You are on page 1of 100

คู‹มือท‹องเที่ยว

อุทยานแห‹งชาติแก‹งกระจาน
คู‹มือท‹องเที่ยวอุทยานแห‹งชาติ ลำดับที่ 28
อุทยานแห‹งชาติแก‹งกระจาน
จังหวัดเพชรบุร� และประจวบคีร�ขันธ
พิมพ : พ.ศ. 2555 จำนวน 5,000 เลม
ที่ปรึกษา : ดำรงค พิเดช
เริงชัย ประยูรเวช
อำนวยการ : วิทยา หงษเวียงจันทร
บรรณาธิการ : วสา สุทธิพิบูลย
เนื้อหา : นิภาพร ไพศาล
วสา สุทธิพิบูลย
รูปเลม : นิภาพร ไพศาล
วสา สุทธิพิบูลย
จัดทำโดย : สวนนันทนาการและสื่อความหมาย
สำนักอุทยานแหงชาติ
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
ISBN : 978-974-286-976-2
ออกแบบ : บริษัท ณัฏฐานที จำกัด
จัดพิมพ : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด
“อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน” ดินแดน
แห่งความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าดงดิบชื้นและ
เป็นผืนป่าใหญ่ที่สุดของประเทศไทยที่มีความ
กว้างกว่า 2,914.70 ตร.กม. นั่นทำ�ให้มีส่วนของ
ผื น ป่ า ดงดิ บ ที่ ม นุ ษ ย์ ยั ง ไม่ เข้ า ไปรบกวนอี ก
มากมาย ทำ � ให้ เ หล่ า สรรพชี วิ ต ได้ มี โ อกาส
ดำ�รงชีวิตและสืบทอดเผ่าพันธุ์อย่างมีความสุข
รวมถึงยังมีพนื้ ทีบ่ างส่วนทีเ่ ปิดให้เข้าไปท่องเทีย่ ว
และศึกษาธรรมชาติ
หากโชคดี โ อกาสอำ � นวยและตรงฤดู ก าล
ก็ ส ามารถพบกั บ ความงดงามของผื น ป่ า ได้
โดยเฉพาะอย่างยิง่ คนทีร่ กั นก ผีเสือ้ และพืชดอก
น่ารักๆ ไม่ควรพลาดเลยจริงๆ แล้วคุณจะรู้ว่า
อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจานมี อ ะไรมากมาย
เกินกว่าจะคาดคิด
2 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
สารบัญ
ทำ�ความรู้จัก...อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 8
สภาพภูมิประเทศ 10
ทรัพยากรธรรมชาติ 12
เขตการใช้ประโยชน์ 30
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 32
กิจกรรมที่น่าสนใจ 54
ปฏิทินท่องเที่ยว และโปรแกรมท่องเที่ยว 82

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 3
แก่งกระจาน
แก่งกระจาน คือ ชื่อของแก่งตอนหนึ่งในแม่น�้ำเพชรบุรี ค�ำว่า กระจาน แท้จริงหมายถึง
เครือ่ งมือตกปลาชนิดหนึง่ ของชาวกะหร่าง ซึง่ อาศัยอยูร่ มิ ฝัง่ ล�ำน�ำ้ เพชรบุรมี าเนิน่ นาน โดยใช้ชวี ติ ตกปลา
ด้วยกระจานอยู่ ในบริเวณพื้นที่แห่งนี้ จนเรียกกันติดปากว่า แก่งกระจาน มาโดยตลอด

4 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ผืนป่าฝนเขตร้อนของประเทศไทย นับได้ว่ามีความอุดมสมบูรณ์ยิ่งนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใน
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ซึง่ เป็นอุทยานแห่งชาติทมี่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ของประเทศไทย ซึง่ ตัง้ อยูบ่ น
เทือกเขาตะนาวศรี นอกเหนือจากจะเป็นต้นน�้ำล�ำธารที่ส�ำคัญแล้ว ยังเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษา
ธรรมชาติ ท่องเทีย่ วพักผ่อนหย่อนใจ ซึง่ เป็นเสมือนการเปิดประสบการณ์ตา่ งๆ ให้กบั ชีวติ ได้เป็นอย่าง
ดี เพราะธรรมชาติและผืนป่ามีอะไรมากมายให้ท่านได้ท�ำความเข้าใจ
จากภูมปิ ระเทศทีผ่ สมผสานกันอย่างลงตัวระหว่างทิวเขาและผืนป่าอันเขียวขจี กับผืนน�ำ้ อันกว้าง
ใหญ่ของเขือ่ นแก่งกระจาน และสภาพอากาศทีอ่ บอวลไปด้วยกลิน่ ของธรรมชาติ ดอกไม้ผลิบานอย่าง
งดงาม แมลงมากมายบินอย่างเสรี นกนานาชนิดสร้างรังอบอุน่ ในผืนป่า และสรรพชีวติ พึง่ พากันอย่าง
ลงตัว ท�ำให้ทนี่ เี่ ป็นจุดหมายปลายทางของคนรักธรรมชาติอย่างแท้จริง ทัง้ ยังเป็นดินแดนทีอ่ ดุ มสมบูรณ์
ไปด้วยความหลากหลายทางชีวภาพแห่งหนึ่งของประเทศไทย
การท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ หลายคนอาจยังไม่ทราบถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการก่อตั้ง
ซึ่งในการที่จะก่อตั้งอุทยานแห่งชาตินั้นมีหลายปัจจัยที่ควรจะค�ำนึงถึง อาทิ พื้นที่ดังกล่าวเหมาะสมที่
จะได้รับการคุ้มครอง เนื่องจากเป็นบริเวณพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยทรัพยากรที่โดดเด่น และหา
ได้ยากในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ อันได้แก่ พืชพรรณ สัตว์ปา่ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ สิง่ ทีน่ า่ สนใจทางประวัตศิ าสตร์
ศิลปวัฒนธรรม มิให้เสื่อมสภาพลงไป จึงต้องได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายโดยเฉพาะ และมี
เจ้าหน้าที่ดูแล บริหารจัดการอย่างเพียงพอ เพื่อให้เป็นสถานที่ส�ำหรับการศึกษาธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของผู้ที่สนใจทุกเพศ ทุกวัย เนื่องจากอุทยานแห่งชาตินั้นเปรียบเสมือนห้องเรียนอันกว้าง
ใหญ่ สามารถศึกษาค้นคว้าได้อย่างไม่สิ้นสุด รวมทั้งอุทยานแห่งชาติยังมีบริการในด้านการศึกษา เช่น
การบรรยาย จัดท�ำเอกสารเพือ่ การเผยแพร่ นิทรรศการเพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับพืน้ ป่า และทีส่ �ำคัญสร้าง
ขึ้นเพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชนทั่วไป ด้วยทัศนียภาพที่สวยงาม พร้อมทั้งกิจกรรม
มากมายส�ำหรับคนทีห่ ลงใหลในธรรมชาติ การตัง้ แคมป์พกั แรม ดูนก ถ่ายรูป ดูผเี สือ้ และเดินป่า รวมถึง
สถานทีพ่ กั แรม ร้านอาหาร และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติจดั ขึน้ เพือ่ บริการผูม้ าท่องเทีย่ ว
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพนื้ ทีค่ รอบคลุมท้องทีอ่ �ำเภอหนองหญ้าปล้อง อ�ำเภอแก่งกระจาน
จังหวัดเพชรบุรี และอ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ด้วยขนาดของอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่ถึง
2,914.70 ตารางกิโลเมตร และถือว่าเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย มีสภาพ
ป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ เป็นป่าต้นน�ำ้ ทีส่ �ำคัญของแม่นำ�้ เพชรบุรแี ละแม่นำ�้ ปราณบุรี อีกทัง้ ยังมีลกั ษณะเด่น
ทางธรรมชาติมากมาย เช่น อ่างเก็บน�้ำ น�้ำตก ถ�้ำ หน้าผาที่งดงาม และมีกิจกรรมต่างๆ มากมายให้ได้
ซึมซับบรรยากาศที่อัศจรรย์เคียงข้างธรรมชาติอย่างลงตัว

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 5
แผนที่แสดงตำแหน‹งที่ตั้งอุทยานแห‹‹งชาติแก‹งกระจาน
สุพรรณบุร� พระนครศร�อยุธยา
กาญจนบุร� ปทุมธานี นครนายก
นครปฐม อ‹างทอง
กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา
ราชบุร� สมุทรสาคร สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
ชลบุร�
เพชรบุร�
อุทยานแห‹งชาติแก‹งกระจาน ระยอง

ประจวบคีร�ขันธ
สาธารณรัฐแห‹ง
สหภาพเมียนมาร

อ‹าวไทย
ชุมพร

N
ทะเลอันดามัน

ระนอง

สุราษฎรธานี

6 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 7
ทำ�ความรู้จัก...
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ลักลอบตัดไม้ ถางป่า หรือท�ำไร่ในป่าของต้นน�้ำ
เสด็จแปรพระราชฐานที่พระราชวังไกลกังวล แม่นำ�้ เพชรบุรี เพราะจะท�ำให้เกิดปัญหาแห้งแล้ง
อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเสด็จ แม้จะได้มีการสัมปทานป่าแปลงนี้ไปบ้างแล้ว
พระราชด�ำเนินไปยังเขื่อนแก่งกระจาน ได้รับสั่ง ก็ขอให้เจ้าหน้าที่ตรวจดูแลการท�ำไม้ อย่าให้
ให้นายถนอม เปรมรัศมี อธิบดีกรมป่าไม้เข้าเฝ้า เป็นการท�ำลายป่าเกิดขึ้น” จากพระราชด�ำรัส
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2522 ได้มีกระแส ดังกล่าวประกอบกับนโยบายของรัฐบาลตาม
พระราชด�ำรัสว่า “เรือ่ งป่าต้นนำ�้ ล�ำธารของแม่นำ�้ มติคณะรัฐมนตรี ที่ให้รักษาพื้นที่ป่าไว้โดยการ
เพชรบุรี ขอให้เจ้าหน้าที่ดูแลรักษาอย่าให้มีการ ประกาศให้เป็นเขตอุทยานแห่งชาติ

8 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
การส�ำรวจหาข้อมูลเบื้องต้นบริเวณพื้นที่ ส�ำรวจ ที่ กส 0713(กจ) /78 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม
ป่ า ต้ น น�้ ำ ล�ำธารแม่ น�้ ำ เพชรบุ รี เ หนื อ เขื่ อ น 2526 เห็ น ควรให้ ข ยายเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ
แก่งกระจานพบว่า ป่าดังกล่าวเป็นป่าต้นน�้ำ แก่งกระจานออกไปครอบคลุมพืน้ ทีด่ งั กล่าว โดย
ล�ำธารของแม่น�้ำเพชรบุรีและแม่น�้ำปราณบุรี ได้มีพระราชกฤษฎีกาขยายเขตอุทยานแห่งชาติ
มี ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศเป็ น ภู เขาสลั บ ซั บ ซ้ อ น ป่ายางน�้ำกลัดเหนือ และป่ายางน�้ำกลัดใต้ ใน
สภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ พันธุไ์ ม้ที่มีค่านานาชนิด ท้องทีต่ �ำบลแก่งกระจาน ต�ำบลสองพีน่ อ้ ง ต�ำบล
อีกทัง้ ยังเป็นแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ปา่ มากมาย กลัดหลวง อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และ
และมีทิวทัศน์ที่สวยงาม ประกอบด้วยน�้ำตก ถ�้ำ ต�ำบลหนองพลั บ อ�ำเภอหั ว หิ น จั ง หวั ด
หน้าผา อ่างเก็บน�้ำ เหมาะสมที่จัดตั้งให้เป็น ประจวบคีรีขันธ์ ครอบคลุมเนื้อที่ 437 ตร.กม.
อุทยานแห่งชาติ เพื่อเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 101
และศึกษาความรู้ด้านต่างๆ ทั้งเป็นการรักษา ตอนที่ 194 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2527 รวมเนือ้ ที่
สภาพป่าให้คงอยู่เป็นสมบัติของชาติถาวรสืบไป 2,915 ตร.กม.
ดั ง พระราชประสงค์ ข องพระบาทสมเด็ จ ในเวลาต่อมากองบัญชาการทหารสูงสุด และ
พระเจ้าอยู่หัว และได้รับการประกาศให้เป็น จังหวัดเพชรบุรี ได้ขอเพิกถอนพื้นที่เพื่อสร้าง
อุทยานแห่งชาติเมือ่ วันที่ 12 มิถนุ ายน 2524 นับ อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่เพรียง เนือ้ ที่ 28 ไร่ 2 งาน และ
เป็นอุทยานแห่งชาติล�ำดับที่ 28 ของประเทศไทย อ่างเก็บน�้ำห้วยป่าแดง เนื้อที่ 158 ไร่ 2 งาน 64
ต่อมาคณะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ของ ตารางวา ซึ่ ง ได้ มี พ ระราชกฤษฎี ก าเพิ ก ถอน
อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ได้มหี นังสือ อุทยานแห่งชาติป่ายางน�้ำกลัดเหนือ และป่า
ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2525 ถึงรัฐมนตรีว่าการ ยางน�ำ้ กลัดใต้ บางส่วนในท้องทีต่ �ำบลห้วยแม่เพรียง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอให้อนุรักษ์ป่า และต�ำบลป่าเต็ง อ�ำเภอแก่งกระจาน จังหวัด
ห้วยแร่ห้วยไคร้ ต�ำบลหนองพลับ อ�ำเภอหัวหิน เพชรบุรี เนื้อที่ 0.30 ตร.กม. โดยประกาศไว้ใน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ด้วย และจากการส�ำรวจ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 64 ก ลงวัน
เบื้องต้นพบว่า ในบริเวณดังกล่าวมีสภาพป่า ที่ 24 กันยายน 2541 ท�ำให้ในปัจจุบันอุทยาน
สมบู ร ณ์ ดี มี ทิ ว ทั ศ น์ ส วยงาม มี ธ รรมชาติ ที่ แห่งชาติแก่งกระจานคงเหลือพื้นที่ 2,914.70
สวยงาม โดยมีอาณาเขตติดต่อกับเขตอุทยาน ตร.กม.
แห่งชาติแก่งกระจาน ตามหนังสือรายงานผลการ

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 9
สภาพภูมิประเทศ
ป่าแก่งกระจาน คือ ส่วนหนึ่งของผืนป่า เทือกเขาหินแกรนิต บางแห่งเป็นเขาหินปูนบ้าง
ตะวันตกตอนปลายของเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่ง และในหลายแห่งยังอุดมไปด้วยแร่ฟลูออไรด์อีก
ทอดตัวตามแนวเหนือ-ใต้ เป็นพรมแดนฟาก ด้วย ท่ามกลางแนวขุนเขาที่สลับซับซ้อนนี่เองที่
ตะวั น ตกของประเทศที่ กั้ น ระหว่ า งไทยกั บ เป็นดั่งปราการดักให้เมฆฝนน�ำพาความชุ่มชื้น
เมียนมาร์ โดยมียอดเขางะงันนิกยวกตองเป็น มายังผืนป่าแก่งกระจานตลอดทั้งปี ผืนป่าแห่งนี้
ยอดเขาสูงสุด มีความสูงประมาณ 1,513 เมตร จึงเป็นต้นก�ำเนิดของแม่นำ�้ สายส�ำคัญอย่างแม่นำ�้
จากระดับน�้ำทะเล ยอดเขาพะเนินทุ่งมีความสูง เพชรบุรแี ละแม่นำ�้ ปราณบุรี ซึง่ เรารูจ้ กั กันในนาม
ประมาณ 1,207 เมตรจากระดับน�้ำทะเล พื้นที่ ของ “ป่าต้นน�้ำเพชร”
สูงโดยเฉลี่ยประมาณ 500 เมตร ส่วนใหญ่เป็น

10 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
น�้ำเพชร สายน�้ำศักดิ์สิทธิ์จาก สายน�้ำจากเขาพะเนินทุ่ง จะไหลผ่าน
ขุนเขาตะวันตก ล�ำห้วยแม่ประโดน ห้วยบางกลอย ห้วย
แม่นำ�้ เพชรบุรี เป็นแม่นำ�้ สายสัน้ อันมีตน้ ก�ำเนิด แม่สะเลียง ห้วยแม่ประจัน ห้วยผาก และไหล
จากเทือกเขาตะนาวศรี ในเขตจังหวัดเพชรบุรี แม่นำ�้ ลงสู่แม่น�้ำเพชรบุรี ผ่านเขื่อนแก่งกระจาน
สายส�ำคัญทีม่ ตี น้ น�ำ้ และปลายน�ำ้ อยู่ ในจังหวัดเดียวกัน ก่อนที่จะลงสู่อ่าวไทยที่อ�ำเภอบ้านแหลม
ในสมัยโบราณ น�้ำจากแม่นำ้� เพชรบุรีถือว่าเป็น จั ง หวั ด เพชรบุ รี ขณะที่ น�้ ำ ส่ ว นหนึ่ ง จาก
น�้ำมงคลที่น�ำมาใช้ ในพิธีกรรมต่างๆ เพราะความใส เขาพะเนิ น ทุ ่ ง จะไหลผ่ า นล�ำห้ ว ยคมกฤช
สะอาด รสชาติจืดสนิท ดังต�ำนานเมืองเพชรที่กล่าวว่า ห้วยโสก ห้วยสัตว์ใหญ่ ห้วยป่าเลา ห้วยมงคล
“น�ำ้ ก็เป็นเพชร คือ บริสทุ ธิ์ ผ่องใส สะอาด เป็นน�ำ้ แร่ ไหลลงสู่แม่น�้ำปราณบุรี ผ่านเขื่อนปราณบุรี
โลหะรัตนะบุรธี าตุ หรือว่าใสดุจน�ำ้ เพชร จึงเป็นน�ำ้ เสวย ก่อนที่จะไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ�ำเภอปราณบุรี
ส�ำหรับพระเจ้าแผ่นดินไทย” นอกจากเป็นน�ำ้ เสวยของ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตลอดความยาวกว่า
พระมหากษัตริย์จนถึงรัชกาลที่ 6 แล้ว ในพิธีบรม 230 กิโลเมตรของแม่น�้ำเพชรบุรี และกว่า
ราชาภิเษกของพระมหากษัตริยแ์ ห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทกุ 160 กิ โ ลเมตรของแม่ น�้ ำ ปราณบุ รี ได้
พระองค์จะใช้น�้ำจากแม่น�้ำเพชรบุรี ซึ่งตักจากท่าน�้ำ หล่อเลี้ยงเกื้อกูลสรรพชีวิตในผืนป่า และ
วัดท่าไชย อ�ำเภอบ้านลาด เป็นน�ำ้ ทรงมูรธาภิเษก (น�ำ้ เป็ น เส้ น เลื อ ดหลั ก ของคนเพชรบุ รี แ ละ
ที่ ใช้ ร ดพระเศี ย รพระเจ้ า แผ่ น ดิ น ) ตามพระราช ประจวบคีรีขันธ์มาช้านาน
ประเพณีที่ปฏิบัติสืบมาตั้งแต่อดีต
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 11
ทรัพยากรธรรมช
าติ
ป่าแก่งกระจาน เป็นส่วนหนึง่ ของผืนป่าตะวันตก
ที่ได้รับการเล่าขานว่าเป็นดินแดนแห่งความหลาก
หลายทางชีวภาพที่อุดมไปด้วยพันธุ์ไม้ และสัตว์ป่า
หายากจากหลากหลายภู มิ ภ าคมารวมกั น ด้ ว ย
ต�ำแหน่งทีต่ งั้ อันเหมาะสมเนือ่ งจากอยูบ่ ริเวณรอยต่อ
ของชีวภูมิศาสตร์ย่อยที่กระจายมาจากทางเหนือ
(Sino Himalaya) ขึ้นมาจากทางใต้ (Sundaic)
รวมทัง้ มาจากทางตะวันตก (Indo Burma) และทาง
ตะวันออก (Indo China) ท�ำให้ผืนป่าแก่งกระจาน
เป็นศูนย์รวมแห่งความหลากหลายทางชีวภาพที่
ส�ำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปเอเชีย

12 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
พืชพันธุ์
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีพื้นที่ป่าไม้
ประมาณร้อยละ 96 ของพื้นที่ ประกอบด้วย
ความหลากหลายของสังคมป่า 5 ประเภท ได้แก่

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 13
ป่าดงดิบชื้น (Moist Evergreen Forest)
พบกระจายตามหุบเขาหรือร่องห้วยทางด้าน
ทิศตะวันตกและทางตอนเหนือของพื้นที่อุทยาน
แห่งชาติ โดยส่วนใหญ่มกั เรียกกันว่า “ป่าริมห้วย”
(Gallery Forest) ได้แก่ บริเวณร่องห้วยทีม่ สี ภาพ
เป็นพื้นที่ลุ่มหุบล�ำห้วยใกล้ทางขึ้นเขาพะเนินทุ่ง
ต้นไม้มีขนาดใหญ่และสูงเป็นพิเศษมีโครงสร้าง
ของพันธุ์พืชและการปกคลุมพื้นที่ของเรือนยอด
ชั้ น ต่ า งๆ ที่ ค ่ อ นข้ า งแน่ น ทึ บ เรื อ นยอดยาว
ต่อเนื่องกันตลอด พันธุ์ไม้ที่ส�ำคัญ ได้แก่ หว้า
เลือดควาย สะท้อนรอก มะม่วงป่า ลิ้นจี่ป่า และ
มังคุดป่า

14 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ดังนั้น ป่าดงดิบเขาที่พบจึงจัดได้ว่าเป็นป่าดงดิบ
เขาระดับต�่ำ พบไม้เด่นในวงศ์ก่อหลายชนิด เช่น
ก่อเดือย ก่อแอบหลวง และก่อพวง

ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous


Forest) ส่วนใหญ่กระจายตามแนวยาวสลับกับ
ป่ า ดงดิ บ แล้ ง สภาพป่ า ค่ อ นข้ า งโปร่ ง ดิ น มี
ป่าดงดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) ลักษณะเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียวปน
เป็ น สั ง คมพื ช ที่ ค รอบคลุ ม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทราย หรือดินร่วนปนทราย มีการระบายน�้ำปาน
แก่งกระจานมากที่สุด และมีพื้นที่ติดต่อกันเป็น กลางถึงดี ป่าชนิดนี้ที่กระจายอยู่ในพื้นที่อุทยาน
ผืนใหญ่ประมาณร้อยละ 64 ของพื้นที่ทั้งหมด แห่งชาติแห่งนี้ มีสภาพที่ค่อนข้างใกล้เคียงกับ
ครอบคลุ ม บริ เวณที่ ลุ ่ ม น�้ำ บางกลอยที่ อ ยู ่ ท าง ป่าดงดิบแล้งมาก ไม้พนื้ ล่างบางชนิดเป็นไม้ทขี่ นึ้
ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพืน้ ที่ ลุม่ น�ำ้ ประโดม อยู่ในป่าดงดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณส่วนใหญ่
ลุ่มน�้ำเพชรบุรี และลุ่มน�้ำปราณบุรี ป่าชนิดนี้พบ กระจายอยูต่ อนกลางและตอนเหนือของอุทยาน
ตัง้ แต่ความสูง 300-800 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเล แห่งชาติทั้งที่เป็นที่ราบและที่ลาดชัน พบอยู่สูง
พบไม้ขนาดใหญ่รวมทัง้ ลูกไม้ กล้าไม้ และพืชพืน้ จากระดับน�้ำทะเลปานกลาง 200-500 เมตร
ล่างขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น พันธุ์ไม้เด่นที่พบ เช่น ปกคลุมไปด้วยไผ่หลากหลายชนิดพันธุ์ที่ส�ำคัญ
สมพง ก้านเหลือง ปออีเก้ง ยมหอม ยมป่า ตาเสือ คือ ไผ่ไร่ ไผ่บงด�ำ ไผ่ซางนวล และไผ่รวก ชนิด
ไทร ตะเคียนทอง เติม และมหาพรหม ของพันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ ขี้อ้าย มะค่าโมง ตะแบก
ประดู่ป่า และมะกอกป่า
ป่าดงดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
ตามปกติป่าชนิดนี้จะกระจายที่ระดับความสูง ป่าเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) โดยส่วน
เกินกว่า 1,000 เมตรจากระดับน�้ำทะเล แต่ ใหญ่มกั พบอยูท่ างตอนเหนือของอุทยานแห่งชาติ
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานพบเริ่มกระจาย ซึ่งกระจายเป็นหย่อมเล็กๆ ตามยอดเขา โดย
ตั้งแต่ 800 เมตรขึ้นไปตามสันเขา เนื่องจากมี เฉลีย่ ป่าชนิดนีอ้ ยูส่ งู จากระดับน�ำ้ ทะเล 200-500
ความชื้นสูงและหนาวเย็นตลอดปี บริเวณที่พบ เมตร พันธุไ์ ม้ทเี่ ป็นไม้เด่นในชัน้ เรือนยอดนี้ ได้แก่
คือ พื้นที่ภูเขาสูงบริเวณตอนกลางของอุทยาน ไม้วงศ์ยางที่ผลัดใบ เช่น เต็ง และพะยอม ที่เป็น
แห่งชาติ บริเวณรอบๆ เขาพะเนินทุ่ง และพื้นที่ ไม้เด่น ซึ่งพบขึ้นปะปนอยู่กับ แดง ประดู่ป่า
ภู เขาสู ง ตามแนวชายแดนไทยและเมี ย นมาร์ รักใหญ่ สมอไทย และกระโดงแดง
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 15
ดินแดนแห่งพันธุ์ ไม้หายาก

นอกจากนี้ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานยังเป็นแหล่งของพืชพรรณหายากหลายชนิด ซึ่งหลาย


ชนิดเป็นพืชถิ่นเดียว (Endemic Plant) หรือเป็นพืชที่พบขึ้นแพร่พันธุ์ตามธรรมชาติอย่างจ�ำกัดใน
ประเทศไทย และบางชนิดพบที่เดียวในโลก

16 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
มหาพรหม
Mitrephora winitii Craib
วงศ์ Annonaceae
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 5-12 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบ ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ
ระนาบเดียวรูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับแกมรูป ขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมนเบี้ยว
เล็กน้อย แผ่นใบด้านล่างมีขนสีน�้ำตาลเหลืองประปราย ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกตรงข้ามใบ
มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 3 กลีบรูปไข่ กลีบดอกมีขนาดใหญ่กว่ากลีบเลี้ยงมาก เรียงเป็น 6 วงๆ
ละ 3 กลีบ กลีบดอกวงนอกบานแผ่ออก สีขาว กลีบดอกวงในคล้ายรูปกระเช้า ส่วนบนประกบ
กันเป็น 3 สัน มีลายสีม่วงแดง โคนกลีบคอดแยกห่างจากกันเป็นโพรง ผลออกบนแกนช่อ
กลม ผลทรงกลมรี สีเหลืองอมเขียว ผิวมีขนนุ่ม ออกดอกและผลในช่วงเดือนเมษายน-
กรกฎาคม ของทุกปี
พบขึ้นตามชายป่าดงดิบแล้งหรือเขาหินปูน ระดับความสูง 100-150 เมตรจากระดับน�้ำ
ทะเล ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ในเขตจังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 17
จ�ำปีเพชร
Magnolia mediocris (Dandy) Figlar
วงศ์ Magnoliaceae
ในการส�ำรวจระยะแรกๆ จ�ำปีเพชรเป็นพืชที่พบได้น้อย นับว่าหายากและใกล้สูญพันธุ์
เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 25-40 เมตร เปลือกล�ำต้นหนาและมีกลิ่นฉุน ดอกขนาดใหญ่สีขาว
กลิ่นหอม และจะบานอวดความสวยงามอยู่ได้ประมาณ 2-3 วัน ก่อนกลีบดอกจะโรย โดย
จะบานในช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี
ปี พ.ศ. 2552 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ประสบผลส�ำเร็จในการขยายพันธุ์จ�ำปีเพชรนอกถิ่นก�ำเนิด
เพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน และถ่ายทอดวิธีการสู่เกษตรกร จนท�ำให้จ�ำปีเพชรมีความแพร่
หลายในปัจจุบนั จึงเป็นเครือ่ งยืนยันได้วา่ จ�ำปีเพชรจะไม่มที างสูญพันธุไ์ ปจากเมืองไทยอย่าง
แน่นอน

18 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
จ�ำปีดอย
Magnolia gustavii King
วงศ์ Magnoliaceae
ไม้ยืนต้น สูง 8-12 เมตร เปลือกล�ำต้นหนาสีเทาปนน�้ำตาล และมีกลิ่นฉุน มีแผ่นใบที่
หนาและแข็ง รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ปลายใบเรียวแหลม มีติ่งปลายใบยาวและงุ้มลง
ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างเคลือบขาว ดอกเป็นดอกเดี่ยวสีขาวนวล กลีบดอก
ยาวประมาณ 3-3.5 เซนติเมตร ออกที่ปลายยอดห้อยลง ก้านดอกเรียวยาว 3-4 เซนติเมตร
ผลรูปทรงกระบอกเรียวยาว 6-8 เซนติเมตร

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 19
แตงพะเนินทุ่ง
Trichosanthes phonsenae Duyfjes & Pruesapan
วงศ์ Cucurbitaceae
เป็นไม้เถาสกุลแตง ทั้งตัวเถาและใบของไม้ชนิดนี้ จะถูกปกคลุมด้วยขนสากแข็งสีเทา
หรือสีน�้ำตาล ใบเดี่ยวรูปฝ่ามือ เรียงเวียน มีก้านใบที่ยาว ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกสีขาว
ผลทรงกระบอกสีเขียวแถบขาวตามความยาวผล
การส�ำรวจพบแตงพะเนินทุ่ง ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
นอกจากจะเป็นการพบครั้งแรกของประเทศไทยแล้ว ยังเป็นการพบพืชชนิดนี้เป็นครั้งแรก
ของโลกอีกด้วย

20 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
โมลีสยาม
Reevesia pubescens Mast. var.siamensis (Craib) Anthony
วงศ์ Sterculiaceae
ไม้ยืนต้น สูง 8-15 เมตร กิ่งอ่อน ใบอ่อน และช่อดอกปกคลุมด้วยขนนุ่ม ใบเดี่ยวเรียง
เวียนสลับ ก้านใบยาวเรียว ปลายก้านบวมพองเล็กน้อย ดอกทรงระฆัง สีขาวอมชมพู ผลสี
เขียวอ่อนรูปไข่กลับ ผิวแข็ง เป็นพูตามยาว และมีขนปกคลุม เมล็ดภายในมีขนาดเล็กและมี
ปีก พบขึ้นในป่าดงดิบเขาที่ระดับความสูง 800-1,500 เมตรจากระดับน�้ำทะเล ในภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ของไทย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 21
22 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
สัตว์ปา่
ด้วยความเหมาะสมของต�ำแหน่งที่ตั้งของ โดยมีการค้นพบชนิดของสัตว์ป่าที่ส�ำคัญ
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน กล่าวคือ ด้านตะวันตก มากมายในผื น ป่ า แห่ ง นี้ จากการส�ำรวจพบ
มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเมียนมาร์ สัตว์ป่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไม่น้อยกว่า 47 ชนิด ใน
จึงสามารถเดินเคลื่อนย้ายเข้าออกได้ตลอดเวลา จ�ำนวนนี้เป็นสัตว์ที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์
สัตว์ปา่ ทีอ่ าศัยอยูบ่ ริเวณรอยต่อของสองประเทศ จ�ำนวน 6 ชนิด ได้แก่ ช้างป่า เสือโคร่ง วัวแดง
จึงมีพนื้ ทีใ่ ห้หลบหนีการไล่ลา่ ได้มากขึน้ นอกจากนี้ ชะนีมอื ขาว สมเสร็จ และหมาใน สัตว์ปา่ ทีม่ แี นว
เทือกเขาตะนาวศรียังเชื่อมต่อกับเทือกเขาถนน โน้มใกล้สูญพันธุ์จ�ำนวน 8 ชนิด ได้แก่ กวางป่า
ธงชัย ซึ่งต่อเนื่องมาจากจังหวัดตาก อุทัยธานี กระทิง นากเล็กเล็บสั้น หมีควาย หมีขอ ลิงเสน
ผ่านป่าแก่งกระจานเชือ่ มต่อไปถึงเทือกเขาภูเก็ต ลิงกัง และนากใหญ่ขนเรียบ มีนกมากกว่า 505
ของภาคใต้ สัตว์ป่าจากประเทศมาเลเซียก็แพร่ ชนิด ในจ�ำนวนนี้อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์
กระจายขึ้นมาถึงบริเวณนี้เช่นเดียวกัน และรวม จ�ำนวน 8 ชนิด ได้แก่ นกเงือกกรามช้างปากเรียบ
กันเป็นผืนป่าตะวันตกอันยิ่งใหญ่ท�ำให้อุทยาน นกกะลิงเขียดหางหนาม นกกระเต็นน้อยแถบอกด�ำ
แห่งชาติแก่งกระจานเป็นแหล่งชุมนุมของสัตว์ปา่ นกแว่นสีน�้ำตาล นกยางจีน นกลุมพูแดง และ
ตั้งแต่ทิศเหนือจรดทิศใต้ นกอินทรีปีกลาย 289 ชนิด

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 23
นกกกหรือนกกาฮัง Great Hornbill
(Buceros bicornis)
เป็นนกเงือกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ในป่าของประเทศไทยสามารถพบเห็นได้ ไม่ยากนัก โดยจะอาศัย
อยูต่ ามป่าทีม่ โี พรงไม้ธรรมชาติขนาดใหญ่ ซึง่ เป็นสิง่ จ�ำเป็นพิเศษของเหล่านกเงือก โดยมากแล้วจะหากิน
ลูกไม้บนต้นไม้เป็นอาหารหลัก มีบ้างที่พบลงพื้นดิน ซึ่งมักลงมาเพื่อจับสัตว์ขนาดเล็ก ตั้งแต่แมลง สัตว์
เลือ้ ยคลานขนาดเล็ก ไปจนถึงสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร นกกกในฤดูผสมพันธุม์ กั อยูเ่ ป็น
คู่ ไม่คอ่ ยพบอยูเ่ ป็นฝูงอย่างนกเงือกขนาดเล็กอืน่ ต่อเมือ่ ลูกโตจนสามารถบินได้แล้ว จึงจะพากันบินกลับ
เข้ามารวมฝูง

24 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
นกแก๊ก Oriental Pied Hornbill
(Anthracoceros albirostris)
เป็นนกเงือกที่มีขนาดเล็กที่สุด มักอยู่รวมกันเป็นกลุ่มและส่งเสียงดังคล้ายเสียงหัวเราะ เรามัก
ได้ยินเสียงแต่ ไม่ค่อยเห็นตัวเนื่องจากจะเกาะรวมกันบนต้นไม้สงู สีสันตามล�ำตัวเป็นสีดำ� ท้องสีขาว ขน
ปลายปีกสีขาวเห็นได้ชดั เจนเวลาบิน รอบดวงตาและบริเวณโคนปากล่างใต้ดวงตามีหนังเปลือยสีขาว ปาก
มีโหนกขนาดใหญ่สีเหลืองแต้มสีดำ� บริเวณปลายโหนก นกเงือกชนิดนี้พบได้บ่อย และพบได้ ในเกือบทุก
ภาคของประเทศไทย เว้นเพียงภาคกลางและส่วนใหญ่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเท่านั้น อาหารของ
นกชนิดนี้จะคล้ายนกเงือกทั่วไป คือ ลูกไม้และสัตว์ขนาดเล็ก

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 25
สัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก 49 ชนิด อยู่ในสถานภาพใกล้ถูกคุกคามจ�ำนวน 4 ชนิด ได้แก่
กบทูด กบอ่องใหญ่ อึ่งเพ้า และอึ่งอ่างก้นขีด สัตว์เลื้อยคลานพบ 18 ชนิด เช่น เต่าหก เต่า
เหลือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จระเข้น�้ำจืด ซึ่งนับว่าเป็นสัตว์ที่อยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่าง
ยิง่ อาศัยอยูใ่ นล�ำนำ�้ เพชรบุรี โดยเชือ่ ว่ามีจ�ำนวนเหลืออยูม่ าก ที่ สุ ด ใน
ประเทศไทย
นอกจากนี้ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานยัง
มีชื่อเสียงในด้านการเป็นแหล่งดูผีเสื้อที่ส�ำคัญ
ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ มีรายงานการพบ
ผีเสื้อไม่น้อยกว่า 289 ชนิด ในจ�ำนวนนี้เป็น
แมลงคุม้ ครองจ�ำนวน 6 ชนิด ได้แก่ ผีเสือ้ รักแร้ขาว ผีเสือ้ นางพญาก๊อตเฟรย์ ผีเสือ้
หางติ่งสะพายเขียว ผีเสื้อถุงทองป่าสูง ผีเสื้อถุงทองธรรมดา และผีเสื้อนางพญาพม่า

26 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 27
28 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ผีเสื้อรักแร้ขาว Spangle
(Papilio protenor)
จัดอยู่ ในวงศ์ผเี สือ้ หางติง่ มีรปู ทรงปีก
คล้ายผีเสือ้ อกแดงและผีเสือ้ หางติง่ นางละเวง
คือ พื้นปีกบนมีสีด�ำ ปีกคู่หน้าบริเวณรอบเส้น
ปีกมีสีขาวจางๆ ส่วนปีกคู่หลังบริเวณขอบปีก
ด้านข้างจนถึงกลางปีกมีสีเหลือบน�้ำเงิน ปีก
ด้านนอกของปีกคูห่ ลังมีแถบสีขาว ส่วนพืน้ ปีก
ล่างมีสีด�ำ มุมปลายปีกหน้าและมุมปลายปีก
หลังของปีกคู่หลังยังมีแต้มสีแดง
โดยจะพบหากินตามทีช่ นื้ แฉะและตาม
ทางเดินในป่าที่มีแสงแดดส่องถึง พบทั้งใน
ป่าดงดิบและป่าโปร่งผีเสื้อรักแร้ขาว อยู่ ใน
บัญชีรายชื่อสัตว์ป่าคุ้มครอง จ�ำพวกแมลง
แนบท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครอง
สัตว์ป่า พ.ศ. 2535

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 29
N
จังหวัดราชบุร�

สาธารณรัฐ
แห‹งสหภาพเมียนมาร

จังหวัดประจวบคีร�ขันธ

เขตการใช้ประโยชน์ คือ การแบ่งการจัดการ


พื้ น ที่ เ พื่ อ ก�ำหนดรู ป แบบการใช้ ป ระโยชน์ ใ ห้
เขตการใช้ประโย เหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ศั ก ยภาพของ
ชน์ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ส�ำหรับ
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ได้แบ่งเขตการ
ใช้ประโยชน์ออกเป็น 5 เขต ดังนี้
30 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
• เขตบริการ คือ บริเวณที่มีศักยภาพสูง
ในการก่อสร้างสิ่งอ�ำนวยความส�ำหรับบริการ
นั ก ท่ อ งเที่ ย วและการปฏิ บั ติ ง านของอุ ท ยาน
แห่งชาติ เขตนี้นักท่องเที่ยวจึงสามารถเข้าไปใช้
ประโยชน์ได้มากกว่าเขตอื่นๆ อย่างไรก็ตาม • เขตหวงห้าม เป็นพืน้ ทีท่ เี่ น้นการอนุรกั ษ์
การใช้ ป ระโยชน์ ใ นพื้ น ที่ นี้ ก็ ยั ง จ�ำเป็ น ต้ อ งมี ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ คี วามส�ำคัญต่อระบบนิเวศ
การควบคุมให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าที่ส�ำคัญ เช่น
เขตบริการในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ได้แก่ ช้างป่า และเสือโคร่ง เป็นพื้นที่ที่ต้องรักษาไว้
บริเวณที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ และที่ท�ำการ อย่างเข้มงวด อนุญาตให้เข้าไปใช้ประโยชน์เพื่อ
หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ การศึกษาวิจัยเท่านั้น ได้แก่ พื้นที่ทางตอนล่าง
ของอุทยานแห่งชาติซึ่งเป็นแนวเขตติดต่อกับ
• เขตนันทนาการ คือ พื้นที่ที่อนุญาต อุทยานแห่งชาติกุยบุรี และบริเวณแนวชายแดน
ให้ ป ระชาชนเข้ า ไปใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ ความ ด้านทิศตะวันตกของอุทยานแห่งชาติ ซึ่งพื้นที่
เพลิดเพลินของนักท่องเทีย่ วเป็นส�ำคัญ ส่วนใหญ่ ดังกล่าวเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า โดยเฉพาะ
จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ในอุทยานแห่งชาติ ช้างป่า และเสือโคร่ง
ได้แก่ บริเวณยอดเขาพะเนินทุ่ง จุดชมทิวทัศน์
พะเนินทุง่ น�ำ้ ตกป่าละอู น�ำ้ ตกทอทิพย์ อ่างเก็บน�ำ้ • เขตกิจกรรมพิเศษ เป็นพื้นที่ที่ก�ำหนด
เขื่อนแก่งกระจาน และแคมป์บ้านกร่าง ขึ้นเพื่อให้ครอบคลุมบริเวณที่มีการใช้ประโยชน์
อื่นๆ นอกเหนือไปจากวัตถุประสงค์หลักของ
• เขตป่าเปลีย่ ว ครอบคลุมพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ อุทยานแห่งชาติ ได้แก่ ฐานปฏิบัติการต�ำรวจ
ของอุทยานแห่งชาติ ได้แก่ พื้นที่ธรรมชาติและ ตระเวนชายแดนที่ 144 บ้านโป่งลึก โรงเรียน
ระบบนิ เวศป่ า ไม้ ป ระเภทต่ า งๆ เป็ น แหล่ ง ต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งลึกสาขาโรงเรียน
พันธุกรรมของพืชและสัตว์ป่าที่ส�ำคัญ กิจกรรม ต�ำรวจนเรศวรห้วยโสก โครงการดูแลรักษาป่า
นันทนาการในเขตนี้ เช่น การเดินป่า การศึกษา บริ เวณป่ า ละอู บ นและเขาพะเนิ น ทุ ่ ง อั น เนื่ อ ง
ธรรมชาติ และการพักแรมด้วยเต็นท์แบบง่ายๆ มาจากพระราชด�ำริ ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก
โดยมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อความปลอดภัย บ้านโป่งลึก ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา
และเพือ่ การเรียนรูส้ ภาพธรรมชาติเพียงเล็กน้อย แม่ ฟ ้ า หลวง และหน่ ว ยควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ
เท่านั้น น�ำโดยแมลง 2 อ�ำเภอแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 31
แหล่งท่องเที่ยวใน
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจา

ผืนป่าแก่งกระจานนอกจากจะอุดมสมบูรณ์และ
มี ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพแล้ ว ยั ง เป็ น แหล่ ง
เรียนรู้และพักผ่อนหย่อนใจกับการได้เข้ามาสัมผัส
ธรรมชาติ ทั้ ง ในรู ป แบบของการศึ ก ษาธรรมชาติ
โดยผ่ า นกิ จ กรรมดู น กดู ผี เ สื้ อ ศึ ก ษาพรรณไม้ ห รื อ
จะไปเที่ ย วน�้ ำ ตกชมถ�้ ำ หรื อ จะไปสั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต
ชาวกะหร่างและต้นน�้ำศักดิ์สิทธิ์ก็น่าสนใจไม่น้อย
ซึง่ สิง่ เหล่านีเ้ องทีจ่ ะท�ำให้เราได้รจู้ กั ธรรมชาติมากยิง่ ขึน้

32 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
น้ำตกทอทิพย 4 กม. กม. 15 บŒานกร‹างแคมปŠ

พะเนินทุ‹งแคมปŠ กม.30
กม.36
ทะเลหมอก ค‹ายทหาร
กม.15 บŒานกร‹างแคมปŠ หน‹วยฯ สามยอด
ด‹านตรงจ กม.0

บŒานด‹านโง
บŒานหนองป„นแตก

เขาปะการัง

57 กม.

ที่ทำการฯ น้ำตกป†าละอู

บŒานหนองพลับ

บŒานวลัย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 33
อ่างเก็บน้ำ�เหนือเขื่อนแก่งกระจาน
อ่างเก็บน�้ำแก่งกระจานมีเนื้อที่ประมาณ พั ก ผ่ อ นและพั ก แรมภายใต้ อ ้ อ มกอดของ
46.5 ตร.กม. มีความจุ 710 ล้านลูกบาศก์เมตร ธรรมชาติเช่นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เฉดสีของ
เป็นผลพวงจากการสร้างเขื่อนดินปิดกั้นแม่น�้ำ ปรากฏการณ์แห่งวันยามที่ดวงอาทิตย์ก�ำลังจะ
เพชรบุรี อ่างเก็บน�้ำแก่งกระจานมีเกาะกลางน�้ำ ลาลับขอบฟ้า ยิ่งขับส่งให้ทัศนียภาพเหนือเขื่อน
จ�ำนวน 20-30 เกาะ และเกาะแห่งหนึง่ ในจ�ำนวน แห่งนีง้ ดงามราวกับภาพวาด ไม่เพียงแต่ทศั นียภาพ
นี้คือ ที่ตั้งของพลับพลาที่ประทับของพระบาท อันงดงามเท่านั้น ที่แห่งนี้ยังเป็นที่พึ่งให้ผู้คนโดย
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกาะที่ใหญ่ที่สุดมีเนื้อที่ รอบและนกน�้ ำ หลากหลายสายพั น ธุ ์ ไ ด้ อ าศั ย
ประมาณ 300-400 ไร่ ท่านสามารถนั่งเรือไปชม ผืนน�้ำแห่งนี้ในการด�ำรงชีวิต หากท่านต้องการ
ธรรมชาติและทิวทัศน์ในบริเวณอ่างเก็บนำ �้ และ พักผ่อนแบบสบายๆ ใช้เวลาไม่นานนัก กับการ
มักเทีย่ วชมตามเกาะต่างๆ นอกจากนี้ ริมอ่างเก็บ ท่องเทีย่ วแบบธรรมชาติและสัมผัสวิถชี วี ติ ชนบท
น�้ำอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานได้จัดท�ำลาน ในเวลาเดียวกัน อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานก็
กางเต็นท์ขนาดใหญ่ไว้ส�ำหรับรองรับผูท้ ตี่ อ้ งการ เป็นหนึ่งในทางเลือกที่น่าสนใจ

34 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 35
ท่องธรรมชาติในป่าผืนใหญ่
จากบ้านกร่างถึงน้ำ�ตกทอทิพย์

36 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
บ้านกร่างกับสีสันปีกบาง
หากท่านต้องการท่องป่า เรียนรูแ้ ละท�ำความ กร่างอยู่บริเวณริมคลองปราณบุรีซึ่งมีน�้ำไหล
เข้าใจกับผืนป่าแก่งกระจานยิง่ ขึน้ ในรูปแบบของ ตลอดปี ท�ำให้บริเวณนี้มีความชุ่มชื้นและอากาศ
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ ระยะทางร่ ว ม 36 เย็นสบายตลอดปี ผืนป่าที่ยังความอุดมสมบูรณ์
กิโลเมตร บนถนนสายบ้านวังวน-บ้านกร่าง- และแหล่งน�้ำที่พอเพียงนี้เอง ท�ำให้ที่นี่มากมาย
พะเนินทุ่ง คือ สวรรค์ส�ำหรับผู้ที่มีหัวใจอนุรักษ์ ไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด ระหว่างการเดินทาง
อย่างแท้จริง เส้นทางนีจ้ ะน�ำพาท่านเข้าไปสัมผัส เข้ า ไปจะมี โ ป่ ง ธรรมชาติ ที่ เ ป็ น แหล่ ง แร่ ธ าตุ
และเข้ า ถึ ง หั ว ใจของผื น ป่ า แก่ ง กระจาน ส�ำหรับสัตว์ป่าเป็นระยะ บ่อยครั้งที่นักเดินทาง
ซึ่งแน่นอนว่าเวลาเพียงวันเดียวอาจไม่เพียงพอ ได้ตนื่ เต้นกับการได้เห็นสัตว์ปา่ อย่างจัง และบ่อย
หากท่ า นต้ อ งการท่ อ งเที่ ย วบริ เวณนี้ จ ะต้ อ ง ครั้งที่สัตว์ป่าเหล่านั้นทิ้งร่องรอยเอาไว้ อย่าง
จัดสรรเวลาและเตรียมความพร้อมส�ำหรับการ กองมูล รอยตีน และเศษขนหรือปีก
พักผ่อนโดยทีม่ สี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกไม่มากนัก แคมป์บ้านกร่าง ยังเป็นแหล่งดูผีเสื้อที่มี
จากที่ ท�ำการอุ ท ยานแห่ ง ชาติ บริ เ วณ ชื่ อ เสี ย งที่ สุ ด อี ก แห่ ง หนึ่ ง ของประเทศ ตั้ ง แต่
กิโลเมตรที่ 15 เป็นที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์อุทยาน บริเวณกิโลเมตรที่ 10-18 ตามล�ำห้วยที่ถนนตัด
แห่งชาติที่ กจ. 4 (บ้านกร่าง) หรือที่รู้จักกันดีใน ผ่านและมีแสงแดดส่องถึง หรือตามทางทีม่ กี องมูล
ชื่อ “แคมป์บ้านกร่าง” ในบริเวณนี้ทางอุทยาน สัตว์ป่าถ่ายทิ้งไว้ จะพบผีเสื้อหลายชนิดลงมา
แห่งชาติได้จัดท�ำเป็นที่พักแรมแบบกางเต็นท์ หากินเป็นฝูงใหญ่ เช่น ผีเสื้อหนอนจ�ำปีจุดแยก
โดยมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเท่าที่จ�ำเป็น เช่น ผีเสื้อสะพายฟ้า ผีเสื้อวาวสีต่างฤดู ผีเสื้อกะลาสี-
ห้องน�้ำ-ห้องสุขา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว และ ธรรมดา ผี เ สื้ อ ช่ า งร่ อ น ผี เ สื้ อ เหลื อ งหนาม-
เจ้ า หน้ า ที่ อ�ำนวยความสะดวกในเรื่ อ งความ ธรรมดา ผีเสื้อตาลหนามใหญ่ นอกจากนี้ หาก
ปลอดภัย หากท่านสนใจสามารถเข้าพักได้ภายใน โชคดีท่านยังอาจพบ ผีเสื้อหางติ่งปารีส ผีเสื้อ
เวลา 17.00 น. ของทุกวัน รถยนต์ขนาดเล็กและ หางมังกรเขียว และผีเสื้อหางติ่งสะพายเขียว
รถตู้สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก แคมป์บ้าน ซึ่งนับว่าเป็นผีเสื้อหายากอีกด้วย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 37
วงจรชีวิตของผีเสื้อ
Butterfly Life Cycle

1
ไข่
4
ตัวเต็มวัย

2
3 ตัวหนอน
ดักแด้

ผีเสื้อมีการเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์ (Complete Metamorphosis) ในแต่ละ


ขั้นของการเจริญเติบโตจะมีรปู ร่างแตกต่างกันออกไป แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ

38 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ไข่ (Egg) หลังผีเสื้อผสมพันธุ์แล้ว ตัวเมียจะ
วางไข่ ไว้บนใบหรือต้นพืชอาหาร ซึ่งผีเสื้อแต่ละชนิด
จะมีพืชอาหารแตกต่างกันไป รวมถึงขนาด รูปร่าง
สีสันของไข่ ลักษณะการวางไข่ และระยะเวลาในการ
ฟักตัว ก็ขนึ้ กับชนิดของผีเสือ้ เช่นกัน (โดยมากไข่ของ
ผีเสื้อจะใช้เวลาฟักตัวประมาณ 5- 10 วัน) ดักแด้ (Pupa) ระยะนีเ้ ป็นช่วงเวลาทีต่ วั อ่อนจะ
• เปลือกไข่ผีเสื้อน่าจะมีสารอาหารที่จ�ำเป็นต่อ หยุดการเคลือ่ นไหวและกิจกรรมทุกอย่าง รวมถึงการ
การเจริญเติบโตของหนอนผีเสื้อ เนื่องจากได้ กินอาหารด้วย ผีเสือ้ โดยมากจะอยู่ ในดักแด้ประมาณ
มีการตั้งข้อสังเกตว่า หลังตัวหนอนออกจาก 10-15 วัน ทั้งนี้ขึ้นกับความเหมาะสมของสภาพ
ไข่ จะต้องกินเปลือกไข่ส่วนหนึ่งก่อนเสมอ อุณหภูมภิ ายนอกด้วย เมือ่ ถึงเวลาทีเ่ หมาะสม ผีเสือ้
แล้วจึงกินพืชอาหาร จะใช้ขาดันเปลือกดักแด้ ให้แตกออกและขยับตัวออกมา
หนอน (Caterpillar) เป็นระยะของการสะสม • การพัฒนาภายในดักแด้นั้น เนื้อเยื่อของตัว
อาหารก่อนเข้าระยะดักแด้ ตัวหนอนมีหน้าทีก่ นิ อาหาร หนอนด้านในจะย่อยสลายไปเกือบหมด เหลือ
และเจริญเติบโต โดยใช้การลอกคราบคล้ายสัตว์เลือ้ ย เพียงตุม่ เล็กๆ 1 คู่ ซึง่ จะเจริญขึน้ มาเป็นผีเสือ้
คลานในการเพิม่ ขนาด เนือ่ งจากหนังหุม้ ตัวของหนอน ตัวเต็มวัยที่มีปีกพับยู่ยี่อยู่ ในดักแด้
จะไม่โตตามตัว ในระยะนี้เป็นช่วงเวลาที่ค่อนข้าง ตัวเต็มวัย (Adult) หรือผีเสือ้ มีปากแบบดูดกิน
เสีย่ งต่อการถูกจับกินเป็นอย่างมาก จึงต้องพยายาม (Siphoning Type) จึงสามารถกินได้เฉพาะอาหาร
หลบหลีกหรือป้องกันตนเองจากศัตรู ทั้งการพรางตัว ทีเ่ ป็นของเหลว ผีเสือ้ ออกจากดักแด้ ใหม่ๆ จะยังบิน
การปล่อยสารเคมี หรือการทีม่ สี สี นั และลักษณะคล้าย ไม่ ได้ จ�ำต้องผึง่ ปีกให้แห้งและแข็งแรงก่อน จึงจะเริม่
หนอนผีเสื้อที่มีพิษ ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่เป็น บินออกหากิน และตัวเต็มวัยสมบูรณ์นี้ มีความพร้อม
เทคนิคเพื่อเอาตัวรอดของเหล่าตัวหนอนหลากหลาย ที่จะผสมพันธุ์ ได้ทันทีตั้งแต่ออกจากดักแด้ และจะ
ชนิดทั้งสิ้น ไม่มกี ารโตหรือเปลีย่ นแปลงรูปร่างอีกจนกระทัง่ ตายไป
• ตัวหนอนโดยทั่วไปมักจะถูกมองว่าเป็นตัว • การสะสมอาหารนับเป็นกระบวนการส�ำคัญซึ่ง
ท�ำลายพืชผล แต่แท้ที่จริงแล้ว ยังมีหนอน จะมีผลอย่างมากต่อความส�ำเร็จในการพัฒนา
ผีเสื้ออีกหลายชนิดที่เป็นมิตรต่อต้นพืช เช่น รูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ดังทีป่ รากฏให้เห็นว่า ตัว
หนอนผีเสือ้ หนอนกินเพลีย้ ธรรมดา เนือ่ งจาก หนอนที่กินอาหารไม่เพียงพอ เมื่อพัฒนาเป็น
อาหารของมันคือ เพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นศัตรูพืช ผีเสื้อมักจะมีปีกที่พิการ ส่งผลให้ ไม่สามารถ
นั่นเอง ออกหากินได้ และตายในที่สุด

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 39
เคล็ดลับการดูผีเสื้อให้สนุก
การดูผเี สือ้ เป็นกิจกรรมทีใ่ ห้ความเพลิดเพลิน
และเป็นการพักผ่อนทีม่ คี ณ ุ ค่า ได้ชนื่ ชมกับความ
สวยงามของแมลงตัวน้อยน่ารัก ได้สัมผัสกับ
ธรรมชาติอันสวยงาม อากาศบริสุทธิ์ และการ
เดินดูผเี สือ้ เป็นการออกก�ำลังกายทีเ่ หมาะสมกับ
บุคคลทุกเพศทักวัยอีกด้วย ในการดูผเี สือ้ แทบจะ
ไม่ต้องใช้อุปกรณ์อะไรมากมาย แต่หากจะให้
ดีแล้วควรมีอุปกรณ์ต่อไปนี้ ก็จะเพิ่มอรรถรสใน
การดูผีเสื้อได้มากขึ้น เห็นผีเสื้อได้ชัดเจน
1. แว่นขยาย ขนาดไม่จ�ำกัด ในปัจจุบนั มีแว่น 3. กล้องถ่ายรูป ไม่จ�ำเป็น
ขยาย ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ต้องเป็นกล้องถ่ายรูปที่มีราคา
4-5 นิ้ว ในราคาไม่แพงนัก สามารถใช้ แพงก็สามารถถ่ายรูปผีเสือ้ ได้ การ
งานได้ดี ถ้าหากเราใช้แว่นขยายขนาด ถ่ายรูปท�ำให้เราสามารถเก็บเอาสิง่ ทีส่ วยงามกลับ
ใหญ่ขึ้น และคุณภาพที่ดีขึ้น ย่อมจะ ไป โดยที่ไม่ได้ท�ำลายธรรมชาติ
เพิ่มอรรถรสในการดูผีเสื้อยิ่งขึ้น
4. สมุ ด บั น ทึ ก เพื่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล
2. กล้องส่องทางไกลชนิด 2 ตา ในกรณีที่ รายละเอียดเกีย่ วกับผีเสือ้ เช่น จ�ำนวน ชนิด
เราไม่สามารถเข้าใกล้ผีเสื้อได้ กล้องสองตาจะ ของผีเสื้อ วัน เวลา สถานที่พบ และลักษณะเด่น
ช่วยให้เราได้เห็นความงามของเม็ดสีและลวดลาย
บนปีกของผีเสื้อได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ขนาดของกล้อง 5. เสื้อผ้าที่เหมาะสม ควรเป็น
ที่ แ นะน�ำคื อ 7x35 ซึ่ ง เสือ้ ผ้าทีส่ วมใส่สบาย สีไม่ฉดู ฉาด ควร
สามารถมองเห็ น ผี เ สื้ อ เป็นสีทกี่ ลมกลืนกับธรรมชาติ ไม่ควรสวม
ระยะใกล้ ป ระมาณ 1.5 กางเกงขาสัน้ หรือกระโปรง เพราะอาจถูกใบหญ้า
เมตร ได้อย่างชัดเจน ไม่ บาดหรือระคายเคืองผิวหนัง ควรสวมหมวกเพื่อ
แนะน�ำกล้ อ งสองตาที่ มี อั ต ราขยายสู ง กว่ า นี้ กันแดด และอาจทาครีมกันแดด เพราะการดู
เพราะจะต้องอยู่ห่างจากผีเสื้อมากขึ้นจึงจะมอง ผีเสื้อต้องอยู่กลางแดดเป็นส่วนใหญ่

40 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการดูผีเสื้อ
โดยทั่วไปเราสามารถพบเห็นผีเสื้อได้ตลอดทั้งปี แต่ส�ำหรับในช่วงวัน เวลาที่เหมาะสม
ที่จะดูผีเสื้อจะอยู่ในช่วงที่มีแสงแดดแต่ไม่ร้อนนัก คือ ไม่เกิน 10 โมงเช้า และช่วงบ่าย ไม่เกิน
บ่ายสามโมงเย็น นิสยั ของผีเสือ้ จะเห็นตัวได้กใ็ นวันทีม่ แี สงแดด หากวันไหนฟ้าครึม้ มีเมฆมาก
หรือความชืน้ สูง มันก็จะไม่ออกหากิน แต่ถงึ กระนัน้ เมือ่ ถึงเวลาแดดแรงอย่างช่วงใกล้เทีย่ งแล้ว
จะไม่ค่อยปรากฏตัวให้เห็นอีกเช่นกัน แต่มักจะเกาะหลบแดดตามใต้ใบไม้ ยอดไม้ หาซ่อนตัว
ในที่ร่ม หรือลงกินน�้ำตามแหล่งน�้ำชื้นแฉะมากกว่า
ผีเสื้อเมื่อออกบินหากิน จะไม่ค่อยยอมเกาะนิ่งๆ ให้ดูดีๆ สักเท่าไร ยิ่งเวลาเราเข้าใกล้
ด้วยแล้ว เพราะฉะนั้น ในช่วงเวลาเช้าเริ่มมีแสงแดด จึงเป็นเวลาที่เหมาะในการดูผีเสื้อมาก
ที่สุด หลายชนิดจะต้องเกาะนิ่ง กางปีกผึ่งก่อนออกหากิน
การทีผ่ เี สือ้ ต้องกางปีกผึง่ แดดในช่วงเช้าอยูเ่ ป็นประจ�ำ เนือ่ งจากผีเสือ้ เป็นสัตว์เลือดเย็น
จึงต้องการพลังงานจากแสงแดดให้กับร่างกาย เพื่อใช้ท�ำกิจกรรมในช่วงกลางวัน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 41
พะเนินทุง่ …ทะเลหมอกกลางป่าภาคกลาง
จากแคมป์บ้านกร่าง สามารถเดินทางต่อไปยังหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ กจ. 19
(พะเนินทุ่ง) ซึ่งอยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 30 สูง 974 เมตรจากระดับน�้ำทะเล บริเวณนี้สามารถ
พักค้างแรมแบบกางเต็นท์ได้ แต่เนื่องจากเป็นพื้นที่เปราะบางและมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่
จ�ำกัด อุทยานแห่งชาติจึงจ�ำเป็นต้องจ�ำกัดจ�ำนวนผู้ที่มาพักแรม หากท่านสนใจจะต้องติดต่อ
สอบถามอุทยานแห่งชาติก่อนเดินทาง เช้าตรู่ของที่นี่จะท�ำให้ท่านตื่นตาตื่นใจกับทะเลหมอกที่
ปกคลุมไปทั่วทั้งหุบเขาสุดลูกหูลูกตาที่หาชมได้ยากในพื้นที่ภาคกลางของประเทศเช่นนี้

42 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 43
การน�ำรถขึ้นพะเนินทุ่ง
ส�ำหรับรถยนต์ที่จะเดินทางไปชมทะเลหมอกเขาพะเนินทุ่งหรือใช้เส้นทางสายวังวน-น�้ำตก
ทอทิพย์ ควรเป็นรถยนต์ขบั เคลือ่ นสีล่ อ้ หรือรถทีม่ สี ภาพพร้อมสมบูรณ์ มีสมรรถนะดี และผูข้ บั ควร
มีทักษะในการขับรถขึ้นที่สูงชัน ส�ำหรับผู้ที่ไม่สามารถน�ำรถขึ้นไปเองได้ สามารถติดต่อรถรับจ้าง
ได้ทศี่ นู ย์บริการนักท่องเทีย่ ว การใช้บริการรถรับจ้างดังกล่าวนอกจากจะได้คนขับทีม่ คี วามช�ำนาญ
พืน้ ทีแ่ ล้ว ยังจะเป็นการสร้างรายได้ให้กบั คนในชุมชนเนือ่ งจากเป็นรถของชาวบ้านรอบพืน้ ทีน่ �ำมา
ให้บริการ
เนือ่ งจากถนนค่อนข้างแคบและเป็นแหล่งหากินของสัตว์ปา่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานจึงได้
ก�ำหนดเวลาในการขึ้น-ลง คือ
เวลาขึ้น ช่วงเช้า 05.30-07.30 น. ช่วงบ่าย เวลา 13.00-15.00 น.
เวลาลง ช่วงเช้า 09.00-10.00 น. ช่วงบ่าย 16.00-17.00 น.
หากท่านต้องการจะขึ้นเขาพะเนินทุ่ง ต้องติดต่อที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเพื่อขอใบอนุญาต
ผ่านเข้าก่อน โดยหากต้องการขึน้ เขาพะเนินทุง่ ช่วงเวลา 05.30 น. จะต้องท�ำใบอนุญาตล่วงหน้า 1 วัน

44 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ยอดเขาพะเนินทุ่ง
อยูบ่ ริเวณตอนกลางของอุทยานแห่งชาติ ความสูงประมาณ
1,207 เมตรจากระดับน�้ำทะเล ท�ำให้มีอากาศที่หนาวเย็น
ตลอดปี ทุกเช้าจะมีทะเลหมอกปกคลุมไปทั่วป่าราวกับว่าอยู่
บนพื้นที่ภาคเหนือของประเทศที่มีทะเลหมอกให้เห็นเจนตา
ยอดเขาพะเนิ น ทุ ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น ยอดเขาที่ มี ที่ ร าบแคบๆ
สภาพเป็นทุง่ หญ้าและต้นไม้แคระแกร็น จากจุดนีส้ ามารถมอง
เห็ น ความยิ่ ง ใหญ่ แ ละความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องผื น ป่ า
แก่งกระจานอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ทุ่งหญ้ายังเป็นแหล่ง
อาหารที่ส�ำคัญของสัตว์ป่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทิงและ
ช้างป่า อีกทั้งยังเป็นแหล่งดูนกที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะนกกะลิง
เขียดหางหนามพระเอกประจ�ำอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ซึ่งมักจะหากินบริเวณนี้อยู่เป็นประจ�ำ

นกกะลิงเขียดหางหนาม
Ratchet-tailed Treepie
(Temnurus temnurus)
เป็ น นกประจ� ำ ถิ่ น ที่ ส ามารถพบได้ เ ฉพาะ
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พบครั้งแรกเมื่อปี
พ.ศ. 2535 บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 28 บนเส้น
ทางสายวังวัน-น�้ำตกทอทิพย์ ท�ำให้เหล่าผู้หลงใหล
ธรรมชาติและนักดูนกทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น
ต่างพากันวาดหวังจะพบเจอกันพระเอกตัวนีท้ กุ ครัง้ ทีม่ า เยื อ นอุ ท ยาน
แห่งชาติแก่งกระจาน และนับเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งในการมาเยือนผืนป่า
ตะวันตกแห่งนี้ ในแต่ละครั้ง

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 45
จุดชมทะเลหมอกอีกจุดหนึ่งคือ บริเวณ กม.36 อยู่ก่อนเข้าถึงทางลงสู่
น�้ำตกทอทิพย์ จุดนี้นอกจากยามเช้าจะเห็นทะเลหมอกสีขาวอันแสน
อลังการแล้ว ยามที่แสงแดดอาบพื้นที่ทะเลหมอกสลายตัวไปแล้ว จะมอง
เห็นผืนป่าดงดิบเบื้องล่างที่ต้นไม้ขึ้นเบียดเสียดหนาแน่น เรือนยอดของ
ต้นไม้ขึ้นชิดติดกันราวกับดอกกะหล�่ำจนไม่สามารถมองเห็นพื้นป่าได้เลย
บ่อยครัง้ ทีน่ กกกและนกเงือกกรามช้างบินมาอวดความยิง่ ใหญ่เหนือพืน้ ป่านี้

ทะเลหมอก เสน่ห์แห่งความหนาวเย็น
ทะเลหมอก คือ หมอกที่ก่อตัวในบริเวณกว้าง การเกิดหมอกสามารถเกิดได้ ในหลายลักษณะ แต่
ใช้หลักการเดียวกัน คือ การควบแน่นของไอน�ำ้ ในอากาศ ซึง่ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมโิ ดยรอบ
ลดลงอย่างรวดเร็ว หรือไอน�ำ้ ผ่านอากาศจากทีห่ นึง่ ไปยังอีกทีห่ นึง่ ซึง่ เย็นกว่า ส�ำหรับทะเลหมอกทีส่ วยงาม
ที่เกิดขึ้นให้เห็นในยามเช้า เกิดขึ้นจากการที่พื้นดินคายความร้อนที่รับไว้ ในเวลากลางวัน และเมื่อเวลา
กลางคืนที่อุณหภูมิลดลง ไอน�้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน�้ำจนเกิดเป็นหมอกในที่สุด
สภาวะทีเ่ อือ้ ให้เห็นทะเลหมอกจะมีลกั ษณะ คือ ท้องฟ้าแจ่มใส อากาศเย็น และไม่มลี ม ฉะนัน้ หาก
ต้องการทีเ่ ทีย่ วชมปรากฏการณ์ทางธรรมชาตินี้ ควรต้องตรวจสอบสภาพอากาศให้ดเี สียก่อน จะได้ ไม่ผดิ หวัง

46 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
นกเงือก สัญลักษณ์แห่งป่าดงดิบ
ด้วยความต้องการเฉพาะและพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ ในการจับคู่ผสมพันธุ์ของเหล่านกเงือก ทั้ง
โพรงตามธรรมชาติเพือ่ ใช้เป็นรังในการฟักและเลีย้ งลูกนกแรกเกิด การปิดปากโพรงและการทิง้ ขนเพือ่ ใช้รองรับ
ไข่ ในรังของตัวเมียซึ่งเป็นผลให้ตัวผู้ต้องรับหน้าที่หาอาหารมาเลี้ยงดู จากเหตุที่กล่าวมาทั้งหมด ท�ำให้
ลักษณะถิ่นอาศัยที่เหมาะสมในการด�ำรงชีวิตของเหล่านกกลุ่มนี้จึงต้องมีความอุดมสมบูรณ์ มีต้นไม้ขนาด
ใหญ่และมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืชไว้เป็นแหล่งอาหารจ�ำนวนมาก และป่าดงดิบก็มีลักษณะที่
เหมาะสม เราจึงพบเจ้านกกลุ่มนี้ ในพื้นที่ป่าดังกล่าวอยู่เสมอจนสามารถกล่าวได้ว่า นกเงือกเป็นสัญลักษณ์
แห่งป่าดงดิบ ที่สื่อถึงความหมายของความอุดมสมบูรณ์นั่นเอง
ในประเทศไทยพบนกเงือกทัง้ หมดรวม 13 ชนิด และในผืนป่าแก่งกระจานสามารถพบได้กว่าครึง่ ของ
ทั้งหมดที่กล่าวมา ซึ่งสามารถบ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของผืนป่าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานได้เป็นอย่างดี

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 47
ทางส�ำหรับรถยนต์สุดสายที่ กม.36 จาก หลาย ก่อนที่จะถึงน�้ำตัวน�้ำตกซึ่งมีถึง 9 ชั้น
ลานจอดรถสามารถเดินเท้าเข้าไปยังนำ�้ ตกทอทิพย์ สายน�้ำไหลลดหลั่นลงมาเป็นทางยาวตามความ
ระยะทางประมาณ 4 กิ โ ลเมตร เส้ น ทางมี ชันของพื้นที่ แต่ละชั้นมีความสวยงามโดดเด่น
ความลาดชันสูง หากท่านต้องการเข้าไปเยีย่ มชม เฉพาะ มีนำ�้ ไหลตลอดทัง้ ปี สามารถเดินเลาะข้าง
จะต้องมีร่างกายแข็งแรงและนิยมการท่องเที่ยว น�้ำตกลงมาจนครบทุกชั้น ปลายทางของสายน�้ำ
ประเภทผจญภัย ระหว่างทางที่ยากล�ำบากนั้น จะไหลลงสู่แม่น�้ำเพชรบุรี บริเวณริมแม่น�้ำเป็น
สามารถพบเห็นสัตว์ป่ารวมถึงพันธุ์ไม้ป่าหลาก จุดกางเต็นท์พักแรมที่เรียกว่า เคยูแคมป์

48 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 49
ความบริสุทธิ์ของธรรมชาติน้ำ�ตกป่าละอู
ความกว้างใหญ่ของผืนป่าแห่งเทือกเขา หัวหิน โดยห่างจากที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ
ตะนาวศรียังกินอาณาเขตเลยมาจนถึงอ�ำเภอ แก่งกระจานประมาณ 80 กิโลเมตร และห่างจาก
หัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ โดยมีนำ�้ ตกป่าละอู ชายแดนประเทศเมียนมาร์เพียง 5 กิโลเมตร
เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งของ น�้ำตกป่าละอูอยู่ทางตอนใต้ของอุทยาน
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อีกทั้งยังสมบูรณ์ แห่งชาติ บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่
สดชื่นด้วยธรรมชาติบริสุทธิ์ ป่าไม้เขียวชอุ่ม มี กจ.3 (ห้วยป่าเลา) ท้องทีต่ �ำบลห้วยสัตว์ใหญ่ เป็น
สัตว์ป่าอาศัยนานาชนิด ที่ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอ น�้ำตกขนาดใหญ่ งดงามด้วยความสูงกว่า 15 ชั้น

50 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
สายน�้ำไหลลดหลั่นกันมาเป็นแนวยาว บริเวณที่ ได้จัดท�ำเป็นเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ซึ่งระหว่าง
เหมาะแก่การลงเล่นน�้ำคือ ชั้น 1-3 ซึ่งอยู่ใกล้กับ ทางจะเดินลัดเลาะเลียบริมล�ำธารผ่านป่าดงดิบ
ทีท่ �ำการหน่วยพิทกั ษ์ฯ ส่วนชัน้ ทีส่ งู ขึน้ ไปนัน้ ต้อง หากเป็นช่วงเวลาเช้าตรู่มักจะมีค่างแว่นถิ่นใต้
ปีนป่ายไปตามโขดหินที่สูงชัน น�้ำตกป่าละอูใน ออกมาหากิ น และปรากฏตั ว ให้ เ ห็ น รวมถึ ง
ชั้นที่ 7 นั้นถือกันว่าเป็นชั้นที่สวยงามที่สุด มี นกแต้วแล้วและนกแซวสวรรค์ที่มักท�ำรังอยู่ข้าง
แอ่งน�้ำขนาดใหญ่อยู่ท่ามกลางแมกไม้อันร่มรื่น ทางเดิน ดังนั้น ท่านควรจะเดินด้วยความเงียบ
โดยผู้ที่มาท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะมาเยือนกันแค่ เพื่อไม่ให้เจ้าของบ้านเหล่านี้ตกใจ นอกจากนี้
ชั้นที่ 7 เพราะชั้นที่สูงไปกว่านี้เส้นทางค่อนข้าง ทั้งสองข้างทางยังเต็มไปด้วยพันธุ์ไม้น้อยใหญ่ที่
ล�ำบากและไม่ ป ลอดภั ย หากท่ า นต้ อ งการ น่าสนใจจ�ำนวนมาก เช่น ยาง สมพง ปอหูช้าง
ผจญภัยไปกับสายน�้ำที่อยู่ตั้งแต่ชั้นที่ 8 ขึ้นไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พืชตระกูลปาล์ม พันธุ์ไม้อีก
จะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่น�ำทาง กลุม่ ทีบ่ ง่ บอกให้เห็นถึงความชุม่ ชืน้ ของป่าดงดิบ
จากปากทางเข้ามาจนถึงน�้ำตกชั้นที่ 1 ได้เป็นอย่างดี
ระยะทางประมาณ 800 เมตร อุทยานแห่งชาติ

ค่างแว่นถิ่นใต้ Dusky Leaf


Monkey, Dusky Langur
(Trachypithecus obscurus)
สัตว์กลุ่มเดียวกับพวกลิง ลักษณะเด่นคือ หางยาว
มีวงสีขาวรอบดวงตาตัดกับขนสีเทาเข้ม จนดูคล้ายกับใส่แว่น
นิสัยไม่ดุร้าย มักรวมฝูงหากินกันเป็นกลุ่มใหญ่ตามยอดไม้
ไม่ค่อยพบลงหากินตามพื้นดิน ฝูงค่างจะใช้วิธีกระโจนจาก
ยอดไม้หนึ่งไปยอดไม้ที่มีเรือนพุ่มใกล้ๆ กันในการเคลื่อนที่
และเปลี่ ย นแหล่ ง อาหาร ซึ่ ง หลั ก ๆ จะเป็ น พวกใบพื ช
ยอดไม้ ผลไม้ และมีแมลงเป็นอาหารเสริม
ค่างแว่นถิน่ ใต้ตอนแรกเกิด ขนทัว่ ตัวจะเป็นสีเหลืองทอง
ต่อเมื่อโตขึ้นจะค่อยๆ ผลัดขนและเปลี่ยน เป็นสีเทาด�ำ
เช่นเดียวกับตัวเต็มวัยในที่สุด

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 51
โป่งลึก-บางกลอย
ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์
โป่งลึก-บางกลอย หมู่บ้านฝาแฝด เป็น ยาง ล่องแพไม้ไผ่ และพายเรือคายักชมความงาม
พื้นที่ที่ชาวไทยภูเขา (กะเหรี่ยง-กะหร่าง) อพยพ สองฝั่งแม่น�้ำเพชรบุรี และกางเต็นท์พักแรมได้
ย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยมายังพื้นที่ดังกล่าวเรื่อยมา โดยพื้นที่สามารถรองรับได้ถึง 100 คนต่อคืน
จนถึ ง ปั จ จุ บั น สภาพของบ้ า นโป่ ง ลึ ก และ การเข้าไปยังบ้านโป่งลึก-บ้านบางกลอย
บ้ า นบางกลอยในเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง ต้องกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มที่ทางอุทยาน
กระจาน มีลักษณะล้อมรอบภูเขาสูงชัน โดยมี แห่งชาติก�ำหนด เพราะจะต้องแสดงหลักฐานการ
แม่นำ�้ เพชรบุรคี นั่ ระหว่างกลางสองหมูบ่ า้ น ท่าน ขออนุญาตให้กับทางเจ้าหน้าที่บริเวณด่านตรวจ
จะได้เยี่ยมเยี่ยมชมกิจกรรมตามแนวโครงการ และหน่ ว ยพิ ทั ก ษ์ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ท่ี กจ.10
พระราชด�ำริ ศึกษาวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่หาชมได้ (ห้วยแม่สะเลียง)
ยากของชนกลุ่มน้อยชาวไทยภูเขา และล่องเรือ

กะเหรี่ยง กะหร่าง
มีข้อสันนิษฐานว่าชาวกะเหรี่ยงเดิมอาศัยอยู่ทางตะวันออกของทิเบต ได้อพยพเข้าไปตั้งอาณาจักร
ในประเทศจีนเมื่อ 733 ปีก่อนพุทธกาล จีนเรียกพวกนี้ว่าชนชาติโจว เมื่อถูกจีนรุกรานจึงอพยพมาอยู่
บริเวณลุ่มแม่น�้ำแยงซี ยูนนาน แล้วถอยร่นมาอยู่ระหว่างแม่น�้ำโขงและแม่น�้ำสาละวิน ชาวกะเหรี่ยงอพยพ
เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมียนมาร์ก่อนที่จะขยายเข้ามาอยู่ ในพื้นที่ของประเทศไทย โดยตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณ
ภูเขาทางชายแดนตะวันออกของประเทศเมียนมาร์ และตะวันตกของประเทศไทย
ชาวกะเหรี่ยงแบ่งตามภาษาที่พดู เป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ กะเหรี่ยงโปว์ กะเหรี่ยงสะกอ กะเหรี่ยงบเว
ที่เรียกตัวเองว่าคยา หรือยางแดง และกะเหรี่ยงพะโอหรือตองสู่ โดยกลุ่มที่มีมากที่สุดในประเทศไทยก็
คือ กะเหรี่ยงสะกอและกะเหรี่ยงโปว์
ค�ำว่า “กะเหรีย่ ง” เป็นค�ำทีค่ นมอญใช้เรียก กลุม่ คนทีอ่ ยู่ ในพืน้ ทีป่ า่ เขา (คือพรมแดนประเทศไทย-
เมียนมาร์) หรือกะเหรีย่ งสะกอ ส่วน “กะหร่าง” ซึง่ เป็นค�ำทีค่ นมอญใช้เรียกกะเหรีย่ งโปว์ อาศัยอยูต่ ะเข็บ
ชายแดนแถว เพชรบุรี กาญจนบุรี และประจวบคีรีขันธ์

52 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 53
กิจกรรมที่น่าสน
ใจ
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีผืนป่าดงดิบที่แสนอุดมสมบูรณ์ที่เพียบพร้อมไปด้วย
ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า ท�ำให้ผู้คนมากมายต่างมาเยือนพื้นที่แห่งนี้ เพื่อซึมซับเอาความงดงาม
ของธรรมชาติ พักผ่อนหย่อนใจ และจ�ำนวนไม่น้อยที่เข้ามารู้จักกับโลกของธรรมชาติในรูปแบบ
ของการศึ ก ษาธรรมชาติ ซึ่ ง ในทุ ก กิ จ กรรมนั้ น ล้ ว นเน้ น ย�้ ำ ให้ ต ระหนั ก ถึ ง การอนุ รั ก ษ์
ทรั พ ยากรธรรมชาติ ทั้ ง สิ้ น และไม่ ว ่ า จะไปประกอบกิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย วประเภทใดก็ ต าม
หากเพิ่มความสังเกตโดยอาศัยประสาทสัมผัสพื้นฐาน จะช่วยเพิ่มอรรถรสให้กับการท่องเที่ยว
ธรรมชาติได้ยิ่งขึ้น

54 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ตาดู มองบน มองล่าง และรอบๆ ทั้งบนท้องฟ้า ยอดไม้ หรือ
แม้กระทั่งตามพื้นดิน จับตาดูสิ่งที่เคลื่อนไหว สังเกตรูปร่าง ลักษณะ
ขนาด สีสนั และพฤติกรรมของสิง่ นัน้ สิง่ ทีค่ ณ
ุ ก�ำลังเห็นอยูน่ นั้ อาจเป็น
สิ่งที่หลายคนอยากเห็นแต่ไม่มีโอกาส
หูฟัง พยายามเงียบ...แล้วธรรมชาติจะบรรเลงเพลงให้ฟัง ไม่ว่า
จะเป็น นก แมลง สัตว์ป่า หรือเสียงใบไม้ไหว จะประสานกันดั่งเป็นวง
ดนตรีขนาดใหญ่ ถ้าโชคดีเราอาจได้รู้จักกับเจ้าของเสียงนั้นก็ได้
สูดลมหายใจลึกๆ พิสูจน์กลิ่นของป่าเขา คุณอาจได้กลิ่นสาบ
ของสัตว์ป่า กลิ่นดอกไม้ หรือกลิ่นอากาศอันแสนบริสุทธิ์

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 55
เดินป่าศึกษาธรรมชาติ
กิจกรรมเดินป่าศึกษาธรรมชาติใน
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ส่วนใหญ่เป็น
เส้นทางเดินป่าทีเ่ หมาะส�ำหรับผูท้ มี่ สี ขุ ภาพ
ร่างกายแข็งแรง และมีพละก�ำลังพอสมควร
ถึงมาก โดยมีเส้นทางที่น่าสนใจ ได้แก่

56 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ
ที่ กจ.19 (พะเนินทุ่ง)
• เส้นทางกิโลเมตรที่ 29-น�้ำตกธารทิพย์
ลักษณะเส้นทางเดินเป็นสันเขาสูงชันเล็ก
น้อย เมือ่ เข้าไปในเส้นทางจะพบพันธุไ์ ม้มากมาย
เช่น ก่อ หวาย ไทร ยาง และสมุนไพรที่มีขนาด
ใหญ่โต 5 คนโอบ นัน่ คือ กะเพราต้น เมือ่ เดินทาง
เข้าไปถึงน�้ำตกชั้นแรกจะได้พบกับความงามของ
ธรรมชาติ พืชพันธุ์ โดยเฉพาะปรง เตยหนามยักษ์
มหาสด�ำ จันทน์ผา ค้อดอย ซึง่ เป็นเครือ่ งประดับ
ของน�้ำตกธารทิพย์ทั้ง 5 ชั้น เส้นทางนี้สามารถ
เดินทางไป-กลับ ใช้เวลาเดินประมาณ 3 ชั่วโมง

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 57
58 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
• เส้นทางพระต�ำหนัก-ยอดเขาพะเนินทุ่ง
เป็นเส้นทางที่ท้าทายความสามารถของ
นักเดินป่า นักท่องไพรตัวจริง เพราะจะต้อง
เตรียมความพร้อมของร่างกาย อาหาร เครื่อง
นุง่ ห่มให้พร้อมเนือ่ งจากข้างบนอากาศหนาวเย็น
ตลอดปี จุดเริ่ม ต้นจากพระต�ำหนักกิโลเมตร
ที่ 31 เดินผ่านไปตามเส้นทางที่ปกคลุมด้วยไผ่
เป็นทางลาดขึน้ เขาลงห้วย ชมนก-ชมไม้ หากโชค
ดีก็จะได้เจอกับนกกะลิงเขียดหางหนามที่มีที่
เดียวของประเทศไทย และนกที่หายากอย่าง
นกเขียวปากงุ้ม เมื่อเดินทางไปถึงยอดเขาจะได้
พบกับธรรมชาติที่งดงาม บางทีอาจจะได้เห็น
กุหลาบพันปีและทะเลหมอกที่สวยงามที่สุดบน
ยอดเขาพะเนิ น ทุ ่ ง ยอดเขาแห่ ง การท้ า ทาย
เส้นทางนี้ไม่สามารถไปกลับได้ภายในวันเดียว
ต้องพักแรม 1 คืน

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 59
• เส้ น ทางกิ โ ลเมตรที่ 33-น�้ ำ ตกหิ น ลาด-
โป่งหมู-ผากล้วยไม้-เคยูแคมป์
จุดเริ่มต้นอยู่ที่กิโลเมตรที่ 33 เดินลงไป
ประมาณ 1 ชั่วโมง ก็จะพบชั้นน�้ำตกหินลาด
ขนาด 3 ชัน้ ให้ได้ชมความงามของธรรมชาติและ
แหล่งน�ำ้ ของสัตว์ปา่ ทีห่ ายาก อยูไ่ ม่ไกลนักกับโป่ง
ดินธรรมชาติที่เรียกว่า โป่งหมู ซึ่งมีลักษณะเป็น
โป่งขนาดใหญ่มสี ตั ว์ปา่ หากินมากมาย โดยเฉพาะ
ช้างป่า สมเสร็จ กระทิง วัวแดง กวางป่า เก้ง เสือ
สามารถพบเห็นร่องรอยการหากินของพวกมันได้
และถ้ า หากโชคดี ยั ง อาจได้ พ บสั ต ว์ ป ่ า อย่ า ง
เสือโคร่ง สมเสร็จ และยังจะได้สัมผัสกับการ
พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ หาดทรายริมแม่น�้ำ
เพชรที่ชื่อว่า ลานผากล้วยไม้ หรือพักที่ลาน
เคยูแคมป์ เส้นทางนี้ต้องพักแรมอย่างน้อย 1 คืน
ใช้เวลาเดินไป-กลับ 14 ชั่วโมง

60 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
เตรียมตัวลุย กับการเดินป่า
• การเดินป่าเป็นกิจกรรมหนึง่ ทีเ่ หมาะส�ำหรับผูท้ รี่ กั ความท้าทายและการผจญภัย ท�ำให้
การเดินป่านั้นต้องมีการเตรียมความพร้อมให้เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยของผู้ท�ำ
กิจกรรมเองและเพื่อไม่ให้เกิดการรบกวนธรรมชาติจากการประกอบกิจกรรม
• ก่อนอื่นต้องศึกษาข้อมูลการเดินทางให้มากที่สุด ทั้งสภาพอากาศ สภาพของเส้นทาง
สภาพภูมิประเทศ ตลอดจนสภาพร่างกาย ของผู้ที่จะเดินป่า ควรมีร่างกายที่พร้อม
แข็งแรง และจิตใจที่พร้อมต่ออุปสรรค ที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง
• เสื้อผ้า ควรเป็นเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่เนื้อผ้าแห้งง่าย และสวมใส่สบาย
คล่องตัว รองเท้า ควรเป็นรองเท้าหุม้ ส้นหรือหุม้ ข้อ พืน้ รองเท้าไม่แข็งหรืออ่อนจนเกิน
ไป และควรสวมถุงเท้าเพื่อป้องกันรองเท้ากัด
• เป้สัมภาระควรมีขนาดเหมาะสมกับล�ำตัวของผู้ใช้และจ�ำนวนสัมภาระที่ใช้ หากเป้มี
น�้ำหนักมากควรใช้สายคาดเอว เพื่อถ่ายเทน�้ำหนักส่วนหนึ่งที่บ่ารับน�้ำหนักเอาไว้ ให้
เอวหรือช่วงล�ำตัวช่วยรับน�้ำหนักอีกแรง
• หากจ�ำเป็นที่จะต้องค้างคืนระหว่างการเดินป่า ควรเลือกเต็นท์พักแรมที่เหมาะสมกับ
จ�ำนวนคน หรือหากจะให้สะดวกในการพกพาเปลสนามก็ถือเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ
เนื่องจากมีขนาดกะทัดรัดและน�้ำหนักเบา แต่ที่ขาดไม่ได้คือแผ่นฟลายชีตที่จะต้องขึง
ด้านบน เพือ่ ป้องกันนำ�้ ค้างในช่วงกลางคืน นอกจากนัน้ ก็เป็นอุปกรณ์อนื่ ๆ ทีจ่ �ำเป็นใน
การเดินป่าพักแรม เช่น ถุงนอน ยาประจ�ำตัว กระติกน�้ำ มีดอเนกประสงค์ และ
ครัวสนาม
• การเดินป่าควรเดินเรียงเดีย่ ว ด้วยความเร็วสม�ำ่ เสมอ ไม่ควรส่งเสียงดัง เพราะนอกจาก
จะเปลืองพลังงานท�ำให้เหนื่อยง่ายแล้ว ยังลดโอกาสในการพบเห็นสัตว์ป่าอีกด้วย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 61
• เส้นทางพระต�ำหนัก-บ่อน�ำ้ ร้อน-น�ำ้ ตกทอทิพย์
เส้นทางนี้คาดว่าน่าจะเป็นเส้นทางสัญจร
ดัง้ เดิมของชาวบ้านก่อนทีจ่ ะประกาศเป็นอุทยาน
แห่งชาติ เพราะมีพืชพันธุ์ของชาวบ้านที่ปลูกไว้
อย่างขนุน เมื่อลงไปถึงต้นน�้ำตกทอทิพย์ก็จะได้
พบบ่อน�้ำร้อนธรรมชาติ ที่มีอุณหภูมิสูงสามารถ
ลวกไข่ได้เลยทีเดียว และยังได้สัมผัสกับต้นน�้ำ
ของน�้ ำ ตกทอทิ พ ย์ และได้ ช มน�้ ำ ตกทอทิ พ ย์
ชั้น 9 และสัตว์ป่าที่หายากโดยเฉพาะเต่าหก
ซึ่งเป็นเต่าบกขนาดใหญ่ เส้นทางนี้ไม่สามารถ
ไป-กลับได้ภายในวันเดียว ต้องพักแรมในป่า
1 คืน ใช้เวลาเดินไป-กลับประมาณ 12 ชั่วโมง

62 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาตแก่งกระจาน

62 คู่มมืออื ท่ท่อองเที
งเที่ยย่ วอุวอุททยานแห่
ยานแห่งชาติ
งชาติแก่แงก่กระจาน
งกระจาน
• เส้นทางกิโลเมตรที่ 36-น�้ำตกทอทิพย์
นั บ เป็ น เส้ น ทางที่ ท ้ า ทายก�ำลั ง ของผู ้ ม า
ท่องเที่ยว ที่นอกจากจะได้รับอากาศที่บริสุทธิ์
แล้วยังได้ออกก�ำลัง และชมความงามธรรมชาติ
ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตลอดเส้ น ทางโดยเฉพาะ
พืชพรรณไม้ จะเป็นป่าผสมระหว่างป่าดงดิบกับ
ป่าเบญจพรรณที่นักนิยมพันธุ์ไม้เรียกว่าสวรรค์
ของป่า เส้นทางนี้สามารถเดินไป-กลับได้ โดย
ไม่ต้องค้างแรมในป่า ใช้เวลาประมาณ 4 ชั่วโมง

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 63
• เส้นทางลานกางเต็นท์-ล�ำธารหนึ่ง
ระยะทาง 1.8 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดิน
ประมาณ 1-2 ชั่วโมง จุดเริ่มต้นอยู่บริเวณลาน
กางเต็ น ท์ ลั ด เลาะล�ำธารต้ น แม่ น�้ ำ ปราณบุ รี
ที่ ข นานไปกั บ ถนนเส้ น ทางไปเขาพะเนิ น ทุ ่ ง -
น�้ำตกทอทิพย์ เป็นทางเดินเท้าที่ไม่ล�ำบากนัก
แต่มบี างช่วงของเส้นทางจะต้องลุยนำ�้ ข้ามไป-มา
สภาพป่าโดยทั่วไปเป็นป่าเบญจพรรณ มีต้นไม้
หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ กจ.4 ครึ้มตลอดทาง จนถึงล�ำธารที่ 1 เป็นเส้นทางที่
(บ้านกร่าง) เหมาะส�ำหรั บ ดู น ก ศึ ก ษาพั น ธุ ์ ไ ม้ เนื่ อ งจาก
มีเส้นทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติให้เลือก เส้นทางนี้เป็นเส้นทางที่มีทางด่านของสัตว์ป่า
สัมผัสถึง 7 เส้นทาง ทั้งแบบไป-กลับในวันเดียว มาเชื่อมหลายเส้นทางและยังไม่มีป้ายบอกทาง
และแบบพักแรมกลางเส้นทาง ได้แก่ การเดินควรติดต่อเจ้าหน้าที่น�ำทาง

64 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
• เส้นทางโรงสูบน�้ำ-รอบศูนย์บริการฯ
ระยะทาง 1.5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดิน 30 นาที
หรือ 1 ชั่วโมง จุดเริ่มต้นของเส้นทางเดินเริ่มตรง
โรงสูบน�้ำสี่แยกตรงข้ามทางขึ้นที่ท�ำการหน่วย
พิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ กจ.4 (บ้านกร่าง) เดิน
ไปตามถนนเป็ น วงรอบกลั บ มายั ง จุ ด เริ่ ม ต้ น
สามารถเดินได้สะดวก ปลอดภัย ข้างทางเป็น
ป่าละเมาะผสมผสานกับป่าเบญจพรรณ เหมาะ
ที่จะเดินดูนก ผีเสื้อชมพันธุ์ไม้ ได้ด้วยตนเอง

• เส้นทางศึกษาธรรมชาติชีวิตเถาวัลย์
เป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะทาง ในช่วงต้นของเส้นทางเป็นทางราบและเดินขนาน
ประมาณ 950 เมตร มีจุดเริ่มต้น (Trail Head) ไปกับล�ำห้วย ระยะทางประมาณ 50 เมตร มีจุด
และสิ้นสุดเส้นทาง (Trail End) อยู่ใกล้บริเวณ ที่ต้องเดินข้ามล�ำห้วยของคลองปราณบุรี 4 จุด
ลานกางเต็นท์บ้านกร่าง สภาพป่าตลอดเส้นทาง ซึ่งไม่ลึกและไม่เป็นอันตราย หลังจากนั้นจะเป็น
เป็นป่าดงดิบแล้ง ประกอบด้วยต้นไม้ใหญ่ค่อน ทางลาดขึ้นเขาและลงเขาแต่ไม่ชันมาก เถาวัลย์
ข้างมาก ไม้ชั้นรองส่วนใหญ่จะมีเถาวัลย์ปกคลุม และต้นไม้น้อยใหญ่ขึ้นปกคลุมตลอดเส้นทาง
ค่อนข้างหนาแน่น บางจุดต้องเดินผ่านซุม้ เถาวัลย์ ท�ำให้ ร ่ ม รื่ น และเย็ น สบาย ดั ง นั้ น เส้ น ทางนี้
บางจุ ด สามารถมองเห็ น มุ ม มองด้ า นบนของ จึงเหมาะกับผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง และไม่เหมาะ
เรื อ นยอด และพบเถาวั ล ย์ ห ลากหลายชนิ ด กับเด็ก คนชรา หรือผู้มีโรคประจ�ำตัว

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 65
• เส้ น ทางกิ โ ลเมตรที่ 23-น�้ ำ ตกปราณบุ รี -
กิโลเมตรที่ 18
ระยะทาง 6 กิโลเมตร ใช้เวลาเดิน 1 วัน หรือ
พักแรม 1 คืน ฤดูกาลที่เหมาะสม คือ ฤดูฝน
จุดเริ่มต้นของเส้นทางจะอยู่ห่างจากที่ท�ำการ
หน่วยพิทักษ์ฯ บ้านกร่าง ประมาณ 8 กิโลเมตร • เส้นทางบ้านกร่าง-เขาปะการัง-ต้นมะค่าโมง-
ไปตามถนนที่จะไปเขาพะเนินทุ่ง-น�้ำตกทอทิพย์ โป่งพรม
มีที่จอดรถไว้บริการอยู่ฝั่งซ้ายมือก่อนถึงทางลง ระยะทาง 3-4 กิโลเมตร หรือ 6 กิโลเมตร
น�้ำตกประมาณ 200 เมตร เดินลงไปที่น�้ำตกและ (แล้วแต่ความต้องการ) ใช้เวลาเดิน 1 วัน โดย
เดิ น ย้ อ นกลั บ มาทางเดิ ม หรื อ จอดรถไว้ ที่ จุดเริม่ ต้นเริม่ จากโรงสูบน�ำ้ บริเวณสีแ่ ยกตรงข้าม
กิโลเมตรที่ 18 จากนั้นเดินทวนล�ำธารขึ้นไปที่ ทางขึ้นที่ท�ำการหน่วยพิทักษ์ฯ บ้านกร่าง ตรงไป
น�้ำตกแล้วปีนเขาทางขวามือไปยังกิโลเมตรที่ 23 ถนนลาดยาง 700 เมตร สุดถนนลาดยางเป็น
ส�ำหรับทางเดินลงน�ำ้ ตกเป็นทางเดินของเลียงผา ทางเดินแคบๆ เดินข้ามล�ำธารแห้งขึน้ ไปตามด่าน
และปรับปรุงเป็นทางเดินเท้า แวดล้อมไปด้วย ของเลียงผาถึงยอดเขาปะการังเป็นระยะทาง 3
ป่าดงดิบ ใช้เวลาเดินลงไปทีน่ ำ�้ ตกประมาณ 10 นาที กิโลเมตร สามารถเดินเข้าไปเดินชมความงามของ
เดินกลับ 30-40 นาที เนื่องจากทางเดินเป็นทาง หินงอกหินย้อยภายในถ�้ำเขาปะการังได้ จากนั้น
เดินขึน้ เขา-ลงเขามีความลาดชันสูง โดยเฉพาะใน เดินข้ามสันเขาถึงทางชักลากไม้เก่า เข้าป่าไร่ร้าง
ช่วงฤดูฝนต้องเดินด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ ลงล�ำธารแห้งห้วยตงนะ ทวนล�ำธารขึ้นไปพบ
เพราะทางค่อนข้างลืน่ สามารถทีจ่ ะชมธรรมชาติ ล�ำธารแห้งทางขวามือทีล่ งมาบรรจบกัน เดินขึน้ ไป
ของน�้ำตกที่ยังคงความเป็นธรรมชาติอยู่ปกคลุม กลางเนินประมาณ 100 เมตร จะพบต้นมะค่าโมง
ห้อมล้อมไปด้วยหมูแ่ มกไม้นานาพรรณ ตามโขดหิน ใหญ่อยูท่ างขวามือ เดินย้อนกลับไปทีท่ างชักลาก
บริเวณน�้ำตกและล�ำธารยังเป็นแหล่งดูผีเสื้อที่ดี ไม้เก่าเลี้ยวขวาไปประมาณ 3 กิโลเมตร จะถึง
ด้วย เนื่องจากมีผีเสื้อมากมายหลายชนิด เหมาะ โป่งพรม (กิโลเมตรที่ 10) สภาพภายในเส้นทาง
ส�ำหรับผูท้ ชี่ อบเดินป่าระยะไกล และต้องพักแรม เดินเป็นป่าฟื้นคืนสภาพจากป่าที่ถูกท�ำลายไป
สามารถใช้เส้นทางนี้ได้ส�ำหรับผู้ที่กลัวทากต้อง แล้วเมื่อ 20 ปีก่อน พื้นที่บางแห่งเป็นไร่ร้าง การ
เตรียมอุปกรณ์ป้องกันทากติดตัวไปด้วย เพราะ เดินศึกษาธรรมชาติเส้นนีต้ ดิ ต่อเจ้าหน้าทีน่ �ำทาง
ในฤดูฝนทากค่อนข้างชุม เส้นทางนี้ต้องติดต่อ เพราะมีเส้นทางด่านสัตว์หลายเส้นทางอาจท�ำให้
เจ้าหน้าที่น�ำทาง หลงทางได้

66 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
• เส้นทางโป่งพรม-กิโลเมตรที่ 15
ระยะทาง 5 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินชั่วโมงครึ่ง จุดเริ่มต้น
ของเส้นทางอยู่บริเวณโป่งพรม เดินไปตามถนนดินลูกรัง
พะเนิ น ทุ ่ ง -น�้ ำ ตกทอทิ พ ย์ ไปจนถึ ง หน่ ว ยฯ บ้ า นกร่ า ง
เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของสองฝั่งถนนเป็นพื้นที่ราบทุ่ง
หญ้า สภาพป่าเป็นป่าละเมาะและป่าเบญจพรรณ เป็นแหล่ง
น�้ำ แหล่งดินโป่ง ทั้งโป่งดิน โป่งน�้ำ ซึ่งเป็นแหล่งอาหารของ
สัตว์ปา่ ท�ำให้มโี อกาสพบเห็นสัตว์ปา่ ได้โดยเฉพาะช่วงเช้าตรู่
และตอนกลางคืนเหมาะส�ำหรับผู้ที่ชอบศึกษารอยตีนสัตว์
ดูนก ผีเสื้อ ดอกไม้ป่าบานในช่วงปลายฝนต้นหนาว เป็น
เส้นทางที่เดินง่ายไม่จ�ำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่น�ำทาง

โป่งแหล่งเกลือแร่กลางป่า
โป่ง” (Salt Licks) หมายถึง สถานที่อันเป็นแหล่งสะสมของแร่ธาตุหลายชนิด ซึ่งมีความจ�ำเป็น
ต่อการใช้ ในร่างกายของสัตว์ป่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ป่าพวกกินพืช (Herbivore) เพื่อทดแทนแร่ธาตุที่
ขาดไป โป่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
• โป่งดิน มักเกิดบนที่ราบ หรือเป็นลักษณะมูลดิน เนินดินเตี้ยๆ บนที่ลุ่ม เช่น ทุ่งหญ้า โดยมี
เส้นผ่านศูนย์กลางของโป่งไม่เกิน 10 เมตร โป่งประเภทนีอ้ าจเกิดจากการไหลรวมตัวกันของน�ำ้ จน
เกิดตะกอนของแร่ธาตุขนึ้ หรือเกิดจากแหล่งหินทีอ่ ยู่ ใต้ดนิ แปรสภาพเป็นดิน จึงมีแร่ธาตุทม่ี ปี ริมาณ
สูงสุดคือ แคลเซีย่ ม และยังพบแร่ธาตุอนื่ ๆ อีก เช่น โซเดียม เหล็ก ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม
โพแทสเซียม และคลอรีน
• โป่งน�้ำ มักได้แก่พื้นที่บริเวณตาน�ำ้ หรือแหล่งน�้ำซับ ท�ำให้ชุ่มชื่นและแฉะตลอดเวลา เช่น ตาน�้ำ
ของภูเขาหินปูน หรือเป็นแอ่งดินที่เกิดจากการขุดเซาะของโป่งดินมาก่อนก็ได้ มักมีแร่ธาตุ
องค์ประกอบหลักคือ โซเดียม
ส�ำหรับสัตว์กินพืช สารอาหารจากพืชเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายของสัตว์
จ�ำต้องมีแร่ธาตุมาใช้ ในกระบวนการภายในร่างกาย หากขาด อาจเป็นเหตุให้ร่างกายเจ็บป่วย และอาจมีผล
ไปจนถึงการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ สัตว์จึงจ�ำเป็นต้องกินดินโป่งเพื่อเพิ่มแร่ธาตุที่ส�ำคัญต่างๆ ให้กับ
ร่างกาย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 67
• เส้นทางบ้านกร่าง-กิโลเมตรที่ 18
ระยะทาง 3 กิ โ ลเมตร ใช้ เ วลาประมาณ
2 ชัว่ โมง จุดเริม่ ต้นของเส้นทางอยูบ่ ริเวณป้ายทางเข้า
ลานกางเต็นท์บา้ นกร่างแคมป์ ไปตามถนนเขาพะเนินทุง่
-น�้ำตกทอทิพย์ จนถึงกิโลเมตรที่ 18 ข้างทางเป็นป่า
เบญจพรรณสลับป่าดงดิบแล้ง เป็นเส้นทางที่เหมาะ
ส�ำหรับดูนก ดูผเี สือ้ และสามารถพบเห็นสัตว์ปา่ ได้ เช่น
ค่างแว่นถิน่ ใต้ เก้ง เป็นเส้นทางที่เดินได้ง่ายสามารถ
เดินศึกษาธรรมชาติได้ด้วยตนเอง

• เส้ น ทางแม่ น�้ ำ ปราณบุ รี - เนิ น 828-แม่ น�้ ำ


คมกฤช-เขาปะการัง
ระยะทาง 25 กิโลเมตร ใช้เวลาเดิน 3 วัน
2 คืน จุดเริม่ ต้นจากหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติที่
กจ.4 (บ้านกร่าง) ไปตามเส้นทางที่จะไปเขา
พะเนินทุ่ง-น�้ำตกทอทิพย์ ระยะทาง 3 กิโลเมตร
เลยหลักกิโลเมตรที่ 18 ไปประมาณ 50 เมตร
เดินเลี้ยวซ้ายเข้าป่าตรงบริเวณโค้งจะทะลุมา
ทีเ่ ขาปะการัง ภายในเส้นทางจะเป็นป่าดงดิบแล้ง
ผสมกับป่าดงดิบชืน้ สมบูรณ์ ต้องเดินตามทางด่าน
ของช้างป่าและเดินไปตามเส้นทางชักลากไม้เก่า
เหมาะส�ำหรั บ คนที่ ช อบความสมบุ ก สมบั น
ต้องเดินลัดเลาะข้ามล�ำธารหลายล�ำธาร
ส�ำหรั บ ผู ้ ที่ ก ลั ว ทากต้ อ งเตรี ย มอุ ป กรณ์
ส�ำหรับกันทากพกติดตัวไปด้วย เส้นทางนี้ต้อง
ติดต่อเจ้าหน้าทีน่ �ำทาง เพราะมีเส้นทางด่านสัตว์
หลายเส้ น ทางอาจท�ำให้ เ ดิ น หลงทางได้ แ ละ
ป้องกันอันตรายในการพักแรมในป่า
68 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ทาก
แม้ ท ากจะเป็ น สั ต ว์ จ อมดู ด เลื อ ด ที่ ทั้ ง • ใส่ถุงกันทาก เพื่อเพิ่มการป้องกันทากให้กับ
รูปร่างหน้าตาและการกินอาหารของมันจะท�ำให้ ส่วนเท้า แต่ตอ้ งคอยสอดส่องตามร่างกายด้วย
นักเดินทางหลายคนขยาดที่จะใช้เส้นทางในป่า เพราะทากอาจไต่ขึ้นมาในระดับที่สูงขึ้นจาก
โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน แต่กระนั้น หากเทียบถึง บริเวณขาได้ หากพบควรรีบแกะออกทันที
ความอันตรายและโรคร้ายต่างๆ กับสัตว์กวนใจ • ใช้สารเคมีหรือของเหลวที่มีสภาพเป็นกรด
ชนิดอื่นๆ แล้ว ถือว่าไม่อันตรายมากนัก แต่ เป็นด่าง ก็จะสามารถป้องกันทากได้ เช่น สบู่
อย่างไรก็ตาม การป้องกันไม่ให้ทากกัดก็เป็นการ นำ�้ ผสมใบยาสูบ หรือสารฉีดกันแมลงทีค่ ดิ ค้น
ดีที่สุด เพราะอาจโชคร้ายเจอบางตัวที่มีเชื้อโรค ขายกันตามร้านขายอุปกรณ์เดินป่าทั่วไป แต่
ท�ำให้เกิดอาการแพ้บวมและอักเสบได้ หรือใน ต้องพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสม เพราะหาก
กรณีที่กัดในส่วนส�ำคัญของร่างกาย เช่น ภายใน คิดตามหลักความเป็นจริงแล้ว สารที่มีผลต่อ
หูหรือจุดบอบบางอื่นๆ ก็อาจท�ำให้เกิดโรคภัย ทาก บางชนิดก็อาจจะมีผลต่อผิวหนังของเรา
ตามมาได้ ด้วยเช่นกัน
วิธีการป้องกัน • การใช้มือจับทากทิ้ง นี่อาจเป็นวิธีที่ดีที่สุด
• การแต่งกายต้องรัดกุม เสื้อแขนยาว คอไม่ ส�ำหรับคนที่ไม่กลัวที่จะต้องสัมผัสกับทาก
กว้าง กางเกงขายาว น�ำชายเสื้อสอดเข้าใน และเนื่ อ งจากทากมี ผิ ว ที่ เ ปี ย กชื้ น ซ�้ ำ ยั ง
กางเกง สวมรองเท้าหุม้ ข้อ และสวมถุงเท้า ซึง่ ยืดหยุ่นได้ดี การจับและดึงออกตรงๆ อาจ
การแต่งกายเช่นนี้ นอกจากจะเป็นปราการ ท�ำให้ทากหลุดออกไปได้ยาก วิธีการคือ ให้ใช้
หนึง่ ในการป้องกันทากได้แล้ว ยังช่วยป้องกัน นิว้ หมุนกลิง้ ตัวทากไปมา เมือ่ ความชืน้ จากตัว
ร่างกายของเราจากการขีดข่วนของกิง่ ไม้ เศษ ทากแห้งลง ทากจะหลุดออกได้ง่าย
ไม้ แมลง และสัตว์มีพิษอื่นๆ ได้อีกด้วย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 69
ดูนก
อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจานนั บ ว่ า เป็ น
สถานที่แห่งหนึ่งที่นักนิยมธรรมชาติทั้งหลายยก
ให้เป็นแดนสวรรค์ของเหล่านักดูนก ด้วยความ
หลากหลายของสภาพป่าแก่งกระจานและด้วย
ท�ำเลที่เหมาะสม ท�ำให้ที่นี่เป็นแหล่งรวมของ
นกจากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค
กลาง และภาคใต้ ตั้งแต่นกชนิดที่พบได้บนดอย
สูงจนถึงนกที่พบได้ในพื้นที่ต�่ำ ร้อยละ 50 ของ
นกที่ พ บได้ ใ นเมื อ งไทย หรื อ ราว 500 ชนิ ด
สามารถพบได้ทผี่ นื ป่าแห่งนี้ ทัง้ นกประจ�ำถิน่ และ
นกอพยพในฤดูหนาว เช่น นกปรอดหัวตาขาว
คือ ตัวแทนของนกจากภาคเหนือ นกโพระดกคอ
สี ฟ ้ า เคราด�ำ คื อ ชนิ ด ที่ บ ่ ง บอกถึ ง ที่ ม าจาก
ภาคอีสาน และนกจาบคาเคราแดง นักดูนกทราบ
ดีว่ามักพบทางภาคใต้ ท�ำให้อุทยานแห่งชาติ
แก่งกระจานเป็นแหล่งรวมของบรรดาผู้รักการ
ดูนก ที่มาเยือนที่นี่อย่างไม่ขาดสาย

70 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
เส้นทางดูนกที่ส�ำคัญ คือ เส้นทางขึ้นสู่เขา
พะเนินทุ่ง ช่วงแรกของเส้นทางตั้งแต่กิโลเมตรที่
1-17 โดยทัว่ ไปเป็นป่าเบญจพรรณ สภาพป่าค่อน
ข้างโปร่ง นกที่พบจึงเป็นนกในป่าโปร่ง เช่น นก
หัวขวานสามนิ้วหลังทอง นกโพระดกเคราแดง
นกพญาปากกว้างอกสีเงิน นกกาฮัง และนก
เขียวก้านตองหน้าผากสีทอง ส่วนตามริมห้วย
ในป่ า ดงดิ บ ชื้ น มั ก ปรากฏนกป่ า ลุ ่ ม ต�่ ำ เช่ น
นกแต้วแล้วหูยาว นกหัวขวานปีกแดง ซึ่งจาก
รายงานการส�ำรวจคาดการณ์ว่าป่าแก่งกระจาน
อาจเป็นป่าแห่งเดียวในประเทศไทยทีพ่ บนกสอง
ชนิดนี้หากินในพื้นที่เดียวกัน เนื่องจากโดยปกติ
จะพบนกแต้วแล้วหูยาวในป่าแถบภาคตะวันออก
เฉียงเหนือและภาคเหนือ ส่วนนกหัวขวานปีก
แดง เป็นนกประจ�ำถิ่นของป่าลุ่มต�่ำทางภาคใต้

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 71
นกแต้วแล้วหูยาว Eared Pitta
(Pitta phayrei)
แม้นกชนิดนี้จะมีสีสันไม่ฉูดฉาดสวยงาม แต่ก็มีจุดเด่นที่น่ารัก คือ บริเวณหลังตาจะมีกระจุกขนยาว
เลยไปด้านท้ายทอยดูคล้ายหูสองข้าง อาศัยหากินและท�ำรังตามพื้นป่ารกของป่าเบญจพรรณ ป่าไผ่ และ
ป่าดงดิบ อาหารจะเป็นกลุม่ ของสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลังทีเ่ คลือ่ นไหวได้ชา้ และด้วยสภาพถิน่ ทีม่ นั เลือกอาศัย
สีสันลวดลายของมันที่ออกสีน�้ำตาลกลมกลืนกับพื้นป่า บวกกับนิสัยแปลกประหลาดที่สามารถยืนนิ่งๆ
อยู่เป็นเวลานานได้โดยไม่ขยับเขยื้อนเลย ท�ำให้นักดูนกมองเห็นตัวมันได้ยาก
แต้วแล้วหูยาว เป็นนกประจ�ำถิน่ ทีพ่ บได้ ไม่บอ่ ยนักแม้จะมีการกระจายอยูแ่ ทบทุกภาคของประเทศไทย
(เว้นเพียงภาคกลางและภาคตะวันออก) ท�ำให้มันถูกจัดขึ้นบัญชีสัตว์ป่าคุ้มครองจ�ำพวกนก ตามบัญชีแนบ
ท้ายพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535

72 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ตั้งแต่บริเวณกิโลเมตรที่ 18 ไปจนสุดถนน
บริเวณกิโลเมตรที่ 36 ภูมิประเทศเปลี่ยนเป็น
ภูเขาสลับซับซ้อน สภาพป่าเปลี่ยนเป็นป่าดงดิบ
เขาและป่าดงดิบชื้นแน่นทึบ บริเวณนี้จึงพบนก
ป่ า สู ง เช่ น เดี ย วกั บ แถบอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด อย
อินทนนท์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง
เช่ น นกปรอดหั ว ตาขาว นกแอ่ น ฟ้ า หงอน
นกกะลิงเขียดสีเทา นกหางร�ำหางยาว นกเสือ
แมลงหั ว ขาว นกหั ว ขวานสี่ นิ้ ว หลั ง ทอง โดย
เฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงประมาณเดือนพฤษภาคมซึ่ง เสมอ จากภาพทีง่ ดงามของพ่อนกและแม่นกช่วย
เป็นช่วงเวลาทีท่ �ำรังวางไข่ของนกพญาปากกว้าง ช่วยกันท�ำรัง วางไข่ และเลีย้ งลูกน้อย ซึง่ นักดูนก
อกสีเงิน ริมถนนตัง้ แต่ชว่ งบ้านกร่าง-พะเนินทุง่ นี้ ทั้งหลายต้องใช้ความระมัดระวังอย่างมากไม่ให้
จะมี ชี วิ ต ชี ว าและเรี ย กรอยยิ้ ม จากนั ก ดู น กได้ อะไรไปเกี่ยวรังจนขาดหล่นลงมา

นกพญาปากกว้างอกสีเงิน
Silver-breasted Broadbill
(Serilophus lunatus)
ด้วยอกตลอดจนถึงล�ำตัวส่วนล่างสีเทาแกม
ขาวสะอาดตากับลายสีเข้มและสดใสของนกชนิดนี้
ท�ำให้เป็นที่ประทับใจจนกลายเป็นนกตัวโปรดของ
นักดูนกหลายๆ คนไป ส�ำหรับตัวเมีย อกจะมีแถบ
คาดแคบๆ สีเงินพาดอยู่เหมือนใส่สร้อยคอ นกใน
กลุ่มพญาปากกว้างนี้ มีปากที่กว้างสมชื่อ เนื่องจาก
เป็นนกที่จับแมลงกินเป็นอาหาร แต่บินได้ ไม่ ไวนัก
จึงต้องอาศัยลักษณะปากกว้างๆ แบนๆ ช่วยในการ
จับแมลง

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 73
74 คู่มมืออื ท่ท่อองเที
งเที่ยย่ วอุวอุททยานแห่
ยานแห่งชาติ
งชาติแก่แงก่กระจาน
งกระจาน
อี ก เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่ นั ก ดู น กมุ ่ ง หน้ า มายั ง
ป่ า แก่ ง กระจาน ก็ เ พื่ อ ให้ มี โ อกาสได้ เ ห็ น
นกกะลิงเขียดหางหนาม สักครั้งในชีวิต นกชนิด
นีเ้ ป็นนกชนิดใหม่ทถี่ กู บันทึกภาพไว้ได้เมือ่ ปี พ.ศ.
2535 บริเวณกิโลเมตรที่ 28 และพบว่าเป็น
นกชนิดใหม่ของเมืองไทย ซึ่งปกตินกชนิดนี้จะมี
ถิ่ น อาศั ย อยู ่ ใ นแถบภู มิ ภ าคอิ น โดจี น จนถึ ง
ประเทศจีนตอนใต้ การพบเห็นการท�ำรังวางไข่
ของนกชนิดนีใ้ นป่าแก่งกระจานเป็นเครือ่ งยืนยัน
ได้เป็นอย่างดีว่า นกกะลิงเขียดหางหนาม เป็น
นกของป่าใหญ่ผืนนี้อย่างแน่นอน

นกกาแวน
Racket-tailed Treepie
(Crypsirina temia)
นกตัวสีด�ำตาสีฟ้าตัวนี้ แม้จะน้อยสีแต่มีความ
สวยงาม บริเวณหน้าขนจะกระจุกตัวแน่นเป็นสีดำ� เข้ม
คล้ายก�ำมะหยี่ หางมีลักษณะยาวเด่นปลายหางแผ่
กว้างออก ปากหนาสีเทาเข้มถึงด�ำ นกกาแวนจะไม่
ค่อยพบลงหากินบนพื้นดิน นอกจากจะพบลงมาอาบ
น�้ำบ้าง อาหารของมัน ได้แก่ พวกลูกไม้และเหล่าแมลง
ต่างๆ พบได้ ในหลายสภาพถิ่นอาศัย ทั้งป่าละเมาะ ป่า
ไผ่ ไปจนถึงป่าชายเลน ก็ยังสามารถพบนกชนิดนี้ ได้

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 75
ดูผีเสื้อ...นางฟ้าปีกสวย
นอกจากจะเป็นสวรรค์ส�ำหรับนักดูนกแล้ว แหล่ ง ดู ผี เ สื้ อ ที่ ส�ำคั ญ ของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานยังนับว่าเป็นสวรรค์ แก่งกระจานอีกแห่งหนึ่งก็คือ บริเวณริมล�ำธารที่
ส�ำหรั บ นั ก ดู ผี เ สื้ อ อี ก ด้ ว ย โดยจะพบผี เ สื้ อ ลัดเลาะไปตามเส้นทางขึ้นน�้ำตกแพรกตะคร้อ
หลากหลายชนิดที่มาจากทั้งภาคตะวันตกและ ซึ่ ง อยู ่ บ ริ เวณหน่ ว ยพิ ทั ก ษ์ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ที่
ภาคเหนือในเขตอินเดีย-เมียนมาร์ และภาคตะวัน กจ.17 (แพรกตะคร้อ) ผีเสื้อเด่นๆ ที่พบเห็นได้
ออกในเขตอินโดจีน เช่น ผีเสือ้ นางพญาก็อดเฟรย์ ไม่ยากนัก เช่น ผีเสื้อหางติ่งนางละเวง ผีเสื้อ
ผีเสื้อด�ำพาดขาว ผีเสื้อหางติ่งสะพายเขียว และ หนอนใบรักฟ้าใหญ่ ผีเสื้อหางมังกรเขียว และ
ผีเสื้อหางติ่งสะพายขาว นอกจากบ้านกร่างแล้ว ผีเสื้อจรกาด�ำขาว

76 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ผีเสื้อหางติ่งนางละเวง Great Mormon
(Papilio memnon)
ผีเสื้อชนิดนี้ชอบหากินตามล�ำห้วย ตามทางเดินในป่าที่มีแสงแดดส่อง หรือตามพุ่มดอกไม้ป่า
ทั้งสองเพศมีพื้นปีกทั้งสองด้านสีดำ� เพศผู้แต้มสีแดงบริเวณโคนปีกของปีกล่าง เพศเมียแต้มสีแดงบริเวณ
โคนปีกทั้งปีกบนและปีกล่าง เพศผู้จะมีรปู แบบเดียว เป็นตัวที่เราเห็นได้โดยทั่วไป ส�ำหรับตัวเมีย มีรปู แบบ
ที่มีความแตกต่างกันมากถึง 7 แบบด้วยกัน

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 77
การจะดูผีเสื้อให้ได้อรรถรส นักดูผีเสื้อจะ ช่วงเวลากลางวันอากาศเริ่มร้อนพวกเขาจะ
ต้องเรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมของผีเสื้อ จึงจะ พาปีกสวยไปหลบพักตามร่มไม้และออกหากินอีก
ช่วยให้เราเลือกเวลาและวางแผนการท�ำกิจกรรม ครั้งในช่วงประมาณบ่ายสามโมงถึงห้าโมงเย็น
ได้ดีขึ้น ผีเสื้อจะกินของเหลวที่มีแร่ธาตุต่างๆ ซึ่ง หากฝนตกก็จะหลบอยู่ตามใบไม้และออกหากิน
ผีเสือ้ ทีอ่ ยูใ่ นป่าสามารถกินอาหารได้หลากหลาย ใหม่หลังฝนหยุด ส่วนวันทีฟ่ า้ ครึม้ เมฆมากอากาศ
ทัง้ นำ�้ หวานจากดอกไม้ ทีช่ นื้ แฉะ ตามล�ำห้วย ริม มีความชืน้ สูงผีเสือ้ มักไม่คอ่ ยออกหากิน พอย�ำ่ ค�ำ่
ถนน ตามดินโป่ง ผลไม้เน่า หรือแม้กระทัง่ มูลสัตว์ เหล่าผีเสื้อกลางวันจะหยุดหากินและพักนิ่งๆ
พวกมันมักหากินร่วมกันหลายชนิดเป็นฝูงใหญ่ๆ ตามใบไม้ ปล่อยให้ผีเสื้อกลางคืนออกมาโฉบหา
ในช่วงเวลาประมาณแปดโมงถึงสิบโมงเช้า หลัง อาหารสลับกันไป...รู้พฤติกรรมเช่นนี้ของผีเสื้อ
จากผึ่งปีกรับแสงแดดให้เลือดไหลเวียนและปีก แล้ว...จะได้รู้ว่าจะเวลาไหนที่เหมาะจะดูผีเสื้อ
แห้งสนิท มากที่สุด

ผีเสื้อกลางวัน กับผีเสื้อกลางคืน ต่างกันอย่างไร


ข้อสังเกตง่ายๆ ระหว่างผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืน
หนวด การกางปีกเวลาเกาะ
หนวดทัง้ สองคูจ่ ะเป็นเส้นยาวๆ ตรงปลาย
ผีเสื้อกลางวัน เป็นปุ่มเล็กๆ
ส่วนใหญ่มักตั้งปีกขึ้นแนบชิดกัน

ผีเสื้อกลางคืน หนวดจะมีลักษณะคล้ายซี่หวี ส่วนใหญ่มักกางปีกราบ

นอกจากความงามของปีกทีช่ ว่ ยให้โลกสดใสแล้ว
ผีเสื้อยังมีบทบาทส�ำคัญในห่วงโซ่อาหารของระบบ
นิเวศ เนื่องจากผีเสื้อจะกินใบไม้และน�้ำหวานจาก
เกสรดอกไม้ ซึง่ ท�ำให้มนั กลายเป็นผูช้ ว่ ยผสมพันธุพ์ ชื
หลายชนิดโดยไม่รู้ตัว นั่นเท่ากับว่าเป็นการช่วย
กระจายพันธุ์พืชและเพิ่มพื้นที่ป่าได้เป็นอย่างดี

78 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
เดินทางตามสายน้ำ�ศักดิ์สิทธิ์...
จากถิน่ ก�ำเนิดท่ามกลางเทือกเขาสลับซับซ้อน ป่าที่แสนบริสุทธิ์ท�ำให้แม่น�้ำเพชรบุรี จึงเป็น 1
แห่ ง ตะนาวศรี ที่ เ ป็ น ดั่ ง ผื น ป่ า ใหญ่ สุ ด ของ ใน 5 สายน�้ำศักดิ์สิทธิ์ของสยามประเทศ และ
ประเทศไทย ท�ำให้ที่นี่มีสิ่งที่น่าสนใจมากมาย นอกจากนี้ยังเป็นน�้ำเสวย ส�ำหรับเครื่องต้นของ
โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ความพิ เ ศษธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ
และแม่นำ�้ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งผืนป่าแก่งกระจาน ทีใ่ คร พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว
ได้ สั ม ผั ส ล้ ว นบอกเป็ น เสี ย งเดี ย วกั น ถึ ง ความ ซึง่ มีค�ำกล่าวขานว่าน�ำ้ เพชรฯ นัน้ จืดอร่อยกว่าน�ำ้
เย็ น สดชื่ น ของสายน�้ ำ จากผื น ป่ า ลึ ก แห่ ง นี้ . .. จากแหล่ ง อื่ น ใดในโลก จากความส�ำคั ญ ของ
ต้นน�้ำเพชรบุรี โบราณราชประเพณี แ ละยั ง เป็ น น�้ ำ เสวยของ
ตามโบราณราชประเพณีจะใช้แม่น�้ำ 5 สาย พระเจ้าแผ่นดินถึงสองพระองค์ ย่อมแสดงให้เห็น
ของแผ่นดินนี้ ได้แก่ แม่นำ�้ บางปะกง แม่นำ�้ ป่าสัก ว่าแม่น�้ำแห่งนี้มีความน่าสนใจเพียงใด และการ
แม่น�้ำท่าจีน แม่น�้ำแม่กลอง และแม่น�้ำเพชรบุรี เข้าไปสัมผัสยังต้นน�้ำแห่งนี้ นอกจากจะได้เห็น
ในการพระราชพิ ธี ต ่ า งๆ อาทิ พิ ธี ก ารถื อ น�้ ำ ความงดงามตามธรรมชาติแล้ว ยังจะได้เห็น
พระพิพฒ ั น์สตั ยา ซึง่ คาดว่าจากต้นก�ำเนิดจากผืน สรรพชีวิตมากมายตลอดสองฝั่งน�้ำอีกด้วย

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 79
ส�ำหรับจุดทีเ่ รียกว่าต้นน�ำ้ เพชรนัน้ อยูบ่ ริเวณ ผ่านหมู่บ้านเล็กๆ ของชาวกะหร่าง ที่เข้ามาตั้ง
ด้านล่างน�้ำตกทอทิพย์ลงมา โดยบริเวณดังกล่าว รกรากอยูใ่ นนีม้ านานแสนนาน เรียกว่า บ้านโป่งลึก
เป็นผืนป่าอุดมสมบูรณ์มาก และยังเป็นจุดเริม่ ต้น และบ้านบางกลอย ซึ่งจะได้เห็นภาพชีวิตของ
ล่องเรือสัมผัสสายน�้ำเพชรบุรีอีกด้วย ผูค้ นทีอ่ ยูร่ ว่ มกับผืนป่ามานานแสนนาน ทว่าก็ยงั
ส�ำหรับสภาพโดยทั่วไปของล�ำน�้ำแห่งนี้ จะ รักษาเอาไว้ได้อย่างมากมาย
มีน�้ำใสจนมองลงไปเห็นหินในท้องน�้ำได้อย่าง ความสนุ ก สนานและงดงามของการล่ อ ง
สบายแม้ว่าจะเป็นฤดูฝนก็ตาม บนก้อนหินใน ต้นน�ำ้ เพชร ใช่เพียงแค่ความการสร้างความสุขให้
ล�ำธารมีต้นไคร้น�้ำ ไทรหิน กุ่มน�้ำ ขึ้นอยู่มากมาย กับตัวเองเท่านั้น ทว่ายังได้เรียนรู้และสัมผัสกับ
ส่วนสองฝัง่ บ้างก็เป็นโป่งสัตว์ ทีจ่ ะมีสตั ว์ปา่ ลงมา การก�ำเนิดของสายนำ�้ ทีม่ าจากผืนป่าใหญ่ การให้
กินดินโป่งอยู่เป็นประจ�ำ และหากไปกันอย่าง ความส�ำคัญของแม่น�้ำที่จะน�ำมาท�ำน�้ำศักดิ์สิทธิ์
เงียบๆ ก็มีโอกาสได้เจอสัตว์แปลกๆ ไม่ยากเลย รวมไปถึงนำ�้ เสวยของพระมหากษัตริยข์ องไทยใน
นอกจากนี้ ยังมีโป่งผีเสื้อซึ่งจะมีผีเสื้อกลุ่มใหญ่ๆ อดีต ที่ส�ำคัญในวันที่ 27 สิงหาคมของทุกปี เป็น
หลายร้อยตัวลงกินเกลือแร่จากโป่งเหล่านีอ้ กี ด้วย วั น ที่ ช าวเพชรบุ รี จั ด ให้ มี ง านอนุ รั ก ษ์ แ ม่ น�้ ำ
และหากโชคดีก็อาจจะได้เจอกับจระเข้น�้ำจืด เพชรบุรีอีกด้วย นับเป็นสิ่งดีงามของผู้คนบน
สายพั น ธุ ์ แ ท้ ๆ จากผื น ป่ า แห่ ง นี้ ด ้ ว ย ซึ่ ง ใน แผ่นดินนี้ ทีน่ อกจากจะใช้ประโยชน์มากมายจาก
ประเทศไทยมีรายงานไว้เพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น แม่น�้ำแล้ว ยังต้องช่วยกันรักษาเอาไว้ให้งดงาม
จากผืนป่ากว้างบางช่วงของการล่องแก่งก็จะ และสดใสอีกนานแสนนาน

จระเข้น�้ำจืด
Siamese Crocodile
Crocodylus siamensis
เป็นจระเข้ขนาดปานกลาง ความยาวประมาณ 3-4
เมตร ลักษณะคล้ายจระเข้นำ�้ เค็ม ต่างทีม่ เี กล็ดท้ายทอย (Post
occipital scale) จ�ำนวน 4 เกล็ดเห็นได้เด่นชัด มีปากที่สั้น
ทู่มากกว่าจระเข้น�้ำเค็ม และที่เป็นเอกลักษณ์ของจระเข้ชนิดนี้
คือ บริเวณปลายปากส่วนบนมีปมุ่ นูนทรงกลมเรียกว่าก้อนขีห้ มา ซึง่ เป็นส่วนทีจ่ ะโผล่ ให้เห็นได้เมือ่ ลอยอยู่
บนผิวน�้ำ ปัจจุบันจระเข้ชนิดนี้ ได้สูญหายไปเกือบหมดแล้ว เชื่อว่าในธรรมชาติเหลืออยู่เพียงไม่กี่แห่ง และ
ล�ำน�้ำเพชร ป่าแก่งกระจานก็เป็นอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีรายงานการพบจระเข้น้ำ� จืดอาศัยอยู่

80 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
สองล้อท่องธรรมชาติ
ส�ำหรั บ กิ จ กรรมที่ น ่ า สนใจอี ก ประเภทที่
ใกล้ชดิ ธรรมชาติอย่างยิง่ รวมทัง้ ไม่สร้างมลภาวะ
ให้กบั ผืนป่าอีกด้วย แถมยังไปได้เร็วและไกลกว่า
การเดินอีกด้วย ถูกต้องแล้วนั่นคือ จักรยาน
เสือภูเขา ที่จะน�ำเราเข้าไปยังผืนป่าธรรมชาติได้
อย่างเงียบเชียบ ไม่ชา้ จนเกินไป และมองอะไรได้
ไกล รวมทัง้ สะดวกสบายมากๆ เส้นทางทีม่ ผี นู้ ยิ ม
มาปั ่ น จั ก รยานนั้ น มี อ ยู ่ ส องกลุ ่ ม คื อ กลุ ่ ม ที่ เพราะมี ค วามลาดชั น สู ง ซึ่ ง ระหว่ า งทางนั้ น
ปัน่ จักรยานเพือ่ ออกก�ำลังกาย ก็มกั จะเน้นบริเวณ สามารถท�ำกิจกรรมดูนก ดูผเี สือ้ ควบคูก่ นั ไปด้วย
สันเขือ่ น และรอบๆ ทีท่ �ำการอุทยานฯ ได้เป็นอย่างดี
ส่วนกลุ่มสัมผัสธรรมชาติ มักจะปั่นไปตาม ดังนั้นกิจกรรมการปั่นจักรยานจึงมีความ
ถนนบริเวณบ้านกร่างไปตามเส้นทางสูย่ อดพะเนิน น่ า สนใจยิ่ ง นั ก เพราะนอกจากจะไม่ ท�ำลาย
ทุง่ และส่วนใหญ่มกั จะปัน่ ไปจอดชมธรรมไป และ สิ่งแวดล้อม ยังท�ำให้ใกล้ชิดธรรมชาติได้เป็น
จะวกกลับตรงบริเวณทางขึ้นยอดเขาพะเนินทุ่ง อย่างดี รวมถึงสุขภาพแข็งแรงอีกด้วย

นั่งเรือชมธรรมชาติอ่างเก็บน�้ำแก่งกระจาน
ล่องเรือสัมผัสธรรมชาติเหนือทะเลสาบ
เขื่อนแก่งกระจาน ชมความงามของผืนป่าอัน
อุดมสมบูรณ์ และวิถีชีวิตของชุมชนชาวกะหร่าง
หากโชคดีระหว่างล่องเรือมีโอกาสเจอสัตว์ป่าลง
มากินน�้ำอีกด้วย ความงดงามของทัศนียภาพ
ของภูเขาที่โอบล้อมผืนน�้ำท�ำให้เราเห็นสิ่งต่างๆ
มาก หากมีเวลาอย่าลืมกิจกรรมนั่งเรือหางยาว
ชมความงดงามของผืนป่าแก่งกระจาน

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 81
ปฏิทินท่องเที่ยว
และโปรแกรมท่อ
ง เที่ยว

82 คู่มมืออื ท่ท่อองเที
งเที่ยย่ วอุวอุททยานแห่
ยานแห่งชาติ
งชาติแก่แงก่กระจาน
งกระจาน
ด้ ว ยต�ำแหน่ ง ที่ ตั้ ง ของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งจะพัดประจ�ำใน
แก่งกระจานอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมที่ ฤดูฝนและเป็นลมที่พัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย จึง
พัดเวียนประจ�ำเป็นฤดูกาลทั้งหมด 2 ชนิด คือ ท�ำให้ประเทศไทยมีฝนตกมาก แต่เนือ่ งจากพืน้ ที่
พัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาวเรียก อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานอยู่บริเวณด้านหลัง
ว่า มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ท�ำให้พนื้ ทีอ่ ทุ ยาน ของเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งปิดกั้นทางลมนี้ไว้จึง
แห่งชาติซึ่งอยู่ทางตอนบนของภาคใต้ฝั่งตะวัน ท�ำให้มฝี นตกน้อยในช่วงฤดูฝน สภาพอากาศของ
ออกมีฝนน้อยในช่วงฤดูหนาว และมีอากาศเย็น ฤดูกาลจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดฤดูกาล
เป็นครั้งคราวคล้ายคลึงกับภาคกลาง แต่ในช่วง ท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานเช่น
ต้นฤดูอาจมีฝนตกชุกได้ส่วน เดียวกับอุทยานแห่งชาติอื่นๆ ของประเทศ

ฤดูฝน (พฤษภาคม-ตุลาคม)
ฤดูกาลแห่งความอุดมสมบูรณ์ คืนธรรมชาติ และผึ่ ง ปี ก กั น อย่ า งสบายใจ ช่ ว งนี้ จึ ง เหมาะ
ให้ฟื้นตัว ส�ำหรับการดูนก และผีเสื้อ
เมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เมื่อฝนแรกมาเยือน ดู กลางและปลายฤดู
เหมือนว่าทุ่งหญ้าทั้งหลายจะมีชีวิตชีวาขึ้นมา ราวเดือนสิงหาคมเป็นต้นไป ฝนที่นี่จะเริ่ม
ก่อนใคร ต้นหญ้าชนิดต่างๆ ทีพ่ กั ตัวเองในฤดูแล้ง ตกหนักมากขึ้นและจะหนักสุดในช่วงประมาณ
จะเริม่ ระบัดแตกใบเขียวขจีเต็มท้องทุง่ นกนานา เดือนตุลาคม ล�ำห้วยและนำ�้ ตกมีนำ�้ มาก อุทยาน
ชนิดเริ่มจับคู่สร้างรังวางไข่ ซึ่งเป็นฤดูกาลที่มี แห่งชาติแก่งกระจานจะปิดฤดูกาลท่องเที่ยว
อาหารและน�ำ้ อุดมสมบูรณ์ พ่อนกแม่นกสามารถ พะเนินทุ่งในช่วงเวลานี้ เพื่อให้ผืนป่าบริเวณนี้
เลีย้ งลูกน้อยทีเ่ กิดมาได้อย่างไม่ล�ำบาก ในขณะที่ ได้พักฟื้นตัว และที่ส�ำคัญช่วงเวลานี้อาจเกิด
ผีเสื้อหลายชนิดเริ่มออกจากดักแด้ มาชุมนุมกัน อันตรายจากลมพายุ ต้นไม้หักโค่น และน�้ำป่า
ตามลานโล่งที่มีแสงแดดส่องถึง หรือรุมกินโป่ง ไหลหลาก ซึ่งไม่ปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 83
ฤดูหนาว (พฤศจิกายน–มกราคม)
ฤดูกาลแห่งความสุขสันต์
ยามนี้เป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียง
เหนือพัดปกคลุมประเทศไทย ท�ำให้อุณหภูมิ
ทัว่ ไปและมีอากาศหนาวเย็น เริม่ ต้นฤดูผสมพันธุ์
ของสัตว์ป่าส่วนใหญ่ ในขณะที่นกอพยพจาก
ถิ่นหนาวเริ่มเคลื่อนย้ายเข้ามาพึ่งพิงและสมทบ
กั บ นกประจ�ำถิ่ น ในป่ า แก่ ง กระจานมากขึ้ น
กิ จกรรมดู น กเวลานี้ จึ ง ดู คึ ก คั ก ไม่ แ พ้ ฤ ดู ท�ำรั ง
วางไข่ยามฝนโปรย น�้ำในแม่น�้ำก็ยังคงมีน�้ำมาก
ป่ายังคงความชุม่ ชืน้ ยามนีจ้ งึ เหมาะอย่างยิง่ ทีจ่ ะ ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์–เมษายน)
ชมทะเลหมอกอันกว้างใหญ่เหนือหุบเขาพะเนินทุง่ ฤดูกาลแห่งสีสนั
นอนพั ก แรมกางเต็ น ท์ ใ ห้ ค วามหนาวแห่ ง เนื่องจากสภาพป่าส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบ
ธรรมชาติโอบกอด พร้อมๆ กับการขับกล่อมจาก ท�ำให้ผืนป่าส่วนใหญ่ยังชุ่มชื้น แม้อากาศจะ
เหล่าสรรพสัตว์ทเี่ รียกร้องหาคู่ สัตว์ปา่ หลายชนิด อบอ้าวขึ้น อาจมีไฟป่าตามขอบชายป่าเกิดขึ้น
เริ่มติดตามตัวเมียไม่ห่าง ภาพสัตว์ป่าคลอเคลีย แต่ นั่ น ก็ คื อ ฤดู ก าลตามธรรมชาติ ขณะที่ ป ่ า
ตามประสาจึงหาดูได้ไม่ยากในยามนี้ ไอหมอก เบญจพรรณและป่าเต็งรังเริ่มเปลี่ยนสี ผลัดใบ
ยามเช้ า เหนื อ เขื่ อ นแก่ ง กระจานยิ่ ง ขั บ ให้ ทุ่งหญ้าที่เคยเขียวขจีเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลและ
บรรยากาศท่องเที่ยวในฤดูกาลนี้สุขสันต์ยิ่งกว่า โปรยเมล็ดและรอน�้ำฝนจากฤดูกาลต่อไป ฝูงนก
ฤดูกาลไหนๆ อพยพเริม่ เคลือ่ นย้ายกลับถิน่ ฐานเดิม ผีเสือ้ ยังคง
ออกมาชุ ม นุ ม กิ น น�้ ำ ตามขอบล�ำธาร สิ่ ง ที่ น ่ า
อัศจรรย์ในยามทีท่ กุ อย่างเริม่ หยุดนิง่ ก็คอื ดอกไม้
ป่าในหน้าร้อนเริ่มออกดอกอวดสีสัน โดยเฉพาะ
กล้วยไม้ป่า

84 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 85 85
86 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเดินทาง
อุทยานแห่งชาติเป็นแหล่งรวมทรัพยากรธรรมชาติทสี่ �ำคัญ การท่องเทีย่ วในอุทยานแห่งชาติ
จึงมีความพิเศษกว่าแหล่งท่องเที่ยวทั่วๆ ไป กล่าวคือ ทุกย่างก้าวในอุทยานแห่งชาติอาจก่อให้
เกิดอันตรายต่อผู้มาท่องเที่ยวและสภาพธรรมชาติได้ตลอดเวลา ในขณะเดียวกันทุกก้าวย่างนั้น
ก็มีสิ่งน่าทึ่งมากมายให้เราได้ท�ำความรู้จัก เรียนรู้ ตลอดจนชื่นชมความงดงามตามธรรมชาติท่ี
แท้จริง ดังนั้น ผู้ที่มาท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษที่จะไม่ให้การ
ท่องเที่ยวของตนไปกระทบกระเทือนต่อสภาพธรรมชาติ พร้อมๆ กับไม่ควรพลาดที่จะเรียนรู้
ท�ำความรู้จัก และเพลิดเพลินไปกับความมหัศจรรย์ที่ธรรมชาติได้สร้างสรรค์ขึ้น

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 87
88 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
หากท่ า นต้ อ งการไปท่ อ งเที่ ย วเพี ย งเพื่ อ แล้ ว ล่ ะ ก็ ท่ า นอาจจะต้ อ งเตรี ย มตั ว มากขึ้ น
เปลีย่ นทีน่ อน ทีก่ นิ หรือเปลีย่ นบรรยากาศในช่วง นอกจากนี้ อุทยานแห่งชาติหลายแห่งมักอยู่
วั น หยุ ด เท่ า นั้ น ก็ ค งไม่ ต ้ อ งเตรี ย มตั ว อะไร กลางป่าที่มีความเปราะบางสูง จึงมีการพัฒนา
มากมายนัก แต่หากปรารถนาที่จะไปเยี่ยมชม สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อรองรับผู้มาท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติให้ได้อรรถรส ได้เรียนรู้และ ไม่ ม ากนั ก ดั ง นั้ น การเที่ ย วอุ ท ยานแห่ ง ชาติ
ท�ำความรู้จักกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ภายใต้อ้อมกอด จึงอาจไม่สะดวกสบายอย่างที่คาดหวังไว้
ของป่ า เขาในรู ป แบบการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศ

ก่อนไปเที่ยวอุทยานแห่งชาติ
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรืออุทยานแห่งชาตินั้นโดยละเอียด เช่น สภาพ
อากาศ การเดินทาง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่มี/ไม่มี กิจกรรมนันทนาการ กฎระเบียบ และ
อื่นๆ ทั้งนี้เพื่อที่ท่านจะได้เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน รวมถึงเตรียมตัวเตรียมใจ
ที่จะพบกับสิ่งที่ไม่อาจคาดเดาได้ด้วย

แม้อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานจะอยู่ใน • เสื้อกันหนาว ถุงเท้า หมวก และอุปกรณ์


ภาคตะวันตกและค่อนไปทางใต้ของประเทศ แต่ ให้ความอบอุ่น
ทว่ามีอากาศเย็นตลอดทั้งปี โดยมีอากาศเย็นใน • เสือ้ ผ้าควรเป็นเสือ้ แขนยาว กางเกงขายาว
ตอนดึกและตอนเช้า ส่วนตอนกลางวันอากาศ • ยาประจ�ำตัว
เย็นสบาย ดังนั้น สิ่งที่ขาดไม่ได้ส�ำหรับการมา
เยือนอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ก็คือ
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 89
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว...ประตูสู่อุทยานแห่งชาติ
เมื่ อ เดิ น ทางมาถึ ง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ท่ า น ตลอดจนสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจาก
ควรเข้าไปติดต่อทีใ่ นศูนย์บริการนักท่องเทีย่ วเป็น เจ้าหน้าที่ได้ที่นี่ นอกจากนี้ ภายในศูนย์บริการ
สิง่ แรก ท่านสามารถขอรับการบริการต่างๆ อย่าง นักท่องเทีย่ วยังมีนทิ รรศการให้ความรูแ้ ละข้อมูล
ครบถ้วนในทีเ่ ดียว ทัง้ การติดต่อทีพ่ กั ข้อมูลแหล่ง ต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานอย่าง
ท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ วีดิทัศน์แนะน�ำ ครบถ้ ว น หรื อ อาจเรี ย กได้ ว ่ า เป็ น ศู น ย์ ก ลาง
อุทยานแห่งชาติ ของที่ระลึก เจ้าหน้าที่น�ำทาง การบริ ก ารของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจาน
และแนะน�ำกิจกรรมต่างๆ เช่น ดูนก ดูผีเสื้อ ก็ว่าได้
ส�ำรวจสั ต ว์ ป ่ า และเดิ น ป่ า ศึ ก ษาธรรมชาติ

90 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ช่วยกันคนละไม้ละมือ...เมื่อถึงอุทยานแห่งชาติแล้ว
• ไม่ควรส่งเสียงดัง หรือสร้างความร�ำคาญให้แก่สัตว์ป่าและผู้อื่น ทุกคนมี
สิทธิเท่าเทียมกันในการแสวงหาความสงบในอุทยานแห่งชาติ
• ไม่ ขี ด เขี ย นในที่ ต ่ า งๆ เพราะนอกจากจะก่ อ ให้ เ กิ ด ทั ศ นะอุ จ าดแล้ ว
ยังเป็นการประจานนิสัยของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี
• ไม่เก็บพืช ดอกไม้ จับสัตว์ และสิ่งต่างๆ ออกจากอุทยานแห่งชาติ เพราะ
ทั้งหมดล้วนประกอบขึ้นเป็นธรรมชาติซึ่งทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันใน
การชื่นชม
• ทิ้ ง ขยะในถั ง ขยะที่ ท างอุ ท ยานแห่ ง ชาติ จั ด เตรี ย มไว้ และจะดี ยิ่ ง ขึ้ น
ถ้าช่วยกันเก็บขยะที่พบเห็นตามสถานที่ หรือเส้นทางท่องเที่ยว
• ควรน�ำขยะที่เกิดจากกิจกรรมของท่านกลับมาทิ้งในเขตเมือง
• ไม่น�ำภาชนะทีท่ �ำด้วยโฟมเข้าไปในเขตอุทยานแห่งชาติ ในอุทยานแห่งชาติ
บางแห่งจะมีการก�ำหนดเขตควบคุมพิเศษในการน�ำสิ่งที่จะก่อให้เกิดเป็น
ขยะเข้าไปในพื้นที่ โดยจะต้องแจ้งจ�ำนวนบรรจุภัณฑ์ที่ท�ำจากพลาสติก
แก้ว และอะลูมิเนียม หรือวัสดุท่ีมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมทุกประเภท ให้เจ้าหน้าที่ทราบ ณ จุดตรวจสอบ เพื่อเป็นการ
ควบคุมและลดปริมาณขยะจากบรรจุภณ ั ฑ์ทที่ �ำจากวัสดุยอ่ ยสลายยากทุก
ประเภท เป็นการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติป้องกันมิให้เกิดความ
เสียหายต่อระบบนิเวศในอุทยานแห่งชาติตลอดจนรักษาสภาพแวดล้อม
มิให้ถูกท�ำลาย
• งดน�ำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้ามารับประทานในอุทยานแห่งชาติ
• ให้เดินในเส้นทางที่อุทยานแห่งชาติก�ำหนด และจอดรถ/ยานพาหนะใน
จุดที่อุทยานแห่งชาติจัดไว้ให้
• กางเต็นท์ในบริเวณที่อุทยานแห่งชาติก�ำหนด
• ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัด

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 91
สิง่ อำ�นวยความสะดวก

ที่พักแรม/บ้านพัก
ที่พักในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน แบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่

โซน ที่ตั้ง ชื่อที่พัก ลักษณะที่พัก รายละเอียด


ห้องนอน ห้องน�้ำ คน/หลัง
1 บริเวณที่ท�ำการ แก่งกระจาน 101 (ใจแผ่นดิน 2) บ้านพักเดี่ยว 3 2 6
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน 102 (ใจแผ่นดิน 3) บ้านพักเดี่ยว 3 2 9
(บนเนินเขา)
แก่งกระจาน 103 (ใจแผ่นดิน 4) บ้านพักเดี่ยว 3 2 6
แก่งกระจาน 107 (ประสพสุข 3) บ้านพักเดี่ยว 3 2 9
แก่งกระจาน 108 (ประสพสุข 4) บ้านพักเดี่ยว 3 2 9
2 บริเวณที่ท�ำการ แก่งกระจาน 203 (ริมน�้ำ) - 3 3 8
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน 204 (ริมน�้ำ) - 1 4 10
(ริมอ่างเก็บน�้ำ)
แก่งกระจาน 208 (ริมน�้ำ 1) - 1 2 4
แก่งกระจาน 209 (ริมน�้ำ 2) - 1 2 4
แก่งกระจาน 210 (ริมน�้ำ 3) - 1 2 4
แก่งกระจาน 211 (ริมน�้ำ 4) - 1 2 4
แก่งกระจาน 212 (ริมน�้ำ 5) - 1 2 4
แก่งกระจาน 213 (ริมน�้ำ 6) - 1 2 4
แก่งกระจาน 214 (ริมน�้ำ 7) - 1 2 4
แก่งกระจาน 215 (ริมน�้ำ 8) - 1 2 4
3 บริเวณหน่วยพิทักษ์ แก่งกระจาน 931-934 ค่ายเยาวชน - - -
อุทยานแห่งชาติที่
กจ.4 (บ้านกร่าง)
4 บริเวณป่าละอูหรือ แก่งกระจาน 401 (ละอู 1) บ้านพักเดี่ยว 1 1 3
หน่วยพิทักษ์อุทยาน แก่งกระจาน 402 (ละอู 2) บ้านพักเดี่ยว 1 1 3
แห่งชาติที่ กจ.3
(ห้วยป่าเลา) แก่งกระจาน 403 (ละอู 3) บ้านพักเดี่ยว 1 1 3
แก่งกระจาน 404 (ละอู 4) บ้านพักเดี่ยว 1 1 3

92 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ลานกางเต็นท์
ส�ำหรับผู้ที่ต้องการสัมผัสกับธรรมชาติอย่าง
ใกล้ ชิ ด และเพิ่ ม ประสบประสบการณ์ ใ หม่ ๆ
โดยการกางเต็ น ท์ พั ก แรม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ
แก่งกระจานก็มลี านกางเต็นท์ส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว
4 จุดหลักๆ ได้แก่ บริเวณทีท่ �ำการอุทยานแห่งชาติ
หรือริมเขื่อนแก่งกระจาน หน่วยพิทักษ์อุทยาน
แห่งชาติที่ กจ.3 (ห้วยป่าเลา) หรือป่าละอู หน่วย
พิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ กจ. 4 (บ้านกร่าง) และ
หน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติที่ กจ.19 (พะเนินทุง่ )
โดยทีท่ า่ นสามารถน�ำเต็นท์มากางเองหรือเช่ากับ
ทางอุทยานแห่งชาติก็ได้
ส�ำหรับอัตราค่าตอบแทนที่พักและบริการ
ต่างๆ สามารถสอบถามกับอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ หรือตรวจสอบได้ทาง
www.dnp.go.th

คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 93
การเดินทาง
รถยนต์
จากกรุ ง เทพฯ ใช้ ท างหลวงหมายเลข 4
(เพชรเกษม) ผ่านจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี
เข้าสูจ่ งั หวัดเพชรบุรี หรือสามารถใช้เส้นทางถนน
พระราม 2 (ธนบุร-ี ปากท่อ) ถึงสามแยกวังมะนาว
ให้เลี้ยวซ้ายมุ่งหน้าเข้าเขตจังหวัดเพชรบุรี จาก
นั้นสามารถเข้าไปยังที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ
แก่งกระจานได้หลายเส้นทาง ดังนี้ รถโดยสารประจ�ำทาง
• เข้ า ทางอ�ำเภอหนองหญ้ า ปล้ อ ง ไปตาม การเดินทางโดยรถโดยสารประจ�ำทางใช้
ทางหลวงหมายเลข 3349 ถึงบ้านท่าตะคร้อ รถโดยสารประจ�ำทางสายใต้
จากนั้นเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข รถตู้ประจ�ำทาง
3510 เมื่อถึงเส้นทางระหว่างอ�ำเภอท่ายาง- จากกรุงเทพฯ ขึ้นบริเวณหน้าห้าง Century
อ�ำเภอแก่งกระจาน ให้เลี้ยวขวามุ่งหน้าสู่ ซอยรางน�้ำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ถึงหน้าสถานี
อ�ำเภอแก่งกระจาน ผ่านเขื่อนแก่งกระจาน ต�ำรวจภูธรอ�ำเภอแก่งกระจาน
ไม่ไกลก็ถึงที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ ติดต่อสอบถาม
• ก่ อ นถึ ง ตั ว เมื อ งเพชรบุ รี เลี้ ย วไปตาม อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจาน ต�ำบล
ทางหลวงหมายเลข 3204 ทีส่ แี่ ยกเขาตะเครา แก่งกระจาน อ�ำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
จนถึงเส้นทางระหว่างอ�ำเภอท่ายาง-อ�ำเภอ 76170 โทรศั พ ท์ / โทรสาร 0 3245 9293
แก่งกระจาน ให้เลี้ยวขวามุ่งหน้าสู่อ�ำเภอ (ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว)
แก่งกระจาน และที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ ส�ำนักบริหารพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ที่ 3 สาขาเพชรบุรี
เช่นเดียวกับวิธีแรก 473/29 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลชะอ�ำ อ�ำเภอชะอ�ำ
• เมื่อเดินทางถึงสี่แยกเขื่อนเพชร เลี้ยวขวาไป จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์ 0 3243 3883
ตามเส้นทางระหว่างอ�ำเภอท่ายาง-อ�ำเภอ ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ
แก่งกระจาน จากนั้นเดินทางมุ่งหน้าต่อยัง สัตว์ป่าและพันธุ์พืช 61 ถนนพหลโยธิน แขวง
อ�ำเภอแก่ ง กระจานและที่ ท�ำการอุ ท ยาน ลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์
แห่งชาติเช่นเดียวกับวิธีแรก 0 2561 0777 ต่อ 1743, 1744 หรือ www.dnp.
go.th
94 คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
คู่มือท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 95
‘‘…ผืนป่าดิบสุดแสนอลังการ นกนานาพันธุ์ส่งสำ�เนียง
ผีเสื้อสยายปีกอ่อนหวาน ดอกไม้งามสลับสีคลี่บาน
สัมผัสความงามด้วยใจในผืนป่าแก่งกระจาน...’’
สำนักอุทยานแหงชาติ
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท 0 2562 0760
www.dnp.go.th

You might also like