Buyer's response) และการตัดสินใจของผู้ซื้อ (Buyer's purchase decision) แสดงดังรูปที่ 2.1
6

ภาพที่ 2.1 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค S-R Model

สิ่งกระตุ้นภายนอก การตอบสนองของผู้ซื้อ
(Stimulus = S) (Response = R)
สิ่งกระตุ้น สิ่งกระตุ้นอื่นๆ การเลือกผลิตภัณฑ์
กล่องดาหรือความรู้สึกนึก
ทางการตลาด (Othre การเลือกตรา
คิดของผู้ซื้อ
(Stimulus Stimulus) การเลือกผู้ขาย
( Buyer's Black)
Marketing) เวลาในการซื้อ
ปริมาณการซื้อ
ผลิตภัณฑ์ เศรษฐกิจ
ราคา เทคโลโลยี

ลักษณะของผู้ซื้อ ขั้นตอนการตัดสินใจของผู้ซื้อ
(Buver's Characteristics) (Buyer's Decision Process)
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม (Cultural) การรับรู้ปัญหา (Problom Recognition)
ปัจจัยด้านสังคม (Social) การค้นหาข้อมูล (Information Searh)
ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal) การปริเมินผลทางเลือก (Evaluation Of
Alternatives)
ที่มา : ศิริวรรณ, 2509

1. สิ่งกระตุ้น (Stimulus) อาจเกิดขึ้นเองจากภายในร่างกาย (Inside stimulus) และสิ่งกระตุ้นภายนอก


(Outside stimulus) นักการตลาดจะต้องสนใจและจัดสิ่งกระตุ้นภายนอก เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการ
ผลิตภัณฑ์ สิ่งกระตุ้น ถือว่าเป็ นเหตุจูงใจให้ เกิดการซื้อสินค้าซึ่งอาจใช้เหตุจูงใจให้ ซื้อด้านเหตุผลหรื อด้ าน
จิตวิทยา (อารมณ์) ก็ได้สิ่งกระตุ้นภายนอกประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
1.1 สิ่งกระตุ้นทางการตลาด (Marketing stimulus) เป็นสิ่งกระตุ้นที่นักการตลาดสามารถควบคุมและ
ต้องจัดให้มีขึ้นเป็นสิ่งกระตุ้นที่เกี่ยวข้องกับส่วนประสมทางการตลาด (Marketing mix)
1.1.1 สิ่ ง กระตุ้ น ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product) เช่ น ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส วยงามเพื่ อ กระตุ้ น
ความต้องการซื้อ
1.1.2 สิ่งกระตุ้นด้านราคา (Price) เช่น การกาหนดราคาสินค้าให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์โดยพิจารณา
ลูกค้าเป็นเป้าหมาย
1.1.3 สิ่งกระตุ้นด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Distribution) เช่น การจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ให้ทั่วถึง
เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้บริโภคถือว่าเป็นการกระตุ้นความต้องการซื้อ
7

1.1.0 สิ่ ง กระตุ้ น ด้ า นการส่ ง เสริ ม การตลาด (Promotion) เช่ น การโฆษณาสม่ าเสมอการใช้
ความพยายามของพนักงานขาย การลด แลก แจก แถม การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลทั่วไปเหล่านี้ถือ
ว่าเป็นสิ่งกระตุ้นความต้องการซื้อ
1.2 สิ่งกระตุ้นอื่นๆ (Other stimulus) เป็นสิ่งกระตุ้นความต้องการผู้บริโภคที่อยู่ภายนอกองค์การ ซึ่ ง
บริษัทควบคุมไม่ได้สิ่งกระตุ้นเหล่านี้ ได้แก่
1.2.1 สิ่งกระตุ้นทางเศรษฐกิจ (Economic) เช่น ภาวะเศรษฐกิจรายได้ของผู้บริโภคเหล่านี้มีอิทธิพล
ต่อความต้องการของบุคคล
1.2.2 สิ่งกระตุ้นทางเทคโนโลยี (Technological) เช่น เทคโนโลยีใหม่ด้านฝากถอนเงินอัตโนมัติ
สามารถกระตุ้นความต้องการของผู้บริโภคให้ใช้บริการของธนาคารมากขึ้น
1.2.3 สิ่งกระตุ้นทางกฎหมายและการเมือง (Law and political) เช่น กฎหมายเพิ่ม หรือ ลดภาษี
สินค้าใดสินค้าหนึ่งจะมีอิทธิพลต่อการเพิ่มหรือลดความต้องการของผู้ซื้อ
1.2.0 สิ่งกระตุ้นทางวัฒนธรรม (Cultural) เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยในเทศกาลต่าง ๆ จะมี
ผลกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการซื้อสินค้าในเทศกาลนั้น
2. กล่องดาหรือความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ (Buyer's black box) ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อเปรียบเสมือ น
กล่องดา (Black box) ซึ่งผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่สามารถทราบได้จึงพยายามค้นหาความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ ซึ่ง
ได้รับอิทธิพลจากลักษณะของผู้ซื้อและกระบวนการตัดสินใจซื้อ
2.1 ลั กษณะของผู้ ซื้อ (Buyer's characteristics) ลั กษณะของผู้ ซื้อมี อิทธิ พลจากปัจจัยต่า งๆ คือ
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านจิตวิทยา
2.2 กระบวนการตัดสินใจซื้อ (Buyer's decision process) ประกอบด้วยขั้นตอน ได้แก่ การรับรู้
ปั ญ หา (Problem recognition) การค้ น หาข้ อ มู ล (Information searching) การประเมิ น ผลทางเลื อ ก
(Evaluation of alternatives) การตัดสิ น ใจซื้อ (Purchase decision) พฤติกรรมภายหลั งการซื้ อ (Post-
purchase behavior)
3.การตอบสนองของผู้ ซ้ื อ (Buyer's response) หรือการตั ดสิ นใจซื้ อ ของผู้ บริโ ภคหรื อผู้ ซื้ อ (Buyer's
purchase decisions) ผู้บริโภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นต่างๆ ได้แก่การตัดสินใจด้านผลิตภัณฑ์ (Product
decision) การตัดสินใจด้านร้านค้า (Store decision) การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการซื้อ (Method of purchase
decision)

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับพฤติกรรมผู้บริโภค


พฤติกรรมผู้ บ ริ โ ภค (Consumer Behavior) หมายถึง พฤติกรรมซึ่ งผู้ บริโภคทาการค้นหาการซื้อ
การใช้ การประเมิน ผล การใช้ส อยผลิ ตภัณ ฑ์ และการบริการ ซึ่งคาดว่าจะสนองความต้อ งการของเขา
(Schiffman and Kanuk, 1990)
8

Engel, Blackwell, and Miniard (1986) ให้ ความหมายเกี่ยวกับ พฤติ กรรมของผู้ บ ริโ ภคไว้ ว่ า
พฤติกรรมของผู้บริโภค หมายถึ ง การกระทาของแต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการได้รับ และการใช้สินค้าและ
บริการ รวมถึงกระบวนการในการตัดสินใจที่เป็นตัวกาหนดการกระทาต่าง ๆ เหล่านั้น
Schiffman and Kanuk (1987) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมของผู้บริโภคไว้ว่าเป็นพฤติกรรมที่
ผู้บริโภคแสดงออกไม่ว่าจะเป็ นการเสาะหา ซื้อ ใช้ ประเมินผล หรือการบริโภคผลิตภัณฑ์ บริการ และแนวคิด
ต่าง ๆ ซึ่งผู้บริโภคคาดว่าจะสามารถตอบสนองความต้องการของตนได้เป็นการศึกษาการตัดสินใจของผู้บริโภค
ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ทั้งเงิน เวลา และกาลังเพื่อบริโภคสินค้าและบริการต่าง ๆ ในประกอบด้ วย ซื้ออะไร
ทาไมจึงซื้อ ซื้อเมื่อไร อย่างไร ที่ไหน และบ่อยแค่ไหน
Engel Kollat and Blackwell (1968) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมผู้บริโภคว่าการกระทาของ
บุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการจัดหาให้ได้มาและการส่งสินค้าและบริการ ทั้งนี้หมายรวมถึง
กระบวนการตัดสินใจซึ่งมีมาอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งมีส่วนในการกาหนดให้มีการกระทาดังกล่าว
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2550) ได้ให้ความหมายพฤติกรรมผู้บริโภคว่าพฤติกรรมซึ่งบุคคลทาการค้นหา
การซื้อ การใช้ การประเมินผล และการใช้จ่ายในผลิตภัณฑ์และบริการ โดยคาดว่าจะตอบสนองความต้องการ
ของเขาหรืออาจหมายถึง กระบวนการตัดสินใจและลักษณะกิจกรรมของแต่ละบุคคลเมื่อทาการประเมินผล
การจัดหา การใช้ และการใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าและบริการ

ทฤษฎี 6Ws และ 1H


เป็นการค้นคว้าหรือวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการบริโภค ทั้งที่เป็นบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ
องค์กร เพื่อให้ทราบถึงลักษณะความต้องการและพฤติกรรมการบริโภค ที่จะทาให้ผู้บริโภคพอใจ (ปณิศาลัญ
ชานนท์, 2548) หรือเป็นการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค ด้วยการศึกษาค้นคว้าถึงพฤติกรรมการเลือกซื้อ การ
ตัดสินใจซื้อ การใช้สินค้า และการบริการของผู้บริโภค เพื่อที่จะได้นักการตลาดทราบถึงความพึงพอใจและ
ความต้องการของผู้บริโภค โดยมี 7 คาถาม (6Ws 1H) ที่จะช่วยในการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อค้นหา
7 คาตอบ (ปรัชญา ปิยะรังษี, 2554)
ตารางที่ 2.1 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค
คาถาม(6Ws และ 1H) คาตอบที่ต้องการทราบ (7Os) กลยุทธ์การตลาดที่เกี่ยวข้อง
1. ใครอยู่ในตลาดเป้าหมาย ลักษณะกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์การตลาด
(Who is in the target (Occupants) ทางด้าน (4Ps)ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์
market?) 1). ประชากรศาสตร์ ราคาการจัดจาหน่าย และการ
2). ภูมิศาสตร์ ส่งเสริมการตลาดที เหมาะสม
3). จิตวิทยา หรือจิตวิเคราะห์ และสามารถสนองความพึงพอใจ
4). พฤติกรรมศาสตร์ ของกลุ่มเป้าหมายได้
9

คาถาม(6Ws และ 1H) คาตอบที่ต้องการทราบ (7Os) กลยุทธ์การตลาดที่เกี่ยวข้อง


2.ผู้บริโภคซื้ออะไร (What สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product
does the consumer buy? (Objects) สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ Strategies) ประกอบด้วย
จากผลิตภัณฑ์ก็คือต้องการ 1). ผลิตภัณฑ์หลัก
คุณสมบัติ หรือองค์ประกอบของ 2).รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ได้แก่การ
ผลิตภัณฑ์ (Product บรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า รูปแบบ
Component) และความ บริการ คุณภาพ ลักษณะ
แตกต่างที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน นวัตกรรม
(Competitive Differentiation) 3). ผลิตภัณฑ์ควบ
4), ผลิตภัณฑ์ที่คาดหวัง
5). ศักยภาพผลิตภัณฑ์ ความ
แตกต่างทางการแข่งขัน
3. ทาไมผู้บริโภคจึงซื้อ (Why วัตถุประสงค์ในการซื้อ กลยุทธ์ที่ใช้มากคือ
does the consumer buy?) (Objectives) ผู้บริโภคซื้อสินค้า 1). กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
เพื่อสนองความต้องการของเขา 2). กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด
ด้านร่างกาย และด้านจิตวิทยา ซึ่ง ประกอบด้วยกลยุทธ์การโฆษณา
ต้องศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การขาย โดยใช้พนักงานขาย การ
พฤติกรรมการซื้อ คือ ส่งเสริมการขาย การให้ข่าวสาร
1). ปัจจัยภายใน หรือปัจจัยทาง ประชาสัมพันธ์
จิตวิทยา 3). กลยุทธ์ด้านราคา
2). ปัจจัยทางสังคม และ 0). กลยุทธ์ด้านช่องทางการ
วัฒนธรรม จัดจาหน่าย
3). ปัจจัย เฉพาะบุคคล
4. ใครมีส่วนร่วมในการ บทบาทของกลุ่มต่างๆ กลยุทธ์ที่ใช้มากคือ การโฆษณา
ตัดสินใจซื้อ (Who (Organizations) มีอิทธิพลในการ และ(หรือ) กลยุทธ์การส่งเสริม
participates in the ตัดสินใจซึ่งประกอบด้วย การตลาด (Advertising and
buying?) 1). ผู้ริเริ่ม Promotion Strategies)
2). ผู้มีอิทธิพล
3). ผู้ตัดสินใจซื้อ
4). ผู้ซื้อ
5). ผู้ใช้
5. ผู้บริโภคซื้อเมื่อใด (When โอกาสในการซื้อ (Occasions) กลยุทธ์ที่ใช้มากคือกลยุทธ์การ
does the consumer buy? เช่นช่วงเดือนใดของปี หรือช่วงฤดู ส่งเสริมการตลาด เช่นทาการ
10

คาถาม(6Ws และ 1H) คาตอบที่ต้องการทราบ (7Os) กลยุทธ์การตลาดที่เกี่ยวข้อง


ใดของปี ช่วงวันใดของเดือน ส่งเสริมการตลาดเมื่อใดจึงจะ
ช่วงเวลาใดของโอกาสพิเศษ หรือ สอดคล้องกับ โอกาสในการซื้อ
เทศกาลวันสาคัญต่างๆ
6. ผู้บริโภคซื้อที่ไหน (Where ช่องทางหรือแหล่ง (Outlets) ที่ กลยุทธ์ช่องทางการจัดจาหน่าย
does the consumer buy?) ผู้บริโภคไปทาการซื้อ (Distribution Channel
Strategies)
7. ผู้บริโภคซื้ออย่างไร (How ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อ กลยุทธ์ที่ใช้กันมาก คือกลยุทธ์
does the consumer buy?) (Operations) ประกอบด้วย การส่งเสริมการตลาด
1). การรับรู้ปัญหา (Promotion Strategies)
2). การค้นหา ข้อมูล ประกอบด้วย การโฆษณา ขาย
3) การประเมินผลทางการเลือก โดยใช้พนักงานขาย การส่งเสริม
4).ตัดสินใจซื้อ การขาย การให้ข่าว และการ
5).ความรู้สึกหลังการซื้อ ประชาสัมพันธ์ การตลาดทางตรง
เช่นพนักงานขายจะกาหนด
วัตถุประสงค์ในการขายให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ใน การ
ตัดสินใจซื้อ

2.3 สินค้าเกษตรอินทรีย์
สินค้าเกษตรอินทรีย์ หมายถึง ได้มาจากระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ ที่ไม่ใช้สารสังเคราะห์
เช่น ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ไม่ใช้พันธุ์พื ช หรือสัตว์ที่ดัดแปรงพันธุกรรม (GMO) ระบบการผลิ ตไม่
กระทบระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อม จึงเป็นผลิตผลที่มั่นใจได้ว่าปลอดภัย ดีต่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม สินค้า
เกษตรอินทรีย์สาหรับเกษตรกรไทย คือ ข้าว ผัก ผลไม้เมืองร้อน เครื่องเทศ สมุนไพร ชา กาแฟ ผลิตภัณฑ์ปศุ
สัตว์ และผลิตภัณฑ์ประมง โดยเฉพาะจากการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง ซึ่งสินค้าเหล่านี้ไทยมีความเปรียบในการผลิต
และสินค้าเป็นที่รู้จักในตลาดโลก เกษตรอินทรีย์นี้ได้รวมมาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ที่เคยประกาศแยก
เป็นรายกลุ่มสินค้า ได้แก่ พืชอินทรีย์ ข้าวอินทรีย์ ปลาสลิดอินทรีย์ อาหารสัตว์น้าอินทรีย์ การเลี้ยงกุ้งทะเล
ระบบอินทรีย์ ปศุสัตว์อินทรีย์ และผึ้งอินทรีย์ มาไว้เป็นมาตรฐานฉบับเดียว โดยมีโครงสร้างหลักครอบคลุม
หลักการวัตถุประสงค์ ข้อกาหนดที่ใช้กับสินค้าทุกกลุ่ม (สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2560)
11

2.3.1 สินค้าเกษตรของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สินค้า GI หรือเครื่องหมายแบรนด์ของท้องถิ่นที่บอกคุณภาพและแหล่งที่มาของสินค้าของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
มีดังนี้
1) เงาะโรงเรียนนาสาร ลักษณะเด่น ผลมีทรงกลม เนื้อสีขาวหนา แห้ง กรอบและล่อนออกจาก เมล็ด
เปลือกบาง ขนบริเวณโคนมีสีแดง ปลายขนสีเขียว รสชาติหวาน หอม อร่อย (เกษตรกร 13 ราย พื้นที่ปลูก
อาเภอบ้านนาสาร บ้านนาเดิม และเวียงสระ)
2) มะพร้าวเกาะพะงัน ลักษณะเด่น เป็นมะพร้าวที่ปลูกในอาเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทรง
กลมรียาว เปลือกและเส้นใยมีความเหนียว กะลามีสีน้าตาลแก่ เนื้อมะพร้าวขาวใส เนื้อแน่น 2 ชั้น มีรสชาติ
หวานมัน หอมกะทิสด ความหอมมันเป็นเอกลักษณ์ (1 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน พื้นที่ปลูกอาเภอเกาะพะงัน)
3) หอยนางรม ลักษณะเด่น ตัวโต เนื้อขาวนวล ต้องเลี้ยงในพื้นที่อ่าวบ้านดอน (เกษตรกร 8 ราย
พื้นที่เลี้ยงอาเภอกาญจนดิษฐ์)
0) ไข่เค็มไชยา ลักษณะเด่น ไข่ใบใหญ่ ไข่แดงร่วนเป็นทราย มัน ไข่ขาวนุ่ม รสไม่เค็มจัด กลิ่นไม่เหม็น
คาว (เกษตรกร 0 ราย และ 1 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน พื้นที่เลี้ยงอาเภอไชยา)
5) ขมิ้นชันสุราษฎร์ธานี และปลาเม็งสุราษฎร์ธานี อยู่ระหว่างการกาหนดหลักเกณฑ์และการ ขอใช้
ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย (GI) (สานักงานเกษตร และสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2566)
2.3.2 ปัญหาของการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย
1.ความสับสนของเกษตรกรและผู้บริโภคในเรื่องมาตรฐานผลผลิตของเกษตรอินทรีย์และอาหาร
สุขภาพอื่นๆ โดยเฉพาะความแตกต่างของมาตรฐานผลผลิตเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ เนื่องจากเกษตรกร
และผู้ บ ริ โ ภคยั งไม่มีความรู้ เพีย งพอในการผลิ ตสิ นค้าเกษตรอินทรีย์ ซึ่งในประเด็นนี้ทางหน่ว ยราชการที่
เกี่ยวข้องและภาคเอกชนต้องเร่งดาเนินการส่งเจ้าหน้าที่ออกไปให้คาแนะนาและให้คาปรึกษากับเกษตรกร
รวมทั้งการให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตและการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์
ทั้งนี้เพื่อขยายฐานผู้บริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศให้เพิ่มมากขึ้น
2.ปัจจุบันมีการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์เพียงไม่กี่ชนิด เนื่องจากประเทศไทยยังอยู่ในช่วงระยะเริ่มต้น
ของการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ การผลิตจึงยังเป็นการผลิตแบบง่ายๆที่ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อน และเป็นการ
ผลิตสินค้าเกษตรพื้นฐานการแปรรูปผลิตภัณฑ์ยังมีอยู่น้อย เพราะวัตถุดิบมีปริมาณไม่มากและปริมาณการผลิต
ยังขาดความต่อเนื่อง คาดว่าปัจจุบันมีผลผลิตเกษตรอินทรีย์ที่จาหน่ายออกสู่ตลาดอยู่ประมาณไม่เกิน 6,000
ตันต่อปี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งให้การส่งเสริมและคาปรึกษา ทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรมีความมั่นใจทั้งในด้าน
การผลิตและการตลาด ซึ่งการเพิ่มความหลากหลายของสินค้าและการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้บริโภคจะเป็นการช่วยในการเจาะขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ทั้งในประเทศ (สานักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2566)
12

2.3.3 ตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์
ปัจจุบันคนไทยเริ่มตื่นตัวในเรื่ องสุขภาพ และความปลอดภัยในอาหารกันมากขึ้น จึงมีคนสนใจหาซื้อ
อาหารและผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยจากการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายและอินทรีย์เพิ่มขึ้น ทาให้มีสินค้าที่กล่าวอ้าง
ว่าเป็นอินทรีย์ในท้องตลาดเพิ่มขึ้นมากมีวิธีการง่ายๆ ที่จะรู้ได้ว่าสินค้าอินทรีย์ที่กล่าวอ้างเป็นผลผลิตหรือ
ผลิตภัณฑ์อินทรีย์จริงหรือไม่คือการดูว่ามีต รารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์ที่ฉลากกากับสินค้าหรือไม่ และ
เพื่อให้มั่นใจว่าตรารับรองมาตรฐานอินทรีย์บนฉลากสินค้าที่จะซื้อหรือซื้อมาแล้วน่าเชื่อถือมากน้อยขนาดไหน
ผู้บริโภค และผู้ซื้อควรศึกษาทาความรู้จักกับตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์ที่พบเห็นได้ในประเทศไทย
และมองหาตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์ระดับที่น่าเชื่อถือ หรือที่ตนเองยอมรับได้มาทานหรือใช้งานได้ถูก
ตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์ที่พบเห็นได้ในประเทศไทยและควรทาความรู้จักไว้จะแบ่งเป็น 3 ประเภท
ใหญ่ๆ ดังนี้
ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของประเทศผู้นาเข้าสินค้าอินทรีย์รายใหญ่
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิน ทรี ย์ IFOAM หรือ IFOAM Accredited สมาพันธ์เกษตรอินทรีย์
นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements - IFOAM) ได้จัดทาโครงการ
รับรองระบบงานเกษตรอินทรีย์ IFOAM (IFOAM Accreditation Program) ภายใต้กรอบมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์ IFOAM ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกยอมรับเป็นเกณฑ์มาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ขั้นต่าสินค้า
อินทรีย์เพื่อการนาเข้า เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซียเป็นต้น นอกจากนี้สหพันธ์ฯ ยัง
ได้จัดตั้งหน่วยงานชื่อ International Organic Accreditation Service-IOAS เพื่อทาหน้าที่ให้บริการรับรอง
หน่วยงานผู้ตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ทั่วโลกภายใต้กรอบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ IFOAM ซึ่งหน่วยงาน
ผู้ตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองจาก IOAS จะมีคาว่า IFOAM Accredited เป็นตราสัญลักษณ์
มาตรฐานที่แสดงไว้คู่กับตราสัญลักษณ์ของหน่วยงานผู้ตรวจนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น ตรารับรองมาตรฐานเกษตร
อิน ทรี ย์ IFOAM ของส านั กงานมาตรฐานเกษตรอิน ทรีย์ หรือ มกท. (Organic Agriculture Certification
Thailand - ACT) จะมีตรา IFOAM Accredited อยู่ใต้สัญลักษณ์ของ มกท.

ภาพที่ 2.2 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ IFOAM หรือ IFOAM Accredited


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิน ทรี ย์ส หภาพยุโ รป (EU) การแสดงตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์


สหภาพยุโรปที่ถูกต้อง Thailand Agriculture จะต้องมีเลขรหัสหน่วยงานที่ทาการตรวจรับรองของสหภาพ
13

ยุโรป ซึ่งระบุประเทศของหน่วยงานผู้ตรวจรับรองกากับไว้พร้อมระบุประเทศแหล่งที่มาของสินค้าอินทรีย์นั้นๆ
ไว้ใต้มาตรฐานด้วย ยุ โรปยังไม่อนุญาตให้ใช้คาว่า 100% Organic หรือ อินทรีย์ 100% บนฉลากสินค้าด้วย
ระบบมาตรฐานเกษตรอิน ทรีย์อื่นที่สหภาพยุโรปยอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐาน เกษตรอินทรียาแคนาดา
(เฉพาะที่ผลิตในประเทศแคนาดา) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (เฉพาะที่ผลิตในประเทศ
อเมริกา)

ภาพที่ 2.3 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (EU)


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิน ทรีย์สหรั ฐอเมริ กา (National Organic Program NOP) แผนงาน


เกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (National Organic Program NOP) ดาเนินงานภายใต้การกากับดูแลของกระทรวง
เกษตรสหรั ฐ อเมริ ก า (United States Department of Agriculture USDA) โดยระบบการตรวจรั บ รอง
เกษตรอินทรีย์นี้เริ่มใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศสหรัฐอเมริกายอมรับ
ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพ
ยุ โ รป (เฉพาะที่ผ ลิ ตในสหภาพยุ โ รป) โดยการแสดงตามมาตรฐานที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับมาตรฐานของ
สหรัฐอเมริกาเสมอ

ภาพที่ 2.4 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์แคนาดา (Canada Organic Regime – COR) รัฐบาลแคนาดา


เริ่ ม น าระบบ Canada Organic Regime (COR) ออกบั ง คั บ ใช้ เ มื่ อ ปี พ.ศ. 2552 ตามระเบี ย บ Organic
Products Regulations,2009 โดยมี Canada Food Inspection Agency (CFIA) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ
14

การใช้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดาที่ถูกต้อง ต้องมีชื่อสินค้ารหัสหน่วยงานที่ทาการตรวจการรับรองที่ออก
โดย IOAS พร้อมกับระบุประเทศผู้ผลิตทั้งภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศสกากับไว้ใกล้ๆ ตรามาตรฐานฯ ให้เห็นได้
ชัดเจน ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
สหรัฐอเมริกา(จากผู้ผลิตทั่วโลก) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป(เฉพาะที่ผลิตในสหภาพยุโรป)
และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (เฉพาะที่ผลิตในญี่ปุ่น ) เริ่ม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยการแสดง
มาตรฐานฯ ที่ยอมรับต้องแสดงคู่กับตรามาตรฐานฯ ของแคนาดาเสมอ

ภาพที่ 2.5 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์แคนาดา


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (Japanese Agricultural Standard Organic JAS mark)


กับดูแลของกระทรวงเกษตรป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries
- MAFF) ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
แคนาดา (เฉพาะที่ผลิตในแคนาดา) เริ่ม 1 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยการแสดงตรามาตรฐานฯที่ยอมรับต้อง
แสดงคู่กับมาตรฐานฯ ของญี่ปุ่นเสมอ

ภาพที่ 2.6 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)
15

ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของหน่วยงานตรวจรับรองเอกชนต่างประเทศที่ได้รับความนิยมและ
ดาเนินการตรวจรับรองอยู่ในประเทศไทย
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ไบโออะกิเสิร์ช (Bioagricert) บริษัท ไบโออะกิเสิร์ช (ไทยแลนด์)
จากัด เป็นสาขาย่อยของ Bioagricert S.r.I จากประเทศอิตาลี ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจาก
บริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

ภาพที่ 2.7 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ไบโออะกิเสิร์ช


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์บีเอสซี (BSC??KO-GARANTIE GMBH – BSC) บีเอสซี เป็นบริษัท


ตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศเยอรมนี มีตัวแทนในประเทศไทยอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ผู้ประกอบการ
ต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

ภาพที่ 2.8 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์บีเอสซี


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิน ทรี ย์อีโคเสิร์ ช (Ecocert) อีโคเสิร์ช เป็นบริษัทตรวจรับรองสิ น ค้า


อินทรีย์จากประเทศฝรั่งเศสผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้
ได้
16

ภาพที่ 2.9 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์อีโคเสิร์ช


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีต์ ไอเอ็ม-คอนโทรล (IMO-Control) บริษัทไอเอ็มโอ -คอนโทรล


เป็นบริษัทตรวจรับรองสินค้าอินทรีย์จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีตัวแทนอยู่ในประเทศไทยผู้ประกอบการต้อง
ได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

ภาพที่ 2.10 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีต์ ไอเอ็ม-คอนโทรล


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ของหน่วยงานไทย
ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มกท. (Organic Agriculture Certification Thailand - ACT)
นอกจากสัญลักษณ์ ACT-IFOAM Accredited แล้ว มกท. ยังมีระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เฉพาะที่จัดทา
ขึ้นสาหรับตรวจรับรองการผลิตเกษตรอินทรีย์บางประเภทที่เพิ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในประเทศ และในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้เพื่อให้เหมาะกับผู้ประกอบการในระยะเริ่มต้นซึ่ งรวมถึงการเลี้ยงสัตว์การเลี้ยงผึ้ง และการ
ประกอบอาหารสาหรับร้านอาหารผู้ประกอบการที่ได้รับรองการระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มกท.จะใช้ตรา
สัญลักษณ์ของ มกท. เป็นตรารับรองมาตรฐาน
17

ภาพที่ 2.11 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มกท.


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ - มกอช.
(National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards - ACFS) มกอช. ได้ ป ระกาศใช้
ตรามาตรฐาน Organic Thailand เมื่อปี พ.ศ. 2555 และถือเป็นตรามาตรฐานของประเทศไทยแต่ไม่ได้บังคับ
ว่าการน าเข้าสิ น ค้า เกษตรอิน ทรี ย์ ห รื อสิ น ค้ าเกษตรอิน ทรีย์ ที่ผ ลิ ตในประเทศไทยจะต้ องได้รั บมาตรฐาน
Organic Thailand นี้

ภาพที่ 2.12 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ - มกอช.


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิ น ทรี ย์ อ งค์ กรมาตรฐานเกษตรอิ น ทรี ย์ ภ าคเหนือ - มอน. (The


Northern Organic Standard Organization) องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ จัดตั้งขึ้นโดยความ
ร่วมมือของเกษตรกร ผู้บริโภค นักวิชาการจากองค์กรของรัฐองค์กรพัฒนาเอกชน และผู้สนใจทั่วไปโดยมุ่ งหวัง
จะเป็นองค์กรที่ทาการรับรองผลิตผลของเกษตรกรที่ทาการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างความเชื่อมั่น
ให้แก่เกษตรกร และผู้บริโภคว่าผลิตผลที่ได้รับการรับรองจากองค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์นั้น เป็นผลิตผลที่
ปลอดจากสารพิษสารเคมีสังเคราะห์ และยังเอื้อต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริงด้วย
18

ภาพที่ 2.13 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาเหนือ - มอน.


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) มาตรฐานเกษตร


อินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.) พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์ ตาม
แนวทางการพัฒ นางานเกษตรอิน ทรี ย์ ของจังหวัดสุ รินทรง และได้ รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการ
โครงการเกษตรอินทรีย์จังหวัดสุรินทร์ในปี พ.ศ. 2507 โดยมีมาตรฐานครอบคลุมเฉพาะในเรื่องการผลิตพืช
สัตว์อินทรีย์ สัตว์น้าอินทรีย์ การจัดการเก็บเกี่ยวการแปรรูปผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และปัจจัยการติด ทั้งนี้ มก.ส.ร.
จะทาการตรวจสอบ และรับรองผลิตภัณฑ์อินทรีย์ไว้ในทุกขึ้นตอนตั้งแต่การผลิตในระดับแปลงการนาผลผลิต
มาแปรรูป และจาหน่ายผลิตภัณฑ์

ภาพที่ 2.14 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ (มก.สร.)


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิน ทรี ย์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอิน ทรี ย์ เพชรบูร ณ์ (มก.พช.)


มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ พัฒนาขึ้นจากงานวิจัยของนักวิชาการจากมหาวิทยาลั ยราชภัฏเพชรบูรณ์
ร่วมกันชุมชนเกษตรกรในปี พ.ศ. 2553-50 เป็นมาตรฐานเฉพาะกลุ่มที่ใช้ตรวจรับรองผู้สมัครเป็นสมาชิก
เครือข่ายเกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ ในสังกัดสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แชรบูรณ์เท่านั้น
โดยทางกลุ่มได้ใช้มาตรฐานเป็นมาตรการพัฒนาเครือข่ายเกษตรอิ นทรีย์เพื่อความพอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน และ
สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรจนเกิดการรวมตัวพัฒนาเป็นเครือข่ายอย่างยั่งยืนเป็นรูปธรรมมาถึงปัจจุบัน
19

ภาพที่ 2.15 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี เพชรบูรณ์ (มก.พช.)


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอิน ทรี ย์ ช มรมเกษตรอิน ทรี ย์เ กาะพะงัน เป็นระบบการตรวจรั บ รอง


มาตรฐานเกษตรอิน ทรี ย์ แบบชุมชนรั บ รอง (Participatory Guarantee System – PGS) ที่พัฒ นาขึ้นโดย
มูลนิธิสายใยแผ่นดินร่วมกับกลุ่มเกษตรกร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบนเกาะพะงัน เมื่อปี พ.ศ. 2550 ภายใต้
โครงการ “เกาะพะงัน เกาะเกษตรอินทรีย์ ” ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงพาณิชย์ (สมาคมการค้า
เกษตรอินทรีย์ไทย)

ภาพที่ 2.16 ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ชมรมเกษตรอินทรีย์เกาะพะงัน


ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า
เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ระวิวรรณ หาหงษ์ (2562) ได้ทาการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการซื้อข้าวอินทรีย์ของผู้บริโภคในเขต
กรุงเทพมหานครจาแนกตามช่องทางการจัดจาหน่าย ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่รู้จักข้าวอินทรีย์มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม
ที่ไม่เคยซื้อข้าวอินทรีย์ จานวน 127 คน สาเหตุที่ไม่เคยซื้อเนื่องจากไม่มีข้อมู ลเกี่ยวกับสินค้าโดยมีแนวโน้มที่
จะบริโภคในอนาคต กลุ่มที่เคยซื้อข้าวอินทรีย์ จานวน 273 คน ผู้ศึกษาได้แบ่ง 0 กลุ่มตัวอย่างตามประเภท
ของช่องทางการจาหน่าย ได้แก่ ตลาดระบบสมาชิก ตลาดช่องทางเฉพาะ ตลาดทั่วไป ตลาดนัด และพบอีก
ช่องทางที่ผู้ซื้อข้าวอินทรีย์ผ่านทางอินเตอร์เน็ต ผู้ซื้อข้าวอินทรีย์แต่ละช่องทางจัดจาหน่ายมีพฤติกรรมการซื้อที่
แตกต่างกันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความแตกต่างด้านเหตุผลในการเลือกซื้อระหว่างกลุ่มผู้ซื้อผ่านตลาดสมาชิกให้
เหตุว่าต้องการช่วยเกษตรกรกลุ่มผู้ซื้อผ่านตลาดช่องทางเฉพาะให้เหตุผลว่าสินค้ามีคุณภาพตรงตามความ
20

ต้องการ กลุ่มผู้ซื้อผ่านตลาดทั่วไปให้เหตุผลว่าหาซื้อง่ายกลุ่มผู้ซื้อผ่านตลาดนัดให้เหตุผลว่าราคาไม่แพง กลุ่มผู้


ซื้อผ่านอินเตอร์เน็ตให้เหตุผลว่าหาซื้อง่ายรวมถึงช่วยเกษตรกรและสินค้ามีคุณภาพตรงตามความต้องการ ใน
ด้านส่วนประสมทางการตลาดนั้นถือเป็นส่วนที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อข้าวอินทรีย์เช่นกัน ซึ่งกลุ่มผู้ซื้อข้าว
อินทรีย์ผ่านทั้ง 5 ช่องทาง จะให้ความสาคัญในด้านราคาเป็นอันดับแรก ซึ่งทั้ง 5 ช่องทาง มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับข้าวอินทรีย์และความใส่ใจสุขภาพในระดับมาก ดังนั้นผู้ประกอบการควรเน้นถึงคุณประโยชน์ของข้ าว
อินทรีย์และคัดเลือกสินค้าที่ดีราคาไม่แพงในการจัดจาหน่ายเพื่อรองรับความอ่อนไหวต่อราคาของผู้ซื้อ
อริ ศ รา รุ่ งแสง ( 2555) ได้ศึกษาเรื่อ ง ปัจจัยที่ส่ งผลต่อพฤติ กรรมการซื้อ ผั ก ปลอดสารพิ ษ ของ
ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริโภคหญิงไทยที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ
หญิง มีอายุ 35-00 ปี ระดับ การศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี ประกอบอาชีพอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้
เฉลี่ยต่อเดือน 00,001 - 60,000 บาท และมีสถานภาพสมรส/อยู่ด้วยกัน 2. ผู้บริโภคมีการรับรู้ข่าวสารผัก
ปลอดสารพิษโดยภาพรวมอยู่ในระดับการรับรู้มาก 3. ผู้บริโภคมีแรงจูงใจในการซื้อผักปลอดสารพิษ โดย
ภาพรวมมีแรงจูงใจในการซื้อมาก ที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า แรงจูงใจด้านความปลอดภัยและ
แรงจูงใจด้านความสะอาด มีแรงจูงใจในการซื้อมากที่สุด 0. ผู้บริโภคมีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าที่รับรู้ต่อผัก
ปลอดสารพิษ โดยภาพรวมมีคุณค่าที่รับรู้ของผักปลอดสารพิษในระดับมากที่สุด 5. ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการ
ซื้อผักปลอดสารพิษมีจานวนเฉลี่ยในการซื้อ/บริโภคผักปลอด สารพิษประมาณ 2 ครั้งต่อสองสัปดาห์ และโดย
มีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 197.35 บาทต่อครั้ง
พรรณรี สุรินทร์ (2559) ได้ศึกษาเรื่อง ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกซื้อผลไม้ออร์แกนิค
ในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาพบว่า ตลาดผลไม้ออร์แกนิคในกรุงเทพมหานคร มีโครงสร้างเป็นแบบตลาด
กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด เนื่องจากผู้ผลิตและผู้จาหน่ายสามารถเข้ามาในการตลาดได้ง่ายทาให้มีผู้ผลิต ผู้จาหน่าย
และมีผู้บริโภคในตลาดเป็นจานวนมาก นอกจากนี้ผลไม้ออร์แกนิคเป็นสินค้าที่มีลักษณะที่ไม่แตกต่างกัน และ
สามารถทดแทนกันได้ ทาให้ผู้ผลิตและจัดจาหน่ายแต่ละรายจะพยายามสร้างความแตกต่างในด้านผลิตภัณฑ์
ช่องทางจัดจาหน่าย การส่งเสริมการขาย และสร้างความเชื่อมั่นในตราสัญญาลักษณ์
สุทธดา, ธัญพร และวัชระ (2562) ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมความต้องการผักปลอดสารพิษของ
ผู้บริโภคในอาเภอเมืองจังหวัดเชียงราย ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิง มีระดับ
การศึกษาปริญญาตรี อาชีพเจ้าของกิจการ มีรายได้ต่อเดือนต่ากว่าหรือเท่ากับ 10 ,000 บาท และมีสถานภาพ
สมรส/อยู่ด้วยกัน ส่วนใหญ่จะซื้อผักปลอดสารพิษที่ตลาดสด มีความถี่ในการซื้อ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ค่าใช้จ่ายใน
การซื้อต่อครั้งเฉลี่ย 119.71 บาท มีแนวโน้มการซื้อผักปลอดสารพิษอย่างแน่นอนในอนาคต และมีแนวโน้ม
การบอกต่อบุคคลอื่นอย่างแน่น อนจานวน 329 คน โดยชนิ ดของผักที่ผู้บริโภคนิยมซื้อมากที่สุดคือ ผักบุ้ง
รองลงมาคือ พริก บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อผักปลอดสารพิษมากที่สุดคือ ตัวเอง รองลงมาคือ พ่อ/แม่ และ
เหตุผลที่มีความสาคัญในการเลือกซื้อผักปลอดสารพิษมากที่สุด ได้แก่ คุณภาพ/ ความสะอาด รองลงมาคือ
ความปลอดภัย ไร้ ส ารพิ ษ ความสดใหม่ข องผั ก การใส่ ใจใน สุ ขภาพ ราคา และการใส่ ใ จต่ อสิ่ ง แวดล้ อ ม
ตามลาดับ
21

ธิติมา เทียนไพร (2550) ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการเลือกซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในอาเภอ


เมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เข้ามาเลือกซื้อผักปลอดสารพิษ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มี
อายุในช่วง 01-50 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงาน บริษัทเอกชน
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 9,001-12,000 บาท ส่วนใหญ่นิยมเลือกซื้อผักกาดชนิดต่าง ๆ ร้านที่นิยมเลือกซื้อ
คื อ บิ๊ ก ซี ซุ ป เปอร์ เ ซ็ น ต์ เ ตอร์ ผู้ ซื้ อ เป็ น ผู้ ตั ด สิ น ใจซื้ อ เองส าหรั บ ช่ ว งเวลาที่ นิ ย มเลื อ กซื้ อ ระหว่ า ง
18.01-22.00 น.
รัฐนันท์ และวรัญญา (2559) ได้ศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้ออาหารออร์แกนิคในเขต
จังหวัดกรุงเทพมหานคร จากการวิจัยพบว่า รายได้มีความสัมพันธ์กับระดับราคาอาหารออร์แกนิค ที่ก ลุ่ ม
ผู้บริโภคเลือกซื้อ เพศที่แตกต่างกันมีผลต่อการส่งเสริมทางการตลาดที่แตกต่างกัน และปัจจัยด้านอาชีพที่
แตกต่างกันมีผลต่อช่องทางการจัดจาหน่ายที่แตกต่างกันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ผลการวิจัยครั้งนี้ช่วยให้ผู้ที่ทา
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องในการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดต่อไปได้
บุษกร, ศุภ กัญญา และเจี ยระไน (2564) ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการซื้ออาหารปลอดภัยของ
ผู้บริโภคในจังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารปลอดภัยประเภทผัก โดย
ซื้อจากตลาดสด การเลื อกสถานที่ซื้ออาหารปลอดภัยพิจารณาจากความใกล้ ที่พักหรือที่ ทางาน สาเหตุที่
ผู้บริโภคเลือกซื้ออาหารปลอดภัย คือ ดีต่อสุขภาพผู้มีอิทธิพลต่อการเลื อกซื้ออาหารปลอดภัยมากที่สุ ดคื อ
ตนเอง ผู้บริโภคยินดีซื้ออาหารปลอดภัยในราคาที่สูงกว่าอาหารปกติร้อยละ 5 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ
อาหารปลอดภัยระดับมากมี 5 ปัจจัย เรียงลาดับ จากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยดังนี้ ด้านผู้ขาย ด้านลักษณะทาง
กายภาพและสภาพแวดล้อม ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการ และด้านราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ
อาหารปลอดภัยระดับปานกลางคือ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหาร
ปลอดภัยระดับน้อยคือ ปัจจัยด้านสถานที่ ผู้บริโภคที่มี สถานภาพ รายได้ ระดับการศึกษา และจานวนสมาชิก
ในครอบครัวต่างกันให้ความสาคัญกับปัจจัยทางการตลาดที่ มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารปลอดภัยไม่แตกต่าง
กัน ส่วนผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ และอาชีพต่างกันให้ความสาคัญ กับปัจจัยทางการตลาดที่มี ผลต่อการตัดสินใจ
ซื้ออาหารปลอดภัยแตกต่างกัน
หทัยศิลป์ และล่าสัน (2560) ได้ศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเกษตร
อินทรีย์ของผู้บริโภคในกรุงสตอกโฮลม์ประเทศสวีเดน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ
ชาย อายุ ร ะหว่าง 35-00 ปี มีร ะดับ การศึกษาปริญญาตรีมีอาชีพลู กจ้าง/พนักงานมีรายได้เฉลี่ ยต่อเดือน
35,001-07,500 โครนาสวีเดน มีความรู้ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์อาหารเกษตรอินทรีย์ระดับมากมีระดับความ
คิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับดีทุกด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้า น
ราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ความรู้ความเข้าใจมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
การซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค ด้านแนวโน้มการซื้อ และด้านแนวโน้มการแนะนาให้ผู้อื่น
ซื้ออย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 และส่วนประสมทางการตลาด มีอิทธิพ ลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์
อาหารเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค ด้านความถี่ในการซื้อจานวน (ครั้งต่อสัปดาห์) ด้านค่าใช้จ่ายในการซื้อ โดย
22

เฉลี่ย (โครนาสวีเดนต่อครั้ง) ด้านแนวโน้มการซื้อ และ ด้านแนวโน้มการแนะนาให้ผู้อื่นซื้ออย่างมีนัยสาคัญทาง


สถิติ 0.01 และ 0.05 ตามลาดับ
ศักดิ์ดา, ศุภรัตน์, พิชญา, ณรงค์ และภานิตา (2563) ได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรรมการซื้อ
และความต้องการการบริโภคสินค้าประมงอินทรีย์ บนพื้นฐานการพึ่งพาตนเองที่ยั่งยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด พบว่า 1. ด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุด ได้แก่ บรรจุภัณฑ์น่าสนใจ บรรจุภัณฑ์
ทัน สมัย สี สั น สะดุดตา กะปิ กุ้งแห้ ง หมึกแห้ ง ปลาแห้ งคุณภาพดี เน้นปรุงอาหารได้หลากหลาย ด้ านจุด
จาหน่าย ซื้อผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ ซื้อในแหล่งผลิต หาซื้อได้ตามจุดพักรถ/แหล่งท่องเที่ยว
ด้านราคา ผู้บริโภคจะพิจารณาจากความตระหนักถึงคุ้มค่าที่ได้รับ ราคา เหมาะสมไม่แพงจนเกินไป ราคาถูก
ด้านการส่งเสริมการตลาดผู้บริโภค พิจารณาจากความถี่ได้รับข่าวประชาสัมพันธ์ มีการจัดนิทรรศการ/ออก
ร้านบ่อย ตามลาดับ 2. สิ่งกระตุ้น: ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านจุดจาหน่าย ด้านราคา และด้านส่งเสริมการตลาด
พบว่าคุณภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนประมงอินทรีย์ดี รสชาติอร่อย และสีสันสวยงาม ตามลาดับ 3. จากการ
สัมภาษณ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการซื้อสินค้าประมงอินทรีย์ เช่น กะปิ มีการซื้อสินค้าแล้วนาไปบรรจุผลิตภัณฑ์
เพื่อขายต่อมีการผสมกับสินค้าที่อื่น ทาให้กะปิแท้ของตลาดขายได้ลาบากขึ้น สินค้าประมงอินทรีย์มีการทา
ธนาคารปู เพื่อจะได้ต่อรองราคาสูงขึ้นในปริมาณมากได้แต่มีทางรีสอร์ทที่มารับซื้อจากชาวประมงทาให้ราคา
ขายสูงขึ้น แต่ในการขายชาวประมงต่างคนต่างขาย การที่ชาวประมงจับมาขายก็จะทาให้จานวนปูลดน้อยลง
เอื้อการย์ เจริญสว่าง (2561) ได้ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผักอินทรีย์ ในเขต
กรุงเทพมหานคร จากการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดกลุ่มผู้บริโภคที่มีการซื้อในผักอินทรีย์ และเพื่อ
ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภคที่ ก าหนดการซื้ อ ของผั ก อิ น ทรี ย์ ข องผู้ บ ริ โ ภค ในเขต
กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง จานวน 000 ราย โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามในช่วงมกราคม - มีนาคม
2561 โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ Chrome
tab เพื่ อ ความสั ม พั น ธ์ ข องข้ อ มู ล และใช้ ก ารวิ เ คราะห์ ก ลุ่ ม แบบไม่ เ ป็ น ขั้ น ตอน K-Mean Cluster จาก
การศึกษาได้มีการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ไม่เคยซื้อผักอินทรีย์ เคยซื้อผ้าอินทรีย์ และนึกถึงผัก
อินทรีย์เป็นอันดับแรก และเคยซื้อผักอินทรีย์แต่ไม่ได้นึกถึงผักอินทรีย์เป็นอันดับแรก โดยผลการศึกษาพบว่า
ทุกกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาส่วนใหญ่
อยู่ ที่ ป ริ ญ ญาตรี ในเรื่ อ งปั จ จั ย ส่ ว นผสมทางการตลาดพบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งให้ ค วามส าคั ญ ด้ า นราคาให้
ความส าคัญมาก ส่ ว นความส าคัญด้านผลิ ตภัณฑ์ ด้านสถานที่จัดจาหน่าย และด้านส่ งเสริมการตลาดให้
ความสาคัญปานกลาง ผลการวิเคราะห์จากการใช้การวิเคราะห์กลุ่มแบบไม่เป็นขั้นตอน K-Mean Cluster
ผ่านโปรแกรม SPSS โดย ใช้ปัจจัยทางการตลาด 0 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่จัด
จาหน่าย และด้านส่งเสริมทางการตลาดเป็นตัวแปรในการแบ่งกลุ่มสามารถจาแนกได้ ทั้งหมด 0 กลุ่มผู้ซื้อผัก
อินทรีย์ ดังนี้กลุ่มที่ 1 หรือ กลุ่มเน้นคุณภาพไม่เกี่ยงราคา กลุ่มที่ 2 หรือกลุ่มเน้นบริการ กลุ่มที่ 3 หรือกลุ่มเน้น
ภาพลักษณ์ กลุ่ม 0 หรือกลุ่ม เน้นสะดวกราคาไม่แพง
ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตรที่ 9 จั ง หวั ด สงขลา ได้ ท าการศึ ก ษาพฤติ ก รรมการบริ โ ภคสิ นค้า
เกษตรอินทรีย์ในกลุ่มตัวอย่าง 3,356 ตัวอย่าง ทุกจังหวัดทั่วประเทศระหว่าง เดือนพฤษภาคม ถึง มิถุนายน
23

2561 โดยบูรณาการร่วมกับสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1-12 พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง


ร้อยละ 65 เพศชาย ร้อยละ 35 โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่ซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ประเภทสินค้าผักสด ร้อยละ 46
ผลไม้ ร้อยละ 26 ข้าว ร้อยละ 21 ธัญพืช/สมุนไพร ร้อยละ 4 เนื้อสัตว์ ไข่ ร้อยละ 2 และอื่นๆ ร้อยละ 1
ตามลาดับ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ที่เคยซื้อสินค้าอินทรีย์ ร้อยละ 62 โดยส่วนใหญ่ซื้อเป็นอาหารสด อาหารพร้อ ม
ปรุงกึ่งสาเร็จรูป อาหารสาเร็จรูป และอาหารแช่แข็ง สาเหตุหลักตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์มา
บริ โ ภค เนื่ องจากมีความมั่น ใจในตรารั บ รองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ว่าปลอดภัยกว่าสิ นค้าทั่ว ไป และมี
ความมั่นใจว่าปราศจากสารพิษและสารเคมี โดยนิยมแหล่งที่เลื อกซื้อสินค้า ได้แก่ ตลาดสดปกติทั่วไป ร้อยละ
35 ตลาดนัดทั่วไป ร้อยละ 25 ตลาดเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 18 และตลาดโมเดิรน์เทรด ร้อยละ 10 และตลาด
อื่นๆ ร้อยละ 12 ในขณะที่ผู้บริโภคร้อยละ 38 ที่ไม่เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์สาเหตุส่วนใหญ่เนื่องจากสินค้า
เกษตรอินทรีย์มีราคาแพงกว่าสินค้าทั่วไป หาซื้อค่อนข้างยากวางจาหน่ายไม่ต่อเนื่อง และประเภทสินค้าเกษตร
อินทรีย์มีให้เลือกไม่หลากหลาย แม้ปัจจุบันกระแสการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์จะเป็นที่สนใจมากขึ้น (ศูนย์
ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง, 2561)

ตารางสังเคราะห์ตัวแปร
ตารางที่ 2.2 ตารางสังเคราะห์ตัวแปร
ผู้แต่ง ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการซื้อ
ระวิวรรณ หาหงษ์ (2562)  
อริศรา รุ่งแสง (2555)  
พรรณรี สุรินทร์ (2559)  
สุทธดา, ธัญพร และวัชระ  
(2562)
ธิติมา เทียนไพร (2550)  
รัฐนันท์ และวรัญญา (2559)  
บุษกร, ศุภกัญญา และเจียระไน  
(2564)
หทัยศิลป์ และล่าสัน (2560)  
ศักดิ์ดา, ศุภรัตน์, พิชญา, ณรงค์  
และภานิตา (2563)
เอื้อการย์ เจริญสว่าง (2561)  
24

บทที่3
ระเบียบวิธีวิจัย

การศึ ก ษาเรื่ อ ง “พฤติ ก รรมการซื้ อ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ข องผู้ บ ริ โ ภคในอ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด
สุราษฎร์ธานี”
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการทดสอบคุณภาพเครื่องมือ
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.1.1 ประชากรที่ใช้ศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในอาเภอเมือง จังหวัด
สุราษฎร์ธานี
3.1.2 การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ และอาศัยในอาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยคานวนจากสูตรการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ทราบจานวนประชากร จาก
สูตรของคอแครน (Cochran, 1977) ดังต่อไปนี้
𝑃(1−𝑃)𝑍 2
สูตร
n=
𝑒2
โดย n จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
P สัดส่วนของประชากรที่ผู้วิจัยต้องการสุ่ม
Z ระดับความมั่นใจที่ผู้วิจัยกาหนดไว้
Z มีค่าเท่ากับ 1.96 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (ระดับ .05)
e สัดส่วนความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้
ผู้วิจัยกาหนดสัดส่วนของประชากรเท่ากับ 0.50 ต้องการระดับความมั่นใจ 95%
และยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ 5%
สัดส่วนของประกรที่ผู้วิจัยกาหนดจะสุ่ม P = 0.50
ต้องการความมั่นใจ 95% ดังนั้น Z = 1.96
ยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ 5% ดังนั้น e = 0.05
0.50(1−0.50)1.962
แทนค่าลงในสูตรดังนี้ n=
0.052
25

0.50×0.50×3.84
n=
0.0025
0.96
n=
0.0025
n = 384
จากการคานวน ได้กาหนดค่าความเชื่อมั่น 95% ความผิดพลาดที่ยอมรับได้ไม่เกิน 5% ได้ขนาดกลุ่ม
ตัวอย่าง (sample) จานวน 380 คน ผู้วิจัยจึงกาหนดตัวอย่างผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในอาเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นจานวน 000 คน
3.1.3 วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่ายเพื่อให้ได้จานวนกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วน ดังตารางที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 สถานที่เก็บข้อมูล และจานวนตัวอย่าง
สถานที่ จานวนตัวอย่าง (คน)
ไฮเปอร์มาร์เก็ต (เซ็นทรัล แม็คโคร บิ๊กซี โลตัส) 100
ซุปเปอร์มาร์เก็ต (ซุปเปอร์ชิป โลตัสเอ็กซ์เพรส) 100
ร้านเฉพาะสินค้าเกษตรอินทรีย์ (ดอยคา เพาะใจ 100
รักฟาร์ม สุขใจในบาง Porjairak Farm สวนโถ
เกษตรอินทรีย์,แปลงผักกอใจ By ไร่ต้นหลิว)
ตลาดและช่องทางค้าปลีกอื่นๆ (ตลาดโพหวาย 100
,Surat Thani Farmer MARKET ตลาด
เกษตรกร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
รวม 000

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการทดสอบคุณภาพเครื่องมือ
3.2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัยนี้เป็น การวิจั ยเชิงปริ มาณ (Quantitative Research) ใช้วิธีการวิจัยแบบส ารวจ (Survey
Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ที่สร้างขึ้นมาจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค
ในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 เป็นคาถามคัดกรองคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างจานวน 2 ข้อ ดังนี้
1.ท่านเคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ภายใต้ตรารับรองมาตรฐานสินค้าอินทรีย์เหล่านี้ในช่วง 3 เดือนที่
ผ่านมาหรือไม่
26

ที่มา : วิสาหกิจเพื่อสังคม บ้านรักษ์ดิน. (เข้าถึง:http://www.baanrakdin.com/article/36/ตรารับรองมาตรฐานสินค้า


เกษตรอินทรีย์-ของประเทศไทยและนานาชาติ.2563)

2.ท่านอาศัยอยู่ในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีหรือไม่
ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีลักษณะคาถามแบบปลายเปิด และปลายปิด (check list) ใช้มาตราวัดนามบัญญัติ
(Nominal Scale) และมาตราเรียงลาดับ (Ordinal Scale) จานวน 5 ข้อ ดังตารางที่ 3.2
ตารางที่ 3.2 ตัวแปรและรายการคาถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล
ตัวแปร รายการคาถาม แหล่งอ้างอิง
ปัจจัยส่วนบุคคล 1.เพศ ปรับปรุงจาก (ณัฐวุฒิ แก้วพุ่ง, 2564;
2.อายุ ระวิวรรณ หาหงส์, 2562)
3.ระดับการศึกษา
0.อาชีพ
5.รายได้เฉลี่ยต่อเดือน

ส่วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกั บ พฤติกรรมการซื้อสิ นค้า เกษตรอินทรีย์เป็นคาถาม จานวน 8 ข้อ


มีลักษณะคาถามแบบปลายปิด (Close-ended Question) และอีก 2 ข้อ เป็นลักษณะของคาถามปลายเปิด
(Open-ended question) ดังตารางที่ 3.3
ตารางที่ 3.3 ตัวแปรและรายการคาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
ตัวแปร รายการคาถาม แหล่งอ้างอิง
พฤติกรรมการซื้อ 1.สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ซื้อเป็นประจามี ปรับปรุงจาก (กชวรรณ เวชช
อะไรบ้าง พิทักษ์, 2562;
2.ท่านซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อ เอื้อการย์ เจริญสว่าง, 2561)
วัตถุประสงค์ใดมากที่สุด
3.เหตุผลในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
0.บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า
เกษตรอินทรีย์ของท่านมากที่สุด
27

ตัวแปร รายการคาถาม แหล่งอ้างอิง


5.ท่านได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกษตร
อินทรีย์ ผ่านช่องทางใดบ่อยที่สุด
6.ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความถี่ในการซื้อ
สินค้าเกษตรอินทรีย์
7.ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยใน
การซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
8.ท่านนิยมชื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ทาง
ช่องทางใดมากที่สุด
9.ท่านนิยมไปซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ใน
ช่วงเวลาใดมากที่สุด
10.ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในรูปแบบ
ใดมากที่สุด

3.2.2 เกณฑ์การวัด
เกณฑ์ในการวัดแบบสอบถามแต่ละข้อกาหนดไว้ดังนี้
ส่วนที่ 1 แบบสอบถามคัด กรองคุณลั ก ษณะกลุ่ มตัว อย่า ง โดยแบบสอบถามมีลั ก ษณะเป็ น แบบ
ตรวจสอบรายการ (Check -List) เป็นคาถามแบบปลายปิด ใช้มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal) โดยผู้ตอบ
แบบสอบถามจะเลือกคาตอบที่ตรงกับความเป็นตัวตนของผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด
ส่วนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ
รายได้เฉลี่ ยต่อเดือน มีลักษณะคาถามแบบปลายเปิด และปลายปิด (check list) ใช้มาตราวัดนามบัญญัติ
(Nominal Scale) และมาตราเรียงลาดับ (Ordinal Scale)
ส่วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้า เกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค ใช้คาถามแบบ
เลือกตอบเพื่อเก็บข้อมูลและนาข้อมูลมาแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ
3.2.3 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยจะทดสอบความเที่ยงตรงและตรวจสอบความเชื่อมั่น ดังนี้
ทดสอบความเที่ยงตรง (Content Validity) คณะผู้วิจัยนาแบบสอบถามที่จัดทาขึ้นส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิ
จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบ และพิจารณาความเที่ยงตรงของเนื้อหาแล้วนาผลการพิจารณาที่ได้ไปวิเคราะห์
28

ความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย (Index of Item-Objective Congruence: IOC)


โดยข้อคาถามที่มีค่า IOC สูงกว่า 0.50 จะนาไปใช้ในแบบสอบถาม (กัลยา วาณิชย์บัญชา, 2538)

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูลประกอบด้วย 2 ลักษณะ คือ
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ได้จากการใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน
000 คน โดยผู้วิจัยจะดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือจากกลุ่มตัวอย่างด้วย
ตนเอง ซึ่งเป็นข้อมูลหลักที่ใช้ในการวิเคราะห์ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้เพื่อให้ได้ข้อสรุปตามวัตถุประสงค์ของการ
วิจัย
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ได้ศึกษาจาก การค้นคว้าจาก
หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการศึกษาวิจัย ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตของหน่วยงาน

3.4 วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล


3.4.1 การจัดทาข้อมูล
ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 000 คน โดยมีขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.รวบรวมแบบสอบถามตามความต้องการแล้วผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้อง และสมบูรณ์ของ
แบบสอบถาม
2.นาแบบสอบถามที่ตรวจสอบความสมบูรณ์แล้วมาลงรหัส (Coding) ในแบบรหัสสาหรับบประมวล
ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
3.น าข้อมูล มาบั น ทึ กลงในเครื่ อ งคอมพิว เตอร์เ พื่ อประมวลด้ว ยโปรแกรมส าเร็ จรูป ทางสถิ ติ เ พื่ อ
วิเคราะห์ข้อมูลตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
3.4.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้นาข้อมูลแบบสอบถามที่รวบรวมได้มาดาเนินการดังนี้
1.ตรวจสอบข้อมูล (Editing) เมื่อรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดแล้วจะทาการตรวจสอบ ความถูกต้อง
และสมบูรณ์ของแบบสอบถาม
2.การลงรหัส (Coding) โดยนาแบบสอบถามที่ถูกต้องเรียบร้อยแล้ว มาเปลี่ยนสภาพ ข้อมูล (Data)
เป็ น สารสนเทศ (Information) ตามรหั ส ที่ได้กาหนดไว้ล่ ว งหน้าแล้ ว จึงนามาบันทึ กลง คอมพิว เตอร์ เ พื่ อ
ประมวลผล
3.ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์สาเร็จ รูป
(SPSS)
29

3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และทดสอบสมมติฐาน
ผู้วิจัยนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์
ผลสาเร็จรูปทางสถิติ (SPSS) โดยมีรายละเอียดการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
1. สถิติเชิงพรรณนา คือ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตร
อินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย
2. สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้เพื่อ หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อ
สินค้าเกษตรอินทรีย์ของบริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ไคสแควร์
30

บทที่4
รายงานผลการศึกษา

การศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์


ธานี” โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้ว ยแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างผู้เคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์จานวน 000 คน
และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา 2) การวิเคราะห์
ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมาน โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอแบบตารางประกอบการบรรยาย เรียงลาดับตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจัยหรือการทดสอบสมมติฐาน ดังนี้
0.1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
0.2 ข้อมูลพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค
0.3 การทดสอบสมมติฐานการวิจัย
โดยมีสัญลักษณ์ทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง
2 แทน ไควสแควร์
Sig แทน นัยสาคัญทางสถิติ
* แทน 0.05 มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
31

4.1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
เป็นการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 000 คน ได้แก่
เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน นาเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปจานวนความถี่ และ
ค่าร้อยละ ดังตารางที่ 0.1
ตารางที่ 4.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม (n=000)
ปัจจัยส่วนบุคคล จานวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
ชาย 105 36.3
หญิง 255 63.7
2. อายุ
ต่ากว่าหรือเทียบเท่า 22 ปี 137 30.3
23-30ปี 133 33.3
31 ปีขึ้นไป 130 32.5
3. ระดับการศึกษา
ต่ากว่าปริญญาตรี 95 23.8
ปริญญาตรี 286 71.5
สูงกว่าปริญญาตรี 19 0.8
0. อาชีพ
นักเรียน/นักศึกษา 106 36.5
ข้าราชการ 55 13.8
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 30 8.5
ธุรกิจส่วนตัว 130 32.5
อื่นๆ 35 8.8
32

ปัจจัยส่วนบุคคล จานวน (คน) ร้อยละ


5. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
น้อยกว่าหรือเทียบเท่า 8,000 บาท 98 20.5
8,001-15,000 บาท 123 30.8
15,001-22,000 บาท 80 20.0
22,001 บาทขึ้นไป 99 20.8

ผลการวิจัย พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 255


คน คิดเป็นร้อยละ 63.7 และเพศชายจานวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 36.3
ด้านอายุ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุต่ากว่าหรือเทียบเท่า 22 ปี จานวน 137 คน คิดเป็นร้อย
ละ 30.3 รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 23-30 ปี จานวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 และกลุ่มอายุ 31 ปีขึ้นไป
จานวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 ตามลาดับ
ด้านระดับการศึกษา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีจานวน 286 คน คิด
เป็นร้อยละ 71.5 รองลงมาคือ ระดับต่ากว่าปริญญาตรีจานวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 23.8 และระดับสูงกว่า
ปริญญาตรีจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8 ตามลาดับ
ด้านอาชีพ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา จานวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ
36.5 รองลงมาคือ อาชีพธุรกิจส่วนตัว จานวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 อาชีพข้าราชการ จานวน 55 คน
คิดเป็นร้อยละ 13.8 อาชีพอื่นๆ จานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 8.8 และอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน 30
คน คิดเป็นร้อยละ 8.5 ตามลาดับ
ด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีร ายได้เฉลี่ยต่อเดือน 8,001-15,000 บาท
จานวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 รองลงมาคือรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 22,001 บาทขึ้นไป จานวน 99 คน คิด
เป็นร้อยละ 20.8 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน น้อยกว่าหรือเทียบเท่า 8,000 บาท จานวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 20.5
และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001-22,000 บาท จานวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 20.0 ตามลาดับ
33

4.2 ข้อมูลพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
เป็นการวิเคราะห์ พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ของผู้ตอบแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 000 คนได้แก่ ประเภทของสินค้า วัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า เหตุผลหลักในการซื้อสินค้า บุคคลที่มี
อิทธิพลในการซื้อสินค้า ช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ความถี่ในการซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อ
สินค้า สถานที่ที่นิยมซื้อสินค้า ช่วงเวลาในการซื้อสินค้า และรูปแบบในการซื้อสินค้า นาเสนอผลการวิเคราะห์
ในรูปจานวนความถี่ และค่าร้อยละ ดังตารางที่ 0.2
ตารางที่ 0.2 พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้ตอบแบบสอบถาม (n=400)
พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ จานวน (คน) ร้อยละ
1. สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ซื้อเป็นประจา
1.1 ผักสด 130 33.5
1.2 ผลไม้สด 90 22.5
1.3 เนื้อ ไข่ นม 118 29.5
1.0 ข้าวอินทรีย์ 28 7.0
1.5 อาหารทะเล 30 7.5
2. ท่านซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อวัตถุประสงค์ใดมากที่สุด
2.1 บริโภคเอง 357 89.3
2.2 เป็นของฝาก 21 5.3
2.3 นาไปขายต่อ 22 5.5
3. เหตุผลหลักในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
3.1 ปลอดสารพิษ 188 47.0
3.2 ใส่ใจสุขภาพ 178 44.5
3.3 ตามกระแสสังคม/เพื่อน 16 4.0
3.0ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม 18 4.5
0. บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของท่านมากที่สุด
0.1 บุคคลในครอบครัว 154 38.5
0.2 แฟน/คนรัก 21 5.3
0.3 เพื่อน 32 8.0
0.0 พนักงานขายในร้าน 4 1.0
0.5 ตัดสินใจด้วยตนเอง 189 47.3
34

พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ จานวน (คน) ร้อยละ


5. ท่านได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ผ่านช่องทางใดบ่อยที่สุด
5.1 การบอกกล่าวจากผู้อื่น 151 37.8
5.2 วิทยุ/โทรทัศน์ 28 7.0
5.3 Social media เช่น Line Facebook 190 47.5
5.0 โฆษณาบิลบอร์ด/สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ 31 7.8
6. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความถี่ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์จานวนกี่ครั้ง
6.1 1-7 ครั้ง 90 22.5
6.2 8-10 ครั้ง 108 27.0
6.3 15 ครั้งขึ้นไป 94 23.5
7. ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์จานวนกี่บาท
7.1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 500 บาท 124 31.0
7.2 501-1,500 บาท 125 31.3
7.3 1,501 บาทขึ้นไป 150 37.5
8. ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์สถานที่ใดมากที่สุด
8.1 ไฮเปอร์มาร์เก็ต (เช่น เซ็นทรัล แม็คโคร บิ๊กซี โลตัส) 109 27.3
8.2 ซุปเปอร์มาร์เก็ต (เช่น ซุปเปอร์ชิป โลตัสเอ็กซ์เพรส มินิบิ๊กซี) 123 30.8
8.3 ร้านค้าเฉพาะสินค้าเกษตรอินทรีย์ 37 9.3
8.0 ที่ตลาด/ร้านค้า (เช่น Surat Thani Farmer Market) 131 32.8
9. ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในช่วงเวลาใดบ่อยที่สุด
9.1 ช่วงเช้า (6.00 น.-11.30 น.) 78 19.5
9.2 ช่วงกลางวัน (11.31 น.-13.00 น.) 51 12.8
9.3 ช่วงบ่าย (13.01 น.-16.00 น.) 59 14.8
9.0 ช่วงเย็น (16.01 น.-18.00 น.) 162 40.5
9.5 ช่วงค่า (18.01 น.-22.00 น.) 50 12.5
10. ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในรูปแบบใดมากที่สุด
10.1 ซื้อผ่านหน้าร้าน 367 91.8
10.2 ซื้อผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เช่น Line, Facebook 11 2.8
10.3 ซื้อผ่านแอพพลิเคชั่นสั่งอาหาร เช่น Grab Food, 22 5.5
Foodpanda, LINE MAN
35

ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านสินค้าที่ซื้อเป็นประจา คือผักสด


มากที่สุด จานวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 33.5 รองลงมา ได้แก่ เนื้อ ไข่ นม จานวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ
29.5 ผลไม้สด จานวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 อาหารทะเล จานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 และข้าว
อินทรีย์ จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 7.0 ตามลาดับ
ซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อวัตถุประสงค์ใดมากที่สุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเพื่อบริโภคเอง
มากที่สุด จานวน 357 คน คิดเป็นร้อยละ 89.3 รองลงมา ได้แก่ นาไปขายต่อ จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ
5.5 และเป็นของฝาก จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 5.3 ตามลาดับ
เหตุผลหลักในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อเพราะปลอดสารพิษมากที่สุด
จานวน 188 คน คิดเป็นร้อยละ 07.0 รองลงมา ได้แก่ ใส่ใจสุขภาพ จานวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 00.5 ไม่
ทาลายสิ่งแวดล้อม จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 และตามกระแสสังคม/เพื่อน จานวน 16 คน คิดเป็น
ร้อยละ 0.0 ตามลาดับ
บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของท่านมากที่สุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
ซื้อเพราะตัดสิ น ใจด้ว ยตนเองมากที่สุด จ านวน 188 คน คิดเป็นร้อยละ 07.0 รองลงมา ได้แก่ บุคคลใน
ครอบครัว จานวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 38.5 เพื่อน จานวน32 คน คิดเป็นร้อยละ 8.0 แฟน/คนรัก
จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 5.3 พนักงานขายในร้านค้า จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 1.0 และอื่นๆ
จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3 ตามลาดับ
ได้ รั บ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ผ่ า นช่ อ งทางใดบ่ อ ยของท่ า นมากที่ สุ ด พบว่ า ผู้ ต อบ
แบบสอบถามซื้อผ่านช่องทาง Social media เช่น Line, Facebook มากที่สุด จานวน 190 คน คิดเป็นร้อย
ละ 07.5 รองลงมา ได้แก่ การบอกกล่าวจากผู้อื่น จานวน 151 คน คิดเป็นร้อยละ 37.8 โฆษณาบิล บอร์ด/สื่อ
สิ่งพิมพ์ต่างๆ จานวน 31 คิดเป็นร้อยละ 7.8 วิทยุ/โทรทัศน์ จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 7.0 ตามลาดับ
ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความถี่ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความถี่
8-10 ครั้ง มากที่สุด จานวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 27.0 รองลงมา ได้แก่ 15 ครั้งขึ้นไป จานวน 90 คน คิด
เป็นร้อยละ 23.5 และ 1-7 ครั้ง จานวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 ตามลาดับ
ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมี
ค่าใช้จ่าย 1,501 บาทขึ้นไป มากที่สุด จานวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมา ได้แก่ 501-1,500 บาท
จานวน 125 คน คิดเป็นร้อยละ 31.3 และน้อยกว่าหรือเท่ากับ 500 บาท จานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ
31.0 ตามลาดับ
นิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์สถานที่ใดมากที่สุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อที่ที่ตลาด/ร้านค้า (เช่น
Surat Thani Farmer Market) มากที่สุด จานวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 32.8 รองลงมา ได้แก่ ซุปเปอร์มาร์
เก็ต (เช่น ซุปเปอร์ชิป โลตัสเอ็กซ์เพรส มินิบิ๊กซี) จานวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 ไฮเปอร์มาร์เก็ต (เช่น
เซ็นทรัล แม็คโคร บิ๊กซี โลตัส) จานวน 109 คน คิดเป็นร้อยละ 27.3 และร้านค้าเฉพาะสินค้าเกษตรอินทรีย์ซื้อ
สินค้าเกษตรจานวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 9.3 ตามลาดับ
36

นิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในช่วงเวลาใดบ่อยที่สุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อในช่วงเย็น (16.01


น.-18.00 น.) มากที่สุด จานวน 162 คน คิด เป็นร้อยละ 00.5 รองลงมา ได้แก่ ช่วงเช้า (6.00 น.-11.30 น.)
จานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ช่วงบ่าย (13.01 น.-16.00 น.) จานวนว 59 คน คิดเป็นร้อยละ 10.8 ช่วง
กลางวัน (11.31 น.-13.00 น.) จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 12.8 และช่วงค่า (18.01 น.-22.00 น.) จานวน
50 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 ตามลาดับ
นิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในรูปแบบใดมากที่สุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามซื้อในรูปแบบผ่านหน้า
ร้านมากที่สุด จานวน 367 คน คิดเป็นร้อยละ 91.8 รองลงมา ได้แก่ ซื้อผ่านแอพพลิเคชั่นสั่งอาหาร เช่น Grab
Food, Foodpanda, LINE MAN จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 5.5 และซื้อผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เช่น
Line, Facebook จานวน 11 คิดเป็นร้อยละ 2.8 ตามลาดับ

4.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน
ผลการทดสอบสมมติฐานระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อ
เดือน กับ พฤติกรรมการซื้ อสิ น ค้าเกษตรอิน ทรีย์ ข องผู้ บริโ ภคในอาเภอเมื อง จังหวัดสุ ราษฎร์ธ านี ได้ แ ก่
ประเภทของสินค้า วัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า เหตุผลหลักในการซื้อสินค้า บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า
ช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ความถี่ในการซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า สถานที่ที่นิยมซื้อ
สินค้า ช่วงเวลาในการซื้อสินค้า รูปแบบในการซื้อสินค้า โดยใช้ค่าสถิติการทดสอบไคสแควร์ ดังตารางที่ 0.3
37

ตารางที่ 0.3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ โดยใช้สถิติไคสแควร์


พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
ปัจจัยส่วน ประเภทของ วัตถุประสงค์ เหตุผลหลัก บุคคลที่มี ช่องทางที่รับ ความถี่ในการ ค่าใช้จ่าย สถานที่ที่ ช่วงเวลาใน รูปแบบใน
บุคคล สินค้า ในการซื้อ ในการซื้อ อิทธิพลในการ ข้อมูล ซื้อสินค้า เฉลี่ยในการ นิยมซื้อ การซื้อสินค้า การซื้อสินค้า
สินค้า สินค้า ซื้อสินค้า เกี่ยวกับสินค้า ซื้อสินค้า สินค้า
2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig 2 Sig
เพศ 8.75 0.07 1.31 0.25 3.19 0.20 4.01 0.14 1.64 0.44 5.83 0.05* 1.98 0.37 2.58 0.46 0.58 0.97 1.32 0.25
อายุ 33.35 0.00* 18.75 0.00* 4.65 0.33 6.44 0.17 9.42 0.05 18.42 0.01* 46.03 0.00* 9.85 0.13 12.81 0.12 0.28 0.87
ระดับ 6.55 0.16 2.06 0.15 4.61 0.10 0.04 0.98 2.03 0.36 7.27 0.03* 4.93 0.09 6.31 0.10 3.66 0.46 0.25 0.62
การศึกษา
อาชีพ 17.03 0.15 23.67 0.00* 2.79 0.84 12.91 0.04* 13.41 0.04* 13.93 0.03* 46.96 0.00* 13.29 0.15 18.54 0.10 0.18 0.98
รายได้เฉลี่ย 26.27 0.01* 33.78 0.00* 9.07 0.17 4.94 0.55 12.34 0.06 23.14 0.01* 58.51 0.00* 8.29 0.51 20.68 0.06 2.07 0.56
ต่อเดือน
*p<0.05
38

จากตารางที่ 0.3 พบว่ า เพศ อายุ ระดั บ การศึ ก ษา อาชี พ และรายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น ส่ ง ผลต่ อ
พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
เพศ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านความถี่ในการซื้อสินค้า
อายุ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านประเภทของสินค้า วัตถุประสงค์ในการซื้อ
สินค้า ความถี่ในการซื้อสินค้า และค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า
ระดับการศึกษา ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านความถี่ในการซื้อสินค้า
อาชีพ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
บุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า ช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ความถี่ในการซื้อสินค้า และค่าใช้จ่ายใน
การซื้อสินค้า
รายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ น ส่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ด้ า นประเภทของสิ น ค้ า
วัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ความถี่ในการซื้อสินค้า และค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า
39

บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย

การศึกษาเรื่อง ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม รวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจานวน
000 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ และทดสอบสมมติฐาน
ด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ โดยสามารถสรุป อภิปรายผลและมีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้

5.1 ผลสรุปการวิจัย
ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 63.7 มีอายุต่ากว่าหรือเทียบเท่า 22 ปี
คิดเป็นร้อยละ 30.3 มีระดับการศึกษาขั้นสูงสุดอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 71.5 โดยมีอาชีพเป็น
นักเรียน/นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 36.5 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 8,001-15,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 30.8
ส่วนที่ 2 ข้อมูลพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประเภทของสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคซื้อเป็นประจาคือ ผักสด คิดเป็นร้อยละ 33.5 วัตถุประสงค์ที่ซื้อ
สินค้าเกษตรอินทรีย์คือ บริโภคเอง คิดเป็นร้อยละ 89.3 เหตุผลหลักในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพราะ
ปลอดสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 07.0 บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าคือ ตัดสินใจด้วยตนเอง คิดเป็น
ร้อยละ 07.3 รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ผ่านช่องทาง Social เช่น LINE Facebook บ่อยที่สุด คิด
เป็นร้อยละ 07.5 ความถี่ในการซื้อสินค้าคือ 8-10 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 27.0 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
1,501 บาท คิดเป็นร้อยละ 37.5 นิยมซื้อสินค้าที่ ตลาด/ร้านค้า (เช่น Surat Thani Farmer Market) คิดเป็น
ร้อยละ 32.8 ซื้อสินค้าในช่วงเย็น (16:01 น. -18:00 น.) บ่อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 00.5 และนิยมซื้อสินค้าผ่าน
หน้าร้าน คิดเป็นร้อยละ 91.8
ส่วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน
ปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ พบว่า
1. เพศ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านความถี่ในการซื้อสินค้า โดยผู้ตอบแบบ
ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีความถี่ในการซื้อสินค้าคือ 8-10 ครั้ง
2. อายุ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านประเภทของสินค้า วัตถุประสงค์ในการซื้อ
สินค้า ความถี่ในการซื้อสินค้า และค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุต่ากว่าหรือ
เทียบเท่า 22 ปี ประเภทของสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคที่ซื้อเป็นประจาคือ ผักสด มีวัตถุประสงค์ที่ซื้อ
สินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อ บริโภคเอง ความถี่ในการซื้อสินค้าคือ 8-10 ครั้ง และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
1,501 บาท
40

3. ระดับการศึกษา ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอิน ทรีย์ ด้านความถี่ในการซื้อสินค้า โดย


ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาขั้นสูงสุดอยู่ในระดับปริญญาตรี มีความถี่ในการซื้อสินค้าคือ 8-
10 ครั้ง
0. อาชีพ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้าเกษตร
อินทรีย์ บุคคลที่มีอิทธิ พลในการซื้อสิน ค้า ช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ความถี่ในการซื้อสินค้า และ
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา มี วัตถุประสงค์ที่ซื้อ
สินค้าเกษตรอินทรีย์ เพื่อ บริโภคเอง บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าคื อ ตัดสินใจด้วยตนเอง รับรู้
ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ผ่านช่องทาง Social เช่น LINE Facebook ความถี่ในการซื้อสินค้าคือ 8-10
ครั้ง และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า 1,501 บาท
5. รายได้เฉลี่ ย ต่อเดือน ส่ งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสิ นค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านประเภทของสิ นค้า
วัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ความถี่ในการซื้อสินค้า และค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า โดยผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 8,001-15,000 บาท ประเภทของสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภค
ที่ซื้อเป็นประจาคือ ผักสด มีวัตถุประสงค์ที่ซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อ บริโภคเอง ความถี่ในการซื้อสินค้าคือ
8-10 ครั้ง และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า 1,501 บาท

5.2 อภิปรายผลการวิจัย
ในการอภิปรายผลการศึกษาจะจาแนกตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังต่อไปนี้
5.2.1 ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้ อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1. เพศ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านความถี่ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพศที่ซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์มากที่สุดคือ เพศ
หญิ ง ส่ ว นใหญ่ มี ค วามถี่ ใ นการซื้ อ 8-10 ครั้ ง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของอริ ศ รา รุ่ ง แสง (2555) ได้
ทาการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
พบว่า เพศสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้านความถี่ที่ซื้อ
2. อายุ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้าเกษตร
อินทรีย์โดยเฉลี่ย อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้บริโภคในช่วงอายุต่ากว่าหรือเทียบเท่า 22 ปี มี
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในช่วง 3 เดือน อยู่ที่ 1,501 บาทขึ้นไป อาจเนื่องมาจากการใช้ชีวิตของผู้บริโภคช่วงอายุนี้ มีการ
ปรับเปลี่ยนหันมาสนใจสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับอริศรา รุ่งแสง (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่
มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า อายุส่งผลต่อพฤติกรรม
การซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างไรก็ตามผลการศึกษาอายุส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้าน
ประเภทของสินค้า วัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า และความถี่ในการซื้อสินค้ามีความขัดแย้งกัน อาจเนื่องมาจาก
พื้นที่ในศึกษานั้นแตกต่างกัน ทาให้พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์นั้นแตกต่างกัน
41

3. ระดับการศึกษา ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ


.05 ซึ่งสอดคล้องกับอริศรา รุ่งแสง (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอด
สารพิษของผู้บ ริโภคในเขตกรุ งเทพมหานคร พบว่า ระดับการศึกษาส่ง ผลต่อการซื้อสิ นค้าเกษตรอิ นทรีย์
แตกต่างกัน
0. อาชีพ ส่งผลต่อวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ซึ่งสอดคล้องกับอริศรา รุ่งแสง (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษ
ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า อาชีพส่งผลต่อการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์แตกต่างกัน
5. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ส่งผลต่อประเภทของสินค้าเกษตรอินทรีย์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 ซึ่งสอดคล้องกับอริศรา รุ่งแสง (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอด
สารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ส่งผลต่อการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
แตกต่างกัน

5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ข้อเสนอแนะจากการศึกษาในครั้งนี้
1. ผู้ประกอบการที่จาหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์สามารถนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ได้ เช่น จาก
ผลการวิจั ย ผู้ ตอบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ มีพฤติ กรรมการซื้ อสิ นค้า ประเภทผั กสดเป็นจานวนมาก ดังนั้น
ผู้ประกอบการควรมีการผลิตสินค้าประเภทผักสดให้มากพอต่อความต้องการของผู้บริโภค เหตุผลหลักใน
การซื้ อ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ข องผู้ บ ริ โ ภคเพราะปลอดสารพิ ษ ผู้ ป ระกอบการจึ ง ต้ อ งค านึ ง ถึ ง การผลิ ตที่
ปลอดสารพิษ ช่องทางการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคนิยมรับรู้ผ่าน Social media
เช่น Line, Facebook เป็นหลัก ผู้ประกอบการควรนาเสนอสินค้าผ่าน Social media เพื่อสร้างการรับรู้ใน
ตราสิ น ค้าให้ เป็ น ที่รู้ จั ก และกระตุ้น การตัดสิ นใจซื้อ มากยิ่งขึ้น และควรจัดจาหน่ายสิ นค้าในช่ว งเวลาเย็น
(16.01 น. 18.00 น.) โดยวางจาหน่ายสินค้าผ่านช่องทางหน้าร้านเป็นหลัก เช่น ตลาด/ร้านค้า เพราะผู้บริโภค
ส่วนใหญ่มักซื้อสินค้าตามช่วงเวลาและสถานที่ดังกล่าว
2. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ได้ เช่น สานักงานเกษตรและสหกรณ์
จังหวัดสุราษฎร์ธานี นาผลการวิจัยไปเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ ผู้เลี้ยงไก่ ไข่
หรือผู้ประกอบการปศุสั ตว์อินทรี ย์ นาข้อมูลไปแนะนาแนวทางในการวางแผนรู ปแบบของผลิ ตภัณ ฑ์ห รื อ
กาหนดแนวทางการจัดจาหน่ายให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค
5.3.2 ข้อเสนอแนะจากการศึกษาในครั้งต่อไป
1. การศึกษากลุ่ มตัว อย่ างในเขตพื้นที่อาเภอเมือง จังหวัดสุ ราษฎร์ธ านีเพื่อสามารถเปรียบเทียบ
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น
42

2. ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวแปรอื่น ๆ เช่น ศึกษาความต้องการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ และ


การสร้างภาพลักษณ์ในการนาเสนอสินค้าเกษตรอินทรีย์อาจส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ใน
เขตอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากที่สุด
3. งานวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานีเท่านั้น ดังนั้น ในการทาวิจัยครั้งหน้าควรมีการขยายขอบเขตการศึกษาไปยังพื้นที่ศึกษาอื่ น
เพื่อให้ทราบพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อที่ผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์จะได้วางแผนทาการตลาด
ให้สอดคล้องกับกลุ่มผู้บริโภค
43

บรรณาณุกรรม

กัลยา วานิช บัญชา. (2538). การวิเคราะห์ธุรกิจ: สถิติเพื่อการดสินใจทางธุรกิจ กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กชวรรณ เวชชพิทักษ์. (2562). กลยุทธ์การตลาด 5A และการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค, กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
ณัฐวุฒิ แก้วฟุ้ง. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเนื้อสัตว์อินทรีย์ของผู้บริโภค ในเขต
กรุงเทพมหานคร.
ดวงกมล เพชรประพันธ์. (2561). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและรูปแบบการดาเนินชีวิตที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมการซื้อผักออร์แกนิกผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร.
ธิติมา เทียนไพร. (2550). พฤติกรรมการเลือกซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในอาเภอเมือง
จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี , ปั ญ หาพิ เ ศษปริ ญ ญาบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าบริ ห ารธุ ร กิ จ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
นภัสนันท์ ศรีธนวิบุญชัย. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจโดยรวมของผู้บริโภคที่มีต่อ เครื่องพิมพ์
คอมพิวเตอร์แบบมัลติฟังก์ชั่นในเขตกรุงเทพมหานคร, สารนิพนธ์บธ.ม. (การจัดการ): กรุงเทพ บัณฑิต
วิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
ปรารถนา สิริวรกุล. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ทวิตเตอร์ , สาร
นิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต:วิทยาลัยการจัดการ
มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปรัชญา ปิยะรังษี. (2550). การเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคในการบริโภคสุราโรงงาน กับสุรากลั่นชุมชนใน
จังหวัดเชียงใหม่.
พรรณรี สุรินทร์. (2559). ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการเลือกซื้อผลไม้ออร์แกนิคในเขตกรุงเทพมหานคร.
(การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
ระวิวรรณ หาหงษ์. (2562). พฤติกรรมการซื้อข้าวอินทรีย์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครจาแนก ตาม
44

ช่องทางการจัดจาหน่าย, ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ธุรกิจการเกษตร) สาขาธุรกิจเกษตร:


บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัฐนันท์ แย้มเกษสุคนธ์ และวรัญญา ติโลกะวิชัย. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้ออาหารออร์
แกนิคในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ราศรี ไวนิชกุล และชูศักดิ์ ชุมศรี (2552). ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ, กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
วุฒิชัย จานงค์. (2523). พฤติกรรมการตัดสินใจ, กรุงเทพฯ : บารมีการพิมพ์.
ศรี วงศ์รัตนะ. (2501). เทคนิคการใช้สถิติ การวิจัย, กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
เสรี วงษ์มณฑา. (2553). กลยุทธ์การตลาด: การวางแผนการตลาด กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไชเท็กซ์.
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2566). ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์
ธานี. สืบค้นจาก https://www.opsmoac.go.th/suratthani-dwl-files-051191791950.
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2566).สินค้าเกษตรอินทรีย์,ที่มา กรมส่งเสริม
การเกษตร. สื บ ค้ น จาก https://www.opsmoac.go.th/kamphaengphet-manual-files-
031891791811.
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2565). รายงาน “จานวนเกษตรกรและพื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์
(2560-2560). สืบค้นจาก https://www.opsmoac.go.th/suratthani-dwl-files-051191791950
วุฒิชัย จานงค์. (2523). พฤติกรรมการตัดสินใจ, กรุงเทพฯ : บารมีการพิมพ์.
อริศรา รุ่งแสง. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร
(สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2503), กลยุทธ์การตลาด, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2551) พฤติกรรมผู้บริโภค (ฉบับมาตรฐาน), กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอื้อการย์ เจริญสว่าง. (2561). พฤติกรรมผู้บริโภคที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผัก อินทรีย์ ในเขต
กรุงเทพมหานคร.
45

Conchran, W.G. (1977). Sampling Techiques 3ed. New York: John Wiley and Sons inc.
Engel, James F., Blackwell, Roger D. and Minard, Paul W. (1993). Consumer Behavior. 7th ed.
Fort Worth: The Dryden Press
Schiffman, G.L. & L.L. Kanuk. (1987). Consumer Behavior. 3rd ed. New Jersey :Prentice-Hall.
Schiffman, Leon G; & Kanuk, Leslie Lazar. (1994) Consumer Behavior. 5th ed. New Jersey :
Prentic-Hall.
46

ภาคผนวก
47

ภาคผนวก ก

แบบสัมภาษณ์/แบบสอบถาม

แบบสอบถาม
แบบสอบถามนี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาค้ น คว้ า อิ ส ระหลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขต
สุราษฎร์ธานี โดยมีวัตถุประสงค์เ พื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในอาเภอเมือง
จังหวัด สุราษฎร์ธานี ข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับจากแบบสอบถามนี้จะถูกเก็บรักษาเป็นความลับ ซึ่งการนาเสนอ
ข้อมูลจะถูกนาเสนอในรูปของบทสรุปภาพรวม โดยไม่มีการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลแต่อย่างใดจึงใคร่ขอความ
ร่ ว มมื อ ในการตอบแบบสอบถามนี้ ต ามความเป็ น จริ ง และครบถ้ ว นเพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ งานวิ จั ย และ
ขอขอบพระคุณที่ท่านให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามมา ณ โอกาสนี้ด้วย
แบบสอบถามนี้ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วนคือ
ส่วนที่ 1 คาถามคัดกรอง
ส่วนที่ 2 คาถามปัจจัยส่วนบุคคล
ส่วนที่ 3 คาถามพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
นิยามศัพท์
สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ หมายถึ ง สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ม าจากระบบการผลิ ต แบบเกษตรอิ น ทรี ย์ ที่ ไ ม่ ใ ช้ ส าร
สังเคราะห์ เช่น ปุ๋ยเคมี สารเคมีกาจัดศัตรูพืช ไม่ใช้พันธุ์พืช หรือสัตว์ที่ดัดแปรงพันธุกรรม (GMO) ระบบการ
ผลิตไม่กระทบระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อม จึงเป็นผลิตผลที่มั่นใจได้ว่าปลอดภัย ดีต่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม
เช่น ข้าว เงาะ มะพร้าว หอยนางรม ไข่เค็ม ขมิ้นชัน ผลิตภั ณฑ์ปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ประมง (สานักงาน
มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ, 2566)
48

แบบสอบถาม
ส่วนที่ 1 : คาถามคัดกรอง
กรุณาทาเครื่องหมาย () ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
1.ท่านเคยซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ภายใต้ตรารับรองมาตรฐานเหล่านี้ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาหรือไม่

( ) 1. เคย ( ) 2. ไม่เคย (จบแบบสอบถาม)


2.ท่านอาศัยอยู่ในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีหรือไม่
( ) 1. ใช่ ( ) 2. ไม่ใช่ (จบแบบสอบถาม)
ส่วนที่ 2 : คาถามปัจจัยส่วนบุคคล
กรุณาเติมคาลงในช่องว่างหรือทาเครื่องหมาย () ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
1.เพศ
( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง
2.อายุปัจจุบัน............................ปี
3.ระดับการศึกษา
( ) 1. ต่ากว่าปริญญาตรี ( ) 2. ปริญญาตรี
( ) 3. สูงกว่าปริญญาตรี
0.อาชีพ
( ) 1. นักเรียน/นักศึกษา ( ) 2. ข้าราชการ
( ) 3. พนักงานรัฐวิสาหกิจ ( ) 0. ธุรกิจส่วนตัว
( ) 5. อื่น ๆ …………………
5.รายได้เฉลี่ยต่อเดือน...............................บาท

ส่วนที่ 3 : คาถามพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
กรุณาเติมคาลงในช่องว่างหรือทาเครื่องหมาย () ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
1.สินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ซื้อเป็นประจา (โปรดระบุเพียง 1 ข้อ)
( ) 1. ผักสด ( ) 2. ผลไม้สด
( ) 3. เนื้อ ไข่ นม ( ) 4. ข้าวอินทรีย์
( ) 5. อาหารทะเล ( ) 6. อื่น ๆ (โปรดระบุ)..........
49

2.ท่านซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อวัตถุประสงค์ใดมากที่สุด
( ) 1. บริโภคเอง ( ) 2. เป็นของฝาก
( ) 3. นาไปขายต่อ ( ) 4. อื่นๆ (โปรดระบุ)..........
3.เหตุผลหลักในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
( ) 1. ปลอดสารพิษ ( ) 2. ใส่ใจสุขภาพ
( ) 3. ตามกระแสสังคม/เพื่อน ( ) 4. ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม
( ) 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ).....................
0.บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของท่านมากที่สุด
( ) 1. บุคคลในครอบครัว ( ) 2. แฟน/คนรัก
( ) 3. เพื่อน ( ) 0. พนักงานขายในร้านค้า
( ) 5. ตัดสินใจด้วยตนเอง ( ) 6. อื่น ๆ (โปรดระบุ)…........
5.ท่านได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ผ่านช่องทางใดบ่อยที่สุด
( ) 1. การบอกกล่าวจากผู้อื่น ( ) 2. วิทยุ/โทรทัศน์
( ) 3. social media เช่น Line, Facebook ( ) 0. โฆษณาบิลบอร์ด/สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
( ) 5. อื่น ๆ โปรดระบุ........
6.ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความถี่ในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ จานวน.......……………….ครั้ง
7.ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ จานวน....................บาท
8.ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์สถานทีใ่ ดมากที่สุด
( ) 1. ไฮเปอร์มาร์เก็ต (เช่น เซ็นทรัล แม็คโคร บิ๊กซี โลตัส)
( ) 2. ซุปเปอร์มาร์เก็ต (เช่น ซุปเปอร์ชิป โลตัสเอ็กซ์เพรส มินิบิ๊กซี)
( ) 3. ร้านเฉพราะสินค้าเกษตรอินทรีย์ (เช่น ดอยคา เพาะใจรักฟาร์ม สุขใจในบาง Porjairak Farm
สวนโถเกษตรอินทรีย์ แปลงผักกอใจ By ไร่ต้นหลิว)
( ) 0. ที่ตลาด/ร้านค้า (เช่น Surat Thani Farmer Market ตลาดเกษตรกรจังหวัด
สุราษฎร์ธานี
9.ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในช่วงเวลาใดบ่อยที่สุด
( ) 1. ช่วงเช้า (6.00 น. - 11.30 น.) ( ) 2. ช่วงกลางวัน (11.31 น. – 13.00 น.)
( ) 3. ช่วงบ่าย (13.01 น. – 16.00 น.) ( ) 0. ช่วงเย็น (16.01 น. – 18.00 น.)
( ) 5. ช่วงค่า (18.01 น. – 22.00 น.)
10.ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ในรูปแบบใดมากที่สุด
( ) 1. ซือ้ ผ่านหน้าร้าน
( ) 2. ซื้อผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เช่น LINE, Facebook
( ) 3. ซื้อผ่านแอพพลิเคชั่นสั่งอาหาร เช่น Grab Food, Foodpanda, LINE MAN
( ) 0. อื่น ๆ (โปรดระบุ)……………..
50

ภาคผนวก ข

ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ผลการวิเคราะห์ค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) ของแบบสอบถาม


โครงการวิจัย เรื่อง พฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค
ในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ข้อที่ ข้อคาถามแบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญ แปลผล


คนที่ คนที่ คนที่ IOC ผ่าน/ไม่
1 2 3 ผ่าน
ตอนที่ 1 คาถามคัดกรองผู้ทาแบบสอบถาม
1 ท่านเคยซื้อสินค้าเกษตร +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
อินทรีย์ภายใต้ตรารับรอง
มาตรฐานสินค้าอินทรีย์
เหล่านี้ในช่วง 3 เดือนที่ผ่าน
มาหรือไม่
2 ท่ า นอาศั ย อยู่ ใ นอ าเภอเมื อ ง +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
จังหวัดสุราษฎร์ธานีหรือไม่
ตอนที่ 2 คาถามด้านปัจจัยส่วนบุคคล
1 เพศ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
2 อายุ +1 +1 0 2/3 = 0.67 ผ่าน
3 ระดับการศึกษา +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
4 อาชีพ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
5 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน +1 +1 0 2/3 = 0.67 ผ่าน
ตอนที่ 3 คาถามพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
1 สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ที่ ซื้ อ เป็ น +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
ประจา
2 ท่านซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพื่อ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
วัตถุประสงค์ใดมากที่สุด
3 เหตุ ผ ลหลั ก ในการซื้ อ สิ น ค้ า +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
เกษตรอินทรีย์
51

ข้อที่ ข้อคาถามแบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญ แปลผล


คนที่ คนที่ คนที่ IOC ผ่าน/ไม่
1 2 3 ผ่าน
4 บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
ซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของท่าน
มากที่สุด
5 ท่ า นได้ รั บ ข้ อ มู ล เกี่ ย วสิ น ค้ า +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
เกษตรอิ น ทรี ย์ ผ่ า นช่ อ งทางใด
บ่อยที่สุด
6 ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมามีความถี่ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
ในการซื้ อ สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์
จานวน.....ครั้ง
7 ใ น ช่ ว ง 3 เ ดื อ น ที่ ผ่ า น ม า มี +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
ค่ า ใช้ จ่ า ยเฉลี่ ย ในการซื้ อ สิ น ค้ า
เกษตรอินทรีย์ จานวน....ครั้ง
8 ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
สถานที่ใดมากที่สุด
9 ท่ า นนิ ย มไปซื้ อ สิ น ค้ า เกษตร +1 +1 0 3/3 = 0.67 ผ่าน
อินทรีย์ในช่วงเวลาใดมากที่สุด
10 ท่านนิยมซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ +1 +1 +1 3/3 = 1.00 ผ่าน
ในรูปแบบใดมากที่สุด
52

ผลการวิเคราะห์ค่าไคสแควร์

1.ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับพฤติกรรมการซิ้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับประเภทของสินค้าเกษตรอินทรีย์
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 8.752a .068

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 10.15.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 1.313a .252

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 15.59.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับเหตุผลหลักในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 3.185a .203

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 12.33.
53

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับบุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 4.009a .135

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 20.66.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 1.639a .441

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 21.39.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับความถี่ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 5.834a .054

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 38.43.
54

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 1.984a .371

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 44.75.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับสถานที่ที่นิยมซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 2.578a .461

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 13.41.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับช่วงเวลาในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square .578a .965

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 18.13.
55

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศกับรูปแบบในการซื้อสินค้า

Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 1.319a .251

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 11.96.
Computed only for a 2x2 table

2.ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับพฤติกรรมการซิ้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับประเภทของสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 33.349a .000

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 9.10.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 18.748a .000

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 13.98.
56

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับเหตุผลหลักในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 4.645a .326

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 11.05.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับบุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 6.436a .169

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 18.53.
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 9.416a .051

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 19.18.
57

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับความถี่ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 18.418a .001

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 34.45.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 46.034a .000

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 40.40.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับสถานที่ที่นิยมซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 9.852a .131

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 12.03.
58

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับช่วงเวลาในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 12.806a .119

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 16.25.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุกับรูปแบบในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square .276a .871

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 10.73

3.ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับพฤติกรรมการซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับประเภทของสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 6.551a .162

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 6.65.
59

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 2.064a .151

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 10.21.
Computed only for a 2x2 table

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับเหตุผลหลักในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 4.605a .100

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 8.08.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับบุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square .035a .983

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 13.54.
60

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 2.034a .362

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 14.01.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับความถี่ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 7.273a .026

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 25.18.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 4.929a .085

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 29.52.
61

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับสถานที่ที่นิยมซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 6.307a .098

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 8.79.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับช่วงเวลาในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 3.656a .455

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 11.88.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษากับรูปแบบในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square .246a .620

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 7.84.
Computed only for a 2x2 table
62

4.ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับพฤติกรรมการซิ้อสินค้าเกษตร
อินทรีย์
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับประเภทของสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 17.032a .148

a. 2 cells (10.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 2.45.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 23.670a .000

a. 1 cells (12.5%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 3.76.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับเหตุผลหลักในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 2.791a .835

a. 1 cells (8.3%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 2.98.
63

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับบุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 12.911a .044

a. 1 cells (8.3%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 4.99.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 13.408a .037

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 5.16.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับความถี่ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 13.926a .030

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 9.28.
64

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 46.956a .000

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 10.88.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับสถานที่ที่นิยมซื้อ
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 13.291a .150

a. 1 cells (6.3%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 3.24.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับช่วงเวลาในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 18.540a .100

a. 2 cells (10.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 4.38.
65

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพกับรูปแบบในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square .175a .981

a. 1 cells (12.5%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 2.89.

5.ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับพฤติกรรมการซิ้อสิ น
ค้าเกษตรอินทรีย์
ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับประเภทของสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 26.270a .010

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 5.60.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับวัตถุประสงค์ในการซื้อ
สินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 33.775a .000

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 8.60.
66

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับเหตุผลหลักในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 9.074a .169

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 6.80.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับบุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อ
สินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 4.941a .551

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 11.40.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับช่องทางที่รับข้อมูลเกี่ยวกับ
สินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 12.335a .055
40
a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The
minimum expected count is 11.80.
67

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับความถี่ในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 23.141a .001

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 21.20.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อ
สินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 58.511a .000

a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 24.55.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับสถานที่ที่นิยมซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 8.285a .506

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 7.40.
68

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับช่วงเวลาในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 20.677a .055

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 10.00.

ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนกับรูปแบบในการซื้อสินค้า
Chi-Square Tests
Asymp. Sig.
Value (2-sided)
Pearson Chi-Square 2.072a .558

a. 0 cells (.0%) have expected count less than 5. The


minimum expected count is 6.60.
69

ประวัติคณะผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล นราธิป โปณะทอง


รหัสประจาตัวนักศึกษา 6440410120
วุฒิการศึกษา
วุฒิ สถาบันการศึกษา ปีที่สาเร็จการศึกษา

มัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนสตรีปากพนัง 2559


มัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา 2563

การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน
-ไม่ม-ี

ประวัติคณะผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล วรางรัตน์ วงศ์ฤทธิ์


รหัสประจาตัวนักศึกษา 6440410139
วุฒิการศึกษา
วุฒิ สถาบันการศึกษา ปีที่สาเร็จการศึกษา

มัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนเจริญวิทย์ 2560


มัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก 2563

การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน
-ไม่ม-ี
70

ประวัติคณะผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล วริทธิ์ รัตนไชย


รหัสประจาตัวนักศึกษา 6440410140
วุฒิการศึกษา
วุฒิ สถาบันการศึกษา ปีที่สาเร็จการศึกษา

มัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนสวีวิทยา 2560


มัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนสวีวิทยา 2563

การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน
-ไม่ม-ี

ประวัติคณะผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล อนัญญา รูปโอ


รหัสประจาตัวนักศึกษา 6440410148
วุฒิการศึกษา
วุฒิ สถาบันการศึกษา ปีที่สาเร็จการศึกษา

มัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา 2560


มัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา 2563

การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน
-ไม่ม-ี
71

ประวัติคณะผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล อะรีนา โต๊ะหมาด


รหัสประจาตัวนักศึกษา 6440410155
วุฒิการศึกษา
วุฒิ สถาบันการศึกษา ปีที่สาเร็จการศึกษา

มัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา 2560


มัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา 2563

การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน
-ไม่ม-ี

You might also like