You are on page 1of 24

เรียนรู้มรดกสถาปัตยกรรม

Learning Architectural Heritage

มรดกพุทธศิลปสถาปัตยกรรม
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช
The Buddhism Architectural Heritage of
Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat

ที่ปรึกษา
ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์

เรียบเรียง
อิสรชัย บูรณะอรรจน์
ดร. นันทวรรณ ม่วงใหญ่

บรรณาธิการ
ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ
มรดกพุทธศิลปสถาปัตยกรรม
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช
The Buddhism Architectural Heritage of
Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat

การจัดพิมพ์หนังสือชุด “เรียนรู้มรดกสถาปัตยกรรม”
มีความมุ่งหวังเพื่อการบูรณาการการวิจัยสู่การบริการ
วิชาการสู่สาธารณะ ด้วยการเรียบเรียงเนื้อหาที่เกี่ยวเนื่อง
กับศิลปะสถาปัตยกรรมของแหล่งมรดกวัฒนธรรมทรง
คุณค่าที่กล่าวถึงในรายงานวิจัยซึ่งมีความจ�ำกัดในการ
เผยแพร่ โดยน�ำมาเรียบเรียงเป็นคู่มือการเที่ยวชมแหล่ง
มรดกทางสถาปัตยกรรม เพื่อให้ชมุ ชน หรือเจ้าของแหล่ง
มรดกทางวัฒนธรรมน�ำไปจัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อเป็นการน�ำ
องค์ความรู้ทางวิชาการจากการวิจัยบริการสู่สาธารณชน
ด้วยมุ่งหวังให้เกิดการเรียนรู้ และความเข้าใจ อันเป็นฐาน
ส�ำหรับการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนต่อไป
ส�ำหรับคู่มือการน�ำชม “มรดกพุทธศิลปสถาปัตยกรรม
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช” เป็นส่วน
หนึ่งของการวิจัย “การศึกษาวิเคราะห์คุณค่า ศักยภาพ
และแนวทางการเสนอแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อ
ขอรับการพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม
เพิ่มเติม (The study and analysis of value,
potential, and guidlines for nominating the
cultural heritage sites toinscribed as World
Cultural Heritage)” ในแผนการวิจัยชุด “แผนยุทธ-
ศาสตร์ ขั บ เคลื่ อ นประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการ
ท่องเที่ยวของภูมิภาคด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่ง
มรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพืน้ ทวีป (Driven
Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism
by Managing the World Heritage in the Main
Land of Southeast Asia)” สนับสนุนทุนวิจัยโดย
“สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร” และ
“ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ” และจัดพิมพ์
เผยแพร่โดย “สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช”
ค�ำน�ำ
ประธานสภาวัฒนธรรม
จังหวัดนครศรีธรรมราช

คูม่ อื น�ำชม “มรดกพุทธศิลปสถาปัตยกรรมวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร


นครศรีธรรมราช” เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับมรดก
พุทธศิลปกรรมในวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นศูนย์รวม
จิตวิญญาณ และความศรัทธาของผู้คนในเมืองต่างๆ ในคาบสมุทรไทย และมลายู
นับตั้งแต่อดีตกาลตราบจนกระทั่งปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นตัวแทนที่สะท้อนให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนากับลังกาอย่างใกล้ชิด และเมื่อพระพุทธศาสนา
มาประดิษฐานอย่างมั่นคงในเมืองนครศรีธรรมราชแล้ว ยังได้ส่งผ่านต่อไปยังรัฐ
จารีต และเมืองอื่นๆ อีกมากมาย อาทิ ล้านนา สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์
จากมหาธารแห่ ง ความศรั ท ธาของผู ้ ค นท� ำ ให้ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร
นครศรีธ รรมราชกลายเป็นแหล่งรวมมรดกพุ ทธศิ ลปสถาปั ต ยกรรมมากมาย
นับแต่อดีตตราบจนกระทั่งปัจจุบัน
จากคุณค่าหลากมิติของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราช
ทั้ง “มรดกธรรม” ที่เป็นต้นธารการสร้างสรรค์ “มรดกศิลปสถาปัตยกรรม” จึง
ท� ำ ให้ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห ารนครศรี ธ รรมราชควรค่ า แก่ ก ารได้ รั บ การ
ยกย่องขึ้นเป็นแหล่ง “มรดกโลกทางวัฒนธรรม (World Culturlal Heritage)”
ซึ่งต้องผ่านการท�ำงานหลากหลายขั้นตอน ทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับ
นานาชาติ
ในการนี้ คณะท�ำงานฯ จึงได้จัดพิมพ์คู่มือน�ำชมนี้ขึ้นด้วยมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อสร้างองค์ความรู้เบื้องต้นแก่ผู้มาเยือน และผู้ที่สนใจ อันเป็นส่วนหนึ่งของการ
ผลักดันให้วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนครศรีธรรมราชได้รับการยกย่องเป็น
แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม ทั้งนี้ ขอขอบคุณ อาจารย์ ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ
อาจารย์ ดร.นันทวรรณ ม่วงใหญ่ และอาจารย์อิสรชัย บูรณะอรรจน์ และโครงการ
วิจยั “แผนยุทธศาสตร์ขบั เคลือ่ นประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วของภูมภิ าค
ด้วยการจัดการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้น
ทวีป” มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่กรุณาสรุปเรียบเรียงข้อมูล และจัดท�ำคู่มือเล่มนี้
เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชนในโอกาสนี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์
ประธานสภาวัฒนธรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช
ทะเลอ่ า วไทย
Gulf of Thailand

เมื อ งนครศรี ธ รรมราช


เทื อ กเขานครศรี ธ รรมราช Nakhon Si Thammarat
Nakhon Si Thammarat
mountain range อ่ า วนครศรี ธ รรมราช
Nakhon Si Thammarat Bay
ช่ อ งเขาลานสกา
Lansaka Defile

ปากพนั ง
Pakphanang

เมื อ งพั ท ลุ ง
Phatthalung
ทะเลสาบสงขลา
กระบี่
Songkhla Lagoon
Krabi
เทื อ กเขาบรรทั ด เมื อ งสงขลา
คลองท่ อ ม Bantad mountain range
Songkhla
Klongtom

ทะเลอั น ดามั น
Andaman Sea
ท�ำเลที่ตั้งของเมืองนครศรีธรรมราช
Relative Location of Nakhon Si Thammarat

“เมืองนครศรีธรรมราช” ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรฝั่งตะวันออกไม่ไกลจากชายฝั่งอ่าวไทยซึ่งเป็น
ชายฝั่งยกตัว ท�ำให้เกิดเป็นแนวสันทรายตลอดแนว ตั้งแต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไปจนถึงอ�ำเภอสทิงพระ
ในจังหวัดสงขลา
ทางตะวันออกของเมืองเป็นอ่าว มีล�ำน�้ำปากพนังไหลมาบรรจบ ซึ่งมีเครือข่ายล�ำน�้ำยังเชื่อมโยง
ไปยังลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา จึงท�ำหน้าที่เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างเมืองต่างๆ นอกจากนี้ แถบเมือง
นครศรีธรรมราชยังมีพื้นที่ราบกว้างขวางและอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การท�ำนา จึงมีชุมชนเก่าแก่ตั้งถิ่นฐาน
อยู่มาก อีกทั้งท�ำเลที่ตั้งของเมืองยังมีความสัมพันธ์กับช่องเขา ซึ่งเป็นเส้นทางส�ำคัญที่เชื่อมต่อระหว่าง
พื้นที่ทั้งสองฝั่งคาบสมุทรเข้าหากัน ด้วยสภาพภูมิประเทศดังกล่าวท�ำให้นครศรีธรรมราชมีความเจริญ
รุ่งเรือง จนสามารถพัฒนาขึ้นสู่เมืองระดับรัฐได้ในที่สุด
Nakhon Si Thammarat is on the east peninsular, not too far from the Thai Gulf, where sand
berms with coastal terrace have been formedalong the coast from Surat Thani to Sating Phra, Songkhla.
The east of the town is the gulf which the Pak Panang River runs to. The branch of the river
also relates to Songkhla Lake Basin, hence itseems like the route to connect other towns. The large
plateaus are also found in Nakhon Si Thammarat, so they are ideal for rice fields and communities.
The locations of Nakhon Si Thammarat still relates to the pass in the mountain which connects
both sides of the penin-sular. These are also the reasons why Nakhon Si Thammarat has been
prosperous and became one state.

ผังเมืองนครศรีธรรมราชโบราณ
Ancient City Plan of Nakhon Si Thammarat

เมืองนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน มี ะ
การตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๕ ดัง รดอนพร ra
เมื อ ง นaคk h o n D o n P h
N
หลักฐานที่ “แหล่งโบราณคดีท่าเรือ” ซึ่งเป็น Muang
ชุมชนท่าการค้าขนาดเล็ก ต่อมาขยายตัวมา ะ เวี ย ง
เมื อ ง พhรr a W h ia n g
n g P
ตั้งเมืองอยู่บนสันทรายที่อยู่ด้านเหนือเป็น M u a

เมืองทีมีคูน�้ำคันดิน เรียก “เมืองพระเวียง”


หรือ “เมืองกระหม่อมโคก” ซึ่งมีอายุเก่าแก่ วั ด พระธาตุ น ครศรี ธ รรมราช
ตั้งแต่สมัยศรีวิชัย ต่อมาเมื่อมีการขยายตัว Wat Phrathat Nakhon Si Thammarat

ของชุมชนเมืิองถัดขึ้นมาทางด้านทิศเหนืออีก The settlement in Nakhon Si Thammarat has


ซึ่งก็คือ “เมืองนครศรีธรรมราช” หรือเรียกว่า been evidenced since the 5th Buddhist Era. “Tha
“เมืองนครดอนพระ” ซึ่งมี “พระบรมธาตุ Rua Archaeological Site” is the evidence of old
นครศรีธรรมราช” เป็นศูนย์กลางทางกายภาพ community which then expanded to the north side
และจิตวิญญาณของเมือง และมีการตั้งถิ่นฐาน where there were moats. It was then called “Muang
อย่างต่อเนื่องมาจนกระทั่งปัจจุบัน Phra Wiang” or “Muang Kra Mom Khoke”. An-
other town at the north side is “Muang Nakhon
Si Thammarat” or “Muang Nakhon Don Phra” with
“Phra Borom That Nakhon Si Thammarat” as the centre
of the town and people until the present days.
พัฒนาการของผังบริเวณวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช
Development of Layout Plan of Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat

ผังบริเวณระยะที่ ๑ ผังบริเวณระยะที่ ๒
Step 1 Step 2
พ.ศ. ๑๗๑๙ : สถาปนาพระบรมธาตุเจดีย์ และ หลัง พ.ศ. ๑๗๑๙ ถึงก่อน พ.ศ. ๑๙๑๙ : มีการ
สันนิษฐานว่ามีก่อสร้างเจดีย์ราย และวิหาร สร้างโพธิมณเฑียร, วิหารธรรมศาลาในลักษณะ
หน้าเจดีย์ทางทิศเหนือเพื่อเป็นพื้นที่ส�ำหรับ วิหารโถง และทับเกษตร
การประกอบพิธีกรรมด้วย
During 1719-1376, Bodhi Shrine, preaching
In 1176, the Principle Chetiya, surrounded hall as an open-air pavilion and roof of sur-
Chetiya and north Vihara as an open-air pa- rounded principle Chetiya were constructed.
vilion were constructed.

ผังบริเวณระยะที่ ๓ ผังบริเวณระยะที่ ๔
Step 3 Step 4
พ.ศ. ๑๙๑๙ สันนิษฐานว่ามีการก่อสร้างวิหาร พ.ศ. ๒๐๓๖ สันนิษฐานว่ามีการบูรณปฏิสงั ขรณ์
มี ผ นั ง แทนวิ ห ารเดิ ม ที่ อ ยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของ วิหารธรรมศาลาให้เป็นวิหารมีผนัง และสร้าง
พระบรมธาตุเจดีย์ ให้ชื่อว่า “วิหารเขียน” ระเบียงคดล้อมรอบผังบริเวณ ท�ำให้ขอบเขต
In 1376, the Northern Vihara with surrounded ของพื้นที่พุทธาวาสชัดเจนมากขึ้น
walls were constructed and named “Painted In 1493, the renovation of the preaching hall
Vihara”. with the surrounded walls and the surround-
ed gallery were initiated.
ผังบริเวณระยะที่ ๕ ผังบริเวณระยะที่ ๖
Step 5 Step 6
หลัง พ.ศ. ๒๐๓๖ ถึงก่อน พ.ศ. ๒๑๗๑ : มี พ.ศ. ๒๑๗๑ : มีการก่อสร้างวิหารหลวงทรงมณฑป
การก่อสร้างวิหารมหาภิเนษกรมณ์ หรือวิหาร In 1628, the principle Vihara was constructed as a
พระทรงม้า เชื่อมที่ท้ายจรณัมวิหารเขียน square with a pyramid roof.
During 2036-2171, there was the construc-
tion of Vihara at the end of Painted Vihara,
named “Mahapinetsakrom Vihara” or “Phra
Song Ma Vihara”, which means Bodhisattava
and his journey to find the truth.

ผังบริเวณระยะที่ ๗ ผังบริเวณระยะที่ ๘
Step 7 Step 8
พ.ศ. ๒๓๕๔ ถึง พ.ศ. ๒๓๘๒ มีการสร้างวิหาร พ.ศ. ๒๔๕๒ ถึง ปัจจุบัน : มีการก่อสร้างซุม้ ประตู
หลังใหม่แทนที่วิหารทรงมณฑปเดิม เป็นพระ เยาวราช, ระเบียงคดทางด้านทิศเหนือ, วิหารพระ
วิหารหลวงดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ศรีธรรมโศกราช, วิหารพระกัจจายนะและเจดีย์
During 1818-1839, the new main Vihara was รายอื่นๆ
constructed to replace the old one with the
present form. During 1909-present, Yaowarat Gate, Northern
gallery, Sridhamasokaraja Vihara, Kajjaiyana Vihara
and small Chetiyas were constructed.
ผังบริเวณวัดพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
Layout Plan of Wat Phra Mahathat Woramahawihan, Nakhon Si Thammarat

8 1 4 5 6

2
9
3
0 5 10 20
10
11

7
1 พระบรมธาตุเจดีย์ 5 โพธิมณเฑียร หรือ วิหารโพธิ์ลังกา 8 วิหารเขียน
Phra Borommathat (Principle Chetiya) Bodhi Monthein or Vihara Bodhi Langka (Bodhi Vihara Khian (Painted Vihara)
Vihara)
2 พระระเบียงทับเกษตร 9 วิหารศรีธรรมโศกราช
Phra Ra Biang Tub Kaset 6 วิหารธรรมศาลา Sri Dhamasokka Raja Vihara
Vihara Dhamasala (Preaching Hall)
3 เจดีย์ราย 10 วิหารพระกัจจายนะ
Surrounded Chetiyas Vihara Phra Kajjaiyana
7 วิหารหลวง
4 วิหารมหาภิเนษกรมณ์ หรือ วิหารพระม้า Vihara Luang (Principle Vihara)
Vihara Mahapinetsakrom or Vihara Phra Ma 11 ระเบียงคต
(the Bodhisattava and his jouney Vihara) Ra Biang Kot (Surrounded Gallery)

1
2 4
5
3
7
6
9
10
11
เจดี ย ์ มุ ม ( Corner Chetiya)

พระระเบี ย งทั บ เกษตร (Phra Ra Biang Tub Kaset)


เจดี ย ์ ร าย ( Surrounded Chetiya
เจดี ย ์ ป ระธาน ( Principle Chetiya)
ลานประทั ก ษิ ณ

ทิ ศ เ
th
Phathaksina Basement

N o r ห นื อ
พระบรมธาตุเจดีย์
Phra Borommathat Chedi (Principle Chetiya)

“พระบรมธาตุเจดีย์” เป็นสถูปขนาดใหญ่ที่แสดงความใกล้ชิดกับพุทธศิลปกรรมลังกา
หากแต่ประดิษฐานบนฐานทักษิณที่ยกสูง และมีบันไดทางขึ้นจากทางด้านทิศเหนือของพระบรม
ธาตุเจดีย์เป็นสถูป ๕ องค์ โดยมีสถูปประธานอยู่ตรงกลาง และมีสถูปมุม ๔ องค์ ส�ำหรับชุดฐาน
มีลักษณะเป็นเสายกเก็จ ซึี่งเป็นรูปแบบส�ำคัญของสถูปแบบศรีวิชัย และมีการเจาะเป็นซุ้มที่มี
ประติมากรรมรูปช้างบนเสาอิงตกแต่งเป็นซุ้มเรือนแก้ว และประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืน
พื้นที่ส่วนนี้มีหลังคาคลุม เรีียกว่า “พระระเบียงทับเกษตร”
“Phra Borommathat” or the principle Chetiya reflects the close relationship
with Lanka in terms of Buddhism art. The Chetiya was located on the base with stairs on
the north side. There are five stupas in the plan comprising the main Chetiya at the centre
with the other four Chetiyas at the four corners. The base with decoration at the columns
is the main aspect of Srivijaya stupa, with compartment decorated with pieces of elephant
sculpture. The end of the columnsis decorated with compartment for standing Buddha
image. The roof covers this area and it is called “Phra Ra Biang Tub Kaset”.

เสาหาน
Supporting Columns

“เสาหาน” ท�ำหน้าที่ช่วยรับน�้ำหนัก “ปล้องไฉน” ขององค์พระเจดีย์ สันนิษฐานว่า


เป็นองค์ประกอบที่สร้างขึ้นใหม่เมื่อคราวปฏิสังขรณ์ใหญ่ในสมัยอยุธยา บนเสาหานตกแต่งด้วย
ประติมากรรมปูนปั้นรูปพระสาวกหันหน้าเวียนประทักษิณโดยรอบ ส่วนใต้ของปล้องไฉนตกแต่ง
ด้วยลายลูกไม้หล่อโลหะรูปหงส์เดินเป็นแถว
The columns are to bear the weight of the upper part of spherical pagoda. These were
reconstructed during the renovation in Ayudhya period. The column was decorated and
surrounded by Buddha images. The lower part of spherical pagoda was decorated by
metal swans.

ปล้ อ งไฉน

เหล็ ก หล่ อ รู ป หงส์


ก้ า นฉั ต ร
เสาหาน
พระระเบียงทับเกษตร
Phra Ra Biang Tub Kaset

“พระระเบียงทับเกษตร” เรียกในภาษาถิ่นใต้ว่า “พระระเบียง


ตีนธาตุ” เป็นพื้นที่ล้อมรอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งมีการสร้างหลังคา
ลาดคลุมลงมา เพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอยส�ำหรับสักการะบูชาพระพุทธรูป
ประทั บ ยื น ที่ ป ระดิ ษ ฐานในซุ ้ ม เรื อ นแก้ ว ที่ ต กแต่ ง อยู ่ บ นเสาอิ ง
ของฐานพระบรมธาตุเจดีย์
“Phra Ra Biang Tub Kaset” surrounds the principle Chetiya.
The locals call this as “Phra Ra Biang Teen That” which means the
gallery at the base.This area is covered by roof top and is prepared
for people to pay respect to the standing Buddha image at the com-
partment which decorates the columnat the base of the Chetiya.

พระพุทธรูปประทับยืน ( Standing Buddha Image )

ประติ ม ากรรมรู ป ช้ า ง
Elephant Sculpture
วิหารเขียน
Khian Vihara (Painted Vihara)
“วิหารเขียน” เป็นวิหารขนาด ๕ ห้องเสา มีรูปทรงหลังคาแบบทอดเดียว ไม่มีมุขลด
ท�ำหน้าที่เป็นวิหารหน้าองค์พระบรมธาตุเจดีย์ทางด้านทิศเหนือ ซึ่งแต่เดิมน่าจะถูกสร้างขึ้นพร้อมกับ
องค์พระบรมธาตุเพื่อใช้เป็นพื้นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และอาจเคยเป็นอาคารโถงไม่มีผนัง
มาก่อน ต่อมาภายหลังมีการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ และคงได้สร้างเป็นวิหารที่มีฝาผนังล้อมรอบ และ
สามารถเขียนภาพจิตรกรรมได้ จึงได้ชื่อว่า “วิหารเขียน” แต่ภาพจิตรกรรมดังกล่าวได้เสื่อมสภาพลง
เมื่อมีการบูรณปฏิสังขรณ์อาคารต่อมาในชั้นหลังจึงทาสีขาวแทน
“Viraha Khian” is a construction with five bays and roof. This is the Vihara infront of
the Chetiya on the north side, and was originally constructed at the same time as the principle
Chetiya. The purpose of this was for ritual and was believedto be the hall without walls. The
walls were built later then came the mural painting. That is why it was called “Vihara Khian”
(which means draw or paint). However, the mural painting has become deteriorated then the
walls were painted in white during the renovation.
พระประธานในวิหารเขียน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย
มีการตกแต่งแบบโบราณ คือ มีการลงรักปิดทองเฉพาะพระวรกาย
และทาชาดสีแดงในส่วนของจีวร นอกจากนี้พระเกศมาลาที่อยู่บน
อุษณีษะเหนือเศียรขึ้นไปยังสะท้อนถึงอิทธิพลของพระพุทธศิลป์
ของพระพุทธรูปแบบลังกา
The Subduing Mara Buddha image was the principle
Buddha image in ancient style, covered with gold leaves and
red robe caused by cinnabar. The top of the head reflects the
influence of Buddhism art from Lanka.

วิ ห ารพระทรงม้ า
(Phra song ma Vuhara)
วิ ห ารเขี ย น (Khian Vihara)

ทิ ศ
N o r เ ห นื อ
th
วิหารพระทรงม้า
Vihara Phra Song Ma or Vihara Maha Pinetsakrama (the Bodhisattava and his jouney Vihara)

“วิหารพระทรงม้า” หรือ “วิหารมหาภิเนษกรมณ์” เป็นส่วนที่อยู่ต่อท้ายจากวิหารเขียน


เพื่อเชื่อมเข้ากับบันไดทางขึ้นลานประทักษิณให้มีหลังคาคลุมเพื่อกันแดดกันฝน เนื่องจากวิหารส่วนนี้
ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นพร้อมกับวิหารเขียน จึงปรากฏร่องรอยของฐานยกเก็จขององค์พระธาตุเจดีย์ที่กลาย
เป็นผนังด้านหลังวิหารพระทรงม้า นอกจากนี้ มีการก่อผนังสูงขนาบกับบันไดเพื่อรองรับโครงสร้าง
หลังคา และมีการตกแต่งปั้นปูนแสดงเหตุการณ์ในพุทธประวัติตอนที่พระบรมโพธิสัตว์ หรือเจ้าชาย
สิทธิธัตถะเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ จึงเรียกวิหารที่ต่อเชื่อมมาจากท้ายจรณัมของวิหารเขียนส่วนนี้
ว่า “วิหารพระทรงม้า” หรือ “วิหารมหาภิเนษกรมณ์”
“Vihara Phra Song Ma” or “Vihara Maha Pinetsakrama” is next to “Vihara Khian” and
connects the upper base with stairs, as well as roof top to prevent the rain. This Vihara was not
built at the same time as “Vihara Khian”, so the evidence of the base of the Chetiya still exists. The
walls are tobear the weight of the roof structure. The stucco as decoration is aboutthe Lord Buddha
when ridingthe horse to leave his thrown for ordination. Hence this Vihara was called “Vihara Phra
Song Ma” which means riding horse.

พระมหาภิเนษกรมณ์
Maha Pinetsakrama (the Bodhisattava and his jouney)
พระพรหม-พระนารายณ์ ท้าวขัตตุคาม ท้าวรามเทพ ปูนปั้นรูปสัตว์หิมพานต์ในฐานะทวารบาล
Bhama and Wissanu God Khattukam and Rammathep Mystical animals as the guards of the Chetiya

พระพุทธรูปยืน และพระสาวก
Standing Buddha image and
a couple of disciples

ท้าววิรุฬปักษ์-ท้าววิรุฬหก พระพุทธรูปในซุ้มจรณัม ท้าวเวฬุราช-ท้าวเวชสุ ว รรณ นาค ๕ เศียร (ท้าวทตรฐมหาราช)


the guardians Buddha Image Thao Veru Raja and Thao Five-Head Naga which used to
Veja Suwarn be balustrade to the Chetiya
โพธิมณเฑียร หรือ วิหารโพธิลังกา
“Bodhi Monthien” or “Vihara Bodhi Langka” (Bodhi Shrine)

“โพธิมณเฑียร” หมายถึง “วิหารต้นโพธิ์” เป็นพุทธสถาปัตยกรรมรูปแบบหนึ่งที่มีความ


นิยมในลังกา โดยมีการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ไว้ตรงกลางอาคารเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนการตรัสรู้
ของพระพุทธเจ้า อันเป็นคติความเชื่อที่ลังการับสืบทอดมาจากอินเดีย พร้อมกับน�ำหน่อของต้นพระศรี
มหาโพธิ์ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ที่พุทธคยามาปลูกไว้ที่ลังกาด้วย ครั้นเมื่อต้นโพธิ์ที่พุทธคยามีเหตุที่
ต้องสิ้นอายุขัยลง จึงถือกันว่าต้นโพธิ์ที่ลังกาได้สืบทอดมานั้น เป็นหน่อต้นโพธิ์ที่พระพุทธองค์ได้ตรัสรู้
จากการศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และเอกสารโบราณ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น
หลัง พ.ศ.๑๗๑๙ แต่กอ่ น พ.ศ.๑๙๑๙ พร้อมๆกับวิหารธรรมศาลา และทับเกษตรส�ำหรับลักษณะทาง
สถาปัตยกรรมในปัจจุบันเป็นอาคารล้อมรอบลานโล่งซึ่งยกพื้นสูงขึ้นส�ำหรับปลูกต้นโพธิ์ ระเบียงทาง
ด้านตะวันตกประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ในปัจจุบันใช้เป็นส่วนจัดแสดงศิลปวัตถุมีค่าของวัด
“Bodhi Monthien” or “Vihara Bodhi Langka” is Buddhism architecture which is
generally found in Lanka. Bodhi tree is planted at the centre of the building as the symbol
of the Lord Buddha’s enlightenment. This belief was from India. The sprout of Bodhi tree
from Bodh Gaya was taken and planted in Lanka. It also played very important role when
Bodhi tree in Bodh Gaya died.
From the study about architectural history and ancient documents, it was
found that this was constructed during 1176-1376 along with “Vihara Dhamma Sala”
and “Tub Kaset”. At present, it surrounds the open space which is prepared for Bodhi
tree. At the west side located the reclining Buddha image. This building is the
temple’s museum at the moment.

ทิ ศ เ โพธิ ม ณเฑี ย รมุ ม ด้ า นตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ


N o r ห นื อ Vihara Bodhi Lagka from North-West
th
พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย
Subduing Mara Buddha images

ลานโพธิ์
Bodhi Vihara Courtyard

ระเบี ย ง
Gallery

พื้ น ที่ ต รงกลางโพธิ ม ณเฑี ย ร


Vihara Bodhi Langka Courtyard

พระพุทธรูปปางไสยาสน์
Reclining Buddha image

พระพุทธรูปปางไสยาสน์ประดิษฐานบริเวณระเบียงทางทิศตะวันตก มีความยาวประมาณ ๑๒ เมตร


The 12-metre reclining Buddha image is located at the west side of the gallery
วิหารธรรมศาลา และระเบียงคต
Vihara Dhamma Sala and Ra Biang Kot (Surrounding Gallery)

“วิหารธรรมศาลา” จากการศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และเอกสารโบราณ


สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นครั้งแรกในราว พ.ศ. ๑๙๑๙ เป็นลักษณะของวิหารโถงเพื่อท�ำหน้าที่เป็นวิหาร
ทิศตะวันออกของผังบริเวณ และท�ำหน้าที่เป็นศาลาอเนกประสงค์ และการเทศนาธรรม ต่อมาคงมี
การสร้างผนังล้อมรอบในภายหลังซึ่งสันนิษฐานว่าคงท�ำขึ้นในราวปีพ.ศ. ๒๐๓๖ เป็นอย่างช้า พร้อม
กับการสร้างระเบียงคต บริเวณด้านหน้าของอาคารเป็นมุขโถงประดิษฐาน “พระพุทธรูปฉลอง
พระองค์เจ้าชายทนทกุมาร” เป็นพระพุทธรูปทรงเครือ่ งประทับยืน และห้องท้ายของอาคาร ซึง่ ปัจจุบนั
ถูกก่อกั้นเป็นห้องปิด ประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครื่องประทับยืนขนาดย่อมกว่าเล็กน้อยคือ “พระ
พุทธรูปฉลองพระองค์เจ้าหญิงเหมชลา” ตามต�ำนานการประดิษฐานพระบรมธาตนครศรีธรรมราช
From the study about architectural history and ancient documents, it was found that
“Vihara Dhamma Sala” was constructed in 1376. It is the hallon the east side of the plan,
aimed for miscellaneous purposes and preaching. The wall might have been constructed
in 1493 along with the gallery. The front of the construction was the hall for standing Buddha
image of Prince Donda Kumara. The room at the end was for the smaller Buddhaimage of
Princess Hema Chala. These Buddha images were based on the legendabout locating Phra Borom
That Nakhon Si Thammarat.
“ระเบียงคต”จากการศึกษาประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรม
และเอกสารโบราณ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในราว พ.ศ. ๒๐๓๖
เป็นอาคารที่อยู่ล้อมรอบผังท�ำให้เกิดการก�ำหนดพื้นที่ออกเป็น
สัดส่วน เกิดเป็นพื้นที่ปิดล้อมอันศักดิ์สิทธิ์ในเชิงสัญลักษณ์และ
เพื่อความปลอดภัย ซึ่งรูปแบบการวางผังดังกล่าว เป็นแบบแผน
ที่นิยมสร้างในสมัยอยุธยา โดยมีก�ำแพงทึบทางด้านนอก และเปิด
เป็นโถงด้านในสู่พื้นที่ภายใน และประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้น
ประจ�ำทุกห้องเสา นอกจากนี้ ระเบียงคตทางทิศตะวันออกตรง
ต�ำแหน่งที่บรรจบกับห้องสุดท้ายของวิหารธรรมศาลาซึ่งเป็น
ลักษณะส�ำคัญในการออกแบบระเบียงคตในสมัยอยุธยา
From the study about architectural history and an-
cient documents, it was found that the gallery was construct-
ed in 1493. The structure brought about the area which was
separated into parts for security purpose. Moreover, such area
has been considered sacred. This kind of plan was popular in
Ayudhya period. The blank walls lead to the hall inside., with
Buddha image at every bay. In addition, the east side of the
gallery leads to the last room of “Vihara Dhamma Sala”, and
this is the important characteristic of gallery in Ayudhya period.
3

ภาพตั ด ขวางที่ 11
Section No. 1

ภาพตั ด ขวางที่ 22
Section No. 2

“พระพุ ท ธรู ป เจ้ า ชายพระทนทกุ ม าร” ภาพตั ด ขวางที่ 33


Section No. 3
Prince DonDa Kumara’s Buddha Image
พระวิหารหลวง
“Phra Vihara Luang” (Principle Vihara)

“พระวิหารหลวง” ตั้งอยู่ทางทิศใต้ขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ แต่ว่าอยู่นอกวงล้อมของ


ระเบียงคด จากการศึกษาทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และเอกสารโบราณ พบว่าสร้างในราว
พ.ศ. ๒๑๗๑ ซึ่งตรงกับรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พระมหากษัตริย์อยุธยา โดยมีการก่อสร้าง
วิหารหลวงทรงมณฑปและมีพระเจดีย์สูง ๗ วา และมีการประดิษฐานพระพุทธรูปอยู่รายรอบรวม
๓๖ องค์ ต่อมาวิหารยอดมณฑปนี้คงได้ทรุดโทรมลง จนกระทั่งราว พ.ศ. ๒๓๕๔ ถึง พ.ศ. ๒๓๘๒
ในสมัยเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ได้ปฏิสังขรณ์ใหม่ดังมีรูปทรงที่เห็นในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะ
ส�ำคัญ คือ หน้าบันด้านหน้าและด้านหลังเป็นหน้าจั่วแบบที่เรียกว่า “มุขประเจิด” ซึ่งเป็นแบบแผน
ทางสถาปัตยกรรมที่นิยมสร้างกันอย่างแพร่หลายในสมัยอยุธยา อาคารหลังนี้จึงมีคุณค่าในแง่ของการ
สืบทอดรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์จากสมัยอยุธยามาก่อสร้าง แม้ว่าราชธานีอยุธยา
จะสิ้นสุดบทบาทไปแล้วก็ตาม
“Phra Vihara Luang” is at the south of the Chetiya, but outside the gallery. From the
study about architectural history and ancient documents, it was found that this was constructed
in 1628, the reign of King Songdham of Ayudhya period. The main Vihara was decorated with
Mandapa style on top, along with 14-metre Chetiya, with surrounding 36 Buddha iamges.
The governor of Nakhon Si Thammarat renovated it in 1811-1839 with the form which has been
existing until the present days. The spectacular aspect of this construction is the protruding
gable at the front and the back. This characteristic was found a lot in Ayudhya period.
This reflects relationship with Ayudhya in terms of architecture.

พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช
(Phra Sri Sakaya Munee Sri Thammarat)
พระเจดี ย ์ สู ง ๗ วา
14-metre Chetiya

พระพุ ท ธรู ป ๓๖ องค์


36 Buddha images
พระวิหารหลวงทรงมณฑป
Phra Vihara Luang in Mandapa Style

มุ ข ประเจิ ด
Protruding gable

พระวิหารหลวงปัจจุบัน
Phra Vihara Luang at present
หน้ า บั น ด้ า นหน้ า รู ป พระอิ น ทร์ ท รงช้ า งเอราวั ณ
Indra God and Erawan elephant at the front pediment

รู ป ตั ด ยาว
Side Section
มรดกพุทธศิลปะสถาปัตยกรรม
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช
The Buddhism Architectural Heritage of Wat Phra Mahathat Woramahawihan,
Nakhon Si Thammarat

ที่ปรึกษา: ผศ. ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์


เรียบเรียง: อิสรชัย บูรณะอรรจน์, ดร. นันทวรรณ ม่วงใหญ่
บรรณาธิการ: ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ
จัดพิมพ์เผยแพร่:
สภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช
ส�ำรวจรังวัด: ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ, อิสรชัย บูรณะอรรจน์,
วิสา เสกธีระ, ยศพร ปุณวัฒนา, ปัทม์ วงศ์ประดิษฐ์,
พิชภัทร เสือหัน, กุลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา,
วิษณุ หอมนาน, เลอศักดิ์ ยอดระบ�ำ, นราธิป คงเอียด,
ภูมิรพี ทองสวัสดิ์, ศิริชัย โภชนกิจ, ณัฐพล แซ่ฮวง
แบบสถาปัตยกรรม ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ, อิสรชัย บูรณะอรรจน์,
และคอมพิวเตอร์ จักรภพ เสาเวียง, จันเพ็ง ถ้อ, อนุรักษ์ ช�ำนาญช่าง,
สามมิติ: ธีรยุทธ์ สุวลักษณ์, สมชาย เชื้อช่วยชู, อรวรรณ ณวัชร
เจริญ, ณัชชา สกุลงาม, ธนกฤต ธัญญากรณ์, สุรพงษ์
แจ่มนิยม
ออกแบบรูปเล่ม: อิสรชัย บูรณะอรรจน์
จ�ำนวนพิมพ์: ๒,๐๐๐ เล่ม
ส�ำนักพิมพ์: อุษาคเนย์

โครงการวิ จั ย แผนยุ ท ธศาสตร์ ขั บ เคลื่ อ นประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย ว


ของภู มิ ภ าคด้ ว ยการจั ด การท่ อ งเที่ ย วแหล่ ง มรดกโลกในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้
ภาคพืน้ ทวีป (Driven Strategic Plan for Thailand as a Hub of Tourism by Managing
the World Heritage in the Main Land of Southeast Asia)
สนับสนุนทุนวิจัยโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร และส�ำนักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ในความร่วมมือ
ชุ ด โครงการวิ จั ย : “แผนยุ ท ธศาสตร์ ขั บ เคลื่ อ นประเทศไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย วของภู มิ ภ าคด้ ว ยการจั ด การท่ อ งเที่ ย วแหล่ ง มรดกโลก
ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ภ าคพื้ น ทวี ป ” สนั บ สนุ น โดย สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา, คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร และ
ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ
และ
สภาวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช

You might also like