You are on page 1of 6

วิชา ทฤษฎีองค์การและการจัดการ นางสาวหทัยชนก เส็งนา

ดร.วิษณุ ปัญญายงค์ รหัสนักศึกษา : ๖๖๐๑๓๒๘๐๑๐๓๕


กศ.บป. / รปศ. ปี ๑ / ๖๖

แผนที่แสดงอาณาเขตการปกครอง ของเทศบาลตาบลคูเมือง

ที่ต้งั ของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตาบล
เทศบาลตาบลคูเมือง เดิมเป็ นการปกครองส่ วนท้องถิ่นรู ปแบบสุ ขาภิบาลมาก่อน
ซึ่งเรี ยกว่า “สุ ขาภิบาลคูเมือง” จัดตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มกราคม พศ๒๕๒๓ ตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทยในราช กิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม ๕๗ ตอนที่ ๒๕ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
๒๕๒๓ และต่อมามี พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุ ขาภิบาลเป็ นเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๒ จัดตั้ง
เทศบาลตาบล ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๙๕ ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์
พ.ศ.๒๕๔๒ เป็ นผลให้ สุ ขาภิบาลคูเมือง เปลี่ยนแปลงฐานะเป็ นเทศบาลตาบลคูเมือง ตั้งแต่วนั ที่ ๒๕
พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๒
ปัจจุบนั เทศบาลตาบลคูเมือง มีอาคารสานักงานเป็ นของตนเอง สาหรับให้บริ การประชาชนที่มา
ติดต่อ ราชการได้ดว้ ยความสะดวก ซึ่งสานักงานดังกล่าวตั้งอยู่เลขที่ ๓๙๙ หมู่ที่ ๑๐ บ้านคูขาด
ถนน บุรีรัมย์ - พุทไธสง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรมั ย์
เทศบาลตาบลคูเมือง มีประชากรในปัจจุบัน สิ้ นสุ ด ณ ๕ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
(สานักงานทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลตาบลคูเมือง)
จานวนรวมทั้งสิ้ น ๓,๕๙๑ คน แยกเป็ น
ชาย ๑,๘๐๕ คน
หญิง ๑,๗๘๖ คน
บ้านเรื อน ๑,๘๒๑ หลังคาเรื อน
ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยทางานและมีประชากรที่ยา้ ยออกไปประกอบอาชีพในเขตต่างจังหวัด
จานวนมาก เนื่องจากประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่า และปัญหาฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลทาให้เกิดสภาวะ
แห้งแล้ง ผลผลิต ทางการเกษตรเสียหายมาก จึงทาให้ประชาชนดินทางไปทางานในกรุ งเทพฯเพื่อหาเงินมา
ใช้ในการดารงชีพ

ลักษณะภูมิประเทศ
เทศบาลตาบลคูเมือง มีพ้นื ที่ ๗.๗๕ ตารางกิโลเมตร ปัจจุบนั (สิ้ นสุ ด พฤษภาคม ปี พ.ศ๒๕๕๙)
ครอบคลุมพื้นที่บางส่ วนของ ๒ ตาบล จานวน ๔ หมู่บา้ นของอาเภอคูเมือง ดังนี้ ตาบลคูเมือง จานวน ๒
หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ที่ ๖, ๑๐ ตาบลหนองขมาร จานวน ๒ หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ที่ ๗, ๑๐
เทศบาลตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ทางทิศ เหนือของอาเภอเมืองบุรีรัมย์อยู่ห่าง
จากกรุ งเทพมหานครโดยทางรถยนต์ ประมาณ ๔๑๘ กิโลเมตร และอยู่ห่างจากอาเภอใกล้เคียง ดังนี้
คูเมือง – บุรีรัมย์ ๓๔ กิโลเมตร
คูเมือง – ลาปลายมาศ ๓๘ กิโลเมตร
คูเมือง – พุทไธสง ๓๐ กิโลเมตร
คูเมือง – กิ่งอาเภอแคนดง ๓๐ กิโลเมตร
คูเมือง – กิ่งอาเภอลาทะเมนชัย ๒๔ กิโลเมตร
เทศบาลตาบลคูเมือง มีพ้นื ที่รับผิดชอบทั้งหมด ๗.๗๕ ตารางกิโลเมตร หรื อ เท่ากับ ๔,๘๔๓.๗๕ ไร่

อาณาเขตติดต่อ
เทศบาลตาบลคูเมือง มีอาณาเขต ดังนี้
ทิศเหนือ ตั้งแต่หลักเขตที่ ๑ ซึ่งตั้งอยู่ริมลาห้วยหนองหว้า ฝั่งเหนือห่างจากด้าน ตะวันตก
ของศูนย์กลางทางหลวงหมายเลข ๒๐๗๔ ตอนอาเภอคูเมือง - อาเภอพุทไธสง ตามแนวเส้นตั้งฉาก
ระยะ ๑,000 เมตร เรี ยบริ มลาห้วยหนองหว้า ฝั่งเหนือไปทางทิศตะวันออกผ่านทางหลวงจังหวัด
หมายเลข ๒๐๗๔ ตอนอาเภอคูเมือง - อาเภอพุทไธสง ถึงหลักเขตที่ ๒ ซึ่งตั้งอยู่ริมลาห้วยราช ฝั่ง
ตะวันตก
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขมาร
ทิศตะวันออก ตั้งแต่หลักเขตที่ ๒ เป็ นเส้นตรงไปทางทิศใต้ ถึงหลักเขตที่ ๓ ซึ่งตั้งอยู่
ห่าง จากด้านตะวันออกเฉี ยงเหนือของศูนย์กลางทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๒๐๗๔ ตอนอาเภอคู
เมือง – อาเภอพุทไธสง ตร.กม. ๓๓.๐๐๐ ตามแนวเส้นตั้งฉาก ระยะ ๑,๐๐๐ เมตร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขมารและองค์การบริ หาร
ส่ วนตาาบลหินเหล็กไฟ
ทิศใต้ จากหลักเขตที่ ๓ เป็ นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ผ่านทาง หลวง
หมายเลข ๒๐๗๔ ตอนอาเภอคูเมือง - อาเภอพุทไธสง ตรง กม. ๓๓,๐๐๐ ถึงหลักเขตที่ ๔ ซึ่งตั้งอยู่
ห่างจากด้านตะวันตกเฉียงใต้ของศูนย์กลางทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๒๐๗๔ ตอนอาเภอคูเมือง -
อาเภอพุท ไธสง ตร.กม. ๓๓,๐๐๐ ตามแนวเส้นตั้งฉาก ระยะ ๘๐๐ เมตร
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูเมือง
ทิศตะวันตก ทิศตะวันตก ตั้งแต่หลักเขตที่ ๔ เป็ นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉี ยง
เหนือ ถึงหลักเขตที่ ๕ ซึ่งตั้งอยู่ริมถนนเข้าหมู่บา้ นโคกสะอาด ฟากเหนือ ห่างจากด้านตะวันตกของ
ศูนย์กลาง ทางหลวงจังหวัด หมายเลข ๒๐๗๔ ตอนอาเภอคูเมือง อาเภอพุทไธสง ตามแนวเส้นตั้ง
ฉาก ระยะ 9,000 เมตร
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูเมือง

ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมอิ ากาศ อากาศในเขตเทศบาลตาบลคูเมืองแบ่งออกได้ ๓ ฤดู ได้แก่
- ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – ตุลาคม โดยได้รับอิทธิพลมรสุ มตะวันออกเฉี ยงใต้
- ฤดูหนาว เริ่ มตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์
- ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่เดือน มีนาคม - กลางเดือนพฤษภาคม ในฤดูร้อนอากาศค่อนข้างร้อนและแห้งแล้ง
มาก
- อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ๒๗.๔ องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุ ดอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม ประมาณ ๑๗
องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุ ดอยู่ในช่วงเดือนเมษายน ประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียส
ลักษณะของดิน
สภาพดินทัว่ ไปเป็ นดินร่ วนปนทราย และพื้นที่ลาดชัน มีความอุดมสมบูรณ์ ต่าปลูกพืชได้ผลผลิต
น้อยกว่ามาตรฐาน
ลักษณะของแหล่งน้า
๑) ฝายน้ าล้น จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ ฝายน้ าล้นบ้านคูขาด บริ เวณศาลเจ้าพ่อหลวงอุดม และฝายนาลันบ้าน
หนองหว้า
๒) สระน้ า จานวน ๒ แห่ง ได้แก่ ถนนหลวงอุดม ๕ จานวน ๑ แห่ง และวัดโคกสะอาด จานวน ๑ แห่ง
๓) ลาห้วย จานวน ๑ แห่ง คือ ลาห้วยคูขาด
ลักษณะของไม้และป่ าไม้
ป่ าเต็งรัง เป็ นป่ าผลัดใบที่มีไม้วงศ์ยางบางชนิดเป็ นไม้เด่น ได้แก่ เต็ง รัง เหี ยง พลวง และ ยางกราด
โดยทัว่ ไปความหนาแน่นของต้นไม้ในป่ าเต่งรังจะน้อยกว่าป่ าเบญจพรรณ เพราะดินตื้นกักเก็บน้ าได้ น้อย มี
หิ นบนผิวดินมาก ก่อให้เกิดความแห้งแล้ง ป่ าเต็งรังเป็ นสังคมพืชเด่นของภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือ เกิดขึ้น
ที่ระดับความสูงประมาณ ๕๐-๑,000 เมตร จากระดับน้ าทะเล มีช่วงแห้งแล้งจัด เกิน ๔ เดือนต่อปี ประกอบ
กับปริ มาณน้ าฝนตกน้อยคือ ๙๐๐-๑,๒๐๐ มิลลิเมตรต่อปี เท่านั้น

ด้ านการเมือง/การปกครอง
เขตการปกครอง
เทศบาลตาบลคูเมือง มีเขตการปกครองครอบคลุมพื้นที่ ๔ หมู่บา้ น ๒ ตาบล คือบ้านคูเมือง,
บ้านคูขาด ตาบลคูเมือง และบ้านโคกสะอาด บ้านหนองหว้า ตาบลหนองขมาร
การไฟฟ้า
เทศบาลตาบลคูเมือง ไฟฟ้าเข้าถึงครบทุกหมู่บา้ น การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาคจานวน ๔แห่ง
- จานวนครัวเรื อนที่ใช้ไฟฟ้าประมาณ ๑,๓๙๕ หลังคาเรื อน
( ที่มา : ข้อมูลสารวจ การไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค ณ สิ้ นสุ ดพฤษภาคม ปี ๒๕๖๒)
- ไฟฟ้าสาธารณะจานวน ๓๖๗ ดวง
(ที่มา : ข้อมูลสารวจ กองช่าง ณ สิ้ นสุ ด พฤษภาคม ปี ๒๕๖๒)
วิเคราะห์ SWOT ชุมชน เทศบาลตาบลคูเมือง

จุดแข็ง (S : Strensth) จุดอ่อน (W : Weakness)


-ประชาชนมีคุณภาพ และมีส่วนร่ วมใน -เป็ นชุมชนดั้งเดิมมีบา้ นเรื อนของประชาชนปลูกสร้าง
กระบวนการพัฒนาท้องถิ่นทั้งในด้านโครงสร้าง อยู่อย่างหนาแน่น
พื้นฐาน และคุณภาพชีวิต -ขาดระบบการวางผังที่ได้มาตรฐาน
-ชุมชนเข้มแข็งได้รับการบริ การสาธารณะด้าน -เด็กและเยาวชนบางส่ วนมีพฤติกรรมไม่ศึกษาต่อ
โครงสร้างพืน้ ฐานครบถ้วนสมบูรณ์มีเส้นทางสัญจร ระดับที่สูงขึ้น
เป็ นไปด้วยความสะดวกสะอาด -เด็กและเยาวชนบางส่ วนมีพฤติกรรมที่เสี่ ยงต่อการ
-ผูน้ าชุมชนสมานสามัคคีไม่มีปัญหาในด้านการร่ วมมือ เสพสารเสพติด
กันในการปกครองและบริ หาร การพัฒนา - ปัญหาหนี้สิน และความปลอดภัยในชีวิตและ
- มีเทศบาลที่มีศกั ยภาพเพียงพอที่จะรองรับการบริ การ ทรัพย์สิน
สาธารณะและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ -ประชาชนยังขาดความเอาใจใส่ ดูแลสุ ขภาพของตน
ประชาชน -ชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารที่ไม่ทวั่ ถึง
- มีการประสานร่ วมมือกันระหว่างเทศบาลกับส่ วน
ราชการอื่นในพื้นที่
- มีเส้นทางการคมนาคมในเขตเทศบาลที่สะดวกทุก
สาย
โอกาส (O : Opportunity) ข้อจากัด (T : Threat)
-จังหวัดบุรีรัมย์สามารถสนับสนุนงบประมาณให้ -ประชาชนมีความแตกต่างในด้านฐานะทางเศรษฐกิจ
เทศบาลตาบลคูเมืองที่มีแผนงานโครงการตามแนวทาง -ประชาชนมีพื้นฐานความรู ้และพื้นฐานทางสังคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด แตกต่างกัน
- มีเส้นทางคมนาคมสายหลักเชื่อมไปสู่ จงั หวัดต่างๆ -ประชาชนขาดแหล่งเงินทุนที่ใช้ในการลงทุนในอัตรา
จานวน ๑ สาย สามารถรองรับการขยายตัวของการ ดอกเบี้ยต่า
ลงทุนทางเศรษฐกิจ
-เทศบาลสามารถพัฒนาการจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นได้
เกินกว่าประมาณการปี ละประมาณร้อยละ ๑๐
- เทศบาลมีความเหมาะสมในการลงทุนด้านการแปร
รู ปผลผลิตทางการเกษตร
-เทศบาลมีหนองน้ าใหญ่ที่สามารถพัฒนาเป็ นแหล่ง
ท่องเที่ยวได้
-เทศบาลเหมาะสาหรับเป็ นศูนย์กลางแลกเปลีย่ นสิ นค้า
ประเภทต่างๆ

You might also like