You are on page 1of 1

รถไฟฟ้ าชานเมือง สายธานีรัถยา สายสี แดงเข้ ม

เปิ ดให้ใช้บริ การครั้งแรกในปี พ.ศ. 2564 หรื อ 2 ปี ที่แล้ว โดยมีระยะทางทั้งหมด 185 กิโลเมตร 44 สถานี เป็ นเส้นทางหลักใน
แนวเหนือ -ใต้ ตามแนวทางรถไฟเดิมของการรถไฟแห่งประเทศไทย เชื่อมต่อพื้นที่ชานเมืองด้านทิศเหนือ (พื้นที่ดอนเมือง, รังสิ ต, ปทุมธานีและ
อยุธยา) และพื้นที่ชานเมืองด้านทิศใต้ (พื้นที่บางบอนและมหาชัย) เข้าสู่ใจกลางเมือง สายธานีรัถยา ได้แบ่งการดำเนินงานออกเป็ นหลายส่ วน
ประกอบด้วยช่วงบางซื่อ -รังสิ ต
การเปลีย่ นแปลงในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมาของรถไฟสายธานีรัถยา สายสี แดงเข้ ม
พ.ศ. 2570 บริ ษทั รถไฟฟ้ า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็ นผูใ้ ห้บริ การชัว่ คราวจนกว่าจะได้เอกชนดำเนินการ
พ.ศ. 2565 ช่วงรังสิ ต - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และช่วงบางซื่อ - หัวลำโพง อยูร่ ะหว่างการเตรี ยมการเปิ ดประมูลการก่อสร้าง
ส่ วนช่วงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - บ้านภาชี และช่วงหัวลำโพง - มหาชัย - ปากท่อ ยังเป็ นเพียงแผนงาน

รถไฟฟ้ าชานเมือง สายนครวิถี สายสี แดงอ่ อน


เปิ ดให้ใช้บริ การครั้งแรกในปี พ.ศ. 2564 หรื อ 2 ปี ที่แล้ว โดยมีระยะทางทั้งหมด 117.5 กิโลเมตร 31 สถานี ในเส้นทางหลัก
และ 12.5 กิโลเมตร 6 สถานี ในเส้นทางแยก ทั้งสองช่วงเป็ นเส้นทางหลักในแนวตะวันออก-ตะวันตก ตามแนวทางรถไฟเดิมของการรถไฟแห่ง
ประเทศไทย โดยเกิดขึ้นจากการรวมเส้นทางรถไฟชานเมืองสายตะวันตก (หัวลำโพง - นครปฐม) และรถไฟชานเมืองสายตะวันออก (หัวลำโพง -
ชุมทางฉะเชิงเทรา) เข้าด้วยกัน เชื่อมต่อพื้นที่ชานเมืองด้านทิศตะวันตก (พื้นที่นครปฐม ตลอดจนกรุ งเทพมหานครฝั่งธนบุรี) และพื้นที่ชานเมืองด้าน
ทิศตะวันออก (พื้นที่อ่อนนุช - ลาดกระบัง และฉะเชิงเทรา) เข้าสู่ใจกลางเมือง 
การเปลีย่ นแปลงในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมาของรถไฟสายนครวิถี สายสี แดงอ่ อน
พ.ศ. 2554 ส่ วนแรก (บางซื่อ - ตลิ่งชัน) ได้ด ำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็ จ แต่ไม่สามารถเปิ ดดำเนินการได้ในทันที เนื่องจากต้องรอ
การก่อสร้างอาคารสถานีกลางบางซื่อและการสัง่ ซื้อระบบรถไฟฟ้ า ซึ่งทั้งหมดเป็ นสัญญาว่าจ้างของการก่อสร้างเส้นทางในสายสี แดงเข้ม
พ.ศ. 2554 ส่ วนที่เหลือได้แก่ ช่วงตลิ่งชัน - ศาลายา , ตลิ่งชัน - ศิริราช , บางซื่อ - มักกะสัน-หัวหมาก , บางซื่อ - หัวลำโพง อยู่
ระหว่างการทบทวนแบบการก่อสร้าง เนื่องจากมีการปรับกรอบวงเงินในการดำเนินการ

You might also like