You are on page 1of 13

Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.

1 January - June 2018 191

ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์
เพื่อการขายของแผนกจัดซื้อ
บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
Effective Factors towards Material Management
of Thai print (Thailand) Limited Purchasing Division
Paper Packaging for Sale

วัชราภรณ์ กลิ่นภู*่
พรชุลี มีสีผ่อง**
ทวีจิตร พัฒน์ชนะ***
เกชา ใจดี***
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า
ทีม่ ผี ลต่อการจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภณ ั ฑ์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ส่วนใหญ่
เพื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ บริ ษั ท ไทยปริ้ น มีอายุมากกว่า 40 ปี ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริญญา
(ประเทศไทย) จ�ำกัด และเพื่อน�ำไปเป็นแนวทางพัฒนา ตรี ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาท
แก้ไขการจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ ขึ้นไป ส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการท�ำงานมากกว่า 20 ปี
เพื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ บริ ษั ท ไทยปริ้ น และไม่มีประสบการณ์ก่อนท�ำงานในองค์กรอื่น ๆ ปัจจัย
(ประเทศไทย) จ� ำ กั ด โดยการศึ ก ษาวิ จั ย สามารถ ที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์
แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการคาดคะเนการจัดหา เพื่อการขายของแผนกจัดซื้อ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศ
พัสดุ ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ ด้านการพิจารณา ไทย) จ�ำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจ�ำแนก
ต้นทุน ด้านการเก็บรักษาพัสดุ และด้านการจัดจ�ำหน่าย เป็นรายด้านพบว่า อันดับที่หนึ่ง คือ ด้านการจัดหาพัสดุ
พัสดุและขนย้าย วิธกี ารด�ำเนินการศึกษาวิจยั โดยท�ำการ ที่มีคุณภาพ รองลงมาคือ ด้านการคาดคะเนการจัดหา

*
หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
**
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยทองสุข
***
อาจารย์ประจ�ำสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค
192 วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

พัสดุ อันดับที่สาม คือ ด้านการเก็บรักษาพัสดุ อันดับที่สี่ Keywords: Material Management, Purchasing


คือ ด้านการจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย และอันดับสุดท้าย Division Paper Packaging, Sale
คือ ด้านพิจารณาต้นทุน ตามล�ำดับ
บทน�ำ
ค�ำส�ำคัญ: การจัดการพัสดุกระดาษ ผลิตกล่องบรรจุภณ
ั ฑ์ กิจการทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นกิจการที่ก่อตั้ง
แผนกจัดซื้อ ขึ้นมาเพื่อท�ำการผลิตผลิตภัณฑ์ในรูปแบบสินค้าและ/
หรือให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการและ/หรือ
Abstract ท� ำ ให้ เ กิ ด ความอยู ่ ดี กิ น ดี ข องคนในสั ง คม ย่ อ มหนี
The purposes of this study were ไม่ พ ้ น การต้ อ งท� ำ การจั ด การพั ส ดุ ใ นคลั ง สิ น ค้ า ของ
to study Effective Factors towards Material กิจการเพื่อที่จะท�ำการเตรียมพร้อมในการผลิตสินค้า
Management of Thai print (Thailand) Limited และ/หรือส่งมอบสินค้าไปให้ถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย
Purchasing Division Paper Packaging for ที่ต้องการสินค้านั้นได้อย่างแท้จริง โดยที่การส่งมอบ
Sale. And to lead to develop a fever เพื่อให้ถึงมือลูกค้าต้องเป็นไปด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง
Management of Thai print (Thailand) Limited ตรงตามเวลาที่ลูกค้าร้องขอมา และได้รับผลิตภัณฑ์
Purchasing Division Paper Packaging for Sale. ที่บรรจุอยู่ในพัสดุกล่องกระดาษอย่างมีประสิทธิภาพ
The study can be divided into 5 areas: Quality การจัดการพัสดุที่ได้มาซึ่งกระดาษจัดท�ำกล่องกระดาษ
procurement Cost consideration Storage and the บรรจุสินค้าเพื่อการขายได้ในปริมาณคุณภาพและเวลา
distribution of goods and transport. The research ที่เหมาะสม ซึ่งต้องมีการคาดคะเนเตรียมการ การจัดหา
was conducted by collecting data by questionnaire. พัสดุที่มีคุณภาพ การเตรียมพื้นที่จัดเก็บพัสดุ จัดวาง
The results showed that most พัสดุเพื่อการผลิตการเก็บรักษาควรจัดเก็บและมีการ
respondents were female. Most of them are จัดจ�ำหน่ายพัสดุอย่างถูกต้องที่เน้นถึงต้นทุนค่าใช้จ่าย
over 40 years old, most of them have bachelor ที่เหมาะสมด้วยการเก็บรักษา (เนตร์พัณณา ยาวิราช,
degree. Most of them have more than 30,000 2551)
baht per month. They have more than 20 years บริ ษั ท ไทยปริ้ น (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด
working experience and have no prior experience เป็นบริษทั ผูน้ ำ� ของประเทศในด้านบรรจุภณ ั ฑ์ผลิตภัณฑ์
working in other organizations. Effective Factors ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการส่ ง มอบให้ กั บ ลู ก ค้ า ของผู ้ สั่ ง ซื้ อ
towards Material Management of Thai print ( ผลิตภัณฑ์ลูกค้า บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
Thailand ) Limited Purchasing Division Paper อี ก ต่ อ หนึ่ ง นั้ น เป็ น งานที่ ท างบริ ษั ท ต้ อ งท� ำ งานอย่ า ง
Packaging for Sale. The overall level is very high. ใกล้ชิดกับลูกค้าผู้ผลิตและขายผลิตภัณฑ์เป็นต้นว่า
When classified according to each aspect. The อาหารเพื่อสุขภาพ สามารถมีการบรรจุภัณฑ์ในกล่อง
first is the quality of procurement, followed by กระดาษที่ปลอดภัยมีนวัตกรรมการจัดการการผลิต
the third, the fourth, the fourth, the fourth, the กล่ อ งกระดาษบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ต ้ อ งส่ ง ให้ กั บ ลู ก ค้ า ของ
fourth, the fourth And the last one is the cost ลูกค้าที่สั่งให้ทางบริษัทท�ำการบรรจุในกล่องกระดาษ
factor, respectively. และขนส่งให้ถึงมือลูกค้าของลูกค้าอีกต่อหนึ่งด้วยความ
Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.1 January - June 2018 193

ทั น สมั ย เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม และตอบสนอง ไทยปริ้ น (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด อี ก ทอดหนึ่ ง ที่ มี ก าร
ความต้องการของลูกค้าในกว่า 170 ประเทศทั่วโลก ลดต้นทุน ทัง้ การจัดหาและจัดการขนส่งตัง้ แต่การน�ำเข้า
บริษัทมีพนักงานจ�ำนวนประมาณ 23,000 คน ซึ่งพร้อม กระดาษผลิตกล่องของบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย)
ปฏิ บั ติ ง านและให้ บ ริ ก ารอยู ่ ใ นกว่ า 80 ประเทศ จ�ำกัดและการลดระยะเวลาในการขนส่งน�ำเข้ากระดาษ
บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด เชื่อมั่นในความ มาผลิตกล่อง รวมทัง้ การจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่อง
เป็นผู้น�ำอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ที่มีความรับผิดชอบ เก็บในคลังสินค้าผลิตเป็นกล่องบรรจุภณ ั ฑ์และขนส่งต่อ
และแนวทางการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ยั่ ง ยื น ดั ง ค� ำ ขวั ญ ให้ลูกค้าอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการศึกษาปัจจัยที่มีผล
ของไทยปริ้น ที่ว่า ”ปกป้องทุกคุณค่า„ (PROTECTS ต่อการจัดการพัสดุกล่องกระดาษบรรจุภัณฑ์เพื่อขาย
WHAT’S GOOD (TM)) สะท้อนให้เห็นถึงปรัชญา มาเป็นข้อมูลแก้ไขปัญหาและอุปสรรคการจัดการพัสดุ
ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) และขนส่งถึงมือลูกค้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
จ�ำกัด ที่จะท�ำให้อาหารปลอดภัยและมีอยู่พร้อมส�ำหรับ
การบริโภคในทุก ๆ ที่ทั่วโลก ซึ่งที่ประเทศไทย บริษัท วัตถุประสงค์การวิจัย
ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด มีทั้งหมด 6 แผนก 1. เพือ่ ศึกษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการจัดการพัสดุ
โดยเฉพาะแผนการขายอุปกรณ์การบรรจุผลิตภัณฑ์ กระดาษผลิ ต กล่ อ งกระดาษบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ขาย
ที่มีจ�ำนวนพนักงานทั้งหมด 24 คน แผนกการตลาด แผนกจัดซื้อของบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
มีจ�ำนวนพนักงานทั้งหมด 9 คน แผนกบัญชีที่มีจ�ำนวน 2. เพื่ อ น� ำ ไปเป็ น แนวทางพั ฒ นาแก้ ไ ข
พนั ก งานทั้ ง หมด 18 คน แผนกการเงิ น ที่ มี จ� ำ นวน การจั ด การพั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์
พนักงานทั้งหมด 8 คน แผนกการขายกระบวนการผลิต เพื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ บริ ษั ท ไทยปริ้ น
ที่ มี จ� ำ นวนพนั ก งานทั้ ง หมด 50 คน แผนกดู แ ล (ประเทศไทย) จ�ำกัด
รักษาเครื่องที่มีจ�ำนวนพนักงานทั้งหมด 99 คน และ
แผนกจัดซือ้ ทีม่ จี ำ� นวนพนักงานทัง้ หมด 30 คน ทีด่ ำ� เนิน นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
กิจการน�ำผลิตภัณฑ์ของลูกค้าบรรจุในกล่องเพื่อจัดส่ง การศึกษานี้มุ่งผลสัมฤทธิ์ ถึงปัจจัยที่มีผล
และท�ำการขนส่ง (เคลื่อนย้าย) ผลิตภัณฑ์ของลูกค้า ต่อการจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภณ ั ฑ์สนิ ค้า
ให้ถึงมือของผู้บริโภค (ลูกค้า) ของลูกค้าบริษัท ไทยปริ้น เพื่อขายของ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
(ประเทศไทย) จ�ำกัด อีกทอดหนึ่งด้วยความปลอดภัย มีนิยามศัพท์เฉพาะที่ส�ำคัญ ๆ ดังต่อไปนี้
รวดเร็ว และในช่วงเวลาที่เหมาะสมตามที่ลูกค้าก�ำหนด การจัดการ หมายถึง การท�ำให้กลุ่มบุคคล
ให้ ท างบริ ษั ท จั ด ส่ ง สนองต่ อ ความต้ อ งการอย่ า งมี ในองค์กรเข้ามาท�ำงานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ประสิทธิภาพ (บริษทั ไทยปริน้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, 2560) ร่วมกันขององค์กร การจัดการประกอบด้วยการวางแผน
จากเหตุผลและความส�ำคัญดังกล่าว ผู้วิจัย การจัดการองค์กร การจัดสรรบุคลากร การน�ำหรือ
จึ ง สนใจที่ จ ะศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การพั ส ดุ การสั่งการ และการควบคุมองค์กรหรือความพยายาม
กระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขายของแผนก ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน การจัดการทรัพยากร
จัดซือ้ นัน้ เพือ่ น�ำกระดาษทีส่ งั่ เข้ามาจากประเทศสิงคโปร์ ประกอบด้ ว ยการใช้ ง านและการจั ด วางทรั พ ยากร
มาผลิตกล่องกระดาษ เพื่อบรรจุผลิตภัณฑ์ของลูกค้า บุคคล ทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรเทคโนโลยี และ
และท�ำการจัดส่งผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้าของลูกค้า บริษทั ทรัพยากรธรรมชาติ
194 วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

ด้านการจัดการพัสดุ หมายถึง กระบวนการ บ�ำรุงรักษาพัสดุเมื่อเกิดการช�ำรุดบกพร่อง การจัดหา


จัดหาพัสดุ เพื่อใช้ในการผลิต ผลิตภัณฑ์กล่องกระดาษ พัสดุทดแทนเมื่อต้องน�ำไปซ่อมแซมเพื่อให้มีใช้งาน
บรรจุภัณฑ์สินค้าของบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) - ด้ า นการจั ด จ� ำ หน่ า ยพั ส ดุ แ ละขนย้ า ย
จ�ำกัด อันประกอบไปด้วย เคลื่อนย้ายพัสดุกระท�ำอย่างระมัดระวัง ป้องกันการช�ำรุด
- ด้ า นการวางแผนการจั ด การพั ส ดุ การ เสียหายที่อาจเกิดขึ้น การมีพัสดุเพียงพอแค่การใช้งาน
คาดคะเนเตรี ย มการนั ด หาพั ส ดุ ต ามความต้ อ งการ มีพัสดุเหลือส�ำรองไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินยามเร่งด่วน
ใช้งานโดยพิจารณาจากปริมาณงาน ความต้องการของ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การพั ส ดุ หมายถึง
ผู้ใช้งาน สถิติการใช้งานในอดีตน�ำมาพิจารณาในการ สาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ พั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ สิ น ค้ า
จัดหามาใช้ส�ำหรับอนาคต เพื่ อ การขายไม่ ส ามารถมี ก ารเคลื่ อ นย้ า ยมาสู ่ บ ริ ษั ท
- ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ โดยการ ได้ตามก�ำหนดเวลา จ�ำนวนประมาณ คุณภาพราคา
ส�ำรวจจากร้านค้า บริษัท หรือห้างร้านต่าง ๆ ที่ประกอบ ที่ เ หมาะสมต่ อ การน� ำ มาจั ด เก็ บ ในคลั ง พั ส ดุ เพื่ อ รอ
ธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใช้ส�ำนักงาน โดยการ การผลิตกล่องกระดาษบรรจุผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้า บริษัท
เปรียบเทียบคุณสมบัติการใช้งานคุณภาพของสิ้นค้า ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ต้องการจัดส่งให้ลูกค้า
ที่น�ำเสนอว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เช่น ระดับราคา ของลูกค้าซึ่งเป็นผู้บริโภคที่แท้จริงได้
คุณสมบัติเฉพาะ จุดเด่นของแต่ละบริษัท การให้บริการ บริษทั ไทยปริน้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หมายถึง
หลังการขาย ฯลฯ นอกจากนี้ยังต้องจัดหาพัสดุให้มีอยู่ เป็นบริษัทที่ขายเครื่องจักรส�ำหรับบรรจุผลิตภัณฑ์น�้ำ
อย่างเพียงพอต่อความต้องการใช้งานท�ำให้งานหยุดชะงัก ลงกล่ อ งกระดาษ แล้ ว ยั ง ขายกระดาษชนิ ด พิ เ ศษ
อันจะเป็นผลเสียต่อองค์การ เพื่อท�ำการผลิตกล่องโดยเฉพาะให้กับทางลูกค้า ที่ผลิต
- ด้านต้นทุนในการจัดซือ้ พัสดุ โดยการจัดซือ้ ผลิตภัณฑ์น�้ำออกเสนอขายในท้องตลาด เช่น น�้ำกล่อง
ควรค�ำนึงถึงความคุ้มค่าแก่การใช้งาน โดยเสียค่าใช้จ่าย โออิชิ น�้ำกล่องอิชิตัน น�้ำกล่องทิปโก้ เป็นต้น
น้อยที่สุด เพราะถือเป็นค่าใช้จ่ายของหน่วยงานรวมถึง แผนกบริ ห ารจั ด ซื้ อ กระดาษ หมายถึ ง
ค่าใช้จ่ายในการบ�ำรุงรักษาด้วย หน่วยงานที่ประสานงานกับทางลูกค้าและด�ำเนินการ
- ด้ า นการเก็ บ รั ก ษาพั ส ดุ การบ� ำ รุ ง รั ก ษา สั่งกระดาษตรวจรับกระดาษเพื่อผลิตกล่องกระดาษ
พัสดุให้มีคุณภาพอยู่เสมอ ไม่ช�ำรุดเสียหาเก็บรักษา บรรจุภณ ั ฑ์ผลิตภัณฑ์นำ�้ ตามทีล่ กู ค้าต้องการอีกทอดหนึง่
ไว้ในที่ปลอดภัยจากสิ่งรบกวนต่าง ๆ เช่น ความชื้น เพื่อน�ำส่งให้ลูกค้าของลูกค้าซึ่งเป็นผู้บริโภคที่แท้จริง
แมลงต่าง ๆ การเกิดอัคคีภัย น�้ำท่วมขัง การซ่อมแซม
Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.1 January - June 2018 195

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
(Independent Variables) (Dependent Variables)

ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์
เพื่อการขายของแผนกจัดซื้อ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
1. เพศ
2. อายุ 1. ด้านการคาดคะเนการจัดหาพัสดุ
3. การศึกษา 2. ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ
4. ระดับรายได้ต่อเดือน 3. ด้านการพิจารณาต้นทุน
5. ระยะเวลาในการท�ำงาน 4. ด้านการเก็บรักษาพัสดุ
6. ประสบการณ์ก่อนการท�ำงาน 5. ด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย

ภาพที่ 1 ภาพกรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้กำ� หนดกรอบแนวคิด ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ
ในการวิจยั ซึง่ แสดงระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ฝ่ายบริหารงานกลางศึกษาจากแผนก จัดซื้อพัสดุกระดาษ
ไว้ดังนี้ ผลิตกล่องของบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
จ�ำนวนประชากรจริงที่จะศึกษาจ�ำนวนทั้งสิ้น 30 คน
วิธีการด�ำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู ้ วิ จั ย ได้ ใ ช้ แ บบสอบถาม
(Quantitative Research) ที่รวบรวมข้อมูลด้วยการ (Questionnaire) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองเพื่อเป็นเครื่องมือ
ส�ำรวจ (Survey Research) โดยมุ่งศึกษาปัจจัยที่มีผล ในการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถาม
ต่ อ การจั ด การพั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยและขอบเขต
เพือ่ การขายของแผนกจัดซือ้ บริษทั ไทยปริน้ (ประเทศไทย) การวิจัยลักษณะค�ำถามเป็นแบบลักษณะค�ำถามแบบ
จ�ำกัด จากการศึกษาค้นคว้า และอ้างอิงจากเอกสาร ปลายปิด (Close Ended Question) โดยแบ่งออกเป็น
หลักฐานต่าง ๆ โดยมีกระบวนการและขั้นตอนดังนี้ 3 ส่วน ดังนี้
1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู ้ ต อบแบบสอบถาม ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น แบบส� ำ รวจ
3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ รายการ (Check List) ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ระดับรายได้ต่อเดือน ระยะเวลาในการท�ำงาน และ
5. การวิเคราะห์ข้อมูล ประสบการณ์ก่อนการท�ำงาน เป็นต้น
6. สถิติที่ใช้ในการวิจัย
196 วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญท�ำการตรวจสอบจ�ำนวน 3 ท่าน


จัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย ซึ่งประกอบด้วย
ของแผนกจัดซื้อบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด 1. รศ.ดร.ประณต บุญไชยอภิสิทธิ์
ได้แก่ ด้านการคาดคะเนการจัดหาพัสดุ ด้านการจัดหา 2. ดร.ราชัน เหล็กกล้า
พั ส ดุ ที่ มี คุ ณ ภาพ ด้ า นการพิ จ ารณาต้ น ทุ น ด้ า นการ 3. ดร.สุเมษ ชุมจีน
เก็บรักษาพัสดุ และด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ท�ำการตรวจสอบ
โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ประเมิ น โดยใช้ ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ ง IOC (item
ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การพั ส ดุ ก ระดาษ objective congruence index) เป็นรายบุคคลว่า
มากที่สุด ให้ 4 คะแนน ข้อค�ำถามแต่ละข้อค�ำถามสามารถวัดได้ตรงกับจุดประสงค์
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษมาก ที่ก�ำหนดหรือไม่ โดยให้คะแนนตามเกณฑ์ดังนี้
ให้ 3 คะแนน ถ้าข้อค�ำถามวัดได้ตรงจุดประสงค์ ได้ +1
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษน้อย คะแนน
ให้ 2 คะแนน ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อค�ำถามนั้นวัดตรงจุดประสงค์
ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การพั ส ดุ ก ระดาษ หรือไม่ ได้ 0 คะแนน
น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน ถ้าข้อค�ำถามวัดได้ไม่ตรงจุดประสงค์ ได้ -1
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะความคิดเห็น คะแนน
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ น�ำคะแนนของผู้เชี่ยวชาญทุกคนที่ประเมิน
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ มากรอกลงในแบบวิ เ คราะห์ ค วามสอดคล้ อ งของ
(Quantitative Research) ในลั ก ษณะการวิ จั ย ข้อค�ำถามกับจุดประสงค์เพื่อหาค่าเฉลี่ย โดยมีเกณฑ์
เชิงส�ำรวจ (Survey Research) ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูล การคัดเลือกข้อค�ำถามดังนี้
ในสภาพความเป็ น จริ ง ของพื้ น ที่ ที่ ท� ำ การศึ ก ษาวิ จั ย 1. ข้อค�ำถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50-1.00
โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล คัดเลือกไว้ใช้ได้
การตรวจสอบคุ ณ ภาพของเครื่ อ งมื อ 2. ข้ อ ค� ำ ถามที่ มี ค ่ า IOC ต�่ ำ กว่ า 0.50
แบบสอบถามใช้ ใ นการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ส� ำ หรั บ ควรพิจารณาปรับปรุงหรือตัดทิ้ง
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพ ซึ่ ง ผู ้ เ ชี่ ย วชาญได้ ท� ำ การตรวจสอบความ
ของเครื่องมือ โดยล�ำดับดังนี้ เที่ ย งตรงเชิ ง เนื้ อ หาและได้ ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ ในการปรั บ
1. การตรวจสอบความแม่นตรงของเนื้อหา แก้ไข หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ด�ำเนินการปรับแก้ไขตาม
(Content Validity) ของเครื่องมือหลังจากที่ผู้วิจัย ค� ำ แนะน� ำ จนได้ แ บบสอบถามที่ มี ค วามเที่ ย งตรง
ได้ ส ร้ า งเครื่ อ งมื อ แบบสอบถามขึ้ น มา ผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ เชิงเนื้อหา โดยผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา
แบบสอบถามไปตรวจสอบว่ า เมื่ อ น� ำ แบบสอบถาม ของข้อค�ำถามกับจุดประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดทุกข้อ
ไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มประชากรของ โดยมีค่า IOC เท่ากับ 1.00 จากนั้นน�ำไปสู่กระบวนการ
การวิ จั ย แล้ ว แบบสอบถามจะสามารถวั ด ในส่ ว น ตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ต่อไป
ของเนื้ อ หาที่ ผู ้ วิ จั ย ต้ อ งการวั ด ได้ ม ากน้ อ ยเพี ย งใด 2. การหาค่ า ความเชื่ อ มั่ น (Reliability)
โดยในกระบวนการตรวจสอบผู้วิจัยได้น�ำแบบสอบถาม ภายหลังจากที่น�ำเครื่องมือแบบสอบถามไปผ่านการ
Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.1 January - June 2018 197

ตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หาโดยผูเ้ ชีย่ วชาญแล้ว จะน�ำ วิ เ คราะห์ โ ดยใช้ ส ถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา (Descriptive


แบบสอบถามมาทดสอบความเชือ่ มัน่ โดยผูว้ จิ ยั ได้เลือก Statistics) ประกอบด้วยความถี่ (Frequency) ร้อยละ
แผนกจัดซื้อ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ใช้ใน (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) โดยแบบสอบถาม
การทดสอบเครื่องมือโดยน�ำไปทดลองใช้ (try-out) ในส่วนที่ 2 ใช้มาตรวัดแบบประมาณค่า (Rating Scale)
กับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นจ�ำนวน 30 ชุด มาตรวัดแบบลิเคิรท์ (Likert’s Scale) ระดับมาตรวัดแบบ
โดยการวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม แบ่งเป็น 4 ระดับคือ มากที่สุด มาก น้อย และน้อยที่สุด
จากการใช้ โ ปรแกรมวิ จั ย ทางสั ง คมศาสตร์ ห าค่ า มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
สัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบาค ระดับความส�ำคัญ คะแนน
(Cronbach, 1970) โดยเลือกข้อที่มีค่าความเชื่อมั่น มากที่สุด 4
ตัง้ แต่ 0.70 ขึน้ ไป แบบสอบถามทีใ่ ช้ในการวิจยั ชุดนีม้ คี า่ มาก 3
ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ.982 ซึ่งถือว่าแบบสอบถาม น้อย 2
ชุดนี้มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ในระดับดี น้อยที่สุด 1
การเก็บรวบรวมข้อมูล เกณฑ์การแปลผลค่าวัดระดับการตัดสินใจ
หลั ง จากที่ ผู ้ วิ จั ย ได้ ร วบรวมแนวความคิ ด แบ่งเป็น 4 ระดับการแปลความหมายค่าเฉลีย่ โดยผูว้ จิ ยั
ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำเป็นแนวทาง เลือกใช้วธิ กี ารของเบส (Best, John W. 1963 : 204-208,
ในการสร้างเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาตามกรอบแนวคิด อ้างถึงใน พิชิต ฤทธิ์จรูญ .2544 : 257) ซึ่งมีเกณฑ์ในการ
ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ด�ำเนินเก็บรวบรวมข้อมูลจากการ แบ่งช่วงระดับคะแนนดังนี้
ศึกษาวิจัยครั้งนี้อย่างเป็นขั้นตอนดังนี้ คะแนน 4 ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.26 – 4.00
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูล หมายความว่า ส�ำคัญในระดับมากที่สุด
ทีร่ วบรวมจากความคิดเห็นของบุคลากรของแผนกจัดซือ้ คะแนน 3 ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.25
บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยใช้แบบสอบถาม หมายความว่า ส�ำคัญในระดับมาก
เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยท�ำการ คะแนน 2 ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.76 – 2.50
แจกแบบสอบถามออกไปยังประชากรจ�ำนวน 30 ชุด หมายความว่า ส�ำคัญในระดับน้อย
โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองจากวิธีสะดวก คะแนน 1 ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.75
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของค�ำตอบแบบสอบถามและ หมายความว่า ส�ำคัญในระดับน้อยที่สุด
จัดหมวดหมู่ของข้อมูลในแบบสอบถามเพื่อน�ำข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ไปวิเคราะห์ทางสถิติ 1. สถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistic)
2. ข้ อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ (Secondary Data) โดยการค� ำ นวณความถี่ และร้ อ ยละเพื่ อ อธิ บ าย
เป็นข้อมูลที่รวบรวมโดยการท�ำการศึกษาค้นคว้าจาก ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การพั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ ง
เอกสารต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง จากหนั ง สื อ วารสาร บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ การขายของแผนกจัดซือ้ บริษทั ไทยปริน้
สิ่งพิมพ์ เอกสารอื่น ๆ และการค้นคว้าข้อมูลผ่านระบบ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
อินเตอร์เน็ต 2. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมาน
การวิเคราะห์ข้อมูล (Inferential Statistics) เพือ่ ทดสอบปัจจัย ( Hypothesis
ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม จะน�ำมา Testing) และอธิบายระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปร
198 วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

ตามที่ศึกษา ได้แก่ t-test และ one-way ANOVA รองลงมา คือ มีการก�ำหนดและ/หรือคาดคะเนจ�ำนวน


เมื่ อ พบความแตกต่ า งจะท� ำ การทดสอบด้ ว ยการ ปริ ม าณการะดาษที่ จ ะน� ำ มาท� ำ กล่ อ งล่ ว งหน้ า ไว้
เปรียบเทียบเป็นรายคู่ (Multiple Comparisons) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด อันดับที่สาม คือ
ด้วยวิธีของ เชฟเฟ่ (Scheffé) การแจ้ ง ความต้ อ งการพั ส ดุ ห รื อ ขอให้ จั ด หาได้ ร ะบุ
รายการหรือประเภทพัสดุ ปริมาณพัสดุ ก�ำหนดเวลา
สรุปผลการวิจัย ต้องการอย่างละเอียดและชัดเจน อันดับทีส่ ี่ คือ มีระเบียบ
ผลการวิ เ คราะห์ ก ารสั ม ภาษณ์ ข ้ อ มู ล ทั่ ว ไป หรือวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการก�ำหนดความต้องการพัสดุ
ของบุคลากรแผนกจัดซื้อบริษัทไทยปริ้น (ประเทศไทย) อั น ดั บ ที่ ห ้ า คื อ มี ก ารก� ำ หนดระยะเวลา การแจ้ ง
จ�ำกัด ซึ่งประกอบไปด้วย ผู้จัดการแผนก หัวหน้าแผนก ความต้องการพัสดุหรือขอให้จดั หาเพือ่ ป้องกันการจัดหา
พนักงานและเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ที่ท�ำงานในแผนกจัดซื้อ โดยวิธีพิเศษโดยอ้างความเร่งด่วน และข้อที่มีค่าเฉลี่ย
จ�ำนวนทั้งสิ้น 30 คน ซึ่งสรุปผลได้ดังนี้ ต�่ำสุด คือ มีการติดต่อลูกค้าเพื่อเช็คปริมาณผลิตภัณฑ์
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของบุคลากร ที่ต้องส่งมอบให้กับลูกค้าของลูกค้ามีปริมาณมากน้อย
แผนกจั ด ซื้ อ พบว่ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เพศหญิ ง มี อ ายุ เพียงใด ตามล�ำดับ
มากกว่า 40 ปี มีมีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้ 2.2 ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ
มากกว่า 30,000 บาทขึ้นไป มีระยะเวลาในการท�ำงาน ด้านการจัดหาพัสดุทมี่ คี ณ ุ ภาพ พบว่า
มากกว่า 20 ปี และไม่มีประสบการณ์ด้านแผนกจัดซื้อ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
จากองค์กรอื่น ๆ มาก่อน ตามล�ำดับ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ก�ำหนดระยะเวลาการด�ำเนินการ
2. ผลการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ จัดหาในแต่ละวิธีไว้เหมาะสม และทันกับความต้องการ
ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การพั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ ง รองลงมา คือ มีการจัดหาพัสดุตามทีแ่ จ้งความต้องการไว้
บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ การขายของแผนกจัดซือ้ บริษทั ไทยปริน้ อันดับที่สาม คือ จัดท�ำรายงานสิ่งผลิตปกติที่เกิดขึ้น
(ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตาม เช่น มีรายละเอียดไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนดในสัญญา
ล�ำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการคาดคะเนการจัดหา หรื อ ข้ อ ตกลงพั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์
พัสดุ ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ ด้านการเก็บรักษา เพื่ อ การขายไม่ ไ ด้ คุ ณ ภาพหรื อ เสี ย หาย อั น ดั บ ที่ สี่
พัสดุ ด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย และด้านการ คือ มีการจัดท�ำทะเบียนประวัติผู้ขายรวมทั้งสถิติราคา
พิจารณาต้นทุนตามล�ำดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อันดับทีห่ า้ คือ จัดท�ำราคาเปรียบเทียบราคาซือ้ ครัง้ ล่าสุด
สามารถสรุปได้ดังนี้ และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด คือ จัดให้มีการหมุนเวียน
2.1 ด้านการคาดคะเนการจัดหาพัสดุ เจ้าหน้าที่จัดหา ตามล�ำดับ
ด้ า นการคาดคะเนการจั ด หาพั ส ดุ 2.3 ด้านการเก็บรักษาพัสดุ
พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ด้านการเก็บรักษาพัสดุ พบว่า โดยรวม
พบว่ า ข้ อ ที่ มี ค ่ า เฉลี่ ย สู ง สุ ด คื อ มี ก ารคาดคะเนถึ ง อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อที่มี
ปริมาณม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สถานที่จัดเก็บพัสดุกระดาษผลิต
ที่ ต ้ อ งสั่ ง ซื้ อ ที่ เ น้ น ปริ ม าณการสั่ ง ซื้ อ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การ กล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขายเก็บไว้ในที่ปลอดภัยและ
ประหยัดค่าใช้จา่ ยการจัดซือ้ กระดาษเพือ่ มาผลิตปริมาณ เป็นระเบียบเรียบร้อย รองลงมา คือ มีการลงบัญชี/
กล่องบรรจุภัณฑ์ตามที่ต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด ทะเบียนพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ การขาย
Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.1 January - June 2018 199

โดยแยกเป็นประเภทและรายการโดยถูกต้องครบถ้วน อภิปรายผล
อันดับที่สาม คือ หน่วยงานมีการจัดส่งพนักงานไปตรวจ ผลการศึกษาวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการ
คุ ณ ภาพกระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขาย จัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย
หลั ง จากทางลู ก ค้ า ได้ ท� ำ การขึ้ น รู ป แล้ ว บรรจุ ภั ณ ฑ์ ของแผนกจัดซื้อ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
เรียบร้อยแล้ว อันดับทีส่ ี่ คือ มีการรายงานการด�ำเนินการ เมื่อจ�ำแนกเป็นรายข้อในแต่ละด้านสามารถอภิปรายผล
เคลมกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขายที่ไม่ได้ การศึกษาได้ดังต่อไปนี้
มาตรฐานกลั บ สู ่ โ รงงานหลั ก อั น ดั บ ที่ ห ้ า คื อ มี ก าร 1. ด้านการคาดคะเนการจัดหาพัสดุ
สังเกตถึงรอยขีดข่วนบนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษ
เพื่อการขายอย่างละเอียดเพื่อป้องกันการรั่วซึม และข้อ ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ
ทีม่ คี า่ เฉลีย่ ต�ำ่ สุด คือ มีการให้หมายเลขทะเบียน ครุภณ ั ฑ์ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) โดยภาพรวมอยู่ใน
และจัดท�ำทะเบียนถูกต้องตามระเบียบและเป็นปัจจุบัน ระดั บ มาก ทั้ ง นี้ เ พราะว่ า มี ก ารคาดคะเนถึ ง ปริ ม าณ
ตามล�ำดับ ม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขายที่ต้อง
2.4 ด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย สั่งซื้อที่เน้นปริมาณการสั่งซื้อที่ท�ำให้เกิดการประหยัด
ด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อกระดาษเพื่อมาผลิตปริมาณกล่อง
พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ บรรจุภัณฑ์ตามที่ต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด เพื่อให้
พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การตรวจการยกย้าย เกิดการประหยัดและลดต้นทุนในพัสดุและเพื่อท�ำให้
ม้วนกระดาษเพื่อผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ถึงการกระท�ำ การจัดการบริหารสินค้าคงคลังเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การเคลื่อนย้ายอย่างระมันระวัง รองลงมา คือ การ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ มยุรฉัตร ศรีดาธรรม
จ� ำ หน่ า ยพั ส ดุ ต ้ อ งได้ รั บ การอนุ มั ติ โ ดยผู ้ มี อ� ำ นาจ (2555) ที่กล่าวว่า การประยุกต์ใช้ปริมาณการสั่งซื้อ
และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด คือ มีการลงบัญชี/ทะเบียน ส� ำ หรั บ สิ น ค้ า กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ท� ำ การศึ ก ษาวิ ธี ก ารหา
ทันทีที่มีการจ�ำหน่ายพัสดุออกไป ตามล�ำดับ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดและจุดสั่งซื้อที่เหมาะสม
2.5 ด้านการพิจารณาต้นทุน น�ำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทาง
ด้ า นการพิ จ ารณาต้ น ทุ น พบว่ า ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลัง
โดยรวมอยู ่ ใ นระดั บ น้ อ ย เมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายข้ อ ซื้ อ ได้ สิ น ค้ า กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ จ ะท� ำ การศึ ก ษาทั้ ง หมด
พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีการค�ำนวณวันและ 12 รายการซึ่ ง หลั ง จากการประยุ ก ต์ ใ ช้ วิ ธี ป ริ ม าณ
เวลาในการจัดส่งม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ การสั่ งซื้ อที่ประหยั ดแล้ ว พบว่ า กิจการสามารถลด
เพื่อการขายให้ลดต้นทุนได้มากที่สุด รองลงมา คือ มู ล ค่ า สิ น ค้ า คงคลั ง ลง ที่ ส ามารถจะอธิ บ ายว่ า การ
มีการคาดคะเนถึงระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการขนส่ง คาดคะเนถึงปริมาณม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภณ ั ฑ์
ในแต่ละช่องทางส�ำหรับงานที่เร่งด่วนและน�ำมาปรึกษา เพื่อการขายที่ต้องสั่งซื้อที่เน้นปริมาณการสั่งซื้อที่ท�ำให้
หรื อ และพิ จ ารณาในแต่ ล ะครั้ ง และข้ อ ที่ มี ค ่ า เฉลี่ ย เกิดการประหยัดค่าใช้จา่ ยการจัดซือ้ กระดาษเพือ่ มาผลิต
ต�่ำสุด คือ มีการค�ำนวณถึงความคุ้มค่าในการน�ำเข้า ปริมาณกล่องบรรจุภัณฑ์ตามที่ต้องการ มีการก�ำหนด
จ�ำนวนม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย ระยะเวลา การเจ้งความต้องการพัสดุหรือขอให้จัดหา
ตามล�ำดับ เพือ่ ป้องกันการจัดหาโดยวิธพี เิ ศษโดยอ้างความเร่งด่วน
200 วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

การแจ้ ง ความต้ อ งการพั ส ดุ ห รื อ ขอให้ จั ด หาได้ ร ะบุ ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ
รายการหรือประเภทพัสดุ ปริมาณพัสดุ ก�ำหนดเวลา บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) โดยภาพรวมอยู่ใน
ต้องการอย่างละเอียดและชัดเจน มีการติดต่อลูกค้า ระดับมาก ทั้งนี้เพราะว่า มีสถานที่จัดเก็บพัสดุกระดาษ
เพื่อเช็คปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ต้องส่งมอบให้กับลูกค้า ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขายเก็บไว้ในที่ปลอดภัย
ของลูกค้ามีปริมาณมากน้อยเพียงใดและอันดับสุดท้าย และเป็นระเบียบเรียบร้อย และ มีการลงบัญชี/ ทะเบียน
คื อ มี ร ะเบี ย บหรื อ วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การก� ำ หนด พั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขาย
ความต้องการพัสดุ ได้อย่างเหมาะสมให้กับธุรกิจของ โดยแยกเป็นประเภทและรายการโดยถูกต้องครบถ้วน
บริ ษั ท ได้ และมี น โนบายการจั ด ซื้ อ ที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ราคา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ รัชนี ตระกูลวิจิตร (2550)
ที่เหมาะสมและคุณภาพ ของการให้บริการตลอดจน ที่กล่าวไว้ว่า ควรมีการจดระเบียบ และขั้นตอนที่ไม่
การส่งมอบที่เป็นระบบท�ำให้ไม่เกิดการรั่วไหล หรือ ยืดหยุ่น เป็นมาตรฐาน และถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ
ทุจริตใด ๆ ในการจัดคาดคะเนเตรียมการจัดหาพัสดุ ระเบี ย บวิ ธี ป ฏิ บั ติ ส ถานที่ จั ด เก็ บ พั ส ดุ ไ ม่ เ พี ย งพอ
2. ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ ไม่ก้าวก่ายหน้าที่กัน และมีการลงบัญชี/ ทะเบียนพัสดุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษ กระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย โดยแยก
ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ เป็นประเภทและรายการโดยถูกต้องครบถ้วน มีการ
บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) โดยภาพรวมอยู่ใน ให้ ห มายเลขทะเบี ย น ครุ ภั ณ ฑ์ และจั ด ท� ำ ทะเบี ย น
ระดั บ มาก ทั้ ง นี้ เ พราะว่ า มี ก ารก� ำ หนดระยะเวลา ถูกต้องตามระเบียบและเป็นปัจจุบนั และ สถานทีจ่ ดั เก็บ
การด�ำเนินการจัดหาในแต่ละวิธีไว้เหมาะสม และทัน พัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขายเก็บไว้
กับความต้องการซึง่ สอดคล้องกับแนวคิด (POSDCORB, ในที่ปลอดภัยและเป็นระเบียนเรียบร้อย หน่วยงาน
1979) ของ Gulick ได้กล่าวว่า ควรมีการวางแผน มีการจัดส่งพนักงานไปตรวจคุณภาพกระดาษผลิตกล่อง
ในการสั่งพัสดุกระดาษผลิตกล่อง รวมถึงมีการจัดวาง บรรจุภัณฑ์เพื่อการขายหลังจากทางลูกค้าได้ท�ำการ
บุ ค ลากรในการปฏิ บั ติ ง านและประสานงานเพื่ อ ให้ ขึ้นรูปแล้วบรรจุภัณฑ์เรียบร้อยแล้วคือมีการรายงาน
กระบวนการจัดการพัสดุผลิตกล่องด�ำเนินไปได้ราบรื่น และด�ำเนินการเคลมกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์
และมีการควบคุมตลอดจนรายงานกระบวนการจัดการ เพื่อการขายที่ไม่ได้มาตรฐานกลับสู่โรงงานหลัก และ
พั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ อันดับสุดท้ายคือ มีการสังเกตถึงรอยขีดข่วนบนกระดาษ
ประสิทธิผล ด้วยเหตุทวี่ า่ ทางบริษทั ควรมีการจัดหาพัสดุ ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขายอย่ า งละเอี ย ด
ตามที่แจ้งความต้องการไว้ มีการจัดท�ำทะเบียนประวัติ เพื่อป้องกันการรั่วซึม
ผู้ขายรวมทั้งสถิติราคาจัดให้มีการหมุนเวียนเจ้าหน้าที่ 4. ด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย
จั ด หา และจั ด ท� ำ รายงานสิ่ ง ผลิ ต ปกติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เช่ น ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษ
มี ร ายละเอี ย ดไม่ เ ป็ น ไปตามข้ อ ก� ำ หนดในสั ญ ญา ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ
หรื อ ข้ อ ตกลงพั ส ดุ ก ระดาษผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) โดยภาพรวมอยู่ใน
เพื่อการขายไม่ได้คุณภาพ หรือเสียหาย และจัดท�ำราคา ระดับมาก ทั้งนี้เพราะว่า มีการจัดการขนส่งที่เน้นถึง
เปรียบเทียบราคาซื้อครั้งล่าสุด การเคลื่ อ นย้ า ยพั ส ดุ ที่ มี ก ารเคลื่ อ นย้ า ยจากที่ ห นึ่ ง
3. ด้านการเก็บรักษาพัสดุ ไปยังอีกที่หนึ่งที่เป็นไปตามความต้องการลูกค้าเพื่อเพิ่ม
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษ คุณค่าของ พัสดุที่มีการล�ำเลียงได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.1 January - June 2018 201

และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ข้อเสนอแนะ


ค�ำนาย อภิปรัชญาสกุล (2550: 19-24) เมื่อจ�ำแนก ข้อเสนอแนะจากผู้วิจัย
เป็นรายข้อพบว่า อันดับที่หนึ่ง คือ การจ�ำหน่ายพัสดุ ผลจากการศึกษาสรุปได้วา่ ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการ
ต้องได้รับการอนุมัติโดยผู้มีอ�ำนาจ รองลงมาคือ มีการ จัดการพัสดุกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย
ลงบั ญ ชี / ทะเบี ย นทั น ที่ ที่ มี ก ารจ� ำ หน่ า ยพั ส ดุ อ อกไป ของแผนกจัดซื้อบริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
อันดับสุดท้าย คือมีการตรวจการยกย้ายม้วนกระดาษ โดยภาพรวมนัน้ จะเห็นได้วา่ ด้านการพิจารณาต้นทุนนัน้
เพื่อผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ถึงการกระท�ำการเคลื่อนย้าย มีระดับน้อยมากทีส่ ดุ นัน่ หมายถึงขาดการใส่ใจในด้านนี้
อย่างระมัดระวัง ตามล�ำดับ อย่างมาก และด้านการคาดคะเนเตรียมการจัดหาพัสดุนนั้
5. ด้านการพิจารณาต้นทุน มีระดับมากที่สุด เนื่องจากทางบริษัท ต้องการเตรียม
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัสดุกระดาษ พัสดุกระดาษผลิตกล่องให้กับทางลูกค้าไว้เสมอและ
ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขายของแผนกจั ด ซื้ อ ทันท่วงทีได้ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้
บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) โดยภาพรวมอยู่ใน 1. ด้านการคาดคะเนเตรียมการจัดหาพัสดุ
ระดับน้อย ทั้งนี้เพราะว่า การค�ำนวณวันและเวลาในการ - บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
จัดส่งม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย ควรมีการติดต่อลูกค้าเพื่อเช็คปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ต้อง
ให้ ข าดลดต้ น ทุ น มากที่ สุ ด โดยมี ก ารคาดคะเนถึ ง ส่งมอบให้กบั ลูกค้าของลูกค้ามีปริมาณมากน้อยเพียงใด
ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการขนส่งในแต่แต่ล่ะครั้ง โดยก�ำหนดให้มกี ารส่งพนักงานออกไปตรวจทุก ๆ เดือน
ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เนตร์พัณณา ยาวิราช 2. ด้านการจัดหาพัสดุที่มีคุณภาพ
(2551: 342-349) เกี่ยวกับการจัดหาพัสดุและควบคุม - ควรจั ด ให้ มี ก ารหมุ น เวี ย นเจ้ า หน้ า ที่
ต้ น ทุ น การตรวจรั บ และการเก็ บ พั ส ดุ โ ดยมี จ� ำ นวน จัดหา โดยจัดให้มีการหมุนเวียนหน้าที่การท�ำงานของ
ทีเ่ พียงพอและค�ำนึงถือ ต้นทุนค่าใช้จา่ ยทีป่ ระหยัดทีใ่ ห้มี แผนกที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมบุคคลากรให้พร้อมส�ำหรับ
ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด และนอกจากนี้ ยังสอดคล้องกับ การท� ำ แทนหน้ า ที่ จั ด หาเมื่ อ ขาดผู ้ ท� ำ งานต� ำ แหน่ ง
การจัดซื้อที่มีการจัดท�ำเอกสารเพื่อให้ทราบถึงจ�ำนวน เจ้าหน้าที่จัดหา
การสั่งซื้อ ราคา การก�ำหนดเวลาส่งที่เป็นการลดต้นทุน 3. ด้านพิจารณาต้นทุน
ในการจัดหาและได้มาซึ่งพัสดุเมื่อจ�ำแนกเป็นรายข้อ - ควรมีการก�ำหนดวันและเวลาในการ
พบว่า มีการค�ำนวณถึงความคุ้มค่าในการน�ำเข้าจ�ำนวน จัดส่งม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย
ม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการขาย มีการ ให้ลดต้นทุนได้มากทีส่ ดุ โดยเฉพาะต้นทุนในการจัดเก็บ
คาดคะเนถึ ง ระยะเวลาและค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขนส่ ง สินค้าซึง่ ท�ำได้ดว้ ยการปรับปรุงการวางแผนการน�ำสินค้า
ในแต่ละช่องทางส�ำหรับ งานที่เร็งด่วนและน�ำมาปรึกษา เข้าให้ใกล้เคียงกับวันทีล่ กู ค้าต้องการรับสินค้า และมีการ
หรือและพิจารณาในแต่ล่ะครั้ง มีการค�ำนวณวันและ เสนอแนะในแผนกจัดซื้อ โดยการปรับปรุงแผนการซื้อ
เวลาในการจัดส่งม้วนกระดาษผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ ตามสถิตยิ อ้ นหลังเพือ่ เตรียมผลิตภัณฑ์กระดาษให้พร้อม
เพื่อการขายให้ลดต้นทุนได้มากที่สุด กับความต้องการของลูกค้าในแต่ละช่วงเวลา
202 วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561

4. ด้านเก็บรักษาพัสดุ ความเรียบร้อยของม้วนกระดาษก่อนส่งไปผลิตยังสาย
- ควรมีการให้หมายเลขทะเบียนครุภณ ั ฑ์ การผลิต
และจัดท�ำทะเบียนถูกต้องตามระเบียน และเป็นปัจจุบัน ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น มี ก ารท� ำ บั ญ ชี ร หั ส ครุ ภั ณ ฑ์ ไ ว้ แ ล้ ว 1. ควรมี ก ารศึ ก ษาการน� ำ เทคโนโลยี
แต่หน้างานจริงครุภัณฑ์ต่าง ๆ มีรหัสไม่ตรงกับบัญชี สารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการของแผนกจัดซื้อ
ท�ำให้การตรวจสอบความถูกต้อง ทั้งด้านคุณภาพ และ บริษัท ไทยปริ้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ปริมาณ จึงควรสอบครุภัณฑ์ ทั้งระบบใหม่ให้ตรงกับ 2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรต่าง ๆ 
บั ญ ชี ที่ ท� ำ ไว้ โดยจะสามารถบริ ห ารจั ด การคุ ณ ภาพ ที่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ สภาพการด� ำ เนิ น งาน เพื่ อ ที่ จ ะได้
ในการผลิตและควบคุมสิ้นค้าได้อย่างแม่นย�ำ ทราบถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขในการพัฒนาองค์กร
5. ด้านการจัดจ�ำหน่ายพัสดุและขนย้าย ต่อไป
- ควรมีการตรวจการยกย้าย ม้วนกระดาษ 3. ควรมีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยการ
เพื่ อ ผลิ ต กล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ ถึ ง การเคลื่ อ นย้ า ยอย่ า ง น�ำปัจจัยทีพ่ บว่ามีความแตกต่างมาศึกษาเพิม่ เติมอีกครัง้
ระมัดระวัง โดยมีการจดท�ำแบบฟอร์ม การตรวจสอบ หลั ง จากที่ อ งค์ ก รน� ำ ผลมาปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง
ชนิดของกระดาษตรงกับความต้องการสายการผลิต ความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นได้
โดยให้หัวหน้าแผนกตรวจสอบและเซ็นชื่อเพื่อยืนยัน
Journal of Pacific Institute of Management Science Vol.4 No.1 January - June 2018 203

บรรณานุกรม
ค�ำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2550). การจัดการขนส่ง. กรุงเทพฯ: พิมพลักษณ์.
ชัชวาล อยู่คงศักดิ์. (2548). การบริหารงานเอกสาร. เอกสารประกอบการสอน, ชุดวิชาการบริหารพัสดุและส�ำนักงาน
สาขาวิชาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปรีชา จ�ำปารัตน์ และไพศาล ชัยมงคล. (2555). การบริหารพัสดุ:ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ปราณี ตันประยูร. (2553). การบริหารการผลิต. กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2551). การบริหารพัสดุส�ำนักงาน. กรุงเทพฯ.
หริรักษ์ สูตะบุตรและคณะ. (2550). การควบคุมคุณภาพและการจัดการสินค้าคงคลัง. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ.
วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์. (2554). การจัดการผลิต. กรุงเทพฯ.
ศิริศักดิ์ สุขชื่น. (2549). การพัสดุ (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงาน ก.พ.
ณัฐณิชา รักษาสัตย์. (2555). ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนต�ำบลใน
อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: การค้นคว้าแบบอิสระ (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
(สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มยุรฉัตร ศรีดาธรรม. (2555). กรณีศึกษา การใช้ EOQ Model มาประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ
การบริหารสินค้าคงคลัง : กรณีศึกษา บริษัท แอดเวนเจอร์ไทย จ�ำกัด. ปทุมธานี: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สุขสันติ์ เหล่ารักกิจการ. (2555). การควบคุมพัสดุชิ้นส่วนคงคลังจากผู้ผลิตชิ้นส่วน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
รัชนี ตระกูลวิจิตร. (2555). ศึกษาเรื่อง การประเมินผลการด�ำเนินงานของงานพัสดุ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลัดดา ทองทา .(2556). ศึกษาเรือ่ ง การบริหารงานพัสดุขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย
แม่โจ้, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศักดิ์ชัย บูรณพันธุ์ศรี. (2557). การจัดการด้านสินค้าคงคลังในกิจการวัสดุก่อสร้าง : กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนสามัญ
นิตบิ คุ คล ซิน้ เชียง หลี (สาขา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

You might also like