You are on page 1of 40

ปทุุมธานีี

ปทุมธานี
ปทุมธานี
วัดปัญญานันทาราม

4 ปทุมธานี
สารบัญ
การเดินทาง ๗
สถานที่น่าสนใจ ๘
อ�าเภอเมืองปทุมธานี ๘
อ�าเภอล�าลูกกา ๑๑
อ�าเภอสามโคก ๑๓
อ�าเภอลาดหลุมแก้ว ๑๗
อ�าเภอคลองหลวง ๑๘
อ�าเภอธัญบุรี ๒๕
กิจกรรมที่น่าสนใจ ๒๗
เทศกาลงานประเพณี ๒๘
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ๒๙
สิ่งอ�านวยความสะดวกในจังหวัดปทุมธานี ๓๑
สถานที่พัก ๓๑
ร้านอาหาร ๓๒
สปา ๓๔
หมายเลขโทรศัพท์ส�าคัญ ๓๕
วัดนาบุญ
ปทุมธานี
ถิ่นบัวหลวง เมืองรวงข้าว เชื้อชาวมอญ นครธรรมะ พระต�าหนักรวมใจ
สดใสเจ้าพระยา ก้าวหน้าอุตสาหกรรม
จังหวัดปทุมธานี เดิมเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้วไม่ ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็ จ
น้อยกว่า ๓๐๐ ปี นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ใช้คา� ว่า
มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อปีพุทธศักราช “จังหวัด” แทน “เมือง” และให้เปลี่ยนการเขียนชื่อ
๒๒๐๒ มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ จังหวัดใหม่จาก “ประทุมธานี” เป็น “ปทุมธานี”
เมืองเมาะตะมะ อพยพหนีภัยจากศึกพม่าเข้ามาพึ่ง ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบรมโพธิสมภาร สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงโปรดเกล้าฯให้ยุบจังหวัดธัญบุรีขึ้นกับจังหวัด
ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ค รอบครั ว มอญ ปทุมธานีเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๗๕
เหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคก จากนั้น นับตัง้ แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้
มาชุมชนสามโคกได้พัฒนาขึ้นมาตามล�าดับ ต่อมา พระราชทานนาม เมืองปทุมธานีเป็นต้นมา จังหวัด
แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรี ปทุมธานีก็เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นล�าดับ เป็นจังหวัดที่
ชาวมอญได้ อ พยพหนี พ ม่ า เข้ า มาพึ่ ง พระบรม อุดมสมบูรณ์มีศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์อื่นๆ
โพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ ๒ สมเด็จพระเจ้าตากสิน เป็นของตัวเองซึ่งเป็นสิ่งที่ชาวปทุมธานีภาคภูมิใจ
มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือน เป็นอย่างยิ่ง และเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลที่มี
ที่สามโคก และครั้งสุดท้ายในรัชกาลพระบาทสมเด็จ ความเจริญรุ่งเรืองมาก ตัวเมืองปทุมธานีอยู่ห่างจาก
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้มีการอพยพชาวมอญ กรุงเทพฯ ไปทางทิศเหนือประมาณ ๔๖ กิโลเมตร
ครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะ เข้าสู่ประเทศไทยเรียก มีพนื้ ทีป่ ระมาณ ๑,๕๖๕ ตารางกิโลเมตร เเบ่งการ
ว่า “มอญใหญ่” พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ปกครองออกเป็น ๗ อ�าเภอ คือ อ�าเภอเมือง
ให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ท่ีบ้านสามโคก ปทุมธานี สามโคก ลาดหลุมเเก้ว ธัญบุรี หนองเสือ
อีกเช่นเดียวกัน ฉะนั้นจากชุมชนที่ขนาดเล็ก “บ้าน คลองหลวง และล�าลูกกา
สามโคก” จึงกลายเป็น “เมืองสามโคก” ในกาลต่อมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเอา อาณาเขต
พระทัยใส่ดแู ล ท�านุบา� รุงชาวมอญเมืองสามโคกไม่ได้ ทิศเหนือ ติ ด กั บ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา
ขาด ครั้งเมื่อเดือน ๑๑ พุทธศักราช ๒๓๕๘ ได้เสด็จ และจังหวัดสระบุรี
ประพาสที่เมืองสามโคก และประทับที่พลับพลาริม ทิศใต้ ติดกับจังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพ
แม่น�้าเจ้าพระยาฝั่งซ้ายเยื้องเมืองสามโคก ยังความ มหานคร
ปลาบปลื้มใจให้แก่ชาวมอญเป็นล้นพ้น จึงได้พากัน ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดนครนายก และจังหวัด
หลัง่ ไหลน�าดอกบัวขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายราชสักการะอยู่ ฉะเชิงเทรา
เป็นเนืองนิจ ยังความซาบซึง้ ในพระราชหฤทัยเป็นทีย่ งิ่ ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดนนทบุรี
จึงบันดาลพระราชหฤทัยให้พระราชทานนามเมือง
สามโคกเสียใหม่ว่า “เมืองประทุมธานี” ซึ่งวันนั้น การเดินทาง
ตรงกับวันที่ ๒๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๓๕๘ ด้วย รถยนต์ จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปจังหวัด
พระมหากรุณาธิคุณดังกล่าว ชื่อเมืองประทุมธานีจึง ปทุมธานีได้ ๔ เส้นทาง ดังนี้
ได้ก�าเนิดนับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ๑. กรุงเทพฯ-บางเขน-รังสิต-ปทุมธานี
๒. กรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปากเกร็ด-ปทุมธานี
ปทุมธานี 7
๓. กรุงเทพฯ-บางใหญ่-บางบัวทอง-ลาดหลุมแก้ว- ธัญบุรี ๓๔ กิโลเมตร
ปทุมธานี หนองเสือ ๔๗ กิโลเมตร
๔. กรุงเทพฯ-ใช้เส้นทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด
ลงทีด่ ว่ นบางพูน เลีย้ วซ้ายเข้าเส้นทางรังสิต-ปทุมธานี ระยะทางจากจังหวัดปทุมธานีไปยังจังหวัดใกล้เคียง
(หมายเลข ๓๔๖) นนทบุรี ๒๖ กิโลเมตร
รถโดยสารประจ�าทาง สุพรรณบุรี ๘๐ กิโลเมตร
๑. รถธรรมดาสาย ๓๓ สนามหลวง-ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา ๘๙ กิโลเมตร
๒. รถธรรมดาสาย ๙๐ รัชโยธิน-ท่าน�้าปทุมธานี นครนายก ๑๐๑ กิโลเมตร
๓. รถธรรมดาสาย ๒๙, ๓๔, ๓๙, ๕๙, ๙๕ รถปรับ
อากาศสาย ๑๘๕, ๕๐๓, ๕๑๐, ๕๑๓, ๕๒๐, ๕๒๒, สถานที่น่าสนใจ
๒๙, ๓๔ และ ๓๙ ลงรถที่รังสิต แล้วต่อรถสายรังสิต- อ�าเภอเมืองปทุมธานี
ปทุมธานี พิพิธภัณฑ์หินแปลก ตั้งอยู่ที่ ๒๙/๒ หมู่ ๑ ถนน
สายรังสิต-ท่าน�้าปทุมธานี ต�าบลบ้านกลาง ภายใน
๔. รถร่วมบริการสาย ๑๐๔ (สถานีขนส่งจตุจักร-
พิพิธภัณฑ์ จัดแสดง เก็บรักษาและสะสมหินจ�านวน
ปากเกร็ด) หรือสาย ๓๒ (วัดโพธิ์-ปากเกร็ด) แล้วต่อ
รถสาย ๓๓ และ ๙๐ จากปากเกร็ดไปจังหวัดปทุมธานี มาก เช่น หินแปลก หินหยก หินฟอสซิล หินธรรมชาติ
สอบถามรายละเอียดเส้นทางเดินรถ ขสมก. เพิ่มเติมหินงอก หินย้อย หินแร่ จากทีต่ า่ งๆ ทัง้ ในประเทศและ
ได้ที่ โทร.๑๓๘๔ หรือ www.bmta.co.th ต่างประเทศ นอกจากหินแล้วยังมีรูปภาพ, แสตมป์,
รถไฟ จากสถานีหัวล�าโพง สามเสน บางซื่อ บางเขน หน้าไม้ขีด, ที่เขี่ยบุหรี่เก่า, ภาพวาด, ภาพเขียน
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ หิ น แปลกตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ทาง
หลักสี ่ ดอนเมือง เดินทางโดยรถไฟไปลงทีส่ ถานีรงั สิต
แล้วต่อรถโดยสารจากสายรังสิต-ปทุมธานี สอบถาม ประวัติศาสตร์ของหินแปลก รวมทั้งของสะสมเก่า
เกีย่ วกับตารางรถไฟ โทร. ๑๖๙๐ , ๐ ๒๒๒๓ ๗๐๑๐, แก่ที่สามารถสะท้อนศิลปวัฒนธรรมไทยได้ และยัง
๐ ๒๒๒๓ ๗๐๒๐, ๐ ๒๒๒๐ ๔๓๓๔ หรือ www. เป็นการเปิดโลกทัศน์ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่
railway.co.th ประชาชนและผู้สนใจทั่วไป พิพิธภัณฑ์ฯ เปิดให้เข้า
เรือ จากกรุงเทพฯ โดยสารเรือด่วนเจ้าพระยาไปลงชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ค่าเข้าชม
คนไทย ผู้ใหญ่ ๔๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท ชาวต่างชาติ
ที่ท่าน�้านนทบุรี แล้วต่อรถสายนนทบุรี-ปทุมธานี
สอบถามข้อมูลเรือด่วนเจ้าพระยา โทร. ๐ ๒๖๒๓ ๔๐ บาท สอบถามรายละเอียด โทร. ๐๘ ๗๕๕๐
๖๐๐๑-๓ หรือ www.chaophrayaboat.co.th ๐๘๐๓, ๐๘ ๗๐๑๕ ๖๖๒๙, ๐๘ ๕๑๓๒ ๖๖๖๐
www.rarestonemuseum.com
ระยะทางจากตัวเมืองปทุมธานี ไปยังอ�าเภอต่าง ๆ e-mail: rarestonemuseum@gmail.com
สามโคก ๕ กิโลเมตร การเดินทาง นั่งรถโดยสารประจ�าทางสาย ๒๙ หรือ
ลาดหลุมเเก้ว ๑๖ กิโลเมตร สาย ๓๙ ลงห้างสรรพสินค้าฟิวเจอร์ปาร์ค รังสิต
คลองหลวง ๒๒ กิโลเมตร แล้วต่อรถโดยสารประจ�าทางสายรังสิต-ปทุมธานี,
ล�าลูกกา ๓๒ กิโลเมตร รังสิต-ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร หรือ รังสิต-บางกระดี่

8 ปทุมธานี
ศาลหลักเมือง เป็นทีเ่ คารพสักการะของชาวจังหวัด
ปทุมธานี ตงั้ อยูบ่ ริเวณทางเข้าศาลากลางจังหวัด เป็นศาลา
แบบจตุรมุขยอดปรางค์ ประดิษฐานเสาหลักเมือง
ซึ่ ง มี ลั ก ษณะคล้ า ยก้ า นดอกบั ว หลวงท� า จากไม้
ชัยพฤกษ์ และมีรูปหล่อพระนารายณ์สี่กรทรงเหนือ
หลั ง นกฮู ก และพระวิ ษ ณุ ห ล่ อ ด้ ว ยสั ม ฤทธิ์ ด้ า น
หลังของมณฑปบรรจุพระยอดธงวัดไก่เตี้ย อีกทั้ง
สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิม์ ากมายประกอบด้วยเครือ่ งรางของขลัง
ที่รวบรวมมาจากวัดต่างๆ ในจังหวัดปทุมธานี

ศาลากลางจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี (หลั ง เก่ า ) ตั้ ง อยู ่
ด้านตะวันตกของแม่น�้าเจ้าพระยา สร้างขึ้นในสมัย
รัชกาลที่ ๖ เป็นเรือนปั้นหยา ด้านหน้าก่อปูนเป็น
สถาปัตยกรรมแบบยุโรป มีลวดลายตกแต่งด้านหน้าที่
สวยงาม ซึ่งทางกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนโบราณ
สถานแห่งชาติ

วัดโบสถ์ ตัง้ อยูท่ ตี่ า� บลบ้านกลาง ทางฝัง่ ตะวันออก ศาลหลักเมือง


ของแม่ น�้ า เจ้ า พระยา เดิ น ทางโดยข้ า มสะพาน
ปทุมธานีไปฝั่งตะวันออกจะมีทางแยกซ้ายไปกลับ ที่เจ้าอาวาสได้รับพระราชทานมาจากรัชกาลที่ ๖
รถใต้สะพานเพื่อไปยังวัดซึ่งอยู่อีกฟากหนึ่งของถนน เมื่อครั้งเสด็จประพาสเมืองปทุมธานี
วัดโบสถ์สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๑๖๔ โดยชาวมอญทีอ่ พยพ
มาจากเมืองหงสาวดี ชื่อวัดโบสถ์มาจากชื่อหมู่บ้าน วั ด หงษ์ ป ทุ ม าวาส (วั ด มอญ) ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ า
ที่ชาวมอญอพยพมาจากเมืองมอญ เช่นเดียวกับวัด เจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ต�าบลบางปรอก ใกล้กับ
อีกหลายวัดในปทุมธานี เช่น วัดหงษ์ วัดบางตะไนย์ ตลาดสดเทศบาล เป็นวัดทีส่ ร้างโดยชาวมอญทีอ่ พยพ
ประชาชนมักมาทีว่ ดั เพือ่ สักการะหลวงพ่อสามพีน่ อ้ ง หนีพม่ามาไทยในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุร ี มีสญ ั ลักษณ์
ในพระอุโบสถ และรูปหล่อหลวงปู่เทียน (พระครู ของวัดมอญ คือ เสาหงส์ มีลกั ษณะบนยอดเสาเป็น
บวรธรรมกิจ) พระเถระผู้ทรงคุณวิทยา ส่งเสริมด้าน ตัวหงส์หมายถึง เมืองหงสาวดี เมืองหลวงของชาวมอญ
การศึกษาให้กบั ชาวปทุม วัดนีย้ งั คงมีวหิ ารเก่าเหลือ ปูชนียวัตถุส�าคัญของวัดคือ พระพุทธชินราชจ�าลอง
อยู ่ ๑ หลัง เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่จาก ปางมารวิชัย เจดีย์มอญจ�าลองแบบมาจากเจดีย์จิต
รามัญ คือ พระแสงอาญาสิทธิ์ และยังเก็บรักษา ตะกองในเมืองหงสาวดี วิหารจ�าลองแบบมาจากกรุง
สิ่งส�าคัญคือ ช้างสี่เศียรและบุษบกสัมฤทธิ์ส�าหรับ หงสาวดีหลังคาเป็นชั้นๆ มีลวดลายที่สวยงามมาก
ประดับเสาหงส์ และรูปปัน้ สุนขั ย่าเหลหล่อด้วยตะกัว่ อุโบสถเป็นอุโบสถสร้างใหม่ตามสถาปัตยกรรมของไทย

ปทุมธานี 9
วัดโบสถ์

มองเห็นช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ได้แต่ไกล ภายใน กรมหลวงชินวรสิริวัฒนา สมเด็จพระสังฆราชเจ้า


อุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องราวพุทธประวัติ อดีตเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ในสมัย
และยังมีพระพุทธรูปปางมารวิชยั รูปหล่อหลวงปูเ่ ฒ่า รัชกาลที่ ๗
ทีช่ าวบ้านนับถือ และมีศาลาการเปรียญประดับด้วย
ไม้แกะสลักสวยงาม วัดแห่งนี้ได้รับรางวัลชนะเลิศ วัดฉาง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นฉาง ภายในวัดมีสงิ่ ส�าคัญคือพระ
โครงการอนุรักษ์พันธุ์ปลาหน้าวัด มีพันธุ์ปลาต่างๆ วิหารเก่า มีจิตรกรรมปรากฎอยู่ที่หน้าบันพระวิหาร
มากมายทีอ่ าศัยอยูใ่ นแม่นา�้ เจ้าพระยาเช่น ปลาสวาย และพระพุทธรูปปางสมาธิที่สร้างจากสตางค์แดง
ปลาเทโพ ว่ายมาชุมนุมกันอยู่เนืองแน่นเพื่อรอรับ ทั้งองค์ ซึ่งประชาชนเลื่อมใสมานมัสการอยู่มิได้ขาด
อาหารจากผู้มาท�าบุญไหว้พระที่วัด นอกจากนี้ ยั ง มี ศ าลาท่ า น�้ า ที่ มี ค วามงดงามอยู ่ ที่
ลวดลายแกะสลักที่ชายคาวัดนี้ชาวบ้านใช้ประกอบ
วัดชินวรารามวรวิหาร ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของ ศาสนาพิธีตั้งแต่รัชกาลที่ ๒ จนถึงปัจจุบัน
แม่น�้าเจ้าพระยา ด้านทิศใต้ของตัวเมือง ตามทาง
ไปสะพานนนทบุรี (สะพานนวลฉวี) ก่อนถึงสะพาน วัดโคก ตัง้ อยูบ่ นฝัง่ ขวาของแม่นา�้ เจ้าพระยา ต�าบล
๑ กิโลเมตร มีทางแยกซ้ายไปวัดอีก ๑ กิโลเมตร บ้านฉาง ภายในวัดมีพระประธานปางสมาธิ เจดียม์ อญ
เป็นวัดเก่าแก่ และเป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิด ก่อสร้างแบบก่ออิฐถือปูนทาสีขาว ธรรมมาสน์เก่า
วรวิหาร เดิมชื่อ “วัดมะขามใต้” ในพระอุโบสถ ท�าด้วยไม้มะเกลือฝังมุขอายุกว่าร้อยปี และศาลา
มี จิ ต รกรรมฝาผนั ง เรื่ อ งทศชาติ ช าดกที่ ง ดงาม การเปรียญก่อสร้างด้วยไม้สัก เสาเป็นไม้แดง มีอายุ
วัดนี้ได้รับการปฏิสังขรณ์ โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ ๑๐๐ ปีเศษ

10 ปทุมธานี
วัดชินวรารามวรวิหาร

วัดบางหลวง ตั้งอยู่ที่ต�าบลบางหลวง ห่างจากตัว ประนมมือด้วยดอกบัว ๓ ดอก น้อมกายไปข้างหน้า


จังหวัดประมาณ ๓ กิโลเมตร เป็นที่ประดิษฐานพระ อย่างอ่อนช้อยเต็มเปีย่ มด้วยศรัทธาพืน้ ผนังสีแดงชาด
อุโบสถทรงไทยโบราณ ภายในมีพระประธานปางมาร เขียนภาพดอกไม้ร่วงโปรยลงมาเป็นระยะ จึงเป็น
วิชัยและภาพจิตรกรรมฝาผนังเป็นภาพพุทธประวัต ิ ผลงานในอดีตอันทรงคุณค่าของเมืองปทุมธานี
นอกจากนี้ ยังมีเจดีย์มอญ ๒ องค์ คือ ทรงชเวดากอง
และทรงมูเตา ซึ่งทางวัดใช้ประกอบศาสนพิธีของ วัดเจตวงศ์ ตั้งอยู่ที่ต�าบลบางขะแยง ด้านหน้าพระ
ชาวบ้านมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนมาถึงปัจจุบัน อุโบสถมีโบราณสถานขนาดเล็ก ผนังก่ออิฐมุงด้วย
กระเบือ้ งดินเผา ด้านหน้ามีชายคาปีกนกยืน่ มากันฝน
วัดน�้าวน ตั้งอยู่ที่ต�าบลบางเดื่อ ห่างจากจังหวัด มีช่องประตูเดียว มีหน้าต่างข้างๆ ๓ ช่อง ภายใน
ประมาณ ๔ กิโลเมตร ในวัดมีเจดียท์ รงรามัญ (ย่างกุง้ ) พระอุโบสถประดิษฐานพระประธานบนฐานชุกชี
อุโบสถมีหงส์หน้าอุโบสถ หน้าวัดเป็นแหล่งอาศัยของ ปางมารวิชยั ลดหลัน่ ลงมาเป็นพระอันดับซ้ายขวา ๒
พันธุ์ปลาต่างๆ มากมาย เป็นวัดที่ประชาชนจากที่ องค์ และมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเก่าแก่งดงามที่ควร
ต่างๆ นิยมมาเที่ยวชม ค่าแก่การศึกษา

วัดป่ากลางทุ่ง ตั้งอยู่ที่ต�าบลบางขะแยง ภายใน อ�าเภอล�าลูกกา
อุ โ บสถผนั ง ด้ า นหลั ง พระประธาน ปรากฏภาพ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ที่ต�าบลคูคต บริเวณ
เขียนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อครั้งอดีต ถนนวิภาวดีรังสิตบรรจบกับถนนพหลโยธิน มีเนื้อที่
ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชีภายในซุ้มเรืองแก้วอัน ประมาณ ๓๘ ไร่ อยู่ในความดูแลของกรมยุทธศึกษา
วิ จิ ต ร ด้ า นซ้ า ยขวามี ส าวกบนฐานดอกบั ว บาน ทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด เป็นทัง้ อนุสรณ์สถาน

ปทุมธานี 11
อนุสรณ์สถานแห่งชาติ

12 ปทุมธานี
เทิ ด ทู น วี ร กรรมบรรพบุ รุ ษ ไทยที่ ไ ด้ ใช้ ส ติ ป ั ญ ญา มีรถสองแถวบริการจากมีนบุรี หนองจอก และจาก
ความสามารถตลอดจนเลื อ ดเนื้ อ และชี วิ ต เข้ า สะพานใหม่มายังวัดตลอดวัน
ปกป้องผืนพสุธามาตุภูมิแห่งนี้ไว้ และเป็นพิพิธภัณฑ์
ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยตลอด อ�าเภอสามโคก
จนเหตุการณ์รบครั้งส�าคัญของไทย และสงครามที่ วัดสิงห์ ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น�้าเจ้าพระยา
กองทัพไทยได้ไปปฏิบัติการรบในต่างประเทศ อาทิ ต�าบลสามโคก การเดินทางใช้ถนนสายปทุมธานี-
สงครามเวียดนาม สงครามเกาหลี โดยใช้หุ่นจ�าลอง สามโคก ประมาณ ๓ กิโลเมตร จะมีทางแยกขวาเข้าวัด
เหตุการณ์และภาพถ่าย มีห้องจัดแสดงวิวัฒนาการ เป็นวัดเก่าแก่ซึ่งยังปรากฏเจดีย์ โบสถ์ วิหารเก่าแก่
เครือ่ งแบบเครือ่ งหมายยศของทหารทุกยุคสมัย ดิน ควรค่าแก่การศึกษาด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี
จากสมรภูมิรบที่ส�าคัญ ด้านหน้าอาคารประดิษฐาน พระพุทธรูปส�าคัญของวัดคือ หลวงพ่อโต พระพุทธรูป
พระบรมรูปรัชกาลที่ ๕ แกะสลักด้วยหินอ่อนขนาด ลงรั ก ปิ ด ทอง ปางมารวิ ชั ย สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา
เท่ า ครึ่ ง ของพระองค์ จ ริ ง และที่ น ่ า สนใจมากคื อ พระพุทธไสยาสน์ (หลวงพ่อเพชร) นอกจากนี้ยังมี
อาคารภาพปริทศั น์แสดงภาพจิตรกรรมอันงดงามบน โกศบรรจุอัฐิหลวงพ่อพญากราย ซึ่งเป็นพระมอญ
ผนังโค้งวงกลม เรื่องราวจากสมัยสุโขทัยถึงปัจจุบัน ธุดงค์มาจ�าพรรษาทีว่ ดั สิงห์ บนกุฏขิ องวัดมีพพิ ธิ ภัณฑ์
ประกอบเสียงค�าบรรยาย รวมความยาวโดยรอบถึง เก็บรักษาของเก่า ได้แก่ ตุม่ สามโคก แท่นบรรทมของ
๙๐ เมตร ดา้ นนอกจัดแสดงวัตถุยทุ โธปกรณ์ขนาดใหญ่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อครั้ง
ที่ปลดประจ�าการ เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐- เสด็ จ ประพาสเมื อ งสามโคก ใบลานอั ก ษรมอญ
๑๕.๐๐ น. ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ตู้พระธรรม และพระพุทธรูป การเข้าชมต้องขอ
(หมู่คณะต้องการผู้บรรยายควรติดต่อล่วงหน้า) โทร. อนุญาตเจ้าอาวาสวัดก่อน ด้านหน้าวัดสิงห์มีการขุด
๐ ๒๕๓๒ ๑๐๒๑, ๐ ๒๕๓๓ ๘๔๖๗ ค้นพบโบราณสถานเตาโอ่งอ่าง ซึ่งถือเป็นหลักฐาน
การเดินทาง สามารถใช้บริการรถประจ�าทางสาย ๒๙, ของการตั้งชุมชนมอญในสมัยแรกในบริเวณนี้นับแต่
๓๔, ๓๙, ๕๙, ๙๕, ปอ.๕๐๓, ปอ.๕๐๔, ปอ.๕๑๐, สมัยกรุงศรีอยุธยา ตุ่มสามโคก เป็นภาชนะบรรจุ
ปอ.๕๑๓, ปอ.๕๒๔, ปอ.๕๒๙ และ ปอ.๕๓๙ ที่ใหญ่ที่สุดซึ่งผลิตจากเตาแหล่งนี้ ต่อมาภายหลัง
ชาวรามัญเมืองสามโคกได้เลิกร้างการผลิตไปโดย
วัดพืชอุดม ตั้งอยู่ที่ต�าบลล�าไทร ริมคลองหกวา ย้ า ยการผลิ ต ไปที่ เ กาะเกร็ ด เมื อ งนนทบุ รี ซึ่ ง
บริ เวณวั ด เต็ ม ไปด้ ว ยรู ป ปั ้ น แสดงความเชื่ อ เรื่ อ ง ได้ ข ยายการผลิ ต ตุ ่ ม สามโคกขึ้ น เป็ น จ� า นวนมาก
บาปบุ ญ ในพระพุ ท ธศาสนา ส่ ว นในพระอุ โ บสถ และได้ น� า ไปขายขึ้ น ล่ อ งตามล� า น�้ า ไปทั่ ว ทุ ก ภาค
ประดิษฐานหลวงพ่อโสธรจ�าลอง มีบันไดเล็กๆ ขึ้น ก่ อ นที่ จ ะถู ก แทนที่ ด ้ ว ยโอ่ ง ลายมั ง กรจาก
ไปยังสวรรค์ภูมิทั้ง ๙ ชั้นที่ได้จ�าลองไว้ และมีทางลง ราชบุ รี ลั ก ษณะตุ ่ ม สามโคกมี เ นื้ อ ดิ น สี แ ดงส้ ม
ไปนรกภูมิใต้อุโบสถ เหมือนสีอิฐหรือสีมันปู เนื้อภาชนะค่อนข้างหนา
การเดินทาง จากแยกอนุสรณ์สถานแห่งชาติ ไปตาม รูปทรงปากโอ่งแคบ คอโอ่งจะติดกับไหล่ มีลายยืดเป็น
ทางหลวงหมายเลข ๓๓๑๒ ประมาณ ๓๑ กิโลเมตร เส้นคูต่ รงไหล่ ตรงกลางตุม่ ป่องกลม รูปทรงเตีย้ ป้อม

ปทุมธานี 13
วัดเจดีย์ทอง

ปากและก้นโอ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ปัจจุบันหาดู สองหลังต่อกันทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า


ตุ่มสามโคกของเก่าได้ที่ วัดสิงห์ วัดสามโคก และ อยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ในคราวเสด็จประพาสต้นเมื่อ
ตุ่มสามโคกขนาดใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๕ ซึ่งพระองค์เสด็จ
พระนครที่กรุงเทพฯ ประทับ ณ ศาลาหลังนี้ และชมจระเข้สตัฟ๊ แต่กอ่ นนัน้
จระเข้บริเวณนี้ชุกชุมมาก มอญเรียกว่า “เวียงจาม”
วัดสะแก ตั้งอยู่ที่ต�าบลสามโคก ห่างจากจังหวัด เป็นวัดที่อยู่สุดเขตจังหวัดปทุมธานีต่อกับจังหวัด
ปทุมธานีประมาณ ๖ กิโลเมตร ภายในวัดมีกุฏิสงฆ์ พระนครศรีอยุธยา
อาคารทรงไทยแบบรามัญ เป็นอาคารเจดีย์ย่อมุมไม้
สิบสองและเจดีย์แบบอื่น มีโบสถ์และหอระฆังเก่า วัดเมตำรำงค์ อยูใ่ นเขต ต�าบลเชียงรากน้อย ภายในมี
สมัยอยุธยา เจดียแ์ บบชะเวดากองเป็นรูปแปดเหลีย่ ม ยอดเจดียม์ ี
ฉัตรท�าด้วยทองเหลืองเป็นลายเทพพนมอายุ ๑๕๐ ปี
วัดต�ำหนัก ตั้งอยู่ที่ต�าบลสามโคก ห่างจากจังหวัด หอสวดมนต์เป็น พื้น ไม้สัก เสาไม้แก่น กลมศาลา
ปทุมธานีประมาณ ๘ กิโลเมตร วัดนีม้ อี โุ บสถลักษณะ การเปรียญมีเสาหงส์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดมอญ
ฐานเป็นรูปท้องเรือส�าเภาพระประธานในอุโบสถ มีรูปหงส์อยู่บนยอดเสา
สร้างด้วยศิลาแลง และเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง
วัดพลับสุธำวำส ตัง้ อยูท่ ี่ ต�าบลเชียงรากน้อย วัดมีสงิ่
วัดท้ำยเกำะ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นา้� เจ้าพระยาทางทิศตะวันตก ส�าคัญคือ พระพุทธรูปสร้างด้วยโลหะเงินปางสะดุง้ มาร
หมูท่ ี่ ๓ ต�าบลท้ายเกาะ ตัง้ อยูท่ า้ ยเกาะใหญ่ มีเจดียม์ อญ ธรรมาสน์ทา� ด้วยไม้สกั ฉลุสแี ดงลายทอง และเจดียม์ อญ
ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ กุฏลิ ายจ�าหลักไม้สวยงาม สามารถชมศาลา อายุกว่า ๑๐๐ ปี มีฐานเป็นสิงห์ องค์สถูปชั้นยอด

14 ปทุมธานี
วัดสิงห์

เจดี ย ์ เ ป็ น ดอกบั ว ๙ ชั้ น ลั ก ษณะเจดี ย ์ เ ป็ น ทรง มอญ ถือว่าเป็นไม้มงคลเหมือนต้นราชพฤกษ์ ภายใน


สี่เหลี่ยม วัดมีหอวัฒนธรรม ซึ่งเก็บรวบรวมศิลปวัตถุมอญ
และยังมีโครงการอนุรักษ์พันธุ์ปลาหน้าวัด นอกจาก
วัดศาลาแดงเหนือ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ ๒ ต�าบลเชียงรากน้อย นี้ยังเป็นวัดที่ใช้ประกอบพิธีส�าคัญของชาวปทุมธานี
อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นา�้ เจ้าพระยาฝัง่ ตะวันออก มีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจ เช่น พิธ ี “ออกฮ้อยปะจุ”๊ แข่งธงตะขาบ งานตักบาตร
คือ ธรรมาสน์ลายจ�าหลักไม้ ศาลาการเปรียญ หมูก่ ฏุ ิ พระร้อย เป็นต้น
หอไตร และเครือ่ งกรองน�า้ สมัยโบราณทีห่ าชมได้ยาก
นอกจากนีม้ กี ารสวดมนต์ดว้ ยภาษามอญทุกวัน เวลา วั ด เจดี ย ์ ท อง ตั้ ง อยู ่ บ นฝั ่ ง ตะวั น ตกของแม่ น�้ า
ประมาณ ๑๕.๐๐ น. บริเวณวัดมีการรักษาความ เจ้าพระยา ต�าบลคลองควาย การเดินทางใช้เส้นทาง
สะอาดของหมู่บ้านได้อย่างดีเยี่ยม จนเป็นหมู่บ้าน สายปทุมธานี-สามโคก ประมาณ ๘ กิโลเมตรและ
ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดหมู่บ้านอนุรักษ์ แยกขวาเข้าวัดอีกประมาณ ๕๐๐ เมตร ในวัดนีม้ เี จดีย์
แม่น�้าเจ้าพระยาดีเด่นของกระทรวงสาธารณสุขปี ทรงรามัญ สร้างในสมัยต้นรัตนโกสินทร์โดยชาวมอญ
พ.ศ. ๒๕๔๑ และยังมีการปลูกบ้านเรือนไทยผสม เป็น สถาปัต ยกรรมมอญที่เลียนแบบมาจากเจดีย์
ผสานแบบมอญที่หาชมได้ยากยิ่ง จิตตะกองของพม่า และมีพระพุทธรูปปางมารวิชัย
สร้างขึ้นด้วยหยกขาว เป็นที่เคารพสักการะของชาว
วัดจันทน์กะพ้อ ตัง้ อยูท่ ตี่ า� บลบางเตย ฝัง่ ตะวันตกของ ไทยรามัญ
แม่นา�้ เจ้าพระยา ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ
๖ กิโลเมตร สร้างโดยชาวมอญ ในสมัยรัชกาลที่ ๒ วัดบางนา ตัง้ อยูต่ า� บลบางโพธิเหนือ เป็นวัดทีส่ ร้าง
ชื่อว่า “วัดโกว๊ะ” แปลว่า “จันทน์กะพ้อ” ซึ่งชาว ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยมีครอบครัวคนไทยอพยพ

ปทุมธานี 15
ประกาศเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ซึ่งรวมพื้นที่ของวัด
ไผ่ล้อมและวัดอัมพุวราราม ในเนื้อที่ ๗๔ ไร่ บริเวณ
วัดมีตน้ ไม้ขนึ้ อยูห่ นาแน่น เป็นทีอ่ าศัยของนกปากห่าง
มากว่า ๑๐๐ ปีแล้ว นกปากห่างเป็นนกในวงศ์นก
กระสา มีลักษณะเฉพาะ คือ จะงอยปากปิดไม่สนิท
มีร่องโค้งตรงกลางปาก ซึ่งมีประโยชน์ต่อนกในการ
จับหอยโข่งกินเป็นอาหาร นกปากห่างมีถิ่นก�าเนิดใน
ประเทศอินเดีย ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว เขมร และ
เวียดนาม อพยพมาหาพื้นที่เหมาะสมในไทยเพื่อ
ผสมพันธุ ์ สร้างรังและวางไข่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน
ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปี ซึ่งในช่วงฤดูผสมพันธุ์น ี้
จะเห็นถึงสายสัมพันธ์ของครอบครัวนกในการสร้าง
รังด้วยกิ่งไม้ ผลัดกันหาอาหารและดูแลลูกน้อย มี
เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติและหอดูนก รายละเอียด
ติดต่อที่ส�านักงานเขตห้ามล่าสัตว์ป่าวัดไผ่ล้อมและ
วัดเจดีย์หอย วัดอัมพุวราราม โทร. ๐ ๒๙๗๙ ๘๖๗๗
การเดินทาง ไปวัดไผ่ล้อมสามารถโดยสารรถสอง
หนี ภั ย สงครามมาจากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และได้ จั ด แถวจากตัวเมืองสายปทุมธานี-เชียงราก ลงรถหน้าวัด
สร้างวัดนี้ขึ้นซึ่งแต่เดิมอยู่ในคลอง ไม่สะดวกต่อการ หรือนั่งรถสองแถวสายปทุมธานี-สามโคก ลงรถที ่
คมนาคม จึงได้ย้ายมาอยู่ริมแม่น�้าเจ้าพระยา ภายใน วัดดอน (วัดสุราษฏร์รังสรรค์) หรือ วัดสามัคคิยาราม
บริเวณวัดมีพระป่าเลไลย์ เจดียย์ อ่ มุมไม้สบิ สอง ๒ องค์ แล้วต่อเรือข้ามแม่น�้าเจ้าพระยามายังวัด ค่าโดยสาร
เสาหงส์และกุฏิตึกโบราณ นอกจากนี้ยังขุดค้นพบ เรือคนละ ๑๐ บาท นอกจากนี้ยังมีรถสายหมอชิต-
กระเบื้องดินเผาตัวผู้ ตัวเมียส�าหรับมุงหลังคาโบสถ์ อ�าเภอเสนา และรถสายนนทบุรี-อ�าเภอเสนา ลงรถ
อายุกว่า ๑๐๐ ปี ประชาชนมักแวะมาสักการะหลวง ที่วัดดอนแล้วนั่งเรือข้ามฟากมายังวัดไผ่ล้อม
ปู่เส็งซึง่ มรณภาพแล้วแต่สรีระไม่เน่าไม่เปือ่ ยและยก
หินศักดิ์สิทธิ์เสี่ยงทาย วัดศาลาแดงเหนือ ตัง้ อยูห่ มู ่ ๒ ต�าบลเชียงรากน้อย
อยู ่ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ า เจ้ า พระยาฝั ่ ง ตะวั น ออก มี ศ าลา
วัดไผ่ลอ้ ม ตัง้ อยูท่ ตี่ า� บลบ้านงิว้ บนฝัง่ ตะวันออกของ การเปรียญซึง่ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ เดิมเป็นโรงโขน
แม่น�้าเจ้าพระยา ด้านเหนือของจังหวัดปทุมธานี ใช้ หลวงที่กรุงเทพฯ บนศาลามีตู้พระพุทธรูปดัดแปลง
เส้นทางหลวงหมายเลข ๓๓๐๙ (ถนนสายเชียงราก จากธรรมาสน์ลายจ�าหลักไม้ และยังมีการสวดมนต์
น้อย ซึ่งเป็นทางเลียบแม่น�้าเจ้าพระยา) เป็นแหล่ง ภาษามอญทุกวันเวลา ๑๖.๐๐ น. บนกุฏิมีเครื่อง
ดูนกปากห่างที่ได้รับความสนใจทั้งจากนักท่องเที่ยว กรองน�้าสมัยโบราณ ที่เกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน
ชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นอันมาก ได้รับการ ซึ่งหาชมได้ยาก ชุมชนรอบวัดศาลาแดงเป็นชุมชน

16 ปทุมธานี
วัดบัวขวัญ

เล็กๆ ริมน�า้ เจ้าพระยาทีม่ กี ารรักษาความสะอาดของ มี ร อยพระพุ ท ธบาทจ� า ลอง ซึ่ ง จ� า ลองมาจากวั ด


หมู่บ้านได้อย่างดีเยี่ยมจนเป็นหมู่บ้านที่ชนะเลิศการ พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรีและพลับพลาที่ประทับ
ประกวดหมู่บ้านอนุรักษ์แม่น�้าเจ้าพระยาดีเด่นของ แรกนาขวัญ สมัยรัชกาลที ่ ๖ เดิมเรียกว่า “ศาลาแดง”
กระทรวงสาธารณสุขปีพ.ศ. ๒๕๔๑ ตั้งอยู่ที่วังพญาไท ในกรุงเทพฯ
การเดิ น ทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๔๑
วัดสองพี่น้อง ตั้งอยู่ที่ต�าบลบ้านงิ้ว ริมฝั่งแม่น�้า (ปทุมธานี-ลาดหลุมแก้ว) เลี้ยวซ้ายที่หลักกิโลเมตรที่
เจ้าพระยา เหนือวัดไผ่ล้อม สร้างขึ้นเมื่อพ.ศ. ๒๔๑๐ ๒๑-๒๒ ไปอีก ๕ กิโลเมตร
มีพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ ์ ๒ องค์ประดิษฐานอยูร่ มิ แม่นา�้
คือ หลวงพ่อเพชร เป็นพระพุทธรูปศิลา ศิลปะอู่ทอง วัดเจดีย์หอย ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ต�าบลบ่อเงิน บริเวณ
ปางมารวิชัย และหลวงพ่อพลอย เป็นพระพุทธรูป วัดมีการขุดพบซากหอยนางรมยักษ์อายุนับล้านปี
ศิลปะอู่ทองจ�าหลักด้วยศิลา แต่ถูกขโมยไป ทางวัด จ�านวนมาก หลวงพ่อทองกลึงจึงน�าซากหอยโบราณ
ได้จัดสร้างขึ้นมาใหม่ เป็นที่เคารพนับถือของชาว มาก่ อ เป็ น เจดี ย ์ ขึ้ น ที่ ด ้ า นหน้ า ทางเข้ า และในวั ด
เรือและประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ์รวบรวมพระพุทธรูปและ
ศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ ข้าวของเครือ่ งใช้เก่าๆ จ�านวนมาก
อ�าเภอลาดหลุมแก้ว เช่น ตุ่มสามโคก ถ้วยชามดินเผา ไม้แกะสลัก เครื่อง
วัดบัวขวัญ เป็นวัดเก่าแก่ของอ�าเภอลาดหลุมแก้ว คิดเลข เป็นต้น ในบริเวณวัดมีสวนสมุนไพร บ่อเลี้ยง
ทีว่ ดั นีม้ พี ระพุทธรูปทองส�าริด ปางบ�าเพ็ญทุกขกิรยิ า เต่าและบ่อปลาส�าหรับให้นกั ท่องเทีย่ วพักผ่อนหย่อน
ซึ่ ง สร้ า งขึ้ น สมั ย รั ช กาลที่ ๕ พร้ อ มกั บ พระพุ ท ธ ใจกับการให้อาหารสัตว์เหล่านี้
รู ป ตามระเบี ย งวั ด เบญจมบพิ ต ร นอกจากนี้ ยั ง

ปทุมธานี 17
การเดิ น ทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๔๑ บ้านของนายเกียรติคุณ สุทธาภิรมย์ นายกเทศมนตรี
(ปทุมธานี-ลาดหลุมแก้ว) ถึงหลักกิโลเมตรที ่ ๒๑-๒๒ ต�าบลระแหง ได้จัดท�าเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงข้าวของ
แล้วแยกเข้าวัดไปอีกประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เครื่องใช้ในสมัยโบราณ บริเวณคลองระแหงหน้า
ลานวัดบัวแก้วเกษรซึง่ อยูต่ ดิ กับตลาดจัดเป็นสถานที่
วัดล�ามหาเมฆ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นล�ามหาเมฆ หมู ่ ๕ ต�าบล เลี้ยงปลา ศาลาริมน�้าข้างห้องสมุดเป็นท่าเรือรับ-ส่ง
บ่อเงิน ห่างจากตัวจังหวัดตามเส้นทางสายปทุมธานี นักท่องเที่ยว ตั้งแต่สะพานคลองระแหงท�าทางเดิน
บางเลน ประมาณ ๑๔ กิโลเมตร สิ่งที่น่าสนใจคือ เชื่อมต่อกันระหว่างลานวัดกับตลาด โดยอนุรักษ์
บริ เวณบึ ง น�้ า ไหลของวั ด มี น กมากมายหลายชนิ ด ชุมชนดั้งเดิมไว้ตั้งแต่รุ่นทวด จนได้รับรางวัลจาก
อาศัยสร้างรัง ฟักไข่ตามธรรมชาติจ�านวนมาก ได้แก่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
นกกระยางขาว นกกระสา นกกาน�า้ และนกชนิดอืน่ ๆ เปิดให้เข้าชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ผู้สนใจสามารถ
เดินทางมาชมตลาดระแหงได้ทุกวัน (ชาวบ้านเปิด
ตลาดร้อยปีระแหง ตั้งอยู่ที่ชายคลองระแหง ติดกับ ร้านสินค้าส�าหรับนักท่องเทีย่ วในวันเสาร์และอาทิตย์
คลองพระอุดม ต�าบลระแหง ซึ่งอ�าเภอลาดหลุมแก้ว ติดต่อ เทศบาลต�าบลระแหง) โทร. ๐ ๒๙๗๖ ๓๕๕๑
ร่วมกับเทศบาลต�าบลระแหงและชาวตลาดระแหง การเดินทาง ตลาดระแหงอยูห่ า่ งจากตัวเมืองปทุมธานี
อนุรักษ์ตลาดเก่าที่รักษาชุมชนเดิมไว้ โดยจัดเป็น ไปทางอ�าเภอลาดหลุมแก้ว ๑๓ กิโลเมตร สามารถ
ตลาดน�้าเหมือนในอดีตเพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เข้าถึงได้ ๓ เส้นทาง คือ กรุงเทพฯ-รังสิต-ปทุมธานี
เชิงอนุรักษ์ของจังหวัดปทุมธานี ในอดีตผู้คนต้อง หรือ กรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปากเกร็ด-ปทุมธานี หรือ
สัญจรทางเรือ และทางรถไฟ โดยมีทางรถไฟสายแรก กรุ ง เทพฯ-บางใหญ่ - บางบั ว ทอง-ลาดหลุ ม แก้ ว -
คือ สายตลาดระแหง-บางบัวทอง สิ้นสุดเส้นทาง ปทุมธานี จากตัวเมืองปทุมธานีมุ่งหน้าไปอ�าเภอ
ที่โรงเรียนวรพงษ์ หมู่ที่ ๔ ต�าบลระแหง ต่อมา ลาดหลุมแก้วตามเส้นทางหลวงหมายเลข ๓๔๖ ระยะ
การคมนาคมเจริ ญ ขึ้ น มี ถ นนผ่ า นหน้ า อ� า เภอ ทาง ๑๓ กิโลเมตร ถึงตลาดต�าบลระแหง
ลาดหลุมแก้ว ผู้คนหันมาสัญจรทางรถยนต์เพิ่มขึ้น
กิจกรรมรถไฟจึงล้มเลิกไป แต่ยังคงเหลือตลาดไว้ให้ อ�าเภอคลองหลวง
เป็นอนุสรณ์อยู่จนทุกวันนี้ ตลาดสองฝั่งคลองปลูก องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)
สร้างด้วยไม้ เป็นห้องแถวยาวติดต่อกัน จ�าหน่าย พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ถือได้ว่าเป็นสถานที่จัด
สินค้าทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ เช่น ขนมพื้นบ้าน แสดงนิทรรศการและกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ทีเ่ ป็น
ขนมไทยโบราณ ผลิตผลทางการเกษตร ในตลาดมี การสื่อสารความรู้ให้กับผู้เข้าชม ให้เข้าใจสาระทาง
ร้านขายอุปกรณ์จับสัตว์น�้าอายุกว่า ๙๐ ปี ร้านขาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้โดยง่าย และสามารถ
ยาจีนและยาแผนโบราณ ร้านตัดผมรุน่ คุณปู ่ ร้านขาย น�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน เพือ่ เป็นการพัฒนา
อุปกรณ์การเกษตรซึ่งมีทั้งเคียวเกี่ยวข้าว จอบ เสียม ประเทศอย่างยั่งยืน ตั้งอยู่ที่ต�าบลคลองหกในบริเวณ
ค้อน ตะปู เครื่องใช้ในครัวเรือน ปุ๋ยหมัก หม้อดินเผา เทคโนธานี ตัวอาคารโดดเด่นด้วยการออกแบบเป็นรูป
หุ้งข้าว ร้านอาหารขึ้นชื่อ คือ ร้านแปโภชนา ซึ่งเป็น ลูกเต๋า ภายในจัดแสดงนิทรรศการทางวิทยาศาสตร์
ร้านเก่าแก่ ขายมาประมาณ ๗๐ ปีแล้ว นอกจากนี้ที่ ด้ ว ยเทคโนโลยี ทั น สมั ย ที่ ส ามารถสร้ า งความ

18 ปทุมธานี
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)

เพลิดเพลินไปพร้อมกับการเรียนรู้ ชั้นที่ ๑ จัดแสดง โทร. ๐ ๒๕๗๗ ๙๙๙๙, ๐ ๒๕๗๗ ๙๙๑๑, ๐ ๒๕๗๗


ภาพ และผลงานนักวิทยาศาสตร์ การจ�าลองลูกโลก ๖๕๘๘หรือ www.nsm.or.th
ขนาดใหญ่ ชั้นที่ ๒ จัดแสดงหุ่นจ�าลอง ลูซี่ ที่ท�าจาก การเดิ น ทาง ไปตามถนนสายรั ง สิ ต -นครนายก
ฟอสซิล เป็นรูปเหมือนที่แสดงถึงการก�าเนิดมนุษย์ ประมาณ ๔ กิโลเมตร สามารถโดยสารรถประจ�าทาง
คนแรก ยานอวกาศ และมนุษย์อวกาศจ�าลองชั้นที่ ๓ สาย ปอ.๑๑๕๕ สายรังสิต-ฟิวเจอร์พาร์ค-พิพธิ ภัณฑ์
เป็นอุโมงค์เงา และเรือนไม้ จัดแสดงในเรื่องของแสง วิทยาศาสตร์
ชัน้ ที ่ ๔ จัดแสดงพืน้ ฐาน และเทคโนโลยีในประเทศไทย
ลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ ธรณี วิ ท ยา นิ เวศวิ ท ยา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก สร้างขึ้น
การผลิตด้านการเกษตรและเทคโนโลยีการก่อสร้าง เนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร
ชั้ น ที่ ๕ คื อ แสดงการแยกแยะส่ ว นต่ า ง ๆ ของ มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชทรงครองราชครบ ๕๐ ปี
ร่างกายมนุษย์ รวมถึงสิง่ ของเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�าวัน ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ด ้ า นชาติ พั น ธุ ์
และ ชัน้ ที ่ ๖ แสดงถึงภูมปิ ญ ั ญาไทย นอกจากนีแ้ ล้ว วิทยา ตั้งอยู่ ณ ต�าบลคลองห้าอ�าเภอคลองหลวง
ยังมีอ าคารธรรมชาติ วิ ท ยาที่ จั ด แสดงนิ ท รรศการ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี บนเนื้ อ ที่ ๓๐๕ ไร่ เพื่ อ ร่ ว ม
ทางธรรมชาติ และพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เฉลิ ม ฉลองในวโรกาสที่ ส� า คั ญ ยิ่ ง ของพสกนิ ก ร
เปิ ด ให้ ช มทุ ก วั น อั ง คาร-วั น ศุ ก ร์ เวลา ๐๙.๓๐– ชาวไทย กรมศิล ปากรเป็น ผู้ด�าเนิน การก่อสร้าง
๑๖.๐๐ น. วันเสาร์-วันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ จึงได้อัญเชิญนามพระราชพิธีมาเป็นชื่อหน่วยงาน
เวลา ๐๙.๓๐–๑๗.๐๐ น. ปิดวันจันทร์ ค่าเข้าชม นี้ว่า “พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก”
ผู้ใหญ่ ๕๐ บาท เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ โครงการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ด้าน
สูงอายุ ไม่เสียค่าเข้าชม สอบถามรายละเอียดได้ท ี่ ชาติพันธุ์วิทยานั้นก�าเนิดมาจากนโยบายของกรม

ปทุมธานี 19
ศิลปากรที่ตระหนักถึงแนวทางการพัฒนาประเทศ ท่องเที่ยวและศึกษาในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ภายในพื้ น ที่ โ ครงการพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ
๒๕๐๔ ที่มุ่งเน้นทางด้านการกระจายความเจริญ กาญจนาภิเษกจึงมีพิพิธภัณฑ์และหน่วยงานด้าน
จากเมืองไปสู่ชานเมือง นับเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่ง การอนุรกั ษ์ อยูร่ ว่ มกันหลายหน่วยงาน อาทิ หอจดหมาย
ชาติเฉพาะสาขาในส่วนกลาง ล�าดับที่ ๓ นอกจากนี ้ แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ ๙ หออัครศิลปิน
ทางกรมศิลปากรได้จดั ให้พพิ ธิ ภัณฑสถานเฉพาะด้าน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติธรณีวิทยา เป็นต้น ถึงแม้
สาขาอื่นๆ ผนวกกับการสร้างอาคารของหน่วยงาน พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก ยังไม่เสร็จ
อนุ รั ก ษ์ ม รดกศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ โ ยกย้ า ยออกจาก สมบูรณ์กต็ าม แต่สามารถให้ความรูแ้ ก่นกั เรียน หรือ
กรุงเทพฯ มารวมอยู่ในพื้นที่เดียวกันเพื่อเตรียมจัด ผู้ที่ส นใจได้ ใ นรู ป แบบของนิ ท รรศการสั ญ จรตาม
ให้เป็นพืน้ ทีศ่ นู ย์ศลิ ปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ สถานศึกษา และศูนย์กลางชุมชน พร้อมสื่อการ
แหล่งเรียนรู้สหสาขาวิชาที่ครอบคลุมความรู้เรื่อง เรียนรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นศิลปะวัตถุ โบราณวัตถุ
ที่เกี่ยวกับคนไทยทั้งศิลปวัฒนธรรมชาติพันธุ์วิทยา จ�าลอง ภาพสไลด์ เป็นต้น โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็น
และธรรมชาติวิทยา เพื่อเอื้ออ�านวยประโยชน์การ ผู้บรรยายและตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ พิพิธภัณฑสถาน
เรียนรู้แก่ผู้ที่มาเยี่ยมเยียน เป็นบทน�าการเดินทาง แห่งชาติ กาญจนาภิเษกเปิดให้บริการในส่วนของ
ศู น ย์ ข ้ อ มู ล โบราณวั ต ถุ แ ละศิ ล ปวั ต ถุ ซึ่ ง จะมี
หออัครศิลปิน การจั ด แสดงโบราณวั ต ถุ และศิ ล ปวั ต ถุ ป ระเภท
เครื่องปั้นดินเผา ผ้า อาวุธ เครื่องใช้ในการเกษตร
เป็ น ต้ น จ� า นวนมากกว่ า ๑๐,๐๐๐ รายการใน
รู ป แบบของคลั ง เปิ ด เปิ ด ให้ เข้ า ชมเป็ น หมู ่ ค ณะ
(กรุณาติดต่อล่วงหน้าก่อนเข้าชม) สอบถามราย
ละเอียด โทร. ๐ ๒๙๐๒ ๗๕๖๘-๙

หออัครศิลปิน ตัง้ อยูต่ า� บลคลองห้า อยูเ่ ลยพิพธิ ภัณฑ์


วิทยาศาสตร์ ไปประมาณ ๓ กิโลเมตร สร้างขึ้นเพื่อ
เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ผู้ทรงเป็นเลิศในศิลปะทั้งมวล
เป็นที่ประจักษ์ชัดแก่พสกนิกรและศิลปินทั่วโลก
เป็นสถานที่จัดแสดงผลงานด้านศิลปและวัฒนธรรม
อันทรงคุณค่าของพระองค์ ๙ ด้านคือ ด้านหัตถกรรม
ด้านกีฬา ด้านวรรณศิลป์ ด้านจิตรกรรม ด้านถ่ายภาพ
ด้านภูมสิ ถาปัตยกรรม ด้านประติมากรรม ด้านดนตรี
และด้ า นการพระราชนิ พ นธ์ เ พลง นอกจากนี ้
ยั ง เป็ น ที่ จั ด แสดงประวั ติ แ ละผลงานอั น ล�้ า ค่ า

20 ปทุมธานี
หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ของศิลปินแห่งชาติทุกท่านในรูปแบบนิทรรศการ หอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ


ภาพและเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย และถ่ า ยทอด พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล
ผลงานและภู มิ ป ั ญ ญาของศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ทั้ ง อดุ ล ยเดช ในมหามงคลวโรกาสที่ พ ระบาท
๔ สาขา คื อ สาขาวรรณศิ ล ป์ ศิ ล ปการแสดง สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรง
ทั ศ นศิ ล ป์ และสถาปั ต ยกรรม ผู ้ ส นใจสามารถ ครองราชสมบัตคิ รบ ๕๐ ปี ในปี พ.ศ.๒๕๓๙ กรม
เข้ า ชมได้ ใ นวั น อั ง คาร-วั น อาทิ ต ย์ และ วั น หยุ ด ศิลปากรได้ท�าการจัดตั้งหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
นั ก ขั ต ฤกษ์ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.โทร. ๐ ๒๙๘๖ ขึ้ น เพื่ อ น้ อ มเกล้ า น้ อ มกระหม่ อ มถวายเป็ น สิ่ ง
๕๐๒๐-๔, ๐ ๒๙๘๖ ๕๐๒๔ โทรสาร ๐ ๒๙๘๖ อนุ ส รณ์ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ ด้ ว ยงบประมาณทั้ ง สิ้ น
๕๐๒๓ ภายในบริเวณใกล้เคียงกับหออัครศิลปิน ๗๒๐.๔ ล้านบาท ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
ยั ง มี โ ครงการจั ด ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ อี ก หลายแห่ ง เพื่ อ มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ
เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร พระราชทานชื่ อ ว่ า “หอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ
มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้แก่ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร
กาญจนาภิ เ ษก หอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ แ ละ มหาภูมิพลอดุลยเดช” หอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร
มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ตั้ ง อยู ่ บ นพื้ น ที่ ๗๕ ไร่

ปทุมธานี 21
อาคารก่อสร้างเป็นแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ ของพสกนิกรชาวไทยที่มีต่อพระมหากษัตริย์ไทยทุก
สมั ย รั ช กาลที่ ๙ ตั้ ง อยู ่ ณ ต� า บลคลองห้ า พระองค์ ผู้สนใจสามารถเข้าชมได้ในวันจันทร์-ศุกร์
อ�าเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็น เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ น. การค้นภาพ, จดหมายเหตุ,
กลุม่ อาคาร ๔ ส่วน มีทางเชือ่ มและลานเอนกประสงค์ เข้าชมเป็นหมู่คณะควรติดต่อล่วงหน้าก่อนเข้าชม
รวมพื้นที่ ๒๐,๐๐๐ ตารางเมตร ประกอบด้วย โทร. ๐ ๒๙๐๒ ๗๙๔๒, ๐ ๒๙๐๒ ๗๙๔๐ ต่อ ๑๑๓
อาคารส่วนที่ ๑ อาคารเก็บเอกสารจดหมายเหตุ เป็น โทรสาร ๐ ๒๙๐๒ ๗๙๔๑
อาคาร ๙ ชั้น มีพื้นที่ ๖,๐๐๐ ตารางเมตร
อาคารส่วนที่ ๒ อาคารให้บริการค้นคว้า มีพื้นที่ พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งอยู่ที่
๔,๕๐๐ ตารางเมตร ต�าบลคลองหนึ่ง ถนนพหลโยธิน กม. ๔๖-๔๘ ตรง
อาคารส่ ว นที่ ๓-๔ อาคารจั ด แสดงนิ ท รรศการ ข้ามนิคมอุตสาหกรรมนวนคร ประกอบด้วย กลุ่ม
ถาวรเกี่ ย วกั บ พระราชกรณี ย กิ จ และโครงการใน อาคารพิพิธภัณฑ์ ๙ อาคาร มีทางเดินเชื่อมต่อกัน
พระราชด�าริมีพื้นที่ ๓,๐๐๐ ตารางเมตร จัดแสดงเรื่องราวทางการเกษตรผ่านเทคโนโลยีทัน
ลานเอนกประสงค์ เป็ น ส่ ว นจั ด กิ จ กรรม มี พื้ น ที่ สมัย และหุน่ จ�าลอง ครอบคลุมเนือ้ หางานการเกษตร
๓,๕๐๐ ตารางเมตร ทุกด้าน ได้แก่ การพัฒนาที่ดิน ป่าไม้ ประมง ปศุสัตว์
อาคารทัง้ ๔ อาคารในหอจดหมายเหตุแห่งชาติแห่งนี้ ระบบนิเวศ ส่วนด้านนอกมีเรือนเพาะปลูก แปลงนา
ทางกรมศิลปากรต้องการให้เป็นหอสมุดจดหมายเหตุ สาธิต และจ�าลองสภาพความเป็นอยู่ของเกษตรกร
แห่งชาติที่สมบูรณ์ที่สุด ในการเก็บรวบรวมเอกสาร ทุกภูมิภาคของไทย นอกจากนี้ ยังเป็นศูนย์ฝึกอบรม
ส� า คั ญ ของชาติ เ กี่ ย วกั บ พระราชประวั ติ แ ละพระ ศู น ย์ ป ระชุ ม สั ม มนาด้ า นวิ ช าการเกษตร และยั ง
ราชกรณี ย กิ จ ในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร เป็นแหล่งการศึกษาทางด้านโครงการพระราชด�าริ
มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชและพระบรมวงศานุ ว งศ์ เปิดวันอังคาร-วันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์
เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ค้นคว้า วิจัยให้ เวลา ๐๙.๓๐–๑๕.๓๐ น. ปิดวันจันทร์ วันปีใหม่และ
แก่หน่วยงานราชการ เอกชน นิสิต นักศึกษาและ วันสงกรานต์ ไม่เก็บค่าเข้าชม สอบถามรายละเอียด
ประชาชนทัว่ ไป อ�านวยประโยชน์ในการรวบรวมจัดเก็บ โทร. ๐ ๒๕๒๙ ๒๒๑๒-๓
จั ด แสดง ให้ บ ริ ก ารสื บ ค้ น และอนุ รั ก ษ์ เ อกสารที่
เกี่ยวเนื่องในพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โรงกษาปณ์ รังสิต มีเนื้อที่ประมาณ ๑๒๘ ไร่ เริ่ม
อาทิ พระราชหัตถเลขา พระบรมราโชวาท พระราช ด�าเนินการก่อสร้างเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๓๙ กรม
ด�ารัส พระราชนิพนธ์ ภาพเขียนฝีพระหัตถ์ พระบรม ธนารักษ์ได้ยา้ ยโรงกษาปณ์จากถนนประดิพทั ธ์มาอยู่
ฉายาลักษณ์ แถบบันทึกพระสุรเสียง ฯลฯ ตลอดจน ทีร่ งั สิตเมือ่ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๔ และด�าเนิน
เอกสารการด�าเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก การผลิตอย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.
พระราชด�าริ และโครงการเฉลิมพระเกียรติต่างๆ หอ ๒๕๔๕ เป็นต้นมา ส�านักกษาปณ์ เป็นหน่วยงานของ
จดหมายเหตุแห่งชาติแห่งนี้จึงเป็นสถานที่ให้ความรู้ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง มีหน้าทีแ่ ละความรับ
และให้เยาวชนรุน่ หลังได้ซาบซึง้ ถึงพระปรีชาสามารถ ผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตเหรียญกษาปณ์หมุนเวียน
ในการปกครองแผ่นดิน รวมไปถึงความจงรักภักดี ใช้ให้เพียงพอต่อความต้องการในระบบเศรษฐกิจ

22 ปทุมธานี
พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ

ของประเทศ โดยอาศัยอ�านาจตาม พ.ร.บ. เงินตรา ก�าเนิดมาจากการก่อสร้างสนามกีฬาเพื่อรองรับการ


พ.ศ. ๒๕๐๑ และผลิตเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก ในโอกาส แข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ ๑๓ ณ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งมีการก่อสร้างอาคารขึ้น
ส�าคัญทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันชาติ
ศาสนาและพระมหากษัตริย์หรือเหตุการณ์ระหว่าง มาเพื่อรองรับเป็นจ�านวนมาก ไม่ว่าจะเป็นอาคาร
ประเทศเพื่อเป็นการเผยแพร่เกียรติยศชื่อเสียงและ ที่พัก นัก กีฬา จ�านวน ๕,๐๐๐ ยูนิต สนามกีฬา
วัฒนธรรมอันดีงามของประเทศ นอกจากนี้ส�านัก อาคารสระว่ายน�้า อาคารยิมเนเซียม ทั้งหมด ๗
อาคาร ซึ่งปัจจุบันได้ท�าการปรับปรุง เพื่อประโยชน์
กษาปณ์ ยั ง มี ห น้ า ที่ ผ ลิ ต เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์
ตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย อาทิเช่น อาคาร
เครือ่ งหมายตอบแทนและผลิตภัณฑ์สงั่ จ่ายต่างๆ ตาม
ความต้องการของหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและ ยิมเนเซียม ๓ ได้ปรับปรุงให้เป็นสถานที่ตั้งของศูนย์
เอกชน รวมทั้งติดตั้งซ่อมแซมระบบประตูห้องมั่นคง บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น
ศู น ย์ บ ริ ก ารการกี ฬ า เป็ น หน่ ว ยงานที่ แ ยกส่ ว น
ตู้นิรภัยให้คลังจังหวัดทั่วประเทศ ส�านักกษาปณ์ได้
ก�าหนดนโยบายในการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง ของการกีฬาออกจากส�านัก งานจัดการทรัพ ย์สิน
ทัง้ ด้านคุณภาพและการบริการให้ได้มาตราฐานระดับ เนื่องจากมีสภาพในการท�างานที่แตกต่างกัน ซึ่งใน
สากลรวมทั้งสืบสานช่างด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็น ส่วนของศูนย์บริการการกีฬานั้น มีพันธกิจหลัก คือ
เอกลักษณ์ของไทยให้ด�ารงสืบต่อไป การจัดให้มีกิจกรรมด้านการกีฬาและการออกก�าลัง
กายอย่างหลากหลายและทัว่ ถึงรวมทัง้ เปิดโอกาสให้
ศูนย์บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บุคคลากร นักศึกษา คณาจารย์ และประชาชนทัว่ ไป
ศูนย์บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีจุด สามารถใช้สนามกีฬาได้อย่างเต็มที่ พร้อมทัง้ ให้ความ

ปทุมธานี 23
พิพิธภัณฑสถานเครื่องถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ร่วมมือกับการกีฬาของประเทศในทุกๆ ด้าน ศูนย์ ที่ระลึก เปิดให้เข้าชมวันจันทร์-วันเสาร์ ตั้งแต่เวลา


บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกอบ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ปิดวันหยุดนักขัตฤกษ์ สอบถาม
ด้วยสนามกีฬาหลัก ศูนย์กีฬาทางน�้า สนามเทนนิส ข้อมูลเพิ่มเติม โทร. ๐ ๒๙๐๒ ๐๒๙๙ ต่อ ๒๘๙๐
อาคารยิมเนเซียม ๓ หลัง รวมพืน้ ทีป่ ระมาณ ๔๐๐ ไร่ โทรสาร. ๐ ๒๕๑๖ ๖๑๑๕ หรือ http://museum.
ภายในศูนย์กีฬาแห่งนี้ต้องการให้บริการทางด้าน bu.ac.th e-mail: museum@bu.ac.th
กีฬาทีค่ รบถ้วนมากทีส่ ดุ ในเรือ่ งของกีฬาและสุขภาพ
เปิดให้บริการกับประชาชนทั่วไป โครงการสระเก็ บ น�้ า พระราม ๙ โครงการสระ
เก็ บ น�้ า พระราม ๙ เป็ น โครงการอั น เนื่ อ งมาจาก
พิพธิ ภัณฑสถานเครือ่ งถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พระราชด� า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร
ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต มหาภูมิพลอดุลยเดช ตั้งอยู่ระหว่างคลองระบายน�้า
ต�าบลคลองหนึ่ง ภายในจัดแสดงศิลปะโบราณวัตถุ รังสิต ๕ และ ๖ มีพื้นที่โครงการรวม ๒,๘๒๗ ไร่ ๑๐
เครื่องถ้วยที่ผลิตจากแหล่งเตาในประเทศไทย เช่น ตารางวา ซึ่งลักษณะของโครงการเป็นสระเก็บน�้า
เครือ่ งถ้วยสุโขทัย เครือ่ งถ้วยล้านนา และเครือ่ งถ้วย ขนาดใหญ่เนื้อที่ ๒,๕๘๐ ไร่ แยกออกเป็น ๒ สระ
อยุธยา รวมทัง้ เครือ่ งถ้วยทีผ่ ลิตจากเตาเผาในต่างประเทศ คือสระเก็บน�้าที่ ๑ พื้นที่ประมาณ ๗๙๐ ไร่ ความจุ
ซึ่ ง ค้ น พบในประเทศไทย อาทิ เครื่ อ งถ้ ว ยจี น ประมาณ ๖ ล้าน ลบ.ม. เพื่อรับน�้าจากคลองระบาย
เครื่องถ้วยเวียดนาม และเครื่องถ้วยพม่า เป็นต้น น�้ารังสิต ๖ ส่วนสระน�้าที่ ๒ มีพื้นที่ประมาณ ๑,๗๙๐
พิพิธภัณฑ์แ บ่ ง เป็ น ห้ อ งนิ ท รรศการถาวร ห้ อ ง ไร่ ความจุประมาณ ๑๑.๑ ล้าน ลบ.ม.รองรับน�้าจาก
นิทรรศการชั่วคราว ร้านจ�าหน่ายหนังสือและสินค้า คลองรังสิต ๕ นอกจากนี้พ้ืนที่โดยรอบสระเก็บน�้า

24 ปทุมธานี
ยังจัดให้เป็นพื้นที่ปลูกต้นไม้และจัดแต่งสวน เพื่อให้ ให้มีบรรยากาศแห่งความสุข สนุกสนานที่แตกต่าง
เป็นสถานที่พักผ่อนของประชาชนทั่วไป โครงการนี้ กันออกไป ได้แก่ ดรีมเวิลด์ พลาซ่า ดินแดนที่เต็มไป
สามารถช่ ว ยเหลื อ ด้านการเกษตรกรรมในช่ว งฤดู ด้วยความงดงามของสถาปัตยกรรมอันวิจิตร พิสดาร
แล้ ง และช่ ว ยบรรเทาปัญ หาน�้า ท่ว มพื้นที่ต อนล่าง ตลอดสองข้างทาง ดรีมการ์เด้น เป็นอุทยานสวนสวย
ของโครงการได้เป็นอย่างดี ที่ถูกจัดไว้อย่างสวยงามท่ามกลางความเย็นสบาย
จากทะเลสาบขนาดใหญ่ และเคเบิ้ลคาร์ ที่จะพาชม
อ�าเภอธัญบุรี ความงามของทัศนียภาพในมุมสูง แฟนตาซีแลนด์เป็น
ตลาดน�้าเมืองรังสิต ตลาดน�้าเมืองรังสิต ตั้งอยู่ริม ดินแดนแห่งเทพนิยาย ประกอบด้วย ปราสาทเจ้าหญิง
คลองรังสิต คลอง ๑ ถนนรังสิต-นครนายก ห่างจาก นิทรา บ้านขนมปัง และบ้านยักษ์ แอดแวนเจอร์แลนด์
ศูนย์การค้าฟิวเจอร์ พาร์ค รังสิต เพียง ๑ กิโลเมตร ดินแดนแห่งการผจญภัย และท้าทาย ประกอบด้วย
ตลาดน�้ามีแพทั้งหมด ๑๑ แพ แต่ละแพตั้งชื่อแพเป็น รถไฟตะลุยจักรวาล ไวกิง้ ส์ เมืองหิมะ อัตราค่าบริการ
ดอกบัวพันธุ์ต่างๆ อาทิ ปุทมา บุณฑริก เป็นต้น แพที่ บัตรผ่านประตู ชาวไทย ผู้ใหญ่ ๑๕๐ บาท เด็ก ๑๓๐
๑-๒ จัดแสดงนิทรรศการบอกเล่าเรื่องราวตั้งแต่อดีต บาท ชาวต่างประเทศ ผูใ้ หญ่ ๑๘๐ บาท เด็ก ๑๘๐ บาท
ประวัติความเป็นมา วิถีชีวิตของชุมชนริมฝั่งคลอง เป็นต้น อัตราค่าบริการ บัตรผ่านประตู ชาวไทย
รังสิตประยูรศักดิ์ แพที่ ๓ จัดจ�าหน่ายสินค้าโอทอป ผูใ้ หญ่ ๒๐๐ บาท เด็ก ๑๘๐ บาท บัตรรวมเครื่องเล่น
จากชุ ม ชนในเขตเทศบาลเมื อ งรั ง สิ ต อาทิ น�้ า มั น และค่าผ่านประตู ผู้ใหญ่และเด็ก ๔๘๐ บาท (เล่นได้
มะพร้าว ขี้ผึ้งสมุนไพร แพที่ ๔-๑๐ จ�าหน่ายอาหาร รอบเดียว) และ ๕๖๐ บาท (เล่นได้หลายรอบ) ชาว
คาวหวานมากมาย โดยเฉพาะก๋วยเตีย๋ วเรือเมืองรังสิต ต่างประเทศ ๘๐๐ บาท เปิดบริการ วันจันทร์-อาทิตย์
ที่ขึ้นชื่อมานาน และแพที่ ๑๐ เป็นการบริการนวด เวลา ๐๙.๔๕-๑๗.๐๐ น. วันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุด
แผนไทย โดยกลุ่มแม่บ้านในเขตเทศบาลเมืองรังสิต นักขัตฤกษ์ ๐๙.๐๐-๔๕.๐๐ น. โทร. ๐ ๒๕๓๓ ๑๑๕๒,
ที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาเป็นอย่างดี ตลาดน�้ารังสิต ๐ ๒๕๗๗ ๘๖๖๖ www.dreamworld-th.com
เปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลาประมาณ ๑๐.๐๐-๑๗.๐๐ น. การเดินทาง ไปตามเส้นทางสายรังสิต-นครนายก
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ท่องเที่ยว กิโลเมตรที่ ๗ บริเวณคลองสาม หากเดินทางโดย
ตลาดน�้าเมืองรังสิต โทร. ๐ ๒๕๖๗ ๖๐๐๐-๖ ต่อ รถประจ�าทาง ปอ. ๕๓๘ (อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ-
๖๐๑ หรือ www.rangsit.org มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลฯ) ปอ. ๕๕๙
การเดินทาง รถนั่งรถประจ�าทางปรับอากาศ สาย (สนามบินสุวรรณภูมิ-รังสิต) ปอ. ๑๘๘ (หมอชิต-
๕๓๘ และ สาย ๕๕๙ รถประจ�าทางสาย ๑๘๘ หรือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร่ าชมงคลฯ) หรือ นัง่ รถโดยสาร
รถโดยสาร บขส. สายปราจีนบุรี-รังสิต-องครักษ์ ขสมก.มาลงที่รังสิตแล้วต่อรถสายที่ไปมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลฯ แวะลงทีห่ น้าดรีมเวิลด์
สวนสนุกดรีมเวิลด์ ตัง้ อยูท่ ตี่ า� บลบึงยีโ่ ถ ดรีมเวิลด์เป็น
สวนสนุกและสถานทีพ่ กั ผ่อนทีร่ วบรวมความบันเทิงนานา วัดมูลจินดาราม ตั้งอยู่ริมคลองรังสิตประยูรศักดิ์
ชนิดเข้าไว้ด้วยกันในเนื้อที่กว่า ๑๖๐ ไร่ ประกอบ บริเวณคลองห้า ห่างจากตลาดรังสิต ๑๓ กิโลเมตร
ด้วยดินแดนต่างๆ ๔ ดินแดน ซึ่งได้รับการออกแบบ ตามเส้นทางรังสิต-นครนายก บริเวณคลองหน้าวัดมี

ปทุมธานี 25
ปลาสวายจ�านวนมาก มีขนาดใหญ่ตวั ละ ๓-๕ กิโลกรัม แห่งจักรวาล พร้อมสนุกสนานกับภาพยนตร์เต็มโดม
แต่ละวันมีนักท่องเที่ยวมาแวะให้อาหารปลาอยู่เสมอ ๓๖๐ องศา เรือ่ ง Infinity Express และ Kaluoka’hina
(ผูพ้ ทิ กั ษ์ทอ้ งทะเล) กิจกรรมทดลองต่างๆ กระตุน้ ให้เกิด
วัดเขียนเขต สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยหม่อมเขียน การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งสนุ ก สนาน สั ม ผั ส ประสบการณ์
หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ทางวิทยาศาสตร์ได้จริง เปิดให้เข้าชมในวันอังคาร-
เป็นผูม้ อบถวายทีด่ นิ เพือ่ สร้างวัด แรกเริม่ นัน้ วัดนีเ้ ป็น วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. หยุดวันจันทร์
เพียงส�านักสงฆ์ มีหลวงพ่อด�าเป็นเจ้าส�านักโดยใช้วสั ดุ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นค่าเข้า
หาง่ายมาใช้ในการสร้างส�านัก เช่น น�าเอาไม้ไผ่มาขัด ชมท้องฟ้าจ�าลองราคา ๓๐ บาท สอบถามรายละเอียด
เป็นพื้นหลังคา และฝาผนังท�าด้วยหญ้า หม่อมเขียน โทร. ๐ ๒๕๗๗ ๕๔๕๖-๙ ต่อ ๓๐๕ โทรสาร ๐ ๒๕๗๗
พร้อมด้วยเครือญาติและประชาชนในท้องถิ่นเห็น ๕๔๕๕ หรือ www.rscience.go.th
ความล�าบากของพระเณรทีจ่ า� พรรษาอยู่ จึงได้รว่ มกัน
บริจาคทรัพย์สร้างกุฏิเป็นทรงไทยขึ้นใหม่รวม ๖ หลัง พิพิธภัณฑ์บัว ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
เพือ่ เป็นพุทธศาสนสมบัติ ภายในวัดมีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจ เช่น ราชมงคลธัญบุรี จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปีพ.ศ. ๒๕๔๓ ในการดูแล
หอระฆังเก่า โบสถ์หินอ่อนเก่าและจิตรกรรมฝาผนัง ของส�านักงานโครงการภูมทิ ศั น์และส�านักงานกิจการ
ที่สะท้อนให้เห็นประเพณีไทยดั้งเดิม และชีวิตความ พิ เ ศษของมหาวิ ท ยาลั ย ฯ ตามโครงการอนุ รั ก ษ์
เป็นอยู่ของชาวปทุมธานี พันธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระด�าริ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีเป้าหมาย
ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ การศึ ก ษารั ง สิ ต ตั้ ง อยู ่ หลักเพื่อรวบรวมพันธุ์บัว ทั้งพันธุ์ไทย พันธุ์เทศ และ
บริ เวณคลองหก ทางเข้ า อยู ่ ติ ด กั บ มหาวิ ท ยาลั ย พันธุล์ กู ผสม เพือ่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรูค้ น้ คว้าวิจยั ขยาย
เทคโนโลยีราชมงคล โดยแยกจากถนนสายรังสิต- พันธุบ์ วั เพือ่ น�ามาศึกษาการน�าส่วนต่าง ๆ ของบัวไปใช้
นครนายกเข้าไป ๔ กิโลเมตร อยู่ในความดูแลของ ประโยชน์ อีกทัง้ เพือ่ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ มี
กรมการศึกษานอกโรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน การรวบรวมพันธุบ์ วั ต่างๆ ทัง้ ของไทยและต่างประเทศ
วิทยาศาสตร์แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป และพั น ธุ ์ ลู ก ผสมกว่ า ๑๐๐ สายพั น ธุ ์ ป ลู ก ไว้ ใ น
เป็นอาคาร ๓ ชั้น สร้างตามลักษณะสถาปัตยกรรม กระถางและสระน�้า อาทิ บัวหลวง บัวผัน บัวเผื่อน
แบบใหม่เรียกว่า โพสต์เทนชั่น ซึ่งไม่มีคานรับน�้าหนัก บัวยักษ์ บัวจงกลนี บัวกระด้ง ฯลฯ รวมทั้งบัวที่ชื่อ
อาศัยแรงดึงจากเสาแทนและในตัวอาคารมีการจัด ว่า “มังคลอุบล “ ซึ่งได้รับรางวัล Best New Hardy
แสดงนิทรรศการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี Waterlily ๒๐๐๔ ในการประกวดบั ว โลกครั้ ง ที่
ธรรมชาติวิทยา ดาราศาสตร์อวกาศและสิ่งแวดล้อม ๑๙ ที่สหรัฐอเมริกา พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมทุกวัน
นอกจากนี้ยังมี ท้องฟ้าจ�าลองแห่งใหม่ ซึ่งมีโดมเอียง เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. ไม่เสียค่าเข้าชม สอบถาม
เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑๘ เมตร เก้าอีน้ งั่ ชมเป็นขัน้ บันได รายละเอียดที่ พิพิธภัณฑ์บัว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
แบบภาพยนตร์รองรับได้ ๑๖๐ ที่นั่ง น�าเสนอเรื่อง ราชมงคลธัญบุรี ๓๙ หมู่ที่ ๑ ถนนรังสิต-นครนายก
เกียรติภูมิดาราศาสตร์ไทย การก�าเนิดระบบสุริยะ ต�าบลคลองหก อ�าเภอธัญบุรี ปทุมธานี ๑๒๑๑๐
ทรงกลมบนท้องฟ้า ดวงดาวและอวกาศ ปรากฏการณ์ โทร. ๐ ๒๕๔๙ ๓๐๔๓, ๐๘ ๙๖๙๒ ๙๘๐๘

26 ปทุมธานี
กิจกรรมที่น่าสนใจ สามโคก จัดกิจกรรมค่ายลูกเสือส�าหรับหมู่คณะ
ล่ อ งเรื อ แม่ น�้ า เจ้ า พระยา แม่ น�้ า เจ้ า พระยาไหล ด้วยประสบการณ์ ๒ วัน ๑ คืน กับหลักสูตร Robe
ผ่านจังหวัดปทุมธานี มีทัศนียภาพชุมชน บ้านเรือน Courses ประกอบด้วย ๑๘ ฐานเชือก ฝึกปีนหน้าผา
ธรรมชาติที่สวยงาม นักท่องเที่ยวสามารถแวะชม จ�าลอง และกิจกรรมการผจญภัยต่าง ๆ สอบถาม
วัดเก่าแก่ริมแม่น�้าหลายแห่งในเขตอ�าเภอเมืองและ รายละเอียด โทร. ๐ ๒๙๗๘ ๘๘๕๑-๔, ๐๘ ๑๘๑๕
อ�าเภอสามโคก ได้แก่ วัดบางนา วัดหงษ์ปทุมาวาส ๙๕๗๒ www.thepineresort.com
วัดจันทน์กะพ้อ วัดสองพี่น้อง วัดศาลาแดง และ
วัดไผ่ล้อม รวมทั้งแวะตลาดริมน�้าของปทุมธานีเพื่อ เรียนมวยไทย
ซื้อหาอาหารอร่อยเป็นของฝาก นักท่องเที่ยวจาก โรงเรียนมวยไทย เป็นศูนย์รวมของศิลปะแม่ไม้และ
กรุงเทพฯ สามารถเช่าเรือจากท่าเรือท่าช้างล่องมา ลูกไม้มวยไทย มีหลักสูตรการสอนมวยไทยขัน้ พืน้ ฐาน
ตามแม่น�้าเจ้าพระยามาจังหวัดปทุมธานี หรือติดต่อ จนถึงขัน้ อาชีพ หลักสูตรผูฝ้ กึ สอนมวยไทย หลักสูตร
เช่าเรือที่ท่าน�้าเทศบาลปทุมธานี เรือหางยาวขนาดจุ ผูต้ ดั สินมวยไทย ส�าหรับนักเรียน นักศึกษาและผูส้ นใจ
๒๐ คน ที่ท่าน�้าปทุมธานีคิดค่าบริการ ๕๐๐ (วัด ทัว่ ไป เปิดบริการทุกวัน ๑๐.๐๐-๑๙.๐๐น. สอบถาม
ไผ่ล้อม)-๒,๐๐๐ (ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร) บาทต่อ รายละเอียด โทร. ๐ ๒๙๙๒ ๐๐๙๖–๙, ๐๘ ๒๙๘๕
ชั่วโมง นอกจากนี้มีเรือน�าเที่ยวขนาดจุ ๘๐ คนให้ ๑๑๑๕ โทรสาร ๐ ๒๙๙๒ ๐๐๙๕-๐ www.muay-
เช่าส�าหรับหมู่คณะไปศูนย์ศิลปาชีพบางไทรและ thai-institute.net
จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาราคา ๑๖,๐๐๐ บาท
ต่ อ วั น ติ ด ต่ อ ล่ ว งหน้ า ที่ ท ่ า น�้ า เทศบาลปทุ ม ธานี โรงเรียนมวยไทยเพชรปทุม เลขที่ ๕๕/๖๗-๖๘ ชุมชน
โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๒๙๗๗ เพชรปทุม ซอย ๔ ถนนปทุม-ลาดหลุมแก้ว ต�าบลบาง
ปรอก อ�าเภอเมือง เป็นศูนย์รวมการสอนศิลป
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดปทุมธานีเป็นแหล่ง มวยไทย มีหลักสูตรการสอนมวยไทยขั้นพื้นฐาน
เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจส�าคัญหลายชนิด จึงมีการจัด ถึงขั้นอาชีพ ส�าหรับนักเรียน นักศึกษาและผู้สนใจ
กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ ทั่วไป เปิดบริการ วันอังคาร–วันอาทิตย์ (หยุดวัน
ผูส้ นใจ ได้แก่ การปลูกข้าวแบบล้มตอซัง สวนกล้วยไม้ จันทร์) เวลา ๐๗.๐๐–๑๙.๓๐ น. สอบถามรายละเอียด
ส่งออกและสวนสมุนไพรซึ่งจุดเยี่ยมชมเหล่านี้อยู่ใน โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๒๓๖๗, ๐๘ ๖๘๘๖ ๓๑๕๕ www.
เขตอ�าเภอลาดหลุมแก้ว (อยู่ใกล้กับวัดเจดีย์หอย) muaythai89.com
ผู้สนใจสามารถติดต่อล่วงหน้าได้ที่ ส�านักงานเกษตร
จังหวัดปทุมธานี โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๗๙๖๗-๘ หรือ ฝึกสุนัข
ส�านักเกษตรอ�าเภอลาดหลุมแก้ว โทร. ๐ ๒๕๙๙ ศูนย์ฝกึ สุนขั คลองหลวง เลขที่ ๒๑/๒ หมู่ ๗ ถนน
๑๒๓๙ บางขันธุ-์ หนองเสือ ต�าบคลองสี่ อ�าเภอคลองหลวง ห่าง
จากวัดพระธรรมกาย ๓ กิโลเมตร เป็นสถาบันฝึกสุนขั
กิจกรรมค่ายลูกเสือ ของเอกชน รับฝึกสุนัขใช้งานจริง ด้วยหลักสูตรการ
เดอะไพน์ รีสอร์ท ถนนปทุมธานี-เสนา อ�าเภอ สอนหลายหลักสูตร อาทิ หลักสูตรวินัยความเชื่อฟัง

ปทุมธานี 27
พื้ น ฐาน หลั ก สู ต รเสริ ม ทั ก ษะและหลั ก สู ต รสุ นั ข โทรสาร
จังหวัดปทุ๐ม๒๕๖๔ ๔๔๙๓โทร.
ธานี ๑๒๑๒๑ www.tu.ac.th
๐ ๒๕๖๔ ๔๔๔๐-๕๙
อารักขา เปิดบริการทุกวัน ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. โทรสาร ๐ ๒๕๖๔ ๔๔๙๓ www.tu.ac.th
ผูส้ นใจน�าสุนขั มาฝึกสามารถติดต่อล่วงหน้าได้ที่ โทร. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม
๐ ๒๕๒๔ ๐๗๐๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๔ ๐๔๙๒ ราชู
มหาวิ ปถัทมภ์ยาลั ยราชภั
๑ หมู่ ๒๐ ต�าฏบลคลองหนึ
วไลยอลงกรณ์ ง่ (ประตูในพระบรม
นา�้ พระอินทร์)
อ�ราชู ปถัมภ์ ๑ หมู่ ๒๐ ต�าบลคลองหนึ
า เภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุง่ (ประตู
ม ธานีนา�้ พระอิ
๑๓๑๘๐
นทร์)
เมืองมหาวิทยาลัย โทร. ๐ ๒๕๒๙ ๐๖๗๔-๗
อ� า เภอคลองหลวง โทรสาร.
จั ง หวั ด ปทุ ม๐ธานี๒๕๒๙ ๒๕๘๐
๑๓๑๘๐
จังหวัดปทุมธานีมสี ถาบันศึกษาทีม่ ชี อ่ื เสียงทัง้ ภาครัฐ www.vru.ac.th
โทร. ๐ ๒๕๒๙ ๐๖๗๔-๗ โทรสาร. ๐ ๒๕๒๙ ๒๕๘๐
และเอกชน เป็นศูนย์กลางแห่งการศึกษาวิจัยและ www.vru.ac.th
พั ฒ นา ทั้ ง ด้ า นเกษตรกรรม อุ ต สาหกรรมและ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ตู้ ปณ.๔ ต�าบลคลองหนึง่
เทคโนโลยีทเี่ ชือ่ มโยงกันแบบบูรณาการ อันเสริมสร้าง อ� า เภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ๑๒๑๒๐
ความเข้มแข็งในการเป็นผู้น�าด้านการศึกษา โทร. ๐ ๒๕๑๖ ๐๑๑๐ โทรสาร ๐ ๒๕๑๖ ๒๑๒๖
www.ait.ac.th
มหาวิทยาลัยรังสิต ๕๒/๓๔๗ ถนนพหลโยธิน ต�าบล
หลักหก อ�าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๐๐๐ โทร. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (วิทยาเขตรังสิต) ๙/๑ หมู่ ๕
๐ ๒๙๙๗ ๒๒๐๐ www.rsu.ac.th ถนนพหลโยธิน ต�าบลคลองหนึ่ง อ�าเภอคลองหลวง
จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๐ โทร. ๐ ๒๙๐๒ ๐๒๙๙
มหาวิ ท ยาลั ย อี ส เทิ ร ์ น เอเชี ย ๒๐๐ ถนนรั ง สิ ต - โทรสาร ๐ ๒๕๑๖ ๘๕๕๓ www.bu.ac.th
นครนายก (คลองห้า) ต�าบลรังสิต อ�าเภอธัญบุรี
จังหวัดปทุมธานี โทร. ๐ ๒๕๗๗ ๑๐๒๘ โทรสาร ศูนย์ฝกึ อบรมวิศวกรรมเกษตร ต�าบลบางพูน อ�าเภอ
๐ ๒๕๗๗ ๑๐๒๓ www.eau.ac.th เมือง จังหวัดปทุมธานี ๑๒๐๐๐ โทร. ๐ ๒๕๖๗ ๐๗๘๔
www.aetc.ac.th
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถนนรังสิต-
นครนายก กม.ที่ ๑๓ ต�าบลคลองหก อ�าเภอธัญบุรี จังหวัด มหาวิทยาลัยปทุมธานี ๑๓๐ หมู่ ๔ ถนนติวานนท์
ปทุมธานี โทร. ๐ ๒๕๔๙ ๓๓๓๓ www.rmutt.ac.th ต�าบลบ้านกลาง อ�าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี โทร.
๐ ๒๙๗๕ ๖๙๙๙ www.ptu.ac.th
สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตกรุงเทพฯ ๖๙ หมู่ ๓
ถนนรังสิต-นครนายก ต�าบลบึงน�า้ รักษ์ อ�าเภอธัญบุรี มหาวิทยาลัยชินวัตร ๙๙ หมู่ ๑๐ บางเตย อ�าเภอสามโคก
จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๑๐ โทร. ๐ ๒๕๔๖ ๑๓๐๐-๑ จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๖๐ โทร. ๐ ๒๕๙๙ ๐๐๐๐
โทรสาร ๐ ๒๕๔๖ ๑๓๐๐ www.ipebkk.co.th www.shinawatra.ac.th

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ๙๙ หมู่ ๑๘ เทศกาลงานประเพณี


ถนนพหลโยธิน ต�าบลคลองหนึ่ง อ�าเภอคลองหลวง เปิงสงกรานต์ เป็นประเพณีสงกรานต์ ของชาวไทยรามัญ
จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๑ โทร. ๐ ๒๕๖๔ ๔๔๔๐-๕๙ (มอญ) มีการท�าข้าวแช่โดยน�าข้าวสุกแช่ลงในน�้าเย็น

28 ปทุมธานี
ลอยดอกมะลิ พร้อมกับจัดอาหารคาว หวาน จัดเป็น ก็มีไวโอลินและซอ ทะแยมอญใช้เล่นได้ท่ัวไปในทุก
ส�ารับแล้วน�าออกขบวนแห่ไปถวายพระและญาติ โอกาสที่ต้องการความสนุกสนานครึกครื้น ไม่จ�าเป็น
ผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือในวันสงกรานต์ พอตอนบ่ายก็ ต้องเป็นงานพิธี
จะมีการก่อพระทรายและร่วมปล่อยนกปล่อยปลา
น�าน�า้ หอมไปสรงน�า้ พระ ขอพรจากพระและยกขบวน การร�าพาข้าวสาร เป็นประเพณีของชาวมอญ นิยม
ไปรดน�้าอวยพรผู้ใหญ่ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี ท�ากันหลังจากการออกพรรษา เป็นช่วงการทอดกฐิน
ที่ได้ยึดถือกระท�ากันมา และทอดผ้าป่า โดยคณะผูร้ า� พาข้าวสารจะพายเรือไป
ขอรับบริจาคข้าวสาร เงินทองและสิ่งของแล้วน�าไป
การเล่นสะบ้า เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวมอญ ร่วมในการทอดกฐิน
จัดขึ้นในวันสงกรานต์ ตอนบ่ายๆ หนุ่มสาวชาวบ้าน
จะมาพบปะสมาคมกันอย่างใกล้ชดิ พวกผูใ้ หญ่ทงั้ สอง การตักบาตรพระร้อย เป็นประเพณีของชาวมอญทีท่ า� ใน
ฝ่ายจะเปิดโอกาสให้ลูกหลานของตนแต่งกายให้ เทศกาลออกพรรษา ด้วยการน�าอาหารคาว-หวาน ลงเรือ
สวยงามเป็นพิเศษ มาชุมนุมเล่นทอยลูกสะบ้ากัน มาจอดเรียงรายริมฝัง่ แม่นา�้ เจ้าพระยาเพือ่ รอตักบาตร
ส�าหรับลูกสะบ้านั้นท�าจากแก่นไม้ประดู่ หรือ ไม้
มะค่า มีลักษณะเป็นรูปจานทรงกลมขนาดเส้นผ่า การจุดลูกหนู เป็นประเพณีเผาศพพระภิกษุ-สามเณร
ศูนย์กลาง ๔-๕ นิว้ การทอยลูกสะบ้า ผูเ้ ล่นจะทอยไป ใช้ดอกไม้เพลิงเป็นฉนวน ร้อยด้วยเชือกฉนวน เมือ่ จุดไฟ
ยังหลักซึง่ อยูห่ า่ งจากทีท่ อยประมาณ ๑๓ วา ให้ลม้ ลง ไฟจะวิ่งตามฉนวนไปยังดอกไม้เพลิง ดอกไม้เพลิงจะ
วิ่งไปจุดไฟที่เมรุ
มอญร�า เป็นประเพณีของชาวรามัญโบราณตัง้ แต่สมัย
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีการใช้ปี่พาทย์มอญ งานประเพณีสงกรานต์ เทศกาลอาหารพื้นบ้าน
เล่นประกอบการร�าและการร้อง ใช้หญิงสาวจ�านวน ปทุมธานี จัดขึน้ ณ ลานบริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด
๘-๑๒ คนขึ้นไปร�าในงานพิธีมงคล โดยจะแต่งกาย ปทุมธานี (หลังเก่า) ช่วงกลางเดือนเมษายน ในงานมี
ชุดของชาวมอญห่มสไบเฉียงเสือ้ แขนยาวทรงกระบอก การประกวดอาหารพื้นบ้าน การประกวดขบวนแห่
คอกลม เกล้าผมมวยรัดด้วยดอกมะลิ ทัดดอกไม้สด สงกรานต์ การประกวดเทพีสงกรานต์ กิจกรรมฟืน้ ฟู
ข้างหูและสวมก�าไลทีข่ อ้ เท้า เว้นแต่พธิ ศี พจึงจะแต่ง ประเพณีส่งข้าวแช่ และจัดถนนข้าวแช่ การแสดง
ชุดซิน่ สีดา� เชิงห่มสไบสีขาว ปัจจุบนั การแสดงมอญร�า ศิลปวัฒนธรรมพืน้ บ้าน ชมและเลือกซือ้ ผลงานตลาด
ยังนิยมใช้แสดงในงานต้อนรับแขกและงานศพของ นัดศิลปะ
ผู้มีเกียรติ
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
ทะแยมอญ เป็นการละเล่นพืน้ เมืองของหนุม่ สาวชาว จังหวัดปทุมธานีเป็นพืน้ ทีร่ าบลุม่ แม่นา�้ เจ้าพระยา จึงมี
มอญ มีลกั ษณะคล้ายหมอล�าของภาคอีสาน หรือล�าตัด การท�านากันมาก นอกจากนีย้ งั เป็นแหล่งปลูกพืชผัก
ของคนไทยภาคกลาง มีการร้องเพลงเกี้ยวพาราสี ส่งตลาดสดในตัวเมือง และตลาดกลางขนาดใหญ่ระดับ
ต่อปากต่อค�ากัน เครือ่ งดนตรีทใี่ ช้ประกอบในการเล่น ประเทศสองแห่ง คือ ตลาดสีม่ มุ เมือง และตลาดไท เป็น

ปทุมธานี 29
แหล่งรวมผลไม้หลายชนิด เช่น ส้มเขียวหวาน มะม่วง ขนาดใหญ่ มีการแบ่งโซนต่าง ๆ ออกเป็น ๖ โซน
กล้วย ทุเรียน ลิ้นจี่ ล�าไย มังคุด รวมทั้งผลผลิต คื อ Fashion Park, Digital Park, Gourmet
จากพืชธรรมชาติ เช่น ลูกตาลและฝักบัว นอกจาก Park, Campus Park, Alive Park, Banking
ผลิตผลเกษตรแล้ว ที่ตลาดเทศบาลและตลาดริมน�้า Park นอกจากนีย้ งั มีการรวมห้างต่างเข้าไว้ดว้ ยกัน เช่น
วัดศาลเจ้ามีอาหารอร่อยของปทุมธานีให้เลือกซื้อ กลุ่มเซ็นทรัล, ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน, บิ๊กซี ซูเปอร์
หารั บ ประทานมากมายที่ ขึ้ น ชื่ อ ได้ แ ก่ ก๋ ว ยเตี๋ ย ว เซ็นเตอร์, เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์, โฮมโปร โทร. ๐ ๒๙๕๘
ขนมกุ ย ช่ า ย ไส้ ผั ก ไส้ เ ผื อ ก ไส้ ห น่ อ ไม้ หมู ฝ อย ๐๙๘๒ www.futurepark.co.th
เนื้อฝอย ขนมไทยต่างๆ ซึ่งซื้อเป็นของฝากได้ ส่วน
อาหารยอดนิยมที่ผู้มาเยือนปทุมธานี ไม่พลาดที่จะ ตลาดไท ตั้งอยู่ริมถนนพหลโยธิน กม.ที่ ๔๒ เยื้อง
ต้องลองชิม คือ ก๋วยเตีย๋ วเรือ ซึง่ มีขายอยูท่ วั่ ไป โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ต�าบลคลอง
ริมเส้นทางรังสิต-นครนายก ส่วนร้านอาหารในตัวเมือง หนึง่ เป็นตลาดกลางสินค้าการเกษตรแห่งประเทศไทย
มักมีอาหารจานเด่นจ�าพวก กุง้ เต้น ปลาเผา นอกจากนี้ ศูนย์กลางสินค้าการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตร
ตามชุมชนหมูบ่ า้ นต่างๆ มีการผลิตสินค้าหัตถกรรมซึง่ ครบวงจร เพื่ อ ภาคการเกษตรกรรมไทย ยิ่ ง ใหญ่
เป็นสินค้าหนึง่ ต�าบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ โอ่งสามโคก ทันสมัย ก้าวไกลไปสู่ความเป็นหนึ่ง บนเนื้อที่กว่า
ขนาดเล็กท�าเป็นของที่ระลึก ดอกบัวประดิษฐ์ และ ๕๐๐ ไร่ “ตลาดไท” ถูกออกแบบให้ยงิ่ ใหญ่กว้างขวาง
กระเป๋าหนัง และสะดวกสบาย แตกต่างจากตลาดกลางแบบเก่าอย่าง
สิน้ เชิง ด้วยการแบ่งตลาดออกเป็นสัดส่วน ตามประเภท
ศูนย์การค้าและตลาดสินค้าเกษตร ของสินค้าที่หลากหลายท�าให้สามารถรองรับปริมาณ
นอกจากเป็ น แหล่ ง การเรี ย นรู ้ ท างวั ฒ นธรรมแล้ ว สินค้าทีห่ ลากหลายวันละกว่า ๑๕,๐๐๐ ตัน จากเกษตรกร
จังหวัดปทุมธานี ยังเป็นแหล่งรวบรวมของศูนย์การค้า ทัว่ ประเทศไทย โดยจัดแบ่งพืน้ ทีเ่ ป็น อาคารส้ม เป็น
ทีห่ ลากหลาย ทัง้ พืชผลทางการเกษตร ศูนย์รวมแฟชัน่ ตลาดผลไม้สม้ เขียวหวาน, อาคารผลไม้รวม เป็นตลาด
ที่ทันสมัย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งอิเล็กทรอนิคส์ที่ ที่ช่วยรองรับผลไม้รวมจากเกษตรกรทั่วประเทศ เช่น
ทันสมัยสินค้ามีให้เลือกมากมายทั้งค้าปลีกและค้าส่ง มะม่วง แคนตาลูป กระท้อน มะปราง น้อยหน้า ฝรัง่
มะละกอ ละมุด พุทรา แตงไทย ส้มโอ ส้มเช้ง กล้วยหอม
ไอที เชียร์ รังสิต ร้านจ�าหน่ายคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ชมพู่ องุน่ มะขามเทศ ฯลฯ ลานขายผลไม้ตามฤดูกาล
มือถือและอุปกรณ์ตอ่ พ่วงทุกชนิด บริการซ่อมประกอบ เนื่องจากในช่วงฤดูกาลผลไม้จะมีผลไม้แต่ละชนิด
คอมพิวเตอร์ เลขที่ ๙๙ ถนนพหลโยธิน ต�าบลคูคต จ�านวนมากพื้นที่นี้เปิดให้เกษตรกรและผู้ซื้อมาซื้อ
อ� า เภอล� าลูก กา จั งหวัด ปทุม ธานี ๑๒๑๓๐ โทร. ขายกันโดยตรง, ตลาดไม้ดอกไม้ประดับและกิง่ พันธุไ์ ม้
๐ ๒๕๓๑ ๔๓๒๐ โทรสาร ๐ ๒๕๓๑ ๒๕๙๙ www. รวบรวมกลุม่ ผูข้ ายไม้ดอกไม้ประดับและกิง่ พันธุไ์ ม้จาก
itzeerrangsit.com แหล่งผลิตที่ส�าคัญและรวบรวมกลุ่มผู้ค้าวัสดุอปุ กรณ์
เพือ่ การเพาะปลูก, อาคารผัก, ตลาดสด ขายสินค้า
ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต เลขที่ ๙๔ ถนนพหลโยธิน เกีย่ วกับสินค้าอุปโภคบริโภคทุกประเภทเช่น เนือ้ หมู
ต�าบลประชาธิปัตย์ อ�าเภอธัญบุรี เป็นศูนย์การค้า เป็ด ไก่ ปลา อาหารทะเล ผัก ผลไม้ ร้านขายของช�า

30 ปทุมธานี
ชั้น ๒ มีสินค้าเบ็ดเตล็ดทั่วไป ตลาดดอกไม้ มีร้าน ๓๖๐๙, จ�านวน ๑๑๑ ห้อง ราคา ๔๕๐-๑,๐๐๐ บาท
จ�าหน่ายไม้ดอกไม้ประดับหลากหลายจ�านวนมาก ไนซ์ อินน์ ๒๐/๙ หมู่ ๕ ถนนเลียบคลองรังสิต ต�าบล
เช่น ดอกกุหลาบ กล้วยไม้ เยอรบีรา่ ร้านจัดท�าพวงหรีด บางพูน โทร. ๐ ๒๕๖๗ ๒๗๕๑-๒ จ�านวน ๘๒ ห้อง ราคา
ร้านจ�าหน่ายสังฆภัณฑ์ ตลาดไทเปิดบริการ ๒๔ ชัว่ โมง ๒๗๐-๕๕๐ บาท
ติดต่อสอบถาม โทร. ๐ ๒๙๐๘ ๔๔๙๐-๙ โทรสาร บางกอก กอล์ฟ สปา รีสอร์ท ๙๙/๓ หมู่ ๒ ถนน
ส�านักงาน ๑ ๐ ๒๙๐๘ ๔๓๐๙, ๐ ๒๙๐๘ ๔๓๑๑, ติวานนท์ (ถัดจากเมืองทองธานี) โทร. ๐ ๒๐๐๐ ๙๗๗๗
ส�านักงาน ๒ โทรสาร ๐ ๒ ๙๐๘ ๔๓๐๐ www. โทรสาร ๐ ๒๙๖๓ ๙๗๙๗ www.resort.th.com, e-mail:
taladthai.com bkresort@ksc.th.com จ�านวน ๑๖๘ ห้อง ราคา ๓,๐๐๐-
ข้อแนะน�าในการเทีย่ วชมวัด/พิพธิ ภัณฑ์/โบราณสถาน ๗,๐๐๐ บาท (นวดแผนไทย นวดน�้ามัน, สนามกอล์ฟ
-ศึกษาข้อมูลรายละเอียดสถานที่ต่างๆ ก่อนไป ๙ หลุมและ ๑๘ หลุม)
แต่งกายให้สุภาพ ส�ารวมกิริยาวาจา บ้านสวยบางกะดี ๑๑๒/๔ หมู่ ๕ ถนนติวานนท์ ต�าบล
-ถอดรองเท้าและเก็บให้เรียบร้อยก่อนเข้าโบสถ์ บางกะดี โทร. ๐ ๒๙๖๓ ๖๔๖๕, ๐๘ ๖๓๖๙ ๗๑๘๗
เขตศาสนสถาน โทรสาร ๐ ๒๙๖๓ ๖๔๔๖ www.baansuayapartm-
-ติดต่อวิทยากรผู้ให้ความรู้ เช่น พระ ชาวบ้านใน enthotel.com, e-mail: baansuaybangkadee@
ท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล gmail.com จ�านวน ๕๐ ห้อง ราคา ๕๐๐บาท
-ระมัดระวังไม่ให้ไปโดนโบราณวัตถุโบราณสถาน ปทุมธานี เพลส ๑๒๓ หมู่ ๑ ถนนติวานนท์ ต�าบลบางกะดี
แตกหักเสียหาย โทร. ๐ ๒๙๖๓ ๘๒๙๙ โทรสาร ๐ ๒๙๖๓ ๙๒๕๙
-ไม่ควรเดินย�า่ เข้าไปในเขตหวงห้าม หรือบนโบราณ จ�านวน ๑๑๐ ห้อง ราคา ๑,๑๐๐-๓,๕๐๐ บาท
สถาน ไม่ควรจับ สัมผัส อาคารโบราณสถานโดย e-mail: pathumthaniplace@yahoo.com,
เฉพาะส่วนทีเ่ ป็นลวดลายแกะสลักหรือภาพเขียนสี www.pathumthaniplacehotel.com
หรือน�าสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เป็นชิ้นส่วนของโบราณวัตถุ
โบราณสถานกลับไปเป็นของที่ระลึก อ�าเภอล�าลูกกา
-ขออนุญาตผู้ดูแลสถานที่ก่อนถ่ายภาพ โมเดิรน์ อินน์ ๒๐/๕๕ หมู่ ๑๘ ถนนล�าลูกกา ต�าบลคูคต
-การถ่ายภาพไม่ควรใช้แสงแฟลชเพราะอาจท�าให้ โทร ๐ ๒๙๙๕ ๕๙๔๒ จ�านวน ๖๐ ห้อง ราคา ๒๙๐-
โบราณวัตถุ โบราณสถานเสียหายได้ ๗๒๐ บาท
โรงแรมผกาอินน์ ๓๕/๓ หมู่ ๖ ถนนเสมาฟ้าคราม
สิง่ อ�านวยความสะดวกในจังหวัดปทุมธานี ต� า บลคู ค ด โทร. ๐ ๒๙๘๗ ๕๔๑๗-๘ โทรสาร.
สถานที่พัก ๐ ๒๙๘๗ ๕๔๑๗ จ�านวน ๕๐ ห้อง ราคา ๕๖๐-๖๕๐ บาท
(ราคาห้องพักในเอกสารนีเ้ ปลีย่ นแปลงได้ โปรดสอบถาม โรงแรมเอ็ น-สิริ รีสอร์ท แอนด์ โอเต็ล ๙๙/๓๔ ถนน
จากโรงแรมก่อนเข้าพัก) ล�าลูกกา ต�าบลลาดสวาย โทร. ๐ ๒๙๙๔ ๔๓๒๑,
อ�าเภอเมืองปทุมธานี ๐ ๒๙๙๗ ๓๒๐๐, ๐๘ ๙๑๑๖ ๑๑๑๓, ๐ ๒๙๙๗
ดาร์ลงิ่ อินน์ ๑๓๐/๒๖ หมู่ ๔ ถนนกรุงเทพฯ-ปทุมธานี ๓๐๐๑, ๐ ๒๕๓๓ ๒๒๒๗ www.n-siri.com จ�านวน
ต�าบลบางเดื่อ โทร. ๐ ๒๙๗๘ ๒๕๖๑-๒, ๐ ๒๕๘๑

ปทุมธานี 31
๕๐ ห้ อ ง ราคา ๑,๒๖๐–๓,๐๐๐ บาท (รั บ จั ด ประชาธิปตั ย์ โทร. ๐ ๒๙๕๙ ๔๒๓๑ จ�านวน ๔๐ ห้อง
สัมมนา,จัดเลี้ยง) ราคา ๒๓๐-๓๘๐ บาท
เอเชียแอร์พอร์ท ๙๙/๒ หมู่ ๘ ถนนพหลโยธิน ต�าบลคูคต ปำล์ม อินน์ ๓๗, ๓๙, ๔๑ หมู่ ๕ ถนนรังสิต-
โทร. ๐ ๒๙๙๒ ๖๙๙๙ จ�านวน ๓๙๔ ห้อง ราคา ๒,๐๐๐- นครนายก ต�าบลประชาธิปตั ย์ โทร. ๐ ๒๙๗๔ ๑๒๔๓
๔,๐๐๐ บาท (นวดแผนไทย, นวดน�้ามัน) จ�านวน ๕๐ ห้อง ราคา ๒๒๕-๖๕๐ บาท
อ�ำเภอสำมโคก มิตรไพศำล ๒๔๖/๔๘ หมู่ ๒ ต�าบลประชาธิปตั ย์ โทร.
อ�ำเภอสำมโคก
เดอะ ไพน์ รีสอร์ท ๒๓/๑๕ หมู่ ๑ ถนนปทุม-เสนา ๐ ๒๕๓๑ ๓๒๓๐ จ�านวน ๑๖ ห้อง ราคา ๑๕๐-
เดอะ
ต�าบลท้ไพน์ รีสอร์โทร.
ายเกาะ ท ๒๓/๑๕
๐ ๒๙๗๘หมู ่ ๑ ถนนปทุ
๘๘๕๑-๔, ๐๘ม๑๘๑๕
-เสนา ๒๐๐ บาท
ต�๙๕๗๒,
าบลท้าwww.thepineresort.com
ยเกาะ โทร. ๐ ๒๙๗๘ ๘๘๕๑-๔, จ�านวน๐๘ ๑๘๑๕
๑๖๗ ห้อง รังสิตบริกำร ๒๔๗/๑๔ ถนนประชาธิปัตย์ จ�านวน
๙๕๗๒, www.thepineresort.com
ราคา ๙๕๐-๔,๐๐๐ จ�านวน ๑๖๗
บาท (ศูนย์สขุ ภาพและศู นย์กห้ฬี อา)ง ๑๒ ห้อง ราคา ๑๐๐-๑๒๐ บาท
ราคา ๙๕๐-๔,๐๐๐ บาท (ศูนย์สขุ ภาพและศูนย์กฬี า) รังสิตพำเลซ ๓๓๖/๙๒๓ หมู่ ๑ ถนนพหลโยธิน-
อ�ำเภอคลองหลวง วิภาวดีรงั สิต ต�าบลประชาธิปตั ย์ โทร. ๐ ๒๕๓๑ ๔๘๖๐,
อ�ำเภอคลองหลวง
นวนคร โกลเด้น วิว ๑๑๐/๑๐ หมู่ ๑๓ ถนนพหลโยธิน ๐ ๒๕๓๑ ๕๐๒๔-๕ จ�านวน ๖๐ ห้อง ราคา ๕๐๐
นวนคร โกลเด้ง่ นโทร.
ต�าบลคลองหนึ วิว ๐๑๑๐/๑๐ หมู่ ๑๓๐ถนนพหลโยธิ
๒๕๒๙ ๐๓๗๙, ๒๙๐๙ ๑๐๔๒น บาท
ต�โทรสาร.
าบลคลองหนึ ง่ โทร. ๐๐๗๑๙
๐ ๒๕๒๙ ๒๕๒๙ ๐๓๗๙, ๐ ๒๙๐๙ ๑๐๔๒
www.holidayresort. โรงแรมบอสส์โฮเต็ล เลขที่ ๑ ถนนรังสิต-ปทุมธานี
โทรสาร.
co.th จ�า๐นวน๒๕๒๙ ๗๐ ห้๐๗๑๙
อง ราคาwww.holidayresort.
๖๕๐-๑,๐๘๐ บาท ๑๖ ซอย ๑๐ ต�าบลประชาธิปัตย์ โทร. ๐ ๒๙๕๘
ไพน์เฮิรจ�ส์ านวน
co.th ลอดจ์๗๐๗๓ห้หมู อง ่ ราคา ๖๕๐-๑,๐๘๐
๑๗ ถนนพหลโยธิ บาท
น กม.๓๗ ๑๗๐๓-๕ จ�านวน ๕ ห้อง ราคา ๖๕๐-๗๕๐ บาท
ไพน์ เฮิรส์ ลอดจ์่ง โทร.
ต�าบลคลองหนึ ๗๓ หมู ๐ ่ ๒๕๑๖
๑๗ ถนนพหลโยธิ
๘๖๗๙-๘๔นโทรสาร กม.๓๗ โรงแรมบั น นี่ อิ น น์ ๒๐๑/๘ หมู ่ ๔ ถนนรั ง สิ ต -
ต�๐า๒๕๑๖
บลคลองหนึ ๘๖๘๕่ง www.pinehurst.co.th
โทร. ๐ ๒๕๑๖ ๘๖๗๙-๘๔ จ�านวนโทรสาร
๒๕๖ นครนายก ต�าบลรังสิต โทร. ๐ ๒๙๐๔ ๒๓๔๑ จ�านวน
ห้๐อ๒๕๑๖
ง ราคา๘๖๘๕ www.pinehurst.co.th
๑,๕๔๐-๓,๐๐๐ บาท จ�านวน ๒๕๖ ๑๖ ห้อง ราคา ๔๕๐ บาท
ห้รำมฤทธิ
อง ราคา ไกร๑,๕๔๐-๓,๐๐๐
เพลส หมู่๑๓ ถนนพหลโยธิบาท น ต�าบลคลองหนึง่ สยำมรังสิต (ใกล้โรงเรียนมวยไทยไนท์สเตเดียม)
รำมฤทธิ
โทร. ๐ ไ๒๙๐๘ กร เพลส๓๗๔๓หมู่๑๓ ถนนพหลโยธิ
โทรสาร ๐น๒๙๐๘ ต�าบลคลองหนึ
๔๑๗๒ง่ ๓๓๖/๓๐๙-๓๑๒ ถนนพหลโยธิน ต�าบลประชาธิปตั ย์
โทร. ๐ ๒๙๐๘ ๓๗๔๓ จ�โทรสาร
www.9apartment.com านวน ๕ ห้๐อง๒๙๐๘
ราคา ๖๕๐ ๔๑๗๒
บาท โทร. ๐ ๒๕๓๑ ๓๓๙๔, ๐ ๒๕๓๑ ๐๗๗๔ จ�านวน
รอยัล อินน์ ๓๙ หมู่ ๕ ถนนพหลโยธิ
www.9apartment.com จ�านวน ๕ ห้นองต�ราคา ๖๕๐ บาทง่
าบลคลองหนึ ๓๑ ห้อง ราคา ๓๕๐-๑,๒๐๐ บาท
รอยั
โทร.ล๐อิน๒๕๑๖ น์ ๓๙ หมู๙๔๐๐,
่ ๕ ถนนพหลโยธิ
๐ ๒๕๑๖น ๑๘๓๑ต�าบลคลองหนึ
จ�านวนง่
โทร.
๗๕ ห้๐อง๒๕๑๖ ๙๔๐๐, ๐ ๒๕๑๖
ราคา ๔๙๕-๘๔๐ บาท ๑๘๓๑ จ�านวน ร้ำนอำหำร
แมนฮั
๗๕ ห้อตงตัราคา
้น ๔๙๔๙๕-๘๔๐
หมู่ ๑๔ ต�าบาท บลคลองหนึ่ง โทร. ๐ อ�ำเภอเมืองปทุมธำนี
แมนฮัต๖๖๖๖-๖๘
๒๙๐๘ ตั้น ๔๙ หมูโทรสาร ่ ๑๔ ต�๐าบลคลองหนึ
๒๙๐๘ ๖๖๕๕ ่ง โทร.
จ�านวน๐
กุ้งเต้นสวนอำหำรเมืองปทุม ๔๘/๑๔ หมู่ ๔ ถนน
๒๙๐๘ห้๖๖๖๖-๖๘
๑๓๗ โทรสาร ๐ ๒๙๐๘
อง ราคา ๘๐๐-๑,๓๐๐ บาท ๖๖๕๕ จ�านวน
กรุงเทพฯ-ปทุมธานี ต�าบลบางขะแยง โทร. ๐ ๒๕๙๘
๑๓๗ ห้อง ราคา ๘๐๐-๑,๓๐๐ บาท ๖๕๑๖ (กุ้งเต้นกุ้งเผา ทอดมันปลากราย เปิดบริการ
อ�ำเภอธัญบุรี ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.)
อ�บิำก๊ เภอธั
อินน์ ญบุรี หมู่ ๒ ถนนรังสิต-ปทุมธานี ต�าบล กุง้ เต้นอึง้ จัว้ กี่ ๑๒ ถนนเทศสัมพันธ์ ต�าบลบางปรอก
๕๙/๒๖๕
บิก๊ อินน์ ๕๙/๒๖๕ หมู่ ๒ ถนนรังสิต-ปทุมธานี ต�าบล โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๖๑๖๖, ๐ ๒๕๘๑ ๑๖๖๑ (อาหารแนะน�า

32 ปทุมธานี
กุง้ เต้น ทอดมันปลากราย แปะซะ ปลาเนือ้ อ่อนราดพริก (ปลาทอดสมุนไพร, ย�าถั่วพลู, ต้มแซ่บทะเลเดือด
มีห้องจัดเลี้ยงรับรองแขกได้ ๑๐๐ คน เปิดบริการ เปิดบริการ ๑๖.๓๐-๒๔.๐๐ น.)
๑๑.๐๐-๒๒.๐๐ น.) สวนอาหารซุ้มคุณหลวง ๑๒/๑๐ หมู่ ๗ ถนน
บางบัว ๙๙/๕ หมู่ ๒ ถนนติวานนท์ (ใกล้ ร.พ.กรุงสยาม ล�าลูกกา (ซอยวัดลาดสนุ่น) ต�าบลคูคต โทร. ๐๘
เซนต์คาลอส) ต�าบลบ้านกลาง โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๕๗๑๕, ๗๑๐๕ ๓๔๕๙ (ปลากะพงทอดน�้าปลา, ย�าถั่วพลู
๐ ๒๙๗๙ ๖๙๗๐-๑ (อาหารไทย, จีน, อาหารแนะน�า อาหารตามสั่ง เปิดบริการ ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.)
ลาบปลาตะเพียน, ขาหมูทอดกรอบ, ปลาช่อนนึง่ ล้านนา, สวนอาหารไทยทรงวุ ฒิ ๓๗/๑๕ ถนนล� า ลู ก กา
ต้มย�ากุง้ มะพร้าวอ่อน เปิดบริการ ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.) ต� า บลล� า ลู ก กา โทร. ๐ ๒๕๖๙ ๑๐๖๙,
บ้านปากคลอง ๒๑/๑ หมู่ ๔ ถนนปทุมธานี (สายใน) ๐ ๒๕๖๙ ๑๘๙๓ (อาหารไทย, จีน, อาหาร
ต�าบลบางหลวง โทร ๐ ๒๕๘๑ ๑๔๐๑-๒ (อาหารไทย, แนะน� า กระเพาะสวรรค์ , เยื่ อ ไผ่ น�้ า แดง,
จีน, อาหารแนะน�า กุ้งแม่น�้า,ปลาช่อนกลางสวน, ขาหมูทอดกรอบ เปิดบริการ ๐๙.๐๐-๒๐.๐๐ น.)
ต้มย�ากุ้ง, กุ้งคะนึงหา, ทอดมันปลากราย, ปลาคัง เดอะ ไบท์ เรสเตอรอง แอนด์ คาราโอเกะ ๒/๗๙ หมู่ ๗
ลวก เปิดบริการ ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.) คลอง ๔ ถนนล�าลูกกา www.thebiterestaurant
ประเสริฐโภชนา ๗๙/๑๒๓ หมู่ ๒ ถนนปทุมธานี- .com โทร. ๐ ๒๕๖๓ ๓๑๒๕-๙ โทรสาร ๐ ๒๕๖๓
กรุงเทพฯ ต�าบลบางหลวง โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๘๐๓๗, ๓๑๒๖ (ส้มต�าปลากะพงทอด, กุ้งชมจันทร์, ต้มย�ากุ้ง
๐๘ ๙๘๑๒ ๓๙๓๓ (อาหารไทย อาหารแนะน�า กุง้ เผา, แม่น�้าเผามะพร้าวอ่อน, กุ้งตั้งไข่, ต้มแซ่บเอ็นหมู,
ต้มย�าปลาม้า, ปลาเนื้ออ่อนทอดกรอบราดพริก, ปลากระพงโบราณ, ย� า เมี่ ย งตะไคร้ เปิ ด บริ ก าร
ทอดมันปลากราย, ปลาม้าทอดเต้าเจี้ยว เปิดบริการ ๑๗.๐๐-๐๑.๐๐ น.)
๑๑.๐๐-๑๙.๐๐ น.)
อาหารเวียดนาม ๒๙/๓ ถนนคลองวัดโส ต�าบลบาง อ�าเภอลาดหลุมแก้ว
ปรอก โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๕๖๗๐ (อาหารเวียดนาม,ไทย, แปโภชนา ๘๐/๑ หมู่ ๔ ในตลาดระแหง ต�าบลระแหง
อีสาน อาหารแนะน�า ข้าวเหนียวไก่ทอด, ต้มย�าปลา โทร. ๐ ๒๕๙๙ ๑๓๙๘, ๐ ๒๙๗๖ ๓๑๖๐ (อาหารไทย-จีน
กะพง, ย�าหัวปลี, ปากหม้อ, แหนมเนือง, เมี่ยงปลา เปิดบริการ ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น.)
เปิดบริการ ๑๑.๐๐-๒๐.๐๐ น.)
อ�าเภอคลองหลวง
อ�าเภอล�าลูกกา สวนอาหารจ่าเริง (รังสิต) ๓๙/๑๔ ถนนพหลโยธิน
ป เจริญโภชนา ๕/๓๒ ถนนล�าลูกกา ต�าบลคูคต โทร. ต�าบลคลองหลวง โทร. ๐ ๒๕๑๖ ๙๒๗๔ (อาหารไทย ,
๐๘ ๑๙๒๘ ๖๑๘๕, ๐ ๒๕๓๓ ๗๙๗๖, ๐๘ ๖๕๔๙ อาหารป่า, ย�าปลาดุกฟู, ห่อหมกทะเล, งูผดั เผ็ด เปิด
๖๑๘๒ โทรสาร ๐ ๒๕๓๑ ๑๘๔๒, ๐ ๒๕๓๑ ๖๗๐๔ บริการ ๑๐.๐๐-๒๓.๐๐ น.)
(รับจัดเลี้ยงเท่านั้น) ห้องอาหารมิยาโกะ (ในโรงแรมแมนฮัตตัน) ๔๙ หมู่ ๑๔
ร้านแซ่บดี ๓๓/๓๓ หมู่ ๘ ถนนล�าลูกกา ต�าบลลาดสวาย ถนนพหลโยธิน ต�าบลคลองหนึ่ง ๐ ๒๙๐๘ ๖๖๘๘
โทร. ๐๘ ๙๐๓๔ ๗๑๗๕ e-mail: wjanne@gmail.com (แกงเผ็ดหมู, แกงเลียงกุ้งสด, ต้มย�าปลากะพง เปิด
บริการ ๑๑.๐๐-๑๔.๐๐ น., ๑๗.๐๐-๒๒.๐๐ น.)

ปทุมธานี 33
สนามกอล์ฟ ๐ ๒๕๓๔ ๓๘๘๐, ๐๘ ๑๓๗๑ ๖๗๒๒ โทรสาร
อ�าเภอเมืองปทุมธานี ๐ ๒๕๒๓ ๖๔๐๔ (สนามกอล์ฟ ๑๘ หลุม เปิดบริการ
ชวนชื่น กอล์ฟ คลับ ๑๐๐ หมู่ ๘ ถนน กรุงเทพฯ- ๐๖.๐๐–๑๗.๐๐ น.)
ปทุมธานี ต�าบลบางคูวัด โทร. ๐ ๒๕๙๘ ๒๖๙๙,
๐ ๒๕๙๘ ๒๘๓๙, ๐ ๒๕๙๘ ๒๕๕๕ โทรสาร อ�าเภอคลองหลวง
๐ ๒๕๙๘ ๒๘๗๙ www.golfcoursethailand.com ไพน์เฮิร์ส กอล์ฟ แอนด์ คันทรี คลับ ๗๓ หมู่ ๑๗
(สนามกอล์ฟ ๑๘ หลุม เปิดบริการ ๐๖.๐๐-๑๗.๓๐ น. ถนนพหลโยธิน กม.๓๗ ต�าบลคลองหนึง่ โทร. ๐ ๒๕๑๖
วันจันทร์ ๑๑.๐๐-๑๗.๓๐ น.) ๘๖๗๙-๘๔ www.pinehurst.co.th (สนามกอล์ฟ ๒๗
บางกอก กอล์ฟ คลับ ๙๙ หมู่ ๒ ถนนติวานนท์ ต�าบล หลุม, มีหอ้ งพักไว้บริการ เปิดบริการ ๐๕.๓๐–๒๐.๑๘ น.)
บางกะดี โทร. ๐ ๒๕๐๑ ๒๘๒๘, ๐ ๒๕๐๑ ๒๗๗๒ www. อัลไพน์ กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ ๙๙ หมู่ ๙ ถนน
golf.th.com (สนามกอล์ฟ ๑๘ หลุม มีทพี่ กั ไว้บริการ สถานีวิทยุ-บางขัน ต�าบลคลองห้า โทร. ๐ ๒๕๗๗
เปิดบริการ ๐๖.๐๐-๑๙.๓๐ น.) www.golf.th.com ๓๓๓๓ www.alpinegolfclub.com (สนามกอล์ฟ
เมืองเอก วิสต้า กอล์ฟ คอร์ส ๕๒/๙๙๙ ถนนพหลโยธิน ๑๘ หลุม เปิดบริการ ๐๖.๐๐–๒๐.๐๐ น.)
ต�าบลหลักหก โทร. ๐ ๒๙๙๗ ๘๕๐๑-๖ (สนามกอล์ฟ
๑๘ หลุม เปิดบริการ วันอาทิตย์-อังคาร ๐๖.๐๐- อ�าเภอธัญบุรี
๑๘.๐๐ น., วันพุธ-วันเสาร์ ๐๖.๐๐-๒๐.๐๐ น.) กรุงกวีสโมสร ๑๑๕/๑๒ หมู่ ๓ ต�าบลบึงยีโ่ ถ อ�าเภอธัญบุรี
www.mueangaek.co.th โทร. ๐ ๒๕๗๗ ๒๘๙๑-๓, ๐ ๒๕๗๗ ๔๑๔๑-๙ (สนาม
สนามกอล์ฟเมืองเอก ๕๒ หมู่ ๗ ถนนพหลโยธิน กอล์ฟ ๑๘ หลุม เปิดบริการ วันจันทร์-วันอาทิตย์
ต�าบลหลักหก โทร. ๐ ๒๕๓๓ ๙๓๓๕-๘ (สนามกอล์ฟ ๐๖.๐๐-๒๐.๐๐ น.) www.krungkawi.com
๑๘ หลุม เปิดบริการ วันอังคาร-วันอาทิตย์ ๐๖.๐๐-
๑๘.๐๐ น., วันจันทร์ ๐๙.๓๐–๑๘.๐๐ น.) www. อ�าเภอหนองเสือ
mueangaek.co.th รังสิต สปอร์ต คลับ ๒๙ หมู่ ๓ ต�าบลหนองสาววัง โทร.
๐ ๒๙๐๔ ๐๔๗๑, ๐ ๒๙๐๔ ๐๔๖๘ โทรสาร ๐ ๒๙๐๔
อ�าเภอล�าลูกกา ๐๔๗๒, ๐ ๒๙๐๔ ๐๔๖๘ (เปิดบริการ วันจันทร์-วันศุกร์
ธัญญะ กอล์ฟ คลับ ๒๖/๑๓ หมู่ ๓ ต�าบลลาดสวาย ๐๗.๐๐–๑๘.๐๐ น. วันเสาร์-วันอาทิตย์ ๐๖.๐๐-
โทร. ๐ ๒๕๖๐ ๑๑๓๖-๗, ๐ ๒๕๖๐ ๑๑๗๔-๖, ๐ ๒๕๖๐ ๑๘.๐๐ น.) www.rangsitsportclub.com
๑๑๓๖-๗, ๐๘ ๓๙๖๔ ๐๐๒๗, ๐๘ ๑๘๖๙ ๖๖๘๔-๕
(สนามกอล์ฟ ๒๗ หลุม เปิดบริการ ๐๖.๐๐-๑๕.๐๐ น.) สปา
ล�าลูกกา คันทรี คลับ ๒๙ หมู่ ๗ ต�าบลล�าไทร คลองสิบเอ็ด อ�าเภอเมืองปทุมธานี
โทร. ๐ ๒๙๙๕ ๒๓๐๐-๔ www.lamlukkagolf.net บางกอก กอล์ฟ สปา รีสอร์ท ๙๙/๓ หมู่ ๒ ถนน
(สนามกอล์ฟ ๓๖ หลุม เปิดบริการ ๐๖.๓๐–๑๘.๓๐ น.) ติวานนท์ (ถัดจากเมืองทองธานี) โทร. ๐ ๒๙๖๓ ๙๗๗๗
สนามกอล์ฟธูปะเตมีย์ ๑๔ หมู่ ๘ ต�าบลคูคต ถนน โทรสาร ๐ ๒๙๖๓ ๙๗๙๗ www.resort.th.com,
พหลโยธิน กิโลเมตรที่ ๒๘ โทร. ๐ ๒๕๓๑ ๑๔๘๔,

34 ปทุมธานี
e-mail: bkresort@ksc.th.com (นวดแผนไทย นวด อ�าเภอล�าลูกกา
น�า้ มัน เปิดบริการ ๐๘.๐๐–๒๓.๐๐ น.) เอเชีย แอร์พอร์ท ๙๙/๒ หมู่ ๘ ถนนพหลโยธิน ต�าบล
โรงพยาบาลกรุงสยามเซนต์คาลอส ๕/๘๔ หมู่ ๒ คูคต โทร. ๐ ๒๙๙๒ ๖๙๙๙ โทรสาร ๐ ๒๙๙๒ ๖๘๒๘
ถนนติวานนท์ ต�าบลบ้านกลาง โทร. ๐ ๒๙๗๕ ๖๗๐๐ (นวดแผนไทย นวดน�า้ มัน เปิดบริการ ๑๑.๐๐–๒๒.๐๐ น.)
ต่อ ๖๑๐๐, ๖๑๐๖ โทรสาร ๐ ๒๙๗๕ ๖๗๓๗ (เปิด
บริการ ๐๘.๐๐–๒๐.๐๐ น). www.stcaros.com

หมายเลขโทรศัพท์ส�าคัญ
ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๒๑๒๑
ที่ว่าการอ�าเภอเมืองปทุมธานี โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๖๑๓๐
โรงพยาบาลปทุมธานี โทร. ๐ ๒๕๙๘ ๘๘๘๘
โรงพยาบาลเมืองปทุม โทร. ๐ ๒๙๗๘ ๐๐๗๓
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ โทร. ๐ ๒๙๒๖ ๙๙๙๙
โรงพยาบาลแพทย์รังสิต โทร. ๐ ๒ ๙๙๘ ๙๙๙๙
โรงพยาบาลปทุมเวช โทร. ๐ ๒ ๕๖๗ ๑๙๙๑
โรงพยาบาลเอกปทุม โทร. ๐ ๒ ๙๙๖ ๒๒๑๑
โรงพยาบาลภัทร-ธนบุรี โทร. ๐ ๒ ๙๐๑ ๘๔๐๐
สถานีต�ารวจภูธรอ�าเภอเมือง โทร. ๐ ๒๕๘๑ ๖๗๘๙
ต�ารวจทางหลวง โทร. ๑๑๙๓
ต�ารวจท่องเที่ยว โทร. ๑๑๕๕

ปทุมธานี 35
แผนที่ ตั ว เมื อ งปทุ ม ธานี
PATHUM THANI CITY MAP
ไป อ.สามโคก
To Sam Khok
it
itich

ทางหลวงหมายเลข 311
Soi K

ิจิตต
กิตต
ซอ ย

ไป อ.ลาดหลุมแกว Highway No.346


To Amphoe Lat Lum Kaeo 1
346 M
ยเลข
หมา
ลวง n
ทางห thu
pra

Highway No.311
he t a
nT
an o

ay
Th

r
2
[

Ph
M a e n a m C ha o
ถนนพัฒนสัมพันธ
1 9 Thanon Phattha nasamphan 4
1 1 #

ถนนเทศปทุม
ทางหลวงห G # 1
มายเลข 30
35 [ 2 3
Highway
No.3035
2 Ö
G @ # 32
#
[ ไป รังสิต
M
ทางหล 3 2 To Rangsit
M
วงหมา

i-Sai Nai
ยเลข

Thanon Sopha
athum than
307
Highw

r
anon P
ay No

ใน Th
Ö
.307

นี-สาย

ภา
ถนนโส
ทุมธา

ไป จ.นนทบุรี
ถนนป

To Nonthaburi
[4

M 3
4

สัญลักษณ Legend
9 ศาลากลางจังหวัด City Hall @ สถานีตาํ รวจ Police Station
โรงเรียน School ถนน Road
I
~
Ö
สถานีขนสง
ไปรษณีย
Bus Terminal
Post Office
แหลงน้าํ , แมนา้ํ Stream, River .4 .2 0 กิโลเมตร
Kilometers

วัด Temple (Wat) G โรงพยาบาล Hospital


1 วัดบางโพธิ์ใน Wat Bang Pho Nai 1 โรงพยาบาลปทุมธานี Pathum Thani Hospital
2 วัดโสภาราม Wat Sopharam 2 โรงพยาบาลเมืองปทุมธานี Mueang Pathum Thani Hospital
3 วัดมะขาม Wat Makham
M ตลาด Market
1 ตลาดสดอินเตอรมารท Intermart Market
2 ตลาดเทศบาล Thetsaban Market
[สถานที่ทองเที่ยว Tourist Attraction
1 ศาลหลักเมือง City Pillar Shrine
3 ตลาดเจริญผลวัฒนา Charoen Phon Watthana Market 2 วัดหงษปทุมาวาส (วัดมอญ) Wat Hong Pathummawat (Wat Mon)
4 ตลาดริมน้ําวัดศาลเจา Rimnam Wat San Chao Market 3 วัดโบสถ Wat Bot
# สถานที่สําคัญ Place of Interest 4 วัดฉาง Wat Chang
1 ศาลจังหวัดปทุมธานี Pathum Thani Provincial Court
2 ที่วา การอําเภอเมืองปทุมธานี Amphoe Murang Pathum Thani Office
3 สํานักงานเทศบาลเมืองปทุมธานี Mueang Pathum Thani Municipality Office
4 วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี Pathum Thani Technical College
แผนที่ ท อ งเที่ ย วจั ง หวั ด ปทุ มธานี
ปทุมธานี
Pathum Thani
กรุงเทพมหานคร
Bangkok
PATHUM THANI TOURIST MAP

จ.สระบุรี
ไป อ.หนองแค Saraburi
To Amphoe Nong Khae

ไป อ.วังนอย
จ.พระนครศรีอยุธยา To Amphoe Wang Noi
Phra Nakhon Si Ayutthaya

ไป จ.พระนครศรีอยุธยา
ไป อ.บางไทร To Phra Nakhon Si Ayutthaya
To Amphoe Bang Sai
U
V3261

จ.นครนายก

U U
V U
V อ.หนองเสือ Nakhon Nayok
V U
1 9 H Nong Suea
ไป อ.ลาดบัวหลวง
To Amphoe Lat Bua Luang
V
3111
9
Ì12 U
V 352

Ì
¬
1 ¬

อ.สามโคก Ì2
U
V Ì #สนามกีฬาธรรมศาสตร รังสิต
¬ 347 ไป อ.องครักษ
Sam Khok Ì 13
U
V To Amphoe Ongkharak
¬
3
¬

HÌ H U V Ì 14 305

อ.ลาดหลุมแกว
4
U
V ¤
p
¬

3309
Ì
15 3214
¬
¬

Lat Lum Kaeo


H
U
V346
U
V7 Ì 5
3111
อ.คลองหลวง
Khlong Luang
¬ Ì16 ¬

6Ì Ì17
H อ.ธัญบุรี
¬

อ.เมืองปทุมธานี Ì
¬ ¬ ¬
ไป อ.บางเลน HÌ8
Ì18 Thanyaburi
Ì
¬
To Amphoe Bang Len Mueang Pathum Thani 10
Ì Ì
9 23 ¬ ¬
Ì24
Ì19
¬
¬

U
V
V U
¬

U
V Ì20
V
¬
9

U
V U
340 37
3100 9
Ì11 ¬

Ì
21 อ.ลําลูกกา
¬

Lum Luk Ka
U
V
3312
Ì
22 ¬ ไป จ.นครนายก
To Nakhon Nayok
จ.นนทบุรี
Nonthaburi U
V H

VU
U V
306
31 1
ไป จ.นนทบุรี
To Nonthaburi
ไป อ.ปากเกร็ด
To Amphoe Pak Kret กรุงเทพฯ
ไป กรุงเทพฯ ไป กรุงเทพฯ
Bangkok
To Bangkok To Bangkok

สัญลักษณ Legend
H อําเภอ Amphoe (District) ทางหลวง Highway
Ì สถานที่ทองเที่ยว Tourist Attraction
1
เสนขอบเขตจังหวัด Province Boundary
¤
p สถานีรถไฟ Railway Station เสนขอบเขตอําเภอ District Boundary 5 2.5 0 5 กิโลเมตร
แหลงน้ํา, แมน้ํา Stream, River ทางรถไฟ Railway Kilometers

สถานที่ทองเที่ยว Tourist Attraction


1 วัดเจดียหอย Wat Chedi Hoi 14 หออัครศิลปน The Supreme Artist Hall
2 วัดศาลาแดงเหนือ Wat Sala Daeng Nuea 15 หอจดหมายเหตุแหงชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิพลอดุลยเดช
3 วัดเจดียทอง Wat Chedi Thong The National Archives in Commemoration of H.M. the King’s Golden Jubilee
4 วัดไผลอม Wat Phai Lom 16 องคการพิพธิ ภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) National Science Museum
5 วัดสิงห Wat Sing 17 ศูนยวิทยาศาสตรเพือ่ การศึกษา รังสิต Rangsit Science Education Centre
6 ศาลหลักเมือง City Pillar Shrine 18 วัดมูลจินดาราม Wat Mun Chindaram
7 วัดหงษปทุมาวาส (วัดมอญ) Wat Hong Pathummawat (Wat Mon) 19 สวนสนุกดรีมเวิลด Dream World Amusement Park
8 วัดโบสถ Wat Bot 20 ฟวเจอร ปารค รังสิต Future Park Rangsit
9 วัดฉาง Wat Chang 21 อนุสรณสถานแหงชาติ The National Memorial
10 วัดโคก Wat Khok 22 วัดพืชอุดม Wat Phuet Udom
11 วัดชินวราราม Wat Chinawararam 23 พิพธิ ภัณฑหินแปลก Rare Stone Museum
12 พิพธิ ภัณฑการเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ 24 วัดเขียนเขต Wat Khian Khet
The Golden Jubilee Museum of Agriculture
13 ตลาดไท Talad Thai
พิพิธภัณฑ์บัว
ศูนย์ข้อมูลท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) (สำานักงานใหญ่)
๑๖๐๐ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน
เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ (๑๒๐ คู่สาย)
โทรสาร ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๑๑
e-mail : info@tat.or.th
www.tourismthailand.org
เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
๔ ถนนราชดำาเนินนอก เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐
โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๕๖
โทรสาร. ๐ ๒๓๕๖ ๐๗๔๖
www.mots.go.th
เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ฝั่งผู้โดยสารขาเข้าในประเทศ ประตู ๓ ชั้น ๒
โทร. ๐ ๒๑๓๔ ๐๐๔๐ (๒๔ ชั่วโมง)

ททท. สำานักงานกรุงเทพมหานคร
อาคาร D2 ชั้น ๘ โครงการปรีชา คอมแพลกซ์ ๔๘/๑๑
ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก
เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐
โทร. ๐ ๒๒๗๖ ๒๗๒๐-๑ โทรสาร ๐ ๒๒๗๖ ๒๗๒๒
e-mail : tatbangkok@tat.or.th
www.tourismthailand.org/bangkok
พื้นที่รับผิดชอบ : กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และนนทบุรี
เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
ปรับปรุงข้อมูล
พฤศจิกายน ๒๕๖๐
วัดโบสถ์

ข้อมูล : ททท. สำ�นักง�นกรุงเทพมห�นคร


กองข่�วส�รท่องเที่ยว (โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ต่อ ๒๑๔๑-๕)
ออกแบบและจัดพิมพ์ : กองผลิตอุปกรณ์เผยแพร่ ฝ่�ยบริก�รก�รตล�ด
ข้อมูลร�ยละเอียดที่ระบุในเอกส�รนี้อ�จมีก�รเปลี่ยนแปลงได้ ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. ทุกวัน
ลิขสิทธิ์ของก�รท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริก�รข้อมูลท่องเที่ยวท�งโทรส�ร ๒๔ ชั่วโมง
กรกฎ�คม ๒๕๖๑ e-mail: info@tat.or.th
ห้�มจำ�หน่�ย www.tourismthailand.org

You might also like