You are on page 1of 68

1.

กิจกรรมที่ต้องมีการเคลื่อนย้ายบุคคล สัตว์ หรือสิ่งของ


จากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งโดยเส้นทางต่างๆ เช่น
ถนน แม่น้า รถไฟ
2. การเคลื่อนย้ายนันต้องใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการ
ขนส่ง ได้แก่ รถยนต์ รถไฟ
3. จะต้องเป็นไปตามความต้องการและเกิดประโยชน์ตามที่ท้า
การขนส่งต้องการ
 ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยหลักของการผลิต
สินค้า เพราะ...
1. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีด้านการคมนาคมขนส่ง ส่งเสริมให้เกิดการ
เดินทางท่องเที่ยวมากขึน

โลกแห่งการ ท่องเที่ยวได้มาก ใช้เวลาน้อยลง


ท่องเที่ยวแคบลง แห่งขึน
2. นักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวในระยะไกลขึนได้ แม้จะมีช่วงเวลา
การหยุดงานสันๆ และจ้านวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึน
3. ผลของการคมนาคมขนส่งที่พัฒนาก้าวไกล ท้าให้...
ใช้เวลาเดินทาง
มีเวลามากขึน
สันลง
อยู่ในสถานที่
ท่องเที่ยวได้
นานขึน

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวต้องพยายามพัฒนาส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวทังหลายให้ใช้จ่ายสินค้าและบริการเพิ่มขึน และใช้
เวลาในการท่องเที่ยวมากขึน
4. นักท่องเที่ยวที่มีฐานะระดับปานกลางก็สามารถไปเที่ยวไกลๆได้
โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก
ธุรกิจขนส่งมีจ้านวน
นักท่องเที่ยวเสีย มากขึนและราคาถูก
ค่าใช้จ่ายน้อยกว่า ลงกว่าเดิม

ธุรกิจขนส่ง
หลากหลายมากขึน
ส้าหรับชนทุกชัน
5. แหล่งท่องเที่ยวเกิดขึนมากมาย โดยเฉพาะในมหาสมุทร
1. การขนส่งทางบก 2. การขนส่งทางน้า
(Land Transportation) (Water Transportation)

3. การขนส่งทางอากาศ 4. การขนส่งทางท่อ
(Air Transportation) (Tube Transportation)
1. การขนส่งทางบก

1.1 การขนส่งทางถนน
(Road Transportation) 1.2 การขนส่งทางรถไฟ
(Rail Transportation)
1.1 การขนส่งทางถนน
(Road Transportation)

รถม้าลาก (Coach)

รถม้าสี่ล้อ (Carriage)
รถม้าส้าหรับโดยสาร
(Stagecoach)
รถ Benz รุ่นแรก
1.1.1 รถโดยสารประจ้าเส้นทาง (Scheduled Buses)

• พาหนะหลักในการเดินทางระยะไกลๆบนภาคพืนดิน
• มีราคาถูกที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับรถยนต์ รถไฟ ในระยะทางที่ไกลเท่ากัน
• อุตสาหกรรมรถยนต์โดยสารประจ้าเส้นทาง ส้าหรับมวลชนในยุคปัจจุบันและอนาคต
• มีการพัฒนาระบบความสะดวกสบายในการให้บริการ
• บางบริษัทบริการรถโดยสาร ได้ขยายสาขาออกไปสู่ธุรกิจท่องเที่ยวอื่นๆ
1.1.2 บริษัทรถโดยสารท่องเที่ยว (Bus Tour Companies)
บริษัทรถยนต์โดยสารที่เสนอบริการท่องเที่ยวในราคาเหมาจ่าย รวมค่าพาหนะ
เดินทาง ค่าที่พัก ค่าอาหารเกือบทุกมือ ตลอดโปรแกรมการเดินทาง
1.1.3 รถยนต์ส้าราญหรือบ้านรถยนต์ (Recreational Vehicles)
• เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก
• ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
• เหมาะส้าหรับการเดินทางเป็นครอบครัวและบริการตัวเอง
• เป็นการผ่อนคลายกับชีวิตประจ้าวันปกติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
• เป็นผลให้เกิดความต้องการสถานที่จอดรถ ที่ต้องจัดเตรียมบริการต่างๆ เช่น ไฟฟ้า
ประปา ฯลฯ
1.1.4 รถยนต์เช่า (Auto Rental)
• “เฮนรี่ ฟอร์ด” เป็นผู้เริ่มกิจการรถยนต์เช่าบริษัทแรก คือ บริษัทเฮิร์ต (Hertz)
• ปัจจุบนั มีคู่แข่งมากมาย หลักก็คือ บริษัทเอวิส (Avis)
• มีเครือข่ายทั่วโลก ลูกค้าร้อยละ 80 เป็นนักท่องเที่ยว
การเดินทางการท่องเที่ยวทางบกแบบอื่นๆ
• รถยนต์รับจ้างสาธารณะ (Taxi)
• รถยนต์รับจ้างของสนามบิน (Limousine)
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
17
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
18
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
19
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
20
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
21
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
22
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
23
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
24
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
27
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
28
การขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวทางบก - รถไฟ
29
1.2 การขนส่งทางรถไฟ
ลงทุนสูง
(Train Transportation)
เสี่ยงต่อการขาดทุน
มากกว่าการขนส่งแบบอื่น

สถานีบริการ ยานพาหนะ
เส้นทางวิ่ง
(Terminal) (Train)
(Track)
รถด่วนสายแรก มีชื่อเรียกว่า “The Great Western Railway”
“รถด่วนมหัศจรรย์ของพระเจ้า” ท้าการวิ่งจากกรุงลอนดอน ไปเมืองท่าบริสตอล
การท่องเที่ยวทางรถไฟครังแรก
Thomas Cook โธมัส คุก ได้ก่อตังรถไฟสายระหว่าง
ลูหโ์ บโรห์ ไปยังไลเซสเตอร์ในอังกฤษ
ต่อมา รถไฟได้น้าผู้โดยสารไปเชื่อมต่อกับศูนย์กลางของผู้คน
จ้านวนมากในยุโรปและในทวีปอเมริกาเหนือ
เป็นจุดสินสุดของรถม้าโดยสารและการขนส่งผู้โดยสารตาม
แม่น้าล้าคลอง
1. รถไฟด่วน
(Super train)

รถไฟหัวกระสุน
Bullet Train/Shinkansen
วิ่งด้วยความเร็ว 300 กม./ช.ม.
Nozomi Shinkansen
: รถไฟความเร็วสูง
"โนโซมิ ชินคันเซ็น"
ความเร็วสูงสุด : 275 ไมล์ต่อ
ชั่วโมง หรือ 442 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง
จุดเด่นรถไฟไฮเทครุ่นนี คือ ออกแบบให้มีน้าหนัก คุณสมบัติเด่น : "โนโซมิ" เป็นชื่อ
เบา ติดตังกระจกโพลีคาร์บอเนตซึ่งแตกยาก- รุ่นรถไฟในเครือข่ายรถไฟความเร็ว
ทนทานต่อแรงกระแทกสูง และมีระบบ "แอร์ สูง (ชินคันเซ็น) ของญี่ปุ่น ซึ่งท้า
สปริง" ใช้แรงอัดอากาศช่วยประคองสมดุลขบวนรถ ความเร็วสูงที่สุดในกลุ่ม
เวลาเข้าโค้ง
ขับเคลื่อนโดยใช้แรงแม่เหล็ก
2. รถไฟฟ้าแม่เหล็ก
ยกให้ลอยเหนือตัวราง
(Magnets)
“Rail Bus”

Intercity ของอังกฤษ
ความเร็วสูงสุด 225 กม./ช.ม.
ICE หรือ Inter City Experimental
ของชาวเยอรมัน
ความเร็วสูงสุด 406 กม./ช.ม.
เป็นประเทศที่มีการส่งเสริมการท่องเที่ยว
โดยเดินทางทางรถไฟมากที่สุดในยุโรป
Shanghai Maglev :
เซี่ยงไฮ้แม็กเลฟ
ความเร็วสูงสุด : 311 ไมล์ต่อ
ชั่วโมง หรือ 500 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง

คุณสมบัติเด่น : "เซี่ยงไฮ้แม็กเลฟ"
สถานที่ : นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน วิ่งรับ-ส่ง สร้างสถิติเป็น "รถไฟฟ้าแม่เหล็ก
ผู้โดยสารระหว่างสถานีหลงหยาง เขตพู่ตง กับท่า ความเร็วสูง" (แม็กเลฟ) ขบวนแรก
อากาศยานนานาชาติพู่ตง ในอนาคตมีแผนขยาย ของโลกที่วิ่งให้บริการเชิงพาณิชย์
เส้นทางไปยังท่าอากาศยานหงเฉียว เชื่อมต่อไปเมือง ด้วยความเร็วสูงสุด
หังโจว
Alta Velocidad
Espanola (AVE) :
รถไฟความเร็วสูงเอวีอี
ความเร็วสูงสุด : 227 ไมล์ต่อ
ชั่วโมง หรือ 365 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง
สถานที่ : ประเทศสเปน วิ่งเชื่อมต่อเมืองใหญ่ 4
เมือง ประกอบด้วย มาดริด, เซบีญา, มาลาก้า คุณสมบัติเด่น : ในอดีตรางรถไฟ
และบาร์เซโลนา สเปนจะมีขนาดความกว้าง 1,668
มิลลิเมตร แต่รถเอวีอี ใช้ราง
มาตรฐาน 1,435 มิลลิเมตร ซึ่งใช้
โดยทั่วไปในทวีปยุโรปสุด
Beijing-Tianjin
Intercity Railway :
รถไฟความเร็วสูงสาย
ปักกิ่ง-เทียนสิน
ความเร็วสูงสุด : 245 ไมล์ต่อชั่วโมง
หรือ 394 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

เริ่มเปิดบริการเมื่อปี พ.ศ.2551 นี่เอง ตัวรางไม่มี คุณสมบัติเด่น : ในอดีตการโดยสาร


บัลลาสต์ ส่วนโครงสร้างฐานรางรถไฟรองรับด้วย รถไฟจากปักกิ่งไปเทียนสิน ใช้เวลา
พืนคอนกรีต ท้าให้รางแข็งแรงมั่นคงยิ่งขึน ไม่ต้อง 70 นาที แต่ด้วยรถไฟสายใหม่นีช่วย
คอยเสียเวลาซ่อมแซมบูรณะมากนัก ร่นเวลาลงมาเหลือ 30 นาที ภายหลัง
เปิดบริการปีแรก สามารถขนส่ง
ผู้โดยสารได้กว่า 18.7 ล้านคน
Beijing-Tianjin
Intercity Railway :
รถไฟความเร็วสูงสาย
ปักกิ่ง-เทียนสิน
ความเร็วสูงสุด : 245 ไมล์ต่อชั่วโมง
หรือ 394 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

เริ่มเปิดบริการเมื่อปี พ.ศ.2551 นี่เอง ตัวรางไม่มี คุณสมบัติเด่น : ในอดีตการโดยสาร


บัลลาสต์ ส่วนโครงสร้างฐานรางรถไฟรองรับด้วย รถไฟจากปักกิ่งไปเทียนสิน ใช้เวลา
พืนคอนกรีต ท้าให้รางแข็งแรงมั่นคงยิ่งขึน ไม่ต้อง 70 นาที แต่ด้วยรถไฟสายใหม่นีช่วย
คอยเสียเวลาซ่อมแซมบูรณะมากนัก ร่นเวลาลงมาเหลือ 30 นาที ภายหลัง
เปิดบริการปีแรก สามารถขนส่ง
ผู้โดยสารได้กว่า 18.7 ล้านคน
Train a Grande Vitesse
(TGV) : รถไฟความเร็วสูง
เตเจเว (ทีจีวี)
ความเร็วสูงสุด : 356 ไมล์ต่อชั่วโมง
หรือ 572 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

คุณสมบัติเด่น : เริ่มเปิดวิ่งเป็นครังแรก
ระหว่างกรุงปารีส นครหลวงฝรั่งเศส
กับเมืองลียง ตังแต่ปี พ.ศ. 2524
สถานที่ : ประเทศฝรั่งเศส ชุมทางตังต้นเริ่มจาก ต่อมาจึงขยายเส้นทางอย่างรวดเร็ว
กรุงปารีสแล่นออกสู่สถานีใน 200 กว่าเมืองทั่ว สร้างต้านานเป็นรถไฟความเร็วสูงที่
ประเทศ เช่น นีซ ลียง อาวินยง และดิฌอง ชาวโลกได้ยินชื่อคุ้นหูมากที่สุด และยังวิ่ง
ข้ามไปยังชาติเพื่อนบ้าน เช่น วิ่งลอด
อุโมงค์ใต้ทะเลไปอังกฤษ
แล่นบนรถไฟรางเดียว ใช้ขนส่ง
3. รถไฟรางเดียว ผู้โดยสารในเมืองใหญ่ๆ เพื่อวิ่งข้าม
(Single-Railway Train) การจราจรแออัดเบืองล่าง

รถไฟรางเดียวในสวนสนุกขนาดใหญ่
รถไฟรางเดียวในกรุงปารีส ใช้เดินทางข้ามไปยังสวนสนุกต่างๆ
รถไฟด่วนลอดอุโมงค์ระหว่างประเทศ
อังกฤษกับฝรั่งเศส หรือ “ยูโรทันเนล”
(Euro-Tunnel)
2. การขนส่งทางน้า

ขนส่งได้ครังละ
ปริมาณมากๆ
โอกาสเกิด
อุบัติเหตุมีน้อย
มีความล่าช้าในการ
น้าหนักการบรรทุกสูง ขนส่งมาก
บางฤดูกาลไม่
สามารถใช้เส้นทางได้
2.1 ยุคการเดินเรือกลไฟ
(The Steamship Era)

เรือกลข้ามมหาสมุทรล้าแรก ชื่อ เรือกลไฟ “ซาวานนาห์” (Savannah)


เดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างเมืองซาวานน่าห์ รัฐจอร์เจีย กับ
เมืองลิเวอร์พูล อังกฤษ ปี ค.ศ. 1819 ใช้เวลา 29 วัน
2.2 บริษัทเดินเรือขนาดใหญ่
(Large Shipping Companies)

ปี 1838 เริ่มจากเส้นทางเดินเรือกลไฟประจ้าทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก บางครัง


เรียกว่า “Liners” จัดตารางก้าหนดการเดินเรือไว้เป็นเส้นทางเดียวกัน ระหว่าง
เส้นทางเดินเรือสองจุดหรือเมืองท่า 2 เมือง 2 แห่งในเส้นทางเดินเรือประจ้า
ปีสุดท้ายของทศวรรษ 1920 บริษัทเดินเรือกลไฟแข่งขันกันมากขึน มีการเสนอ
บริการขนส่งทางเรือหลากหลายรูปแบบ เช่น เรือที่ให้บริการหรูหราราคาแพง และ
เรือที่คิดราคาประหยัด

เรือกลไฟได้มีการขยายเส้นทางจากยุโรปไปยังละตินอเมริกา และออสเตรเลีย
บรรทุกสินค้า ผู้อพยพ และนักท่องเที่ยว ท้าให้มีการแข่งขันกันมากและบริการต่างๆที่
ให้ผู้โดยสารก็อยู่ในชันยอดเยี่ยม

ต่อมาปี 1939 เศรษฐกิจตกต่้า เส้นทางการเดินเรือข้ามมหาสมุทรเริ่มลดจ้านวนการ


เดินทางเป็นเที่ยวละ 4-5 วัน เรือกลไฟในยุคแรกค่อยๆล้าสมัย จนกลายเป็นซากเศษ
เหล็ก แต่เรือเดินสมุทรสมัยใหม่ยังอยู่ได้ เพราะใช้เป็น “โรงแรมลอยน้า” ที่มีสิ่ง
อ้านวยความสะดวกสบายและมีความสนุกสนาน
เรือเดินสมุทรสมัยใหม่ ในยุคนัน

เรือควีนแมรี Queen Mary เรือแคนเบอรร์รา Canberra


บางครังถูกใช้เป็นพาหนะขนส่งทหารไป มีลูกเรือถึง 960 คน บรรทุกได้มาก
รบในสงครามตลอดช่วงสงครามโลก ถึง 3,238 คน สร้างขึนเมื่อ 1960
ครังที่ 2 เพื่อใช้ในการท่องเที่ยว
2.3 เรือส้าราญ
(Cruise Ships)

ไปโดยเครื่องบินไปลง
ลงเรือท่องเที่ยวแล้วบิน
เรือท่องเที่ยวและบิน
กลับ
กลับ

ค่าบริการทางการท่องเที่ยว = ค่าที่พักแรม + ค่าอาหาร + ค่าบันเทิงเริงรมณ์


(+ค่าเครื่องบิน)
ค่าบริการแตกต่างกันขึนอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ฤดูกาลทางการท่องเที่ยว ระยะทาง
ของการเดินทาง สถานที่และชนิดของที่พักแรม สถานที่และชนิดของที่พักแรม
โปรแกรมก้าหนดการที่เลือก และชนิดของเรือ
ตลาดการท่องเที่ยวเรือส้าราญ
ทางทะเล

ปัจจุบันมีขนาด เป็นตลาดที่ผู้เดินทางจะ
35 ล้านคน ชอบเดินทางซ้าแล้วซ้า
อีก (Revisit)

สัดส่วนของตลาด สัดส่วนของตลาด
สหรัฐอเมริกา 60% รองลงมาคือตลาดยุโรป
กลุ่มลูกค้าของการท่องเที่ยว
เรือส้าราญ

มีฐานะค่อนข้างดี ก้าลังซือสูง

รายได้ต่อครัวเรือนไม่
ต่้ากว่า 25,000 มีฐานะทางการงานดี
เหรียญสหรัฐต่อปีขึนไป

ที่มา : การส้ารวจศึกษาของ The Travel Pulse Research Service


หรือเรียกว่า “เรือส้าราญของ
1. เรือส้าราญทั่วไป มวลชน” (Mass Market
(Volume Cruises) Cruise)

1.2 การบริการท่องเที่ยวทางทะเล
1.1 การบริการท่องเที่ยวทาง ระยะเวลามาตรฐาน (Standard Length)
ทะเลระยะสัน (Short Cruises) ใช้ระยะเวลาการเดินทาง 7 วัน
ใช้ระยะเวลา 2-5 วัน
1.3 การบริการท่องเที่ยวทางทะเลระยะ
ยาว (Longer Cruises) ใช้ระยะเวลา
9-14 วัน
•เรือส้าราญทั่วไปจะมีทังแบบราคาประหยัดและราคามาตรฐาน
•การบริการที่พักแรมจะเทียบได้กับโรงแรมระดับมาตรฐานทั่วไป
•เน้นท่องเที่ยวในระยะสันๆและเป็นการเดินทางกลับที่รวดเร็ว
เพื่อท้ารายได้เพิ่ม เป็นตลาดระดับมวลชน

บริษัทเรือส้าราญคิวนาร์ด บริษัทเรือส้าราญคลอสเตอร์
(Cunard Cruise Lines) (Kloster Cruise Limited)
มีส่วนแบ่งทางการตลาดใหญ่
2. เรือส้าราญชันหนึ่ง เป็นอันดับสองในอุตสาหกรรม
(Premium Cruises) เรือส้าราญในทะเล

มีบริการพร้อมสรรพทังบนเรือและ
ให้บริการตัง 1 สัปดาห์ขึนไป ชายทะเล (บนบก)
จนถึง 2-3 เดือน

เน้นตลาดนักท่องเที่ยว 2 กลุ่ม คือ


กลุ่มมวลชนทั่วไป และ กลุ่มผู้ดี
มีส่วนแบ่งทางการตลาด
3. เรือส้าราญหรูหรา ประมาณร้อยละ 6 ของตลาด
(Luxury Cruises) เรือส้าราญทังหมด

ใช้เวลาตังแต่ 6 เดือนถึง 12 เดือนถึง


มีการบริการในระดับหรูหราและ จะเสร็จสินโปรแกรมการเดินทาง
เน้นความสะดวกสบาย

จุดแวะพักท่องเที่ยวจะแตกต่างจากเรือ
ส้าราญประเภทอื่น
2.4.1 การเดินทางโดยยานโฮเวอร์คราฟ (Hovercraft)

เป็นยานสะเทินน้า เรียกอีกอย่างหนึ่ง
สะเทินบก แล่นได้ ว่า ยานเบาะอากาศ
ทังบนน้าและลอย (Air-Cushion
ไปในอวกาศ Vehicle : ACV)

ปัจจุบันใช้ในการ
ข้ามช่องแคบที่มี มีขีดความสามารถใน
ความกว้างไม่มาก การบรรทุกสูง
นัก ความเร็ว 70 M/hr
2.4.2 การเดินทางโดยเรือไฮโดรฟอยล์ (Hydrofoil)

แล่นโดยอาศัย ความเร็วสูงสุด
หลักการเดียวกัน ประมาณ 50-60
กับโฮเวอร์คราฟ นอต (96-113
พืนเรือไม่แตะผิวน้า กม./ช.ม.)

เรือไฮโดรฟอยล์
ท่องเที่ยวแม่น้าดานูบ รับส่งผู้โดยสารระหว่าง
ระหว่างกรุงเวียนนา เมืองท่าโคเปนเฮเกน
ออสเตรีย กับกรุง เดนมาร์ก กับเมือง
บูดาเปสต์ ฮังการี เฮลซิงกิ สวีเดน
3. การขนส่งทางอากาศ
(Air Transportation)
ทันสมัยที่สุด
รวดเร็ว
ประหยัดเวลา ท้าให้การเดินทาง
ท่องเที่ยวรวดเร็วขึน
มีบทบาทส้าคัญอย่าง เที่ยวบินตรงมีมาก
ยิ่งต่อการท่องเที่ยว ขึน
ราคาค่าโดยสารถูกลง
กว่าเดิม การส้ารองที่
นั่งสะดวกขึน
1. เครื่องบิน

เครื่องบินโดยสารล้าใหญ่ที่สุดใน
โลก คือ แอร์บัส A380
สามารถบรรจุผู้โดยสารได้ถึง
853 ที่นั่ง
2. เฮลิคอปเตอร์

มีความเร็วสูงสุดได้ไม่เกิน 400
กม./ช.ม. สามารถบินขึนลงใน
สนามบินแคบๆได้
4. การขนส่งทางท่อ
(Tube Transportation)
ต้นทุนการผลิตต่้า
เพื่อแก้ปัญหาเรือง มาก เมื่อค้านวณผล
การจราจรติดขัด ในระยะยาว
เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายใน
การขนส่ง เช่น การขนส่ง วิวัฒนาการความ
น้ามัน น้า ผู้โดยสาร ทันสมัยของ
เทคโนโลยี
ราคาค่าโดยสารถูกลง
กว่าเดิม การส้ารองที่
นั่งสะดวกขึน
ตัวอย่างการขนส่งทางท่อส้าหรับการเดินทางท่องเที่ยว
ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
การคมนาคมขนส่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ส้าคัญในกระบวนการผลิตที่ส้าคัญของ
อุตสาหกรรมทุกประเภท โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ถ้าขาดเส้นทางคมนาคม ขาดพาหนะในการเดินทางขนส่ง ขาดวิถีในการขนส่ง
แม้ว่าสถานที่ท่องเที่ยวแห่งนันจะสวยงาม มีสิ่งดึงดูดใจมากสักเพียงใด
การท่องเที่ยวอาจจะไม่เกิดขึน และการพัฒนาพืนที่อาจเกิดขึนช้ากว่าพืนที่ที่
เดินทางสะดวก ดังนันการพัฒนาระบบขนส่งนับว่าเป็นสิ่งส้าคัญเป็นล้าดับแรก
ของการพัฒนาการท่องเที่ยว

You might also like