You are on page 1of 155

คณะผู้จดั ท�ำ

ผู้อุปถัมภ์ โครงการ
พระเทพญาณมหามุนี เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
พระราชภาวนาจารย์ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย

ทีป่ รึกษา
พระมหา ดร. สมชาย ฐานวุฑฺโฒ
พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.๙
พระมหาบุญชัย จารุ ทตฺ โต
พระมหาวีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโก ป.ธ.๙
พระมหา ดร. สุ ธรรม สุ รตโน ป.ธ.๙
พระครู ใบฎีกาอ�ำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก
พระมหา ดร. สมบัติ อินฺทปญฺ โญ ป.ธ.๙
พระมหาวิทยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙

เรียบเรียง
พระมหาอารี ย
์ พลาธิโก ป.ธ.๗
พระมหาสมบุญ อนนฺ ตชโย ป.ธ.๘

จัดรู ปเล่ ม
พระมหาสมบุญ อนนฺ ตชโย ป.ธ.๘
พระมหาวันชนะ ญาตชโย ป.ธ.๕
พระมหาอภิชาติ วชิรชโย ป.ธ.๗
พระมหาเฉลิม ฉนฺ ทชโย ป.ธ.๔

ผู้ตรวจทาน
นายสุ เทพ นากุดนอก ป.ธ.๔ อาจารย์สอนบาลีประโยค ๑-๒ ส�ำนักเรี ยนวัดพระธรรมกาย

ออกแบบปก/ภาพวาด
พระมหาสมบุญ อนนฺ ตชโย และ กองพุทธศิลป์ วัดพระธรรมกาย

พิมพ์ ครั้งที่ ๑ : พฤษภาคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๖๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์สุขขุมวิทการพิมพ์


พิมพ์ ครั้งที่ ๒ : กรกฎาคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ โอ เอส พริ้ นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
พิมพ์ ครั้งที่ ๓ : กรกฎาคม ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ โอ เอส พริ้ นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
พิมพ์ ครั้งที่ ๔ : กรกฎาคม ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง
ลิขสิ ทธิ์ : ส�ำนักเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1


ค�ำน�ำ
ด้วยตระหนักและเห็นความส�ำคัญอย่างยิง่ ยวดของการศึกษาพระปริ ยตั ธิ รรม ของพระภิกษุ
สามเณร ดังค�ำกล่าวยืนยันของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย)
ซึ่งได้กล่าวไว้ในโอกาสที่ได้จดั งานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณร ผูส้ อบได้เปรี ยญธรรม
๙ ประโยค เมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๔๓ อันเป็ นปี ที่ ๑๓ ของการจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระ
ภิกษุสามเณร ผูส้ อบได้เปรี ยญธรรม ๙ ประโยค ว่า
“ผูท้ ี่สอบได้เปรี ยญธรรม ถือว่าเป็ น วีรบุรุษกองทัพธรรม เป็ นผูน้ ำ� ความภาคภูมิใจ
มาสู่ คณะสงฆ์ หลวงพ่อรู ้สึกชื่นชมยินดีเป็ นอย่างยิง่ และปรารถนาจะให้กำ� ลังใจแก่ผทู ้ ี่สอบได้
และผูท้ ี่กำ� ลังจะสอบได้ตามมา ให้เห็นความส�ำคัญและรับรู ้วา่ สิ่งที่ทา่ นทั้งหลายก�ำลังพากเพียร
ศึกษาอยูน่ ้ ี มีความส�ำคัญมาก และยังมีผคู ้ นทั้งหลายรอคอยและปรารถนาจะเห็นความส�ำเร็ จ
ของทุ กท่าน ผูจ้ ะเป็ นก�ำลังส�ำคัญในการท�ำงานพระศาสนา เพื่อความเจริ ญยิ่งยืนนาน
ของพระพุทธศาสนาสื บต่อไปในอนาคต”
พระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าส�ำนักเรี ยน มีความยินดี
เป็ นอย่างยิ่งที่จะสนับสนุ น และขอปวารณาที่จะเป็ นส่ วนหนึ่ ง ในการส่ งเสริ มการศึกษา
พระปริ ยตั ิธรรม ของพระภิกษุสามเณร ตลอดไปตราบนานเท่านาน
และได้มดี ำ� ริ ให้จดั ท�ำ โครงการส่ งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยตั ธิ รรมของพระภิกษุ
สามเณรทัว่ ประเทศ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก เพือ่ ให้การส่งเสริ ม
สนับสนุ นเป็ นก�ำลังใจ อีกทั้งมุ่งหมายจะก่อให้เกิดการตื่นตัวด้านการศึกษาพระปริ ยตั ิธรรม
ของพระภิกษุสามเณรทัว่ ประเทศ รวมถึงเป็ นสื่อกลางให้คณะสงฆ์ผบู ้ ริหารการศึกษาทัว่ สังฆมณฑล
ได้มาร่ วมปรึ กษา เพื่อการพัฒนาการศึกษาพระปริ ยตั ิธรรมให้กา้ วหน้า ไปในทิศทางเดียวกัน
โดยเริ่ มต้นจากการถวายทุนการศึกษา การจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณรผูส้ อบได้
เปรี ยญธรรม ๙ ประโยค การจัดพิมพ์ตำ� ราคู่มือบาลีถวายแก่ส�ำนักเรี ยนที่ สนใจ และอื่นๆ
ที่จะได้ริเริ่ มจัดท�ำในโอกาสต่อไป
หนังสื อธรรมบทสองภาษา บาลี-ไทย ภาค ๑ - ๘ ส�ำหรับนักเรี ยนบาลีช้ นั ประโยค ๑-๒
และ ป.ธ.๓ นี้ ทางคณาจารย์โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม ได้รวบรวมเรี ยบเรี ยงขึ้น โดยอาศัยความรู ้
จากต�ำรา และบูรพาจารย์ท้งั หลาย จัดพิมพ์ข้ นึ เพือ่ ส่งเสริ มสนับสนุนการศึกษาพระปริ ยตั ิธรรม
ของพระภิกษุสามเณร ผูแ้ รกเริ่ มศึกษาภาษาบาลี และผูส้ นใจทัว่ ไป เพื่ออ�ำนวยประโยชน์
เป็ นวิทยาทาน แก่ผศู ้ ึกษาอย่างเต็มที่ ให้เรี ยนรูไ้ ด้งา่ ยและสะดวกยิง่ ขึ้น
อนึ่งหากหนังสื อเล่มนี้ยงั มีการขาดตกบกพร่ องประการใด หรื อมีขอ้ เสนอแนะที่เป็ น
ประโยชน์ ขอความอนุเคราะห์โปรดแจ้งให้ทางส�ำนักเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย
ทราบด้วย จะเป็ นพระคุณอย่างยิ่ง เพื่อจะได้นำ� มาปรับปรุ งแก้ไขให้บริ บูรณ์ย่ิงขึ้น ในการ
จัดพิมพ์ครั้งต่อไป

ส�ำนักเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี

2 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


สารบัญธรรมบทภาค ๑

เรื่อง หน้ าที่

ปณามคาถา ๑

๑. ยมกวรรค วรรณนา


๑. เรื่ องพระจักขุปาลเถระ ๓

๒. เรื่ องมัฏฐกุณฑลี ๒๓

๓. เรื่ องพระติสสเถระ ๓๕

๔. เรื่ องความเกิดขึ้นของนางกาลียกั ษิณี ๔๒

๕. เรื่ องภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ๔๙

๖. เรื่ องจุลกาลและมหากาล ๖๑

๗. เรื่ องพระเทวทัต ๗๐

๘. เรื่ องสัญชัยปริ พาชก ๗๕

๙. เรื่ องพระนันทเถระ ๑๐๕

๑๐. เรื่ องนายจุนทสูกริ ก ๑๑๖

๑๑. เรื่ องธัมมิกอุบาสก ๑๒๐

๑๒. เรื่ องพระเทวทัต ๑๒๔

๑๓. เรื่ องนางสุ มนาเทวี ๑๔๑

๑๔. เรื่ องภิกษุ ๒ สหาย ๑๔๔

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3


““การศึกษานั้น สามารถเปลี่ยนชีวิตของผู้ศึกษา ให้สูงกว่าพื้นเดิม
คนที่มีการศึกษาดี จะได้อะไรก็ดีกว่าประณีตกว่าผู้อื่น คนมีวิชาเท่ากับ
ได้สมบัติจักรพรรดิ กินใช้ไม่หมด””
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ

4 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ธมฺมปทฏฺฐกถา

ปณามคาถา

มหาโมหตโมนทฺเธ โลเก โลกนฺตทสฺสนิ า


เยน สทฺธมฺมปชฺโชโต ชลิโต ชลิตทิ ฺธินา
ตสฺส ปาเท นมสฺสติ ฺวา สมฺพทุ ฺธสฺส สิรีมโต
สทฺธมฺมญฺจสฺส ปูเชตฺวา กตฺวา สงฺฆสฺส จญฺชลึ,
“ตํ ตํ การณมาคมฺม ธมฺมาธมฺเมสุ โกวิโท
สมฺปนฺนสทฺธมฺมปโท สตฺถา ธมฺมปทํ สุภํ
เทเสสิ กรุณาเวค สมุสฺสาหิตมานโส
ยํ เว เทวมนุสฺสานํ ปี ติปาโมชฺชวฑฺฒนํ
ปรมฺปราภตา ตสฺส นิปณุ า อตฺถวณฺณนา,
ยา ตามฺพปณฺณิทีปมฺหิ ทีปภาสาย สณฺ€ิตา
น สาธยติ เสสานํ สตฺตานํ หิตสมฺปทํ,
อปฺเปว นาม สาเธยฺย สพฺพโลกสฺส สา หิตํ “
อิติ อาสึสมาเนน ทนฺเตน สมจาริ นา
กุมารกสฺสเปนาหํ เถเรน ถิรเจตสา
สทฺธมฺมฏฺ€ิตกิ าเมน สกฺกจฺจํ อภิยาจิโต,
ตํ ภาสํ อติวิตฺถารํ คตญฺจ วจนกฺกมํ
ปหายาโรปยิตฺวาน ตนฺตึ ภาสํ มโนรมํ,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1


คาถานํ พฺยญฺชนปทํ ยํ ตตฺถ น วิภาวิตํ
เกวลนฺตํ วิภาเวตฺวา เสสนฺตเมว อตฺถโต
ภาสนฺตเรน ภาสิสฺสํ อาวหนฺโต วิภาวินํ
มนโส ปี ติปาโมชฺชํ อตฺถธมฺมปู นิสฺสติ นฺต.ิ

2 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


๑.อ.กถาเป็ นเครื่ องพรรณนาซึ่งเนือ้ ความแห่ งวรรค ๑. ยมกวคฺควณฺณนา
อันบัณฑิตก�ำหนดแล้ ว ด้ วยเรื่ องอันเป็ นคู่
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว)

๑. อ.เรื่ องแห่ งพระเถระชื่อว่ าจักขุบาล ๑. จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ. (๑)


(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

(อ. อันถามว่า) ว่า อ. พระธรรมเทศนานี ้ ว่า

อ. ธรรม ท. มี ใจเป็ นสภาพถึงก่อน มี ใจประเสริ ฐที ส่ ดุ มโนปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา,
ส�ำเร็ จด้วยใจ, หากว่า อ.บุคคล มี ใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา,
กล่าวอยู่ หรื อ หรื อว่า กระท�ำอยู่ ไซร้, อ.ทุกข์ ย่อมไปตาม ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทนฺติ.
ซึ่ ง บุค คล นัน้ เพราะทุจ จริ ต มี อ ย่ า ง ๓ นัน้ เพี ย งดัง
อ.ล้อหมุนไปตามอยู่ ซึ่งรอยเท้า แห่งโคตัวเนือ่ งด้วยก�ำลัง
ตัวน�ำไปอยู่ซึ่งแอก ดังนี ้

(อันพระศาสดา) ตรัสแล้ ว ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ อยํ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตาติ.


(อ. อันตอบ ว่า อ. พระธรรมเทศนา นี ้ อันพระศาสดา ตรัสแล้ ว) “สาวตฺถิยํ.”
ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี (ดังนี ้) ฯ
(อ. อันถาม ว่า อ. พระธรรมเทศนา นี ้ อันพระศาสดา) “กํ อารพฺภาติ.
ทรงปรารภ ซึง่ ใคร (ตรัสแล้ ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี) ดังนี ้ ฯ
(อ. อัน ตอบ ว่า อ.พระธรรมเทศนา นี ้ อัน พระศาสดา “จกฺขปุ าลตฺเถรํ .
ทรงปรารภ) ซึง่ พระเถระชื่อว่าจักขุบาล (ตรัสแล้ ว ในเมืองชื่อว่า
สาวัตถี ดังนี ้) ฯ

ได้ ยินว่า (อ. เศรษฐี ) ชื่อว่ามหาสุวรรณ เป็ นผู้มีขุมทรั พย์ สาวตฺถิยํ กิร มหาสุวณฺโณ นาม กุฏมฺุ พิโก
เป็ นผู้มงั่ คัง่ เป็ นผู้มที รัพย์มาก เป็ นผู้มโี ภคมาก เป็ นผู้มบี ตุ รหามิได้ อโหสิ อฑฺโฒ มหทฺธโน มหาโภโค อปุตตฺ โก.
ได้ มีแล้ ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ
ในวันหนึง่ อ.เศรษฐีนนั ้ ไปแล้ ว สูท่ า่ เป็ นทีอ่ าบ อาบแล้ ว มาอยู่ โส เอกทิวสํ นหานติตฺถํ คนฺตฺวา นหาตฺวา
เห็นแล้ ว ซึง่ ต้ นไม้ อนั เป็ นเจ้ าแห่งป่ า ต้ นหนึง่ มีกิ่งอันถึงพร้ อมแล้ ว อาคจฺ ฉนฺโต อนฺตรามคฺเค สมฺปนฺนสาขํ เอกํ
ในระหว่างแห่งหนทาง, (คิดแล้ว) ว่า อ.ต้นไม้ นี ้ จักเป็ นต้นไม้ อันเทวดา วนปฺปตึ ทิสวฺ า “อยํ มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคคฺ หิโต
ผู้มศี กั ดิใ์ หญ่ ถือเอารอบแล้ ว จักเป็ น ดังนี ้ (ยังบุคคล) ให้ ชำ� ระแล้ ว ภวิสสฺ ตีติ ตสฺส เหฏฺฐาภาคํ โสธาเปตฺวา ปาการปริกเฺ ขปํ
ซึง่ ส่วนภายใต้ แห่งต้ นไม้ อนั เป็ นเจ้ าแห่งป่ านัน้ (ยังบุคคล) การาเปตฺวา วาลุกํ โอกิราเปตฺวา ธชปตากํ อุสสฺ าเปตฺวา
ให้กระท�ำแล้ว ซึง่ การแวดล้อมด้วยก�ำแพง (ยังบุคคล) ให้เกลีย่ ลงแล้ว วนปฺปตึ อลงฺกริ ตฺวา “ปุตฺตํ วา ธีตรํ วา ลภิตฺวา
ซึ่งทราย (ยังบุคคล) ให้ ยกขึน้ แล้ ว ซึ่งธงชัยและธงแผ่นผ้ า ตุมหฺ ากํ มหาสกฺการํ กริ สฺสามีติ ปตฺถนํ กตฺวา
กระท�ำให้ พอแล้ ว ซึง่ ต้ นไม้ อนั เป็ นเจ้ าแห่งป่ า กระท�ำแล้ ว ปกฺกามิ.
ซึง่ ความปรารถนา ว่า (อ. เรา) ได้ แล้ ว ซึง่ บุตร หรือ หรือว่า ซึง่ ธิดา
จักกระท�ำ ซึง่ สักการะใหญ่ แก่ทา่ น ท. ดังนี ้ หลีกไปแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ อ. สัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์ ตังอยู ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในท้ อง อถสฺส ภริ ยาย กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏฺฐาสิ .
ของภรรยา ของเศรษฐี นนั ้ ฯ อ. เศรษฐี นัน้ ได้ ให้ แล้ ว ซึง่ เครื่ อง โส ตสฺสา คพฺภปริ หารํ อทาสิ. สา ทสมาสจฺจเยน
บริ หารซึง่ ครรภ์ แก่ภรรยา นัน้ ฯ อ. ภรรยานัน้ คลอดแล้ ว ซึง่ บุตร ปุตฺตํ วิชายิ.
โดยกาลเป็ นที่ลว่ งไปแห่งเดือนสิบ ฯ
อ. เศรษฐี ได้ กระท�ำแล้ ว (ซึง่ ค�ำ) ว่า อ. ปาละ ดังนี ้ ให้ เป็ นชื่อ เสฏฺฐี อตฺตนา ปาลิตํ วนปฺปตึ นิ สฺสาย
ของบุตรนัน้ เพราะความที่ (แห่งบุตรนัน) ้ เป็ นผู้อนั ตน อาศัยแล้ ว ลทฺธตฺตา ตสฺส “ปาโลติ นามํ อกาสิ.
ซึ่งต้ นไม้ อันเป็ นเจ้ าแห่งป่ า อันอันตนรั กษาแล้ ว ได้ แล้ ว ฯ
ในกาลอันเป็ นส่วนอืน่ อีก (อ.เศรษฐี นน) ั ้ ได้ แล้ ว ซึง่ บุตร อืน่ ฯ อปรภาเค อญฺญํ ปุตฺตํ ลภิ. ตสฺส “จุลฺลปาโลติ
(อ.เศรษฐี นน) ั ้ กระท�ำแล้ ว (ซึง่ ค�ำ) ว่า อ.จุลลปาละ ดังนี ้ ให้ เป็ นชื่อ นามํ กตฺวา,
ของบุตรนัน,้
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3
กระท�ำแล้ว (ซึง่ ค�ำ) ว่า อ.มหาปาละ ดังนี ้ ให้เป็ นชือ่ ของบุตรนอกนี ้ ฯ อิตรสฺส “มหาปาโลติ นามํ กริ .
(อ. มารดาและบิดา ท.) ผูกแล้ ว ซึง่ บุตร ท. เหล่านัน้ ผู้ถงึ แล้ ว เต วยปฺปตฺเต ฆรพนฺธเนน พนฺธึส.ุ อปรภาเค
ซึง่ วัย ด้ วยเครื่องผูกคือเรือน ฯ ในกาลอันเป็ นส่วนอืน่ อีก อ.มารดา มาตาปิ ตโร กาลมกํส.ุ สพฺพํ โภคํ ทฺวินฺนํเยว วิวเรสุ.ํ
และบิดา ท. ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ฯ (อ.ญาติ ท.) แบ่งแล้ ว
ซึง่ โภคะ ทังปวง
้ (แก่บตุ ร ท.) สองนัน่ เทียว ฯ

ในสมัยนัน้ อ.พระศาสดา ผู้มีจักรคือธรรมอันประเสริ ฐ ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปวตฺตติ ปวรธมฺมจกฺโก
อันให้ เป็ นไปทัว่ แล้ ว เสด็จไปแล้ ว โดยล�ำดับ ย่อมประทับอยู่ อนุปุพฺเพน คนฺตฺวา, อนาถปิ ณฺ ฑิกมหาเสฏฺฐินา
ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน อันอันมหาเศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ จตุปฺป ญฺ ญ าสโกฏิ ธ นํ วิ สฺ ส ชฺ เ ชตฺ ว า การิ เ ต
สละ ซึง่ ทรัพย์มโี กฏิห้าสิบสีเ่ ป็ นประมาณ แล้วยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว, เชตวนมหาวิหาเร วิหรติ; มหาชนํ สคฺคมคฺเค
ทรงยังมหาชน ให้ ตงเฉพาะอยู
ั้ ่ ในหนทางแห่งสวรรค์ด้วย ในหนทาง จ โมกฺขมคฺเค จ ปติฏฺฐาปยมาโน.
แห่งธรรมเป็ นเครื่ องหลุดพ้ นด้ วย ฯ

จริงอยู่ อ.พระตถาคตเจ้า ประทับอยูแ่ ล้ว ตลอดการอยูจ่ ำ� พรรษา ตถาคโต หิ “มาติปกฺขโต อสีตยิ า ปิ ตปิ กฺขโต
หนึง่ นัน่ เทียว ในมหาวิหารชื่อว่านิโครธ อันอันพันแห่งตระกูล อสีติยาติ เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺเสหิ การิ เต
แห่งพระญาติแปดสิบสองหน ท. คือ (อันพันแห่งตระกูลแห่งพระญาติ ท.) นิโคฺรธมหาวิหาเร เอกเมว วสฺสาวาสํ วสิ,
๘๐ ข้ างฝ่ ายแห่งพระมารดา (อันพันแห่งตระกูลแห่งพระญาติ ท.) อนาถปิ ณฑฺ เิ กน การิเต เชตวนมหาวิหาเร เอกูนวีสติ,
๘๐ ข้ า งฝ่ ายแห่ ง พระบิ ด า ทรงยัง นายช่ า ง ให้ ก ระท� ำ แล้ ว , วิสาขาย สตฺตวีสติโกฏิธนปริ จฺจาเคน การิ เต
(ประทับอยูแ่ ล้ ว ตลอดการอยูจ่ �ำพรรษา ท.) ยี่สบิ หย่อนด้ วยหนึง่ ปุพฺพาราเม ฉ วสฺสาวาเสติ ทฺวินฺนํ กุลานํ
ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน อันอันมหาเศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ คุณมหนฺตตํ ปฏิจฺจ สาวตฺถึ นิสฺสาย ปญฺฺจวีสติ
ยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว (ประทับอยูแ่ ล้ว ตลอดการอยูจ่ ำ� พรรษา ท.) วสฺสาวาเส วสิ.
หก ในมหาวิหารชื่อว่าบุพพาราม อันอันนางวิสาขา ยังนายช่าง
ให้กระท�ำแล้ว ด้วยการบริจาคซึง่ ทรัพย์มโี กฏิยสี่ บิ เจ็ดเป็ นประมาณ
ทรงอาศัย ซึง่ เมืองชื่อว่าสาวัตถี ประทับอยูแ่ ล้ ว ตลอดการอยู่
จ�ำพรรษา ท. ยี่สบิ ห้ า เพราะทรงอาศัย ซึง่ ความที่แห่งตระกูล ท.
สอง เป็ นตระกูลมีคณ ุ ใหญ่ ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ

แม้ อ.มหาเศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ แม้ อ.นางวิสาขา อนาถปิ ณฺฑิโกปิ วิสาขาปิ มหาอุปาสิกา นิพทฺธํ
ผู้มหาอุบาสิกา ย่อมไป สูท่ เี่ ป็ นทีบ่ ำ� รุง ซึง่ พระตถาคตเจ้า สิ ้นวาระ ท. ทิวสสฺส เทฺว วาเร ตถาคตสฺส อุปฏฺฐานํ คจฺฉนฺต.ิ
สอง แห่งวัน เนืองนิตย์ ฯ ก็ (อ. ชน ท. สอง เหล่านัน) ้ เมื่อไป คจฺฉนฺตา จ “ทหรสามเณรา โน หตฺเถ โอโลเกสฺสนฺตตี ิ
เป็ นผู้มีมือเปล่าไปแล้ วในก่อน (เป็ นผู้ไม่เคยมีมือเปล่าไปแล้ ว) ตุจฺฉหตฺถา น คตปุพฺพา: ปุเรภตฺตํ คจฺ ฉนฺตา
(ด้ วยอันคิด) ว่า อ. ภิกษุหนุม่ และสามเณร ท. จักแลดู ซึง่ มือ ท. ขาทนียาทีนิ คาหาเปตฺวา คจฺฉนฺต,ิ ปจฺฉาภตฺตํ
ของเรา ท. ดังนี ้ (ย่อมเป็ น) หามิได้: เมือ่ ไป ในกาลก่อนแต่กาลแห่งภัตร ปญฺจ เภสชฺชานิ อฏฺฐ จ ปานานิ.
ยังบุคคลให้ ถอื เอาแล้ ว (ซึง่ วัตถุ ท.) มีของอันบุคคลพึงเคี ้ยวเป็ นต้ น
ย่อมไป, (เมื่อไป) ในกาลภายหลังแต่กาลแห่งภัตร (ยังบุคคล
ให้ถอื เอาแล้ว) ซึง่ เภสัช ท. ห้า ด้วย ซึง่ น� ้ำเป็ นเครื่องดืม่ ท. แปด ด้วย
(ย่อมไป) ฯ
อนึง่ อ.อาสนะ ท. เป็ นวัตถุอนั บุคคลปูลาดแล้ ว เนืองนิตย์ นิเวสเนสุ ปน เตสํ ทฺวนิ นฺ ํ ทฺวนิ นฺ ํ ภิกขฺ สุ หสฺสานํ
เพื่อพันแห่งภิกษุ ท. สอง สอง ในที่เป็ นที่อยู่ ท. ของชน ท. สอง นิจฺจํ ปญฺญตฺตาเนวาสนานิ โหนฺต.ิ
เหล่านัน้ นัน่ เทียว ย่อมเป็ น ฯ
อ.ภิกษุ ใด ย่อมปรารถนา ในข้ าวและน� ้ำเป็ นเครื่ องดื่มและ อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย ยํ อิจฺฉติ, ตสฺส ตํ
เภสัช ท. หนา ซึง่ วัตถุใด, อ.วัตถุนนั ้ ย่อมถึงพร้ อม แก่ภิกษุนนั ้ ยถิจฺฉิตเมว สมฺปชฺชติ,
ตามความปรารถนานัน่ เทียว ฯ
อ.ปั ญหา เป็ นสภาพอัน- ในชน ท. สอง เหล่านันหนา ้ เตสุ อนาถปิ ณฺฑิเกน เอกเมว ทิวสํ สตฺถารํ
-มหาเศรษฐีชอื่ ว่าอนาถบิณฑิกะ ไม่เคยทูลถามแล้ ว กะพระศาสดา ปญฺโห น ปุจฺฉิตปุพฺโพ.
ในวันหนึง่ นัน่ เทียว (ย่อมเป็ น) ฯ

4 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ได้ ยินว่า อ.มหาเศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะนัน้ คิดแล้ ว ว่า โส กิร “ ตถาคโต พุทฺธสุขมุ าโล ขตฺตยิ สุขมุ าโล
อ.พระตถาคต เป็ นพระพุทธเจ้ าผู้ละเอียดอ่อน เป็ นกษั ตริ ย์ “ พหุปกาโร เม คหปตีติ มยฺหํ ธมฺมํ เทเสนฺโต
ผู้ละเอียดอ่อน (เป็ น) เมือ่ ทรงแสดง ซึง่ ธรรม แก่เรา (ด้วยทรงพระด�ำริ) กิลเมยฺยาติ, สตฺถริ อธิมตฺตสิเนเหน ปญฺหํ น ปุจฉฺ ติ.
ว่า อ. คฤหบดี เป็ นผู้มีอปุ การะมาก แก่เรา (ย่อมเป็ น) ดังนี ้
พึงทรงล�ำบาก ดังนี ้, ย่อมไม่ทลู ถาม ซึง่ ปั ญหา เพราะความรัก
มีประมาณยิ่ง ในพระศาสดา ฯ
ส่วนว่า อ. พระศาสดา ครัน้ เมื่อเศรษฐี นนั ้ เป็ นผู้สกั ว่านัง่ แล้ ว สตฺถา ปน ตสฺมึ นิสนิ ฺนมตฺเตเยว “ อยํ เสฏฺฐี
นัน่ เทียว (มีอยู)่ (ทรงด�ำริ แล้ ว) ว่า อ.เศรษฐี นี ้ ย่อมรักษา ซึง่ เรา ใน มํ อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน รกฺขติ , อหํ หิ กปฺปสต-
ฐานะอันบุคคลไม่พงึ รักษา, เพราะว่า อ.เรา ตัดแล้ ว ซึง่ ศีรษะ ของ สหสฺสาธิกานิ จตฺตาริ อสงฺเขยฺยานิ อลงฺกตปฺปฏิยตฺตํ
ตน อันเรา ทังกระท� ้ ำให้ พอแล้ วทังตกแต่
้ งแล้ ว ควักขึ ้นแล้ ว อตฺตโน สีสํ ฉินฺทิตฺวา อกฺขีนิ อุปปฺ าเฏตฺวา หทยมํสํ
ซึง่ นัยน์ตา ท. ยังเนื ้อแห่งหทัย ให้ เพิกขึ ้นแล้ ว บริ จาคแล้ ว อุพฺพตฺเตตฺวา ปาณสมํ ปุตฺตทารํ ปริ จฺจชิตฺวา
ซึง่ บุตรและภรรยา ผู้เสมอด้ วยลมปราณ ยังบารมี ท. เมื่อให้ เต็ม ปารมิโย ปูเรนฺโต ปเรสํ ธมฺมเทสนตฺถเมว ปูเรสึ ,
สิ ้นอสงไขย ท. สี่ อันยิ่งด้ วยแสนแห่งกัปป์ (ยังบารมี ท.) ให้ เต็มแล้ ว เอส มํ อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน รกฺขตีติ เอกํ ธมฺมเทสนํ
เพื่ออันแสดงซึง่ ธรรม แก่ชน ท. เหล่าอื่นนัน่ เทียว, อ. เศรษฐี นัน่ กเถสิเยว.
ย่อมรักษาซึง่ เรา ในฐานะอันบุคคลไม่พงึ รักษา ดังนี ้ ตรัสแล้ ว
ซึง่ พระธรรมเทศนา กัณฑ์หนึง่ นัน่ เทียว ฯ
ในกาลนัน้ อ. โกฏิแห่งมนุษย์ ท. เจ็ด ย่อมอยู่ ในเมืองชื่อว่า ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺต.ิ
สาวัตถี ฯ (ในมนุษย์ ท.) เหล่านันหนา ้ อ. มนุษย์ ท. มีโกฏิห้า เตสุ สตฺถุ ธมฺมกถํ สุตฺวา ปญฺจโกฏิมตฺตา มนุสฺสา
เป็ นประมาณ ฟังแล้ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่องกล่าวซึง่ ธรรม ของพระศาสดา อริ ยสาวกา ชาตา, เทฺวโกฏิมตฺตา ปุถชุ ฺชนา.
เป็ นอริ ยสาวก เกิดแล้ ว, (อ.มนุษย์ ท.) มีโกฏิสองเป็ นประมาณ
(ฟังแล้ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่องกล่าวซึง่ ธรรม ของพระศาสดา) เป็ นปุถชุ น
(เกิดแล้ ว) ฯ
อ. กิจ ท. ๒ นัน่ เทียวได้ มีแล้ ว (ในมนุษย์ ท.) เหล่านันหนา ้ เตสุ อริ ยสาวกานํ เทฺวเยว กิจฺจานิ อเหสุํ:
(แก่มนุษย์ ท.) ผู้เป็ นอริ ยสาวก, (อ. อริ ยสาวก ท.) ย่อมถวาย ปุเรภตฺตํ ทานํ เทนฺต,ิ ปจฺฉาภตฺตํ คนฺธมาลาทิหตฺถา
ซึง่ ทาน ในกาลก่อนแห่งภัตร, (อ. อริ ยสาวก ท.) ผู้มีวตั ถุมีของหอม วตฺถเภสชฺชปานกาทึ คาหาเปตฺวา ธมฺมสฺสวนตฺถาย
และระเบียบเป็ นต้ นในมือ ยังบุคคลให้ ถือเอาแล้ ว (ซึง่ วัตถุ) คจฺฉนฺติ.
มีผ้าและยาและน� ้ำเป็ นเครื่ องดื่มเป็ นต้ น ย่อมไป เพื่อต้ องการ
แก่อนั ฟั งซึง่ ธรรม ในกาลภายหลังแห่งภัตร ฯ
ครังนั
้ น้ ในวันหนึง่ อ. กุฎมพี
ุ ชอื่ ว่ามหาบาล เห็นแล้ว ซึง่ อริยสาวก ท. อเถกทิวสํ มหาปาโล อริยสาวเก คนฺธมาลาทิหตฺเถ
ผู้มีวตั ถุมีของหอมและระเบียบเป็ นต้ นในมือ ผู้ไปอยู่ สูว่ ิหาร, วิหารํ คจฺฉนฺเต ทิสฺวา, “อยํ มหาชโน กุหึ คจฺฉตีติ
ถามแล้ ว ว่า อ. มหาชน นี ้ จะไป ในที่ไหน ดังนี ้ ฟั งแล้ ว ว่า ปุจฺฉิตฺวา, “ ธมฺมสฺสวนายาติ สุตฺวา , “ อหํปิ
(อ. มหาชนนี ้ ย่อมไป ) เพื่ออันฟั งซึง่ ธรรม ดังนี ้, (คิดแล้ ว) ว่า คมิสฺสามีต,ิ คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา ปริ สปริ ยนฺเต
แม้ อ. เรา จักไป ดังนี ้ ไปแล้ ว ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา นิสีทิ.
นัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ รอบแห่งบริ ษัท ฯ
ก็ ชือ่ อ. พระพุทธเจ้า ท. เมือ่ ทรงแสดง ซึง่ ธรรม, ทรงตรวจดูแล้ว พุทฺธา จ นาม ธมฺมํ เทเสนฺตา , สรณสีล-
ซึง่ ธรรมอันเป็ นอุปนิสยั (แห่งคุณ ท.) มีสรณะและศีลและบรรพชา ปพฺพชฺชาทีนํ อุปนิสฺสยํ โอโลเกตฺวา อชฺฌาสยวเสน
เป็ นต้ น ย่อมทรงแสดง ซึง่ ธรรม ด้ วยอ�ำนาจแห่งอัธยาศัย; ธมฺมํ เทเสนฺต;ิ

เพราะเหตุนนั ้ ในวันนัน้ อ. พระศาสดา ทรงตรวจดูแล้ ว ตสฺมา ตํทิวสํ สตฺถา ตสฺส อุปนิสฺสยํ


ซึง่ ธรรมอันเป็ นอุปนิสยั แห่งกุฎมพีุ ชอื่ ว่ามหาบาลนัน้ เมือ่ ทรงแสดง โอโลเกตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อนุปพุ ฺพีกถํ กเถสิ.
ซึง่ ธรรม ตรัสแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวโดยล�ำดับ ฯ
(อ. อันถามว่า อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ อง เสยฺยถี ทํ? ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ
กล่าวโดยล�ำดับ) อย่างไรนี ้ (ดังนี ้) ? (อ.อันแก้ วา่ อ.พระศาสดา)
ทรงประกาศแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวซึง่ ทาน ซึง่ วาจาเป็ น
เครื่ องกล่าวซึง่ ศีล ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวซึง่ สวรรค์

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 5


ซึง่ โทษ ซึง่ การกระทําต�่ำ ซึง่ ความเศร้ าหมองพร้ อมแห่งกาม ท. กามานํ อาทีนวํ โอการํ สงฺกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ
ซึง่ อานิสงส์ ในการออกบวช (ดังนี ้) ฯ ปกาเสสิ.
อ.กุฎมพีุ ชื่อว่ามหาบาล ฟั งแล้ ว ซึง่ พระดํารัสนัน้ คิดแล้ ว ว่า ตํ สุตฺวา มหาปาโล กุฏมฺุ พิโก จินฺเตสิ “ปรโลกํ
อ.บุตรและธิดา ท. หรื อ หรื อว่า อ.โภคะ ท. ย่อมไม่ไปตาม (ซึง่ บุคคล) คจฺฉนฺตํ ปุตฺตธีตโร วา โภคา วา นานุคจฺฉนฺต,ิ สรี รํปิ
ผู้ไปอยู่ สูโ่ ลกอื่น, แม้ อ. สรี ระ ย่อมไม่ไป กับ ด้ วยตน, อ. ประโยชน์ อตฺตนา สทฺธึ น คจฺฉติ ; กึ เม ฆราวาเสน ,
อะไร ของเรา ด้ วยการอยูค่ รองซึง่ เรื อน , อ. เรา จักบวช ดังนี ้ ฯ ปพฺพชิสฺสามีติ.
อ. กุฏมพีุ ชื่อว่ามหาบาล นัน้ เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระศาสดา โส เทสนาปริ โยสาเน สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งเทศนา ทูลขอแล้ ว ซึง่ การบวช ฯ ปพฺพชฺชํ ยาจิ.
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว กะกุฎมพี ุ ชื่อว่ามหาบาลนัน้ ว่า อถ นํ สตฺถา “นตฺถิ เต โกจิ อาปุจฺฉิตพฺพยุตฺตโก
อ. ญาติ ผู้ควรแล้ ว แก่ความเป็ นผู้อนั ท่านพึงอําลา บางคน ของท่าน ญาตีติ อาห. “กนิฏฺฐภาตา เม อตฺถิ ภนฺเตติ.
ย่อมไม่มี หรื อ ? ดังนี ้ ฯ (อ. กุฎมพี ุ ชื่อว่ามหาบาล กราบทูลแล้ ว ว่า) “เตนหิ ตํ อาปุจฺฉาหีต.ิ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ ของข้ าพระองค์ มีอยู่
ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า) ถ้ าอย่างนัน้ อ.ท่าน จงอําลา
ซึง่ น้ องชายผู้น้อยที่สดุ นัน้ ดังนี ้ ฯ

อ. กุฎมพี
ุ ชื่อว่ามหาบาลนัน้ รับพร้ อมแล้ ว ว่า อ. ดีละ ดังนี ้ โส “สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา
ถวายบังคมแล้ว ซึง่ พระศาสดา ไปแล้ว สูเ่ รือน ยังบุคคล ให้ร้องเรียกแล้ว เคหํ คนฺตฺวา กนิฏฺฐํ ปกฺโกสาเปตฺวา “ตาต ยํ
ซึง่ น้ องชายผู้น้อยที่สดุ (กล่าวแล้ ว) ว่า แน่ะพ่อ อ. ทรัพย์ไร ๆ อิมสฺมึ กุเล สวิญฺญาณกาวิญฺญาณกํ ธนํ กิญฺจิ
อันเป็ นไปกับด้ วยวิญญาณและไม่มีวิญญาณใด มีอยู่ ในตระกูล นี ้, อตฺถิ, สพฺพนฺตํ ตว ภาโร, ปฏิปชฺชาหิ นนฺต.ิ
อ. ทรัพย์นนั ้ ทังปวง
้ เป็ นภาระ ของท่าน (จงเป็ น) , อ. ท่าน จงครอบครอง “ตุ มฺ เ ห ปน สามี ติ . “อหํ สตฺ ถุ สนฺ ติ เ ก
ซึง่ ทรัพย์นนั ้ ดังนี ้ ฯ (อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ นัน้ ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่นาย ปพฺพชิสฺสามีติ .
ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ? ดังนี ้ ฯ (อ. กุฏมพี ุ ชื่อว่ามหาบาลนัน้ กล่าวแล้ ว)
ว่า อ. เรา จักบวช ในสํานัก ของพระศาสดา ดังนี ้ ฯ
(อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ นัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พี่ อ. ท่าน “ กึ กเถสิ ภาติก ; ตฺวํ เม มาตริ มตาย มาตา
กล่าวแล้ ว ซึง่ คําอะไร, อ. ท่าน ครัน้ เมื่อมารดา ตายแล้ ว เป็ นผู้ อันเรา วิย, ปิ ตริ มเต ปิ ตา วิย ลทฺโธ , เคเห โว มหาวิภโว,
(ได้ แล้ ว) ราวกะ อ. มารดา (ย่อมเป็ น), (อ. ท่าน) ครัน้ เมื่อบิดา ตายแล้ ว สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตเหว ปุญฺญานิ กาตุํ ;
เป็ นผู้อนั เรา (ได้ แล้ ว) ราวกะ อ. บิดา (ย่อมเป็ น), อ. สมบัตอิ นั บุคคล มา เอวมกตฺถาติ.
พึงเสวยใหญ่ (มีอยู)่ ในเรือน ของท่าน ท., (อันท่าน ท.) ผู้อยูค่ รอบครองอยู่
ซึง่ เรื อนนัน่ เทียว อาจ เพื่ออันกระทํา ซึง่ บุญ ท., อ. ท่าน ท.
อย่าได้ กระทําแล้ ว อย่างนี ้ ดังนี ้ ฯ

(อ. กุฎมพี
ุ ชอื่ ว่ามหาบาล กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ อ. พระธรรมเทศนา “ตาต มยา สตฺถุ ธมฺมเทสนา สุตา, สตฺถารา หิ
ของพระศาสดา อันเรา ฟั งแล้ ว, ก็ อ. ธรรมอันงามในเบื ้องต้ นและ สณฺ หสุขุมํ ติลกฺ ขณํ อาโรเปตฺวา อาทิมชฺ ฌ-
ท่ามกลางและทีส่ ดุ ลงรอบ อันพระศาสดา ทรงยกขึ ้นแล้ ว สูล่ กั ษณะ ๓ ปริ โยสานกลฺยาณธมฺโม เทสิโต. น สกฺกา โส
ทังละเอี
้ ยดทังอ่
้ อน ทรงแสดงแล้ ว, อ. ธรรมอันงามในเบื ้องต้ นและ อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ; ปพฺพชิสฺสามิ ตาตาติ.
ท่ามกลางและที่สดุ ลงรอบนัน้ (อันเรา) ไม่อาจ เพื่ออันให้ เต็มได้
ในท่ามกลางแห่งเรื อน, แน่ะพ่อ อ. เรา จักบวช ดังนี ้ ฯ
(อ.น้ องชายผู้น้อยที่สดุ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พี่ เออก็ (อ.ท่าน ท.) “ ภาติ ก ตรุ ณ าปิ จ ตาว , มหลฺ ล กกาเล
เป็ นคนหนุม่ (ย่อมเป็ น) ก่อน, อ.ท่าน ท. จักบวช ในกาลแห่งตน ปพฺพชิสฺสถาติ.
เป็ นคนแก่ ดังนี ้ ฯ
(อ. กุฎมพี
ุ ชอื่ ว่ามหาบาล กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ ก็ แม้ อ. มือและเท้า ท. “ตาต มหลฺลกสฺส หิ อตฺตโน หตฺถปาทาปิ
ของตน แห่งคนแก่ เป็ นอวัยวะไม่ฟังตาม ย่อมเป็ น, ย่อมไม่เป็ นไป อนสฺสวา โหนฺต,ิ น วเส วตฺตนฺต,ิ กิมงฺคํ ปน
ในอํานาจ, ก็ อ. องค์อะไรเล่า อ. ญาติ ท. (จักเป็ นไป ในอํานาจ), ญาตกา , สฺวาหํ ตว วจนํ น กโรมิ, สมณปฏิปตฺตึ
อ. เรา นัน้ จะไม่กระทํา ซึง่ คํา ของท่าน, อ. เรา ยังความปฏิบตั แิ ห่งสมณะ ปูเรสฺสามิ,
จักให้ เต็ม,

6 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ.มื อและเท้า ท. ของบุคคคลใด เป็ นอวัยวะคร�่ ำคร่ าแล้วเพราะชรา ชราชชฺชริ ตา โหนฺติ หตฺถปาทา อนสฺสวา
เป็ นอวัยวะไม่ฟังตาม ย่อมเป็ น, อ. บุคคลนัน้ ผูม้ ี เรี ่ยวแรงอันชรา ยสฺส, โส วิ หตตฺถาโม กถํ ธมฺมํ จริ สฺสติ ,
ก�ำจัดแล้ว จักประพฤติ ซึ่งธรรม อย่างไร,

แน่ะพ่อ อ. เรา จักบวชนัน่ เทียว ดังนี ้ ฯ ปพฺพชิสฺสาเมวาหํ ตาตาติ.


เมื่อน้ องชายผู้น้อยที่สดุ นัน้ ร้ องไห้ อยูน่ นั่ เทียว, (อ. กุฎมพี
ุ ตสฺส วิรวนฺตสฺเสว , สตฺถุ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา ปพฺพชฺชํ
ชื่อว่ามหาบาลนัน) ้ ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา ทูลขอแล้ ว ยาจิตฺวา, ลทฺธปพฺพชฺชปู สมฺปโท อาจริ ยปุ ชฺฌายานํ
ซึง่ บรรพชา, ผู้มีบรรพชาและอุปสมบทอันได้ แล้ ว อยูแ่ ล้ ว สิ ้นปี ท. สนฺตเิ ก ปญฺจ วสฺสานิ วสิตฺวา, วุตฺถวสฺโส
๕ ในส�ำนัก ของพระอาจารย์และพระอุปัชฌาย์ ท., ผู้มีกาลฝน ปวาเรตฺวา, สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา ปุจฺฉิ
อันอยูแ่ ล้ว ปวารณาแล้ว, เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึง่ พระศาสดา ถวายบังคมแล้ว “ภนฺเต อิมสฺมึ สาสเน กติ ธุรานีติ.
ทูลถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ธุระ ท. ในศาสนานี ้
เท่าไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูกอ่ นภิกษุ อ. ธุระ ท. สองนัน่ เทียว “คนฺถธุรํ วิปสฺสนาธุรนฺติ เทฺวเยว ธุรานิ ภิกฺขตู .ิ
คือ อ. คันถธุระ อ. วิปัสสนาธุระ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุชอื่ ว่ามหาบาล ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ “กตมํ ปน ภนฺเต คนฺถธุรํ, กตมํ วิปสฺสนาธุรนฺต.ิ
ก็ อ. คันถธุระ เป็ นไฉน ?, อ. วิปัสสนาธุระ เป็ นไฉน ? ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า อ.ธุระนี ้ คือ อ. การเรี ยนเอาแล้ ว “อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา เทฺว วา
ซึง่ นิกาย หนึง่ หรือ หรือว่า ซึง่ นิกาย ท. สอง ก็หรือว่า ซึง่ พระพุทธพจน์ นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิ ฏกํ พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา
คือ ประชุมแห่งปิ ฎกสาม ทังสิ ้ ้น ทรงจ�ำ กล่าว บอก ซึง่ พระพุทธพจน์ ตสฺส ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ คนฺถธุรํ นาม .
นัน้ ตามสมควรแก่ปัญญาของตน ชือ่ ว่า คันถธุระ ฯ
ส่วนว่า อ. ธุระนี ้ คือ อ. การ เริ่ มตังแล้
้ ว ซึง่ ความสิ ้นไปและ สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส
ความเสื่อมไป ในอัตภาพ ยังวิปัสสนา ให้ เจริ ญแล้ ว ด้ วยสามารถ อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺ€เปตฺวา สาตจฺจกิริยาวเสน
แห่งการกระท�ำโดยความเป็ นแห่งความติดต่อ ถือเอาซึง่ ความเป็ น วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ
แห่งพระอรหันต์ (แห่งภิกษุ) ผู้ยินดียิ่งแล้ วในเสนาสนะอันสงัดแล้ ว วิปสฺสนาธุรํ นามาติ.
ผู้มีความประพฤติเบาพร้ อม ชื่อว่าวิปัสสนาธุระ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุชอ่ื ว่ามหาบาล กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ “ภนฺเต อหํ มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต คนฺถธุรํ
อ. ข้ าพระองค์ บวชแล้ ว ในกาลแห่งตนเป็ นคนแก่ จักไม่อาจ ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ, วิปสฺสนาธุรํ ปน ปูเรสฺสามิ;
เพื่ออันยังคันถธุระให้ เต็ม, แต่วา่ อ. ข้ าพระองค์ ยังวิปัสสนาธุระ กมฺมฏฺ€านํ เม กเถถาติ.
จักให้ เต็ม ; อ. พระองค์ ท. ขอจงตรั สบอก ซึ่งกัมมัฏฐาน
แก่ข้าพระองค์ ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ซึง่ กัมมัฏฐาน เพียงใด อถสฺส สตฺถา ยาว อรหตฺตา กมฺมฏฺฐานํ
แต่ความเป็ นแห่งพระอรหันต์ แก่ภิกษุชื่อว่ามหาบาลนัน้ ฯ กเถสิ.

อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาลนัน้ ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา, โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา, อตฺตนา สหคามิโน ภิกฺขู


แสวงหาอยู่ ซึง่ ภิกษุ ท. ผู้ไปโดยปกติกบั ด้ วยตน, ได้ แล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. ปริ เยสนฺโต สฏฺ€ี ภิกฺขู ลภิตฺวา, เตหิ สทฺธึ
หกสิบ, ออกไปแล้ ว กับ ด้ วยภิกษุ ท. เหล่านัน,้ ไปแล้ ว สิ ้นหนทาง นิกฺขมิตฺวา, วีสโยชนสตมคฺคํ คนฺตฺวา, เอกํ มหนฺตํ
มีร้อยแห่งโยชน์ยสี่ บิ เป็ นประมาณ, ถึงแล้ว ซึง่ บ้านอันเป็ นทีส่ ดุ เฉพาะ ปจฺจนฺตคามํ ปตฺวา, ตตฺถ สปริ วาโร ปิ ณฺฑาย
หมูใ่ หญ่ ต�ำบลหนึง่ , ผู้เป็ นไปกับด้ วยบริ วาร ได้ เข้ าไปแล้ ว ปาวิส.ิ
ในบ้ านนัน้ เพื่อก้ อนข้ าว ฯ

อ. มนุษย์ ท. เห็นแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. ผู้ถงึ พร้ อมแล้ วด้ วยวัตร มนุสสฺ า วตฺตสมฺปนฺเน ภิกขฺ ู ทิสวฺ า ปสนฺนจิตตฺ า,
เป็ นผู้มจี ติ เลือ่ มใสแล้ว (เป็ น), ปูลาดแล้ว ซึง่ อาสนะ ท. (ยังภิกษุ ท.) อาสนานิ ปญฺญาเปตฺวา นิสที าเปตฺวา, ปณีเตนาหาเรน
ให้ นงั่ แล้ ว อังคาสแล้ ว ด้ วยอาหารอันประณีต ถามแล้ ว ว่า ปริ วิ สิ ตฺ ว า, “ภนฺ เ ต กุ หึ อยฺ ย า คจฺ ฉ นฺ ตี ติ
ข้ าแต่ท่านผู้เจริ ญ อ.พระผู้เป็ นเจ้ า ท. จะไป ในที่ไหน ดังนี ้ ปุจฺฉิตฺวา, “ยถาผาสุกฏฺ€านํ อุปาสกาติ วุตฺเต,
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ดูก่อนอุบาสกและอุบาสิกา ท. (อ. เรา ท. จะไป)
สู่ที่อันมีความส�ำราญอย่างไร ดังนี ้ (อันภิกษุ ท. เหล่านัน้ )
กล่าวแล้ ว,
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 7
อ. มนุษย์ผ้ เู ป็ นบัณฑิต ท. ทราบแล้ ว ว่า อ. ท่านผู้เจริ ญ ท. ปณฺฑิตมนุสฺสา “วสฺสาวาสํ เสนาสนํ ปริ เยสนฺติ
แสวงหาอยู่ ซึง่ เสนาสนะ อันเป็ นทีอ่ ยูจ่ ำ� ซึง่ พรรษา ดังนี ้ กล่าวแล้ว ภทนฺตาติ ญตฺวา “ภนฺเต สเจ อยฺยา อิมํ เตมาสํ อิธ
ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ถ้ าว่า อ. พระผู้เป็ นเจ้ า ท. พึงอยู่ ในที่นี ้ วเสยฺยํ;ุ มยํ สรเณสุ ปติฏฺ€าย, สีลานิ คณฺเหยฺยามาติ
ตลอดหมวดแห่งเดือนสาม นี ้ ไซร้ ; อ.ข้ าพเจ้ า ท. ตังอยู ้ เ่ ฉพาะแล้ ว อาหํส.ุ
ในสรณะ ท. , พึงถือเอา ซึง่ ศีล ท. ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. แม้เหล่านัน้ (ยังค�ำนิมนต์) ให้อยูท่ บั แล้ว (ด้วยอันคิด) เตปิ “มยํ อิมานิ กุลานิ นิสฺสาย, ภวนิสฺสรณํ
ว่า อ. เรา ท. อาศัยแล้ ว ซึง่ ตระกูล ท. เหล่านี ้, จักกระท�ำ กริ สฺสามาติ อธิ วาเสสุํ. มนุสฺสา เตสํ ปฏิญฺญํ
ซึง่ การออกไปจากภพ ดังนี ้ ฯ อ. มนุษย์ ท. รับแล้ ว ซึง่ ปฏิญญา คเหตฺวา วิหารํ ปฏิชคฺคติ ฺวา รตฺติฏฺ€านทิวาฏฺ€านานิ
ของภิกษุ ท. เหล่านัน้ จัดแจงแล้ ว ซึง่ ที่เป็ นที่อยู่ ยังที่เป็ นที่พกั สมฺปาเทตฺวา อทํส.ุ เต นิพทฺธํ ตเมว คามํ
ในกลางคืนและที่เป็ นที่พักในกลางวัน ท. ให้ ถึงพร้ อมแล้ ว ปิ ณฺฑาย ปวิสนฺต.ิ
ได้ ถวาย แล้ ว ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ย่อมเข้ าไป สูบ่ ้ าน นันนั ้ น่ เทียว
เพื่อบิณฑะ เนืองนิตย์ ฯ
ครัง้ นัน้ อ.หมอ คนหนึง่ เข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ อถ เน เอโก เวชฺโช อุปสงฺกมิตฺวา, “ภนฺเต
ปวารณาแล้ ว (ด้ วยค�ำ) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ชื่อแม้ อ.ความทุกข์ พหุนฺนํ วสนฏฺฐาเน อผาสุกํปิ นาม โหติ, ตสฺมึ
มิใช่ความส�ำราญ ย่อมมี ในที่เป็ นที่อยู่ แห่งพระผู้เป็ นเจ้ า ท. มาก อุปปฺ นฺเน, มยฺหํ กเถยฺยาถ; เภสชฺชํ กริ สฺสามีติ
ครัน้ เมื่อความทุกข์มิใช่ความส�ำราญนัน้ เกิดขึ ้นแล้ ว อ.ท่าน ท. ปวาเรสิ.
พึงบอกแก่ข้าพเจ้ า อ.ข้ าพเจ้ า จักกระท�ำ ซึง่ ยา ดังนี ้ ฯ
อ.พระเถระ เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ถามแล้ ว ว่า เถโร วสฺสปู นายิกาทิวเส เต ภิกฺขู อามนฺเตตฺวา
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.ท่าน ท. จักยังกาลให้ น้อมไปล่วงวิเศษ ปุจฺฉิ “ อาวุโส อิมํ เตมาสํ กตีหิ อิริยาปเถหิ
ด้ วยอิริยาบถ ท. เท่าไร ตลอดหมวดแห่งเดือนสามนี ้ ดังนี ้ วีตนิ าเมสฺสถาติ.
ในวันคือดิถีเป็ นที่น้อมเข้ าไปใกล้ แห่งกาลฝน ฯ
(อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ “จตูหิ ภนฺเตติ.
อ. กระผม ท. จักยังกาลให้ น้อมไปล่วงวิเศษ ด้ วยอิริยาบถ ท. สี่
ตลอดหมวดแห่งเดือนสามนี ้ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. ก็ “ กึ ปเนตํ อาวุโส ปฏิรูปํ , นนุ อปฺปมตฺเตหิ
อ.อันยังกาลให้ น้อมไปล่วงวิเศษ ด้ วยอิริยาบถ ท. สี่ ตลอดหมวด ภวิตพฺพํ? มยํ หิ ธรมานสฺส พุทฺธสฺส สนฺติกา
แห่งเดือนสามนี ้ แห่งท่าน ท. นัน่ เป็ นกรรมอันสมควร ย่อมเป็ น กมฺมฏฺ€านํ คเหตฺวา อาคตา,
หรือ อันเรา ท. พึงเป็ นผู้ไม่ประมาทแล้ ว พึงเป็ น มิใช่หรือ, เพราะว่า
อ.เรา ท. เรียนเอาแล้ว ซึง่ พระกรรมฐาน จากส�ำนัก ของพระพุทธเจ้า
ผู้ยงั ทรงพระชนม์อยู่ มาแล้ ว,
จริ งอยู่ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้ า ท. อันบุคคลผู้โอ้ อวด ไม่อาจ พุทฺธา จ นาม น สกฺกา สเ€น อาราเธตุํ,
เพือ่ อันทรงให้ยนิ ดียงิ่ , ด้วยว่า อ. พระพุทธเจ้า ท. เหล่านัน่ อันบุคคล กลฺยาณชฺฌาสเยน เหเต อาราเธตพฺพา, ปมตฺตสฺส
ผู้มีอธั ยาศัยอันงาม พึงให้ ทรงยินดียิ่ง, จริ งอยู่ อ. อบาย ท. สี่ จ นาม จตฺตาโร อปายา สกเคหสทิสา, อปฺปมตฺตา
เป็ นเช่นกับด้ วยเรือนของตน (ย่อมเป็ น) ชือ่ แห่งบุคคลผู้ประมาทแล้ว, โหถาวุโสติ.
ดูกอ่ นท่านผู้มอี ายุ ท. อ. ท่าน ท. เป็ นผู้ไม่ประมาทแล้ว จงเป็ น ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ? “ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ.
ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. “อหํ ตีหิ อิริยาปเถหิ วีตนิ าเมสฺสามิ, ปิ ฏฺฐึ
อ.เรา จักยังกาลให้ น้อมไปล่วงวิเศษ ด้ วยอิริยาบถ ท. สาม, น ปสาเรสฺสามิ อาวุโสติ.
อ. เรา จักไม่เหยียด ซึง่ หลัง ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) “สาธุ ภนฺเต, อปฺปมตฺตา โหถาติ.
ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ดีละ, อ.ท่าน ท. จงเป็ นผู้ไม่ประมาทแล้ ว
(จงเป็ น) ดังนี ้ ฯ
เมือ่ พระเถระ ไม่ก้าวลงอยู่ สูค่ วามหลับ, ครันเมื ้ อ่ เดือนทีห่ นึง่ เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, ปฐมมาเส
ก้ าวล่วงแล้ ว, อ. โรคในนัยน์ตา เกิดขึ ้นแล้ ว ฯ อ. สายน� ้ำ ท. อติกฺกนฺเต , อกฺ ขิโรโค อุปฺปชฺ ชิ. ฉิ ทฺทฆฏโต
ย่อมไหลออก จากนัยน์ตา ท. ราวกะ อ. สายแห่งน� ้ำ ท. (ไหลออกอยู)่ อุทกธารา วิย อกฺขีหิ ธารา ปคฺฆรนฺต.ิ โส สพฺพรตฺตึ
จากหม้ ออันทะลุแล้ ว ฯ อ. พระเถระนัน้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ สมณธรรม สมณธมฺมํ กตฺวา, อรุณคุ ฺคมเน คพฺภํ ปวิสติ ฺวา
ตลอดราตรี ทงปวง, ั้ เข้ าไปแล้ ว สูห่ ้ อง ในกาลเป็ นที่ขึ ้นไปแห่งอรุณ นิสีทิ.
นัง่ แล้ ว ฯ

8 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. ภิกษุ ท. ไปแล้ ว สูส่ ำ� นัก ของพระเถระ ในเวลาเป็ นทีเ่ ทีย่ วไป ภิกฺขู ภิกฺขาจารเวลาย เถรสฺส สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา
เพื่อภิกษา กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ น ผู้เจริ ญ ( อ. เวลานี ้) “ภิกฺขาจารเวลา ภนฺเตติ อาหํส.ุ
เป็ นเวลาเป็ นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. ถ้ าอย่างนัน้ “ เตนหาวุโส คณฺหถ ปตฺตจีวรนฺติ อตฺตโน
อ. ท่าน ท. จงถือเอา ซึง่ บาตรและจีวร ดังนี ้ (ยังภิกษุ ท.) ให้ถอื เอาแล้ว ปตฺตจีวรํ คาหาเปตฺวา นิกฺขมิ.
ซึง่ บาตรและจีวร ของตน ออกไปแล้ ว ฯ
อ. ภิกษุ ท. เห็นแล้ ว ซึ่งนัยน์ ตา ท. ของพระเถระนัน้ ภิกฺขู ตสฺส อกฺขี ปคฺฆรนฺเต ทิสฺวา “กิเมตํ
อันหลัง่ ออกอยู่ ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ อ.เหตุนนั่ อะไร ดังนี ้ฯ ภนฺเตติ ปุจฺฉึส.ุ
(อ. พระเถระ) (กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ลม ท. “อกฺขี เม อาวุโส วาตา วิชฺฌนฺตีต.ิ
ย่อมเสียดแทง ซึง่ นัยน์ตา ท. ของเรา ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. เรา ท.) “นนุ ภนฺเต เวชฺเชนมฺห ปวาริ ตา, ตสฺส
เป็ นผู้อนั หมอปวารณาแล้ ว ย่อมเป็ น มิใช่หรื อ, อ. เรา ท. พึงบอก กเถยฺยามาติ.
แก่หมอนัน้ ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ “สาธาวุโสติ.
ท. อ. ดีละ ดังนี ้ ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ บอกแล้ ว แก่หมอ ฯ เต เวชฺชสฺส กถยึส.ุ
อ. หมอนัน้ หุงแล้ ว ซึง่ น� ้ำมัน ส่งไปแล้ ว ฯ โส เตลํ ปจิตฺวา เปเสสิ.
อ. พระเถระ เมื่อหยอด ซึง่ น� ้ำมัน ผู้นงั่ แล้ วเทียว หยอดแล้ ว เถโร นาสาย เตลํ อาสิญฺจนฺโต นิสนิ ฺนโกว
โดยจมูก ได้ เข้ าไปแล้ ว สูภ่ ายในแห่งบ้ าน ฯ อาสิญฺจิตฺวา อนฺโตคามํ ปาวิส.ิ
อ. หมอ เห็นแล้ ว กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ได้ ยินว่า เวชฺโช ทิสฺวา อาห “ภนฺเต อยฺยสฺส กิร อกฺขี
อ. ลม ย่อมเสียดแทง ซึง่ นัยน์ตา ท. ของพระผู้เป็ นเจ้ า หรือ ดังนี ้ ฯ วาโต วิชฺฌตีต.ิ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูกอ่ นอุบาสก เออ (อ. อย่างนัน)้ ดังนี ้ ฯ “อาม อุปาสกาติ.
(อ.หมอ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. น� ้ำมัน อันกระผม “ภนฺเต มยา เตลํ ปจิตฺวา เปสิตํ, นาสาย
หุงแล้ ว ส่งไปแล้ ว, (อ.น� ้ำมัน) อันท่าน ท. หยอดแล้ วโดยจมูก หรื อ โว อาสิตฺตนฺติ.
ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูกอ่ นอุบาสก เออ (อ. อย่างนัน)้ “อาม อุปาสกาติ.
ดังนี ้ ฯ
(อ. หมอ กล่าวแล้ ว) ว่า ในกาลนี ้ (อกฺขิยคุ ํ อ. คูแ่ ห่งนัยน์ตา) “อิทานิ กีทิสนฺติ.
เป็ นเช่นไร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า “รุชเตว อุปาสกาติ.
ดูก่อนอุบาสก (อ. ลม) เสียดแทงอยูน่ นั่ เทียว ดังนี ้ ฯ
อ. หมอ คิดแล้ ว ว่า อ. น� ้ำมัน อันเรา ส่งไปแล้ ว เพื่ออันยังโรค เวชฺโช “มยา เอกวาเรเนว วูปสมนตฺถํ เตลํ ปหิตํ,
ให้ เข้ าไปสงบวิเศษ โดยวาระหนึง่ นัน่ เทียว , อ. โรค ไม่เข้ าไปสงบ กินฺนุ โข โรโค น วูปสนฺโตติ จินฺเตตฺวา “ภนฺเต
วิเศษแล้ ว เพราะเหตุอะไรหนอแล ดังนี ้ ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ น นิสีทิตฺวา โว อาสิตฺตํ, นิปชฺชิตฺวาติ ปุจฺฉิ.
ผู้เจริ ญ (อ. น� ้ำมัน) อันท่าน ท. นัง่ แล้ ว หยอดแล้ ว หรื อ, ( หรื อว่า
อ. น� ้ำมัน อันท่าน ท.) นอนแล้ ว (หยอดแล้ ว) ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว; แม้ ผ้ อู นั หมอถามอยู่ บ่อย ๆ เถโร ตุณฺหี อโหสิ; ปุนปฺปนุ ํ ปุจฺฉิยมาโนปิ
ไม่บอกแล้ ว ฯ อ. หมอนัน้ คิดแล้ ว ว่า อ. เรา ไปแล้ ว สูว่ ิหาร น กเถสิ. โส “วิหารํ คนฺตฺวา วสนฏฺ€านํ
จักตรวจดู ซึง่ ที่เป็ นที่อยู่ ดังนี ้ (กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ โอโลเกสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “เตนหิ ภนฺเต คจฺฉถาติ
ถ้ าอย่างนัน้ อ. ท่าน ท. จงไป ดังนี ้ ผละแล้ ว ซึง่ พระเถระ ไปแล้ ว เถรํ วิสฺสชฺเชตฺวา วิหารํ คนฺตฺวา เถรสฺส
สูว่ หิ าร ตรวจดูอยู่ ซึง่ ทีเ่ ป็ นทีอ่ ยู่ ของพระเถระ เห็นแล้ว ซึง่ ทีเ่ ป็ นทีจ่ งกรม วสนฏฺ€านํ โอโลเกนฺโต จงฺกมนนิสที นฏฺ€านเมว ทิสวฺ า
และที่เป็ นที่นงั่ นัน่ เที่ยว ไม่เห็นแล้ วซึง่ ที่เป็ นที่นอน ถามแล้ ว ว่า สยนฏฺ€านํ อทิสฺวา “ ภนฺเต นิสินฺเนหิ โว
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. น� ้ำมัน) อันท่าน ท. ผู้นงั่ แล้ ว หยอดแล้ วหรื อ, อาสิตฺตํ, นิปปฺ นฺเนหีติ ปุจฺฉิ.
(หรื อว่า อ. น� ้ำมัน อันท่าน ท.) ผู้นอนแล้ ว (หยอดแล้ ว) ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ เถโร ตุณฺหี อโหสิ.
(อ.หมอ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน ท. “ มา ภนฺเต เอวมกตฺถ; สมณธมฺโม นาม ,
อย่าได้ กระท�ำแล้ ว อย่างนี ้ : ชื่อ อ. สมณธรรม, ครัน้ เมื่อสรี ระ สรี เร ยาเปนฺเต , สกฺกา กาตุํ ; นิปชฺชิตฺวา
เป็ นไปอยู,่ (อันท่าน ท.) อาจ เพื่ออันกระท�ำ ; อ. ท่าน ท. อาสิญฺจถาติ ปุนปฺปนุ ํ ยาจิ.
ขอจงนอนหยอด ดังนี ้ อ้ อนวอนแล้ ว บ่อย ๆ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. ท่าน จงไป, “คจฺฉาวุโส, มนฺเตตฺวา ชานิสฺสามีต.ิ
อ. เรา ปรึกษาแล้ ว จักรู้ ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 9


(อ.อันถาม) ว่า ก็ อ. ญาติ ท. ของพระเถระ (ย่อมไม่มีนนั่ เทียว) เถรสฺส จ ตตฺถ เนว ญาตี น สาโลหิตา อตฺถิ,
ในบ้านนัน้ (อ. ชน ท.) ผู้เป็ นไปกับด้วยเลือด (ของพระเถระ) ย่อมไม่มี เกน สทฺธึ มนฺเตยฺย? กรชกาเยน ปน สทฺธึ มนฺเตนฺโต
(ในบ้ านนัน) ้ (อ. พระเถระ) พึงปรึกษา กับ ด้ วยใคร ? (ดังนี ้) ฯ “ วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต, กึ อกฺขี โอโลเกสฺสสิ
(อ.อันแก้ ) ว่า (อ.พระเถระ พึงปรึกษา กับ ด้ วยกรัชกาย ดังนี ้) ฯ อุทาหุ พุทฺธสาสนํ? อนมตคฺคสฺมึ หิ สํสารวฏฺเฏ
ก็ (อ. พระเถระ) เมื่อปรึกษา กับ ด้ วยกรัชกาย กล่าวสอนอยู่ ตว อกฺขิกาณสฺส คณนา นตฺถิ, อเนกานิ ปน
ซึง่ กายอันมีแล้ ว ว่า แน่ะ ปาลิต ผู้มีอายุ อ. ท่าน จงกล่าว ก่อน , พุทฺธสตานิ พุทฺธสหสฺสานิ อตีตานิ; เตสุ
อ. ท่าน จักแลดู ซึง่ นัยน์ตา ท. หรื อ หรื อว่า (อ. ท่าน จักแลดู) เอกพุทฺโธปิ น ปริ จฺฉินฺโน, อิทานิ อิมํ อนฺโตวสฺสํ
ซึง่ ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ? จริงอยู่ อ. อันนับ ซึง่ อันบอดแห่งนัยน์ตา ตโย มาเส น นิปชฺชิสฺสามีติ เต มานสํ พทฺธํ;
แห่งท่าน ย่อมไม่มี ในสังสารวัฏฏ์ อันมีที่สุดและเบือ้ งต้ น
อันบุคคลผู้ไปตามอยู่ ไม่ร้ ูแล้ ว, ก็ อ. ร้ อยแห่งพระพุทธเจ้ า ท.
อ. พันแห่งพระพุทธเจ้ า ท. มิใช่หนึง่ ล่วงไปแล้ ว ; ในพระพุทธเจ้ า ท.
เหล่านัน้ หนา แม้ อ. พระพุทธเจ้ าพระองค์ หนึ่ง (อันท่าน)
ไม่ก�ำหนดแล้ ว, ในกาลนี ้ อ. ใจ อันท่าน ผูกแล้ ว ว่า อ. เรา
จักไม่นอน สิ ้นเดือน ท. สาม ตลอดภายในแห่งกาลฝนนี ้ ดังนี ้ ;
เพราะเหตุนนั ้ อ. นัยน์ตา ท. ของท่าน จงฉิบหายหรื อ หรื อว่า ตสฺมา จกฺขนู ิ เต นสฺสนฺตุ วา ภิชฺชนฺตุ วา;
จงแตก ; อ. ท่าน จงทรงไว้ ซึง่ ค�ำสอนของพระพุทธเจ้ านัน่ เทียว , พุทฺธสาสนเมว ธาเรหิ , มา จกฺ ขูนีติ ภูตกายํ
(อ. ท่าน จงอย่าทรงไว้ ) ซึง่ นัยน์ตา ท. ดังนี ้ ได้ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา โอวทนฺโต อิมา คาถา อภาสิ
ท. เหล่านี ้ ว่า

อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็ นของแห่งเรา จงเสือ่ ม, “จกฺขูนิ หายนฺตุ มมายิ ตานิ ,

อ. หู ท. จงเสือ่ ม, อ. กาย (จงเสือ่ ม) อย่างนัน้ นัน่ เทียว, โสตานิ หายนฺต,ุ ตเถว เทโห,

อ. อวัยวะ นี ้ แม้ทงั้ ปวง อันอาศัยแล้วซึ่งกาย จงเสือ่ ม, สพฺพมฺปิทํ หายตุ เทหนิ สสฺ ิ ตํ;

แน่ะปาลิ ต อ. ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ฯ กึการณา ปาลิ ต ตฺวํ ปมชฺชสิ .

อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็ นของแห่งเรา จงคร� ำค่ ร่ า, จกฺขูนิ ชี รนฺตุ มมายิ ตานิ ,


อ. หู ท. จงคร� ำค่ ร่ า, อ.กาย (จงคร� ำค่ ร่ า) อย่างนัน้ นัน่ เทียว, โสตานิ ชี รนฺตุ , ตเถว กาโย,

อ. อวัยวะนี ้ แม้ทงั้ ปวง อันอาศัยแล้วซึ่งกาย จงคร� ำค่ ร่ า, สพฺพมฺปิทํ ชี รตุ กายนิ สสฺ ิ ตํ;

แน่ะปาลิ ต อ.ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ฯ กึการณา ปาลิ ต ตฺวํ ปมชฺชสิ .

อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็ นของแห่งเรา จงแตก, จกฺขูนิ ชี รนฺตุ มมายิ ตานิ ,

อ. หู ท. จงแตก, อ. รู ป (จงแตก) อย่างนัน้ นัน่ เทียว, โสตานิ ชี รนฺตุ , ตเถว กาโย,

อ. อวัยวะนี ้ แม้ทงั้ ปวง อันอาศัยแล้วซึ่งรู ป จงแตก, สพฺพมฺปิทํ ชี รตุ กายนิ สสฺ ิ ตํ;

แน่ะปาลิ ต อ. ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ดังนี ้ ฯ กึการณา ปาลิ ต ตฺวํ ปมชฺชสีติ.

10 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. พระเถระ) ครัน้ ให้ แล้ ว ซึง่ โอวาท แก่ตน ด้ วยคาถา ท. สาม เอวํ ตีหิ คาถาหิ อตฺตโน โอวาทํ ทตฺวา
อย่างนี ้ ผู้นงั่ แล้ วเทียว กระท�ำแล้ วซึง่ กรรมคืออันนัตถุ์ ได้ เข้ าไปแล้ ว นิสนิ ฺนโกว นตฺถกุ มฺมํ กตฺวา คามํ ปิ ณฑฺ าย ปาวิส.ิ
สูบ่ ้ าน เพื่อบิณฑะ ฯ
อ. หมอ เห็นแล้ ว ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. กรรมคือ เวชฺโช ทิสวฺ า “กึ ภนฺเต นตฺถกุ มฺมํ กตนฺติ ปุจฉฺ .ิ
การนัตถุ์ (อันท่าน) กระท�ำแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก เออ (อ.กรรม “อาม อุปาสกาติ.
คือการนัตถุ์ อันเรา กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ.หมอนัน้ ถามแล้ ว) ว่า “กีทิสํ ภนฺเตติ.
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ (อ.คูแ่ ห่งนัยน์ตา) เป็ นเช่นไร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ รุชเตว อุปาสกาติ.
(อ.พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก (อ.คู่แห่งนัยน์ ตา)
ปวดอยูน่ นั่ เทียว ดังนี ้ ฯ
(อ.หมอ ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ (อ.กรรมคือการนัตถุ์) “นิสีทิตฺวา โว ภนฺเต กตํ, นิปชฺชิตฺวาติ.
อันท่าน ท. นั่งแล้ ว ท�ำแล้ วหรื อ, (หรื อว่า อ. กรรมคือการนัตถุ์
อันท่าน ท.) นอนแล้ ว (ท�ำแล้ ว) ดังนี ้ ฯ
อ.พระเถระ เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว แม้ ผ้ อู นั หมอนันถามแล้
้ ว เถโร ตุณฺหี อโหสิ; ปุนปฺปนุ ํ ปุจฺฉิโตปิ , น กิญฺจิ
บ่อย ๆ ไม่กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำอะไร ๆ ฯ กเถสิ.
ครัง้ นัน้ อ.หมอ กล่าวแล้ ว กะพระเถระนัน้ ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ อถ นํ เวชฺโช “ภนฺเต ตุมเฺ ห สปฺปายํ น กโรถ,
อ.ท่าน ย่อมไม่กระท�ำ ซึง่ ความสบาย อ.ท่าน อย่ากล่าวแล้ ว ว่า อชฺช ปฏฺ€าย “อสุเกน เม เตลํ ปกฺกนฺติ
อ.น� ้ำมัน อันหมอโน้ น หุงแล้ ว แก่เรา ดังนี ้ แม้ อ.กระผม จักไม่กล่าว มา วทิตฺถ, อหํปิ “มยา โว เตลํ ปกฺกนฺติ น วกฺขามีติ
ว่า อ.น� ้ำมัน อันกระผมหุงแล้ ว แก่ทา่ น ดังนี ้ จ�ำเดิมแต่วนั นี ้ ดังนี ้ ฯ อาห.

อ. พระเถระนัน้ ผู้อนั หมอบอกคืนแล้ว ไปแล้ว สูว่ หิ าร (คิดแล้ว) โส เวชฺเชน ปจฺจกฺขาโต, วิหารํ คนฺตฺวา “เวชฺเชนาปิ
ว่า อ.ท่าน เป็ นผู้แม้ อนั หมอบอกคืนแล้ ว ย่อมเป็ น, ดูก่อนสมณะ ปจฺจกฺขาโตสิ , อิริยาปถํ มา วิสสฺ ชฺชิ สมณาติ ,
อ.ท่าน อย่าสละแล้ ว ซึง่ อิริยาบถ ดังนี ้ สอนแล้ ว ซึง่ ตน ด้ วยคาถา
นี ้ ว่า
(อ. ท่าน) เป็ นผู้อนั อันหมอ ปฏิ เสธแล้ว เป็ นผู้อนั หมอ “ ปฏิกขฺ ติ โฺ ต ติ กิจฺฉาย เวชฺเชนาสิ วิ วชฺชิโต
เว้นแล้วจากอันเยี ยวยา (การรักษา) ย่อมเป็ น (อ. ท่าน)
เป็ นผูเ้ ทีย่ งแท้ต่อมัจจุผูพ้ ระราชา (ย่อมเป็ น) ดูก่อนปาลิ ตะ นิ ยโต มจฺจรุ าชสฺส, กึ ปาลิ ต ปมชฺชสีติ
อ. ท่าน ย่อมประมาท เพราะเหตุไร ดังนี ้
ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ สมณธรรม ฯ อิมาย คาถาย อตฺตานํ โอวทิตวฺ า สมณธมฺมํ อกาสิ.

ครังนั
้ น้ ครันเมื
้ อ่ ยามอันมีในท่ามกลาง เป็ นกาลสักว่าก้าวล่วงแล้ว อถสฺ ส มชฺ ฌิ ม ยาเม อติ กฺ ก นฺ ต มตฺ เ ต,
(มีอยู)่ , อ. นัยน์ตา ท. ด้ วยนัน่ เทียว อ. กิเลส ท. ด้ วย ของพระเถระนัน้ อปุพฺพํ อจริ มํ อกฺขีนิ เจว กิเลสา จ ปภิชฺชสึ ุ .
แตกทัว่ แล้ ว ไม่ก่อน ไม่หลัง ฯ อ. พระเถระนัน้ เป็ นพระอรหันต์ โส สุกขฺ วิปสฺสโก อรหา หุตวฺ า คพฺภํ ปวิสติ วฺ า นิสที ิ.
ผู้เห็นแจ้ งอย่างแห้ งแล้ ง เป็ น เข้ าไปแล้ ว สูห่ ้ อง นัง่ แล้ ว ฯ
อ. ภิกษุ ท. ไปแล้ ว ในเวลาเป็ นทีเ่ ทีย่ วไปเพือ่ ภิกษา กล่าวแล้ ว ภิกฺขู ภิกฺขาจารเวลาย คนฺตฺวา “ภิกฺขาจารกาโล
ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ (อ. กาลนี ้) เป็ นกาลเป็ นทีเ่ ทีย่ วไปเพือ่ ภิกษา ภนฺเตติ อาหํส.ุ
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ (อ.พระเถระ ถามแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. “กาโล อาวุโสติ.
(อ.กาลนี ้) เป็ นกาล (ย่อมเป็ น หรื อ) ดังนี ้ฯ (อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ ว) “อาม ภนฺเตติ. “เตนหิ
ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ขอรับ (อ.กาลนี ้ เป็ นกาล ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ คจฺฉถาติ.
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. ท่าน ท. จงไปเถิด ดังนี ้ ฯ “ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ.
(อ.ภิกษุ ท. ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ดังนี ้ ฯ “อกฺขีนิ เม อาวุโส ปริ หีนานีต.ิ
(อ.พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.นัยน์ตา ท.
ของกระผม เสื่อมรอบแล้ ว ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ แลดูแล้ ว ซึง่ นัยน์ตา ท. ของพระเถระนัน้ เต ตสฺส อกฺขีนิ โอโลเกตฺวา อสฺสปุ ณ
ุ ฺณเนตฺตา
เป็ นผู้มีดวงตาอันเต็มแล้ วด้ วยน� ้ำตา เป็ น ยังพระเถระ ให้ หายใจ หุตฺวา “ภนฺเต มา จินฺตยิตฺถ,
ออกแล้ ว (ด้ วยค�ำ) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน ท. อย่าคิดแล้ ว,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 11


อ. เรา ท. จักปฏิบตั ิ ซึง่ ท่าน ท. ดังนี ้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ วัตรและ มยํ โว ปฏิชคฺคสิ ฺสามาติ เถรํ อสฺสาเสตฺวา
วัตรตอบ อันควรแล้ วแก่วตั รอันตนพึงกระท�ำ เข้ าไปแล้ ว สูบ่ ้ าน ฯ กตฺตพฺพยุตฺตกํ วตฺตปฏิวตฺตํ กตฺวา คามํ ปวิสสึ .ุ
อ.มนุษย์ ท. ไม่เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ น มนุสฺสา เถรํ อทิสฺวา “ภนฺเต อมฺหากํ อยฺโย
ผู้เจริญ อ.พระผู้เป็ นเจ้ า ของเรา ท. (ไปแล้ ว) ในทีไ่ หน ดังนี ้ ฟั งแล้ ว กุหินฺติ ปุจฺฉิตฺวา ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา ยาคุํ เปเสตฺวา
ซึง่ ความเป็ นไปทัว่ นัน้ ส่งไปแล้ ว ซึง่ ข้ าวยาคู ถือเอา ซึง่ บิณฑบาต สยํ ปิ ณฺฑปาตํ อาทาย คนฺตฺวา เถรํ วนฺทิตฺวา
เอง ไปแล้ ว ไหว้ แล้ ว ซึง่ พระเถระ ร้ องไห้ กลิ ้งเกลือกอยูแ่ ล้ ว ปาทมูเล ปวฏฺฏมานา โรทิตฺวา “ มยํ ภนฺเต
ณ ที่ใกล้ แห่งเท้ า (ยังพระเถระ) ให้ หายใจออกคล่องดีแล้ ว ปฏิชคฺคิสฺสาม, ตุมฺเห มา จินฺตยิตฺถาติ สมสฺสาเสตฺวา
(ด้ วยค�ำ) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. เรา ท. จักปฏิบตั ิ, อ. ท่าน ท. ปกฺกมึส.ุ
อย่าคิดแล้ ว ดังนี ้ หลีกไปแล้ ว ฯ
(อ. มนุษย์ ท.) ย่อมส่งไป ซึง่ ข้ าวต้ มและข้ าวสวย สูว่ ิหาร ตโต ปฏฺ€าย นิพทฺธํ ยาคุภตฺตํ วิหารเมว
นัน่ เทียว เนืองนิตย์ จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ ฯ เปเสนฺต.ิ
แม้ อ. พระเถระ ย่อมกล่าวสอน ซึง่ ภิกษุหกสิบ ท. นอกนี ้ เถโรปิ อิตเร สฏฺ€ิภิกฺขู นิรนฺตรํ โอวทติ.
สิ ้นกาลมีระหว่างออกแล้ ว ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ตังอยู ้ แ่ ล้ ว ในโอวาท ของพระเถระนัน้ เต ตสฺโสวาเท €ตฺวา อุปกฺกฏฺ€าย ปวารณาย,
ครัน้ เมื่อปวารณา เข้ าไปตังใกล้ ้ แล้ ว, ทังปวงเที
้ ยว บรรลุแล้ ว สพฺเพว สห ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณึส,ุ
ซึง่ พระอรหัต กับ ด้ วยปฏิสมั ภิทา ท., ก็แล (อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน) ้ วุตฺถวสฺสา จ ปน สตฺถารํ ทฏฺ€ุกามา หุตฺวา เถรํ
ผู้มีกาลฝนอันอยูแ่ ล้ ว เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเฝ้า ซึง่ พระศาสดา เป็ น อาหํสุ “ภนฺเต สตฺถารํ ทฏฺ€ุกามมฺหาติ.
กล่าวแล้ ว กะพระเถระ ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. กระผม ท.
เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเฝ้า ซึง่ พระศาสดา ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำ ของภิกษุ ท. เหล่านัน้ คิดแล้ ว ว่า เถโร เตสํ วจนํ สุตฺวา จินฺเตสิ “อหํ ทุพฺพโล,
อ. เรา เป็ นผู้มีก�ำลังอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว (ย่อมเป็ น), อนึง่ อ. ดง อนฺตรามคฺเค จ อมนุสฺสปริ คฺคหิตา อฏวี อตฺถิ,
อันอมนุษย์ถือเอารอบแล้ ว มีอยู่ ในระหว่างแห่งทาง, ครัน้ เมื่อเรา มยิ เอเตหิ สทฺธึ คจฺฉนฺเต , สพฺเพ กิลมิสฺสนฺติ ,
ไปอยู่ กับ ด้ วยภิกษุ ท. เหล่านัน่ , อ. ภิกษุ ท. ทังปวง ้ จักล�ำบาก, ภิกฺขํปิ ลภิตํุ น สกฺขิสฺสนฺต,ิ อิเม ปุเรตรเมว
( อ. ภิกษุ ท. เหล่านี ้) จักไม่อาจ เพื่ออันได้ แม้ ซงึ่ ภิกษา, อ. เรา เปเสสฺสามีต.ิ
จักส่งไป ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านี ้ ก่อนกว่านัน่ เทียว ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ ( อ. พระเถระ) กล่าวแล้ ว กะภิกษุ ท.เหล่านัน้ ว่า อถ เน อาห “ อาวุโส ตุมเฺ ห ปุรโต คจฺฉถาติ.
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ท่าน ท. จงไป ข้ างหน้ า ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ก็ อ. ท่าน ท. “ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ.
เล่า? ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระนัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา เป็ นผู้มีก�ำลังอันโทษ “อหํ ทุพพฺ โล, อนฺตรามคฺเค จ อมนุสสฺ ปริคคฺ หิตา
ประทุษร้ ายแล้ ว (ย่อมเป็ น), อนึง่ อ. ดง อันอมนุษย์ถอื เอารอบแล้ ว อฏวี อตฺถิ , มยิ ตุมเฺ หหิ สทฺธึ คจฺฉนฺเต , สพฺเพ
มีอยู่ ในระหว่างแห่งหนทาง, ครัน้ เมื่อเรา ไปอยู่ กับ ด้ วยท่าน ท. กิลมิสฺสถ, ตุมเฺ ห ปุรโต คจฺฉถาติ.
อ. ท่าน ท. ทังปวง ้ จักล�ำบาก, อ. ท่าน ท. จงไป ข้ างหน้ า ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ อ. ท่าน ท. “มา ภนฺเต เอวํ กริ ตฺถ, มยํ ตุมเฺ หหิ สทฺธึเยว
อย่ากระท�ำแล้ ว อย่างนี ้, อ. กระผม ท. จักไป กับ ด้ วยท่าน ท. คมิสฺสามาติ.
นัน่ เทียว ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ) ส่งไปแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ (ด้ วยค�ำ) ว่า “มา โว อาวุโส เอวํ รุจฺจิตฺถ, เอวํ สนฺเต มยฺหํ
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ท่าน ท. อย่าชอบใจแล้ ว อย่างนี ้, อผาสุกํ ภวิสฺสติ , มยฺหํ กนิฏฺโ€ ตุมเฺ ห ทิสฺวา
ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ มีอยู่ อ. ความไม่ส�ำราญ จักมี แก่เรา, ปุจฺฉิสฺสติ, อถสฺส มม จกฺขนู ํ ปริ หีนภาวํ
อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ ของเรา เห็นแล้ ว ซึง่ ท่าน ท. จักถาม, อาโรเจยฺยาถ; โส มยฺหํ สนฺตกิ ํ กญฺจิเทว ปหิณิสฺสติ;
ครันเมื
้ อ่ ความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. ท่าน ท. พึงบอก ซึง่ ความทีแ่ ห่งจักษุ เตน สทฺธึ อาคจฺฉิสฺสามิ; ตุมฺเห มม วจเนน
ท. ของเราเป็ นธรรมชาติเสือ่ มรอบแล้ ว แก่น้องชายผู้น้อยทีส่ ดุ นัน้ ; ทสพลญฺจ อสีตมิ หาเถเร จ วนฺทถาติ เต อุยฺโยเชสิ.
อ. น้ องชายผู้น้อยทีส่ ดุ นัน้ จักส่งไป ซึง่ ใคร ๆ สูส่ ำ� นัก ของเรานัน่ เทียว ;
(อ. เรา) จักมา กับ ด้ วยบุคคลนัน้ ; อ. ท่าน ท. จงไหว้ ซึง่ พระทศพล
ด้ วย ซึง่ พระมหาเถระแปดสิบ ท. ด้ วย ตามค�ำ ของเรา ดังนี ้ ฯ

12 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ยังพระเถระ ให้ อดโทษแล้ ว เข้ าไปแล้ ว เต เถรํ ขมาเปตฺวา อนฺโตคามํ ปวิสึสุ.
สูภ่ ายในแห่งบ้ าน ฯ อ. มนุษย์ ท. ยังภิกษุ ท. เหล่านันให้ ้ นงั่ แล้ ว มนุสฺสา เต นิสีทาเปตฺวา ภิกฺขํ ทตฺวา “ กึ ภนฺเต
ถวายแล้ ว ซึง่ ภิกษา (ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. อาการคือ- อยฺยานํ คมนากาโร ปญฺญายตีต.ิ
อันไป แห่งพระผู้เป็ นเจ้ า ท. ย่อมปรากฏหรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสกและ “อาม อุปาสกา, สตฺถารํ ทฏฺ€ุกามมฺหาติ.
อุบาสิกา ท. เออ (อ. อย่างนัน) ้ , อ. เรา ท. เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเฝ้า
ซึง่ พระศาสดา ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ อ. มนุษย์ ท. เหล่านัน้ อ้อนวอนแล้ว เต ปุนปฺปนุ ํ ยาจิตฺวา เตสํ คมนฉนฺทเมว ญตฺวา
บ่อย ๆ รู้แล้ ว ซึง่ ความพอใจในการไป แห่งภิกษุ ท. เหล่านันนั ้ น่ เทียว อนุคนฺตฺวา ปริ เทวิตฺวา นิวตฺตสึ .ุ
ตามไปแล้ ว คร�่ ำครวญแล้ ว กลับแล้ ว ฯ
อ. ภิกษุ ท. แม้ เหล่านัน้ ถึงแล้ ว ซึง่ พระเชตวัน โดยล�ำดับ เตปิ อนุปพุ ฺเพน เชตวนํ คนฺตฺวา สตฺถารญฺจ
ไหว้ แล้ ว ซึง่ พระศาสดาด้ วย ซึง่ พระมหาเถระ ท. ด้ วย ตามค�ำ มหาเถเร จ เถรสฺส วจเนน วนฺทิตฺวา ปุนทิวเส,
ของพระเถระ ในวันรุ่งขึ ้น, อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ ของพระเถระ ยตฺถ เถรสฺส กนิฏฺโ€ วสติ; ตํ วีถึ ปิ ณฺฑาย ปวิสสึ .ุ
ย่อมอยู่ ในถนนใด ; เข้ าไปแล้ ว สูถ่ นนนัน้ เพื่อบิณฑะ ฯ
อ. กุฎมพี
ุ รู้พร้ อมแล้ว ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ (ยังภิกษุ ท. เหล่านัน)้ กุฏมฺุ พิโก เต สญฺชานิตฺวา นิสีทาเปตฺวา
ให้ นั่งแล้ ว ผู้มีปฏิสันถารอันกระท�ำแล้ ว , ถามแล้ ว ว่า กตปฏิสนฺถาโร, “ภาติกตฺเถโร เม กุหินฺติ ปุจฺฉิ.
อ.พระเถระผู้เป็ นพีช่ าย ของกระผม (ย่อมอยู)่ ในทีไ่ หน ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ.ภิกษุ ท. เหล่านัน้ บอกแล้ ว ซึง่ ความเป็ นไปทัว่ นัน้ อถสฺส เต ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสุํ.
แก่กฎุ มพีุ นนั ้ ฯ
อ. กุฎมพี ุ นนั ้ ร้ องไห้ กลิ ้งเลือกอยูแ่ ล้ ว ณ ที่ใกล้ แห่งเท้ า โส เตสํ ปาทมูเล ปวฏฺเฏนฺโต โรทิตฺวา ปุจฺฉิ
ของภิกษุ ท. เหล่านัน้ ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ในกาลนี ้ “อิทานิ ภนฺเต กึ กาตพฺพนฺติ.
อ. กรรมอะไร (อันกระผม) พึงกระท�ำ ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. “เถโร อิโต กสฺสจิ คมนํ ปจฺจาสึสติ, คตกาเล
เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. พระเถระ ย่อมหวังเฉพาะ ซึง่ การไป เตน สทฺธึ อาคมิสฺสตีต.ิ
แห่งใคร ๆ จากที่นี ้, (อ. พระเถระนัน) ้ จักมา กับ ด้ วยบุคคล นัน้
ในกาลแห่งบุคคลนันไปแล้ ้ ว ดังนี ้ ฯ
(อ. กุฎมพีุ กล่าวแล้ ว ) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. เด็ก) นี ้ “อยํ เม ภนฺเต ภาคิเนยฺโย ปาลิโต นาม,
เป็ นผู้ชื่อว่าปาลิต ผู้เป็ นหลาน ของกระผม (ย่อมเป็ น), อ. ท่าน ท. เอตํ เปเสถาติ. “เอวํ เปเสตุํ น สกฺกา, มคฺเค
จงส่งไป ซึง่ หลานนัน่ ดังนี ้ ฯ (อ.ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว ว่า ปริ ปนฺโถ อตฺถิ, ปพฺพาเชตฺวา เปเสตุํ วฏฺฏตีต.ิ
อันเรา ท.) ไม่อาจ เพื่ออันส่งไป อย่างนี ้, อ.อันตรายเป็ นเครื่ อง “ เอวํ กตฺวา เปเสถ ภนฺเตติ.
เบียดเบียนรอบ ในหนทาง มีอยู,่ อ. อัน (อันเรา ท. ยังเด็ก นัน) ้
ให้ บวชแล้ ว ส่งไปย่อมควร ดังนี ้ ฯ (อ. กุฎมพี ุ นนั ้ กล่าวแล้ ว) ว่า
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ อ. ท่าน ท. กระท�ำแล้ ว อย่างนี ้จงส่งไปเถิด ดังนี ้ฯ

ครัง้ นัน้ (อ . ภิกษุ ท.) ยังเด็กนัน้ ให้ บวชแล้ ว (ยังสามเณร) อถ นํ ปพฺ พ าเชตฺ ว า อฑฺ ฒ มาสมตฺ ตํ
ให้ ศกึ ษาแล้ ว (ซึง่ กิจ ท.) มีการรับซึง่ จีวรเป็ นต้ น (สิ ้นกาล) จีวรคฺคหณาทีนิ สิกฺขาเปตฺวา มคฺคํ อาจิกฺขิตฺวา
สักว่าเดือนด้ วยทัง้ กึ่ง บอกแล้ ว ซึ่งหนทาง ส่งไปแล้ ว ฯ ปหิณึส.ุ โส อนุปพุ ฺเพน ตํ คามํ ปตฺวา คามทฺวาเร
อ. สามเณรนัน้ ถึงแล้ ว ซึง่ บ้ านนัน้ โดยล�ำดับ เห็นแล้ ว ซึง่ คนแก่ เอกํ มหลฺลกํ ทิสฺวา “อิมํ คามํ นิสฺสาย โกจิ
คนหนึง่ ใกล้ ประตูแห่งบ้ าน ถามแล้ ว ว่า อ. วิหาร อันตังอยู ้ ใ่ นป่ า อารญฺญโก วิหาโร อตฺถีติ ปุจฺฉิ.
บางแห่ง อาศัย ซึง่ บ้ าน นี ้ มีอยูห่ รื อ ดังนี ้ ฯ

(อ. คนแก่ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ (อ. วิหาร) มีอยู่ ดังนี ้ฯ “อตฺถิ ภนฺเตติ.
(อ. สามเณร ถามแล้ ว) ว่า อ. ใคร ย่อมอยู่ ในวิหารนัน้ ดังนี ้ ฯ “โก ตตฺถ วสตีต.ิ
(อ. คนแก่ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ชื่อ อ. พระเถระ “ปาลิตตฺเถโร นาม ภนฺเตติ.
ชื่อว่าปาลิต (ย่อมอยู่ ในวิหารนัน) ้ ดังนี ้ ฯ
(อ. สามเณร กล่าวแล้ ว) ว่า อ. ท่าน ท. ขอจงบอก ซึง่ หนทาง “มคฺคํ เม อาจิกฺขถาติ.
แก่เรา ดังนี ้ ฯ
(อ. คนแก่ ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน เป็ นใคร “โกสิ ตฺวํ ภนฺเตติ.
ย่อมเป็ นดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 13


(อ. สามเณรนัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา เป็ นหลาน ของพระเถระ “เถรสฺส ภาคิเนยฺโยมฺหีต.ิ
ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ (อ. คนแก่นน)


ั ้ พาเอา ซึง่ สามเณรนัน้ น�ำไปแล้ ว อถ นํ คเหตฺวา วิหารํ เนสิ. โส เถรํ วนฺทิตฺวา
สูว่ ิหาร ฯ อ. สามเณรนัน้ ไหว้ แล้ ว ซึง่ พระเถระ กระท�ำแล้ ว อฑฺฒมาสมตฺตํ วตฺตปฏิวตฺตํ กตฺวา เถรํ สมฺมา
ซึง่ วัตรและวัตรตอบ สิ ้นกาลสักว่าเดือนทังด้ ้ วยกึง่ ปฏิบตั แิ ล้ ว ปฏิชคฺคิตฺวา “ ภนฺเต มาตุลกุฏมฺุ พิโก เม ตุมหฺ ากํ
ซึง่ พระเถระ โดยชอบ กล่าวแล้ วว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. กุฎมพี
ุ อาคมนํ ปจฺจาสึสติ; เอถ, คจฺฉามาติ อาห.
ผู้เป็ นลุง ของกระผม ย่อมหวังเฉพาะ ซึง่ การมา แห่งท่าน ท. ;
อ. ท่าน ท. จงมา, อ. เรา ท. จะไป ดังนี ้ ฯ

(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. ท่าน จงถือเอา “เตนหิ เม ยฏฺ€ิโกฏึ คณฺหาหีต.ิ
ซึง่ ปลายแห่งไม้ เท้ า ของเรา ดังนี ้ ฯ
อ. สามเณรนัน้ ถือเอาแล้ ว ซึง่ ปลายแห่งไม้ เท้ า ได้ เข้ าไปแล้ ว โส ยฏฺ€ิโกฏึ คเหตฺวา เถเรน สทฺธึ อนฺโตคามํ
สูภ่ ายในแห่งบ้ าน กับ ด้ วยพระเถระ ฯ อ. มนุษย์ ท. ยังพระเถระ ปาวิส.ิ มนุสฺสา เถรํ นิสีทาเปตฺวา “ กึ ภนฺเต
ให้ นงั่ แล้ ว ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ.อาการคือการไป คมนากาโร โว ปญฺญายตีติ ปุจฺฉึส.ุ
แห่งท่าน ท. ย่อมปรากฏหรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสกและอุบาสิกา ท. “อาม อุปาสกา, คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิสฺสามีต.ิ
เออ (อ. อย่างนัน), ้ อ, เรา ไปแล้ ว จักถวายบังคม ซึง่ พระศาสดา
ดังนี ้ ฯ
อ. มนุษย์ ท. เหล่านัน้ อ้ อนวอนแล้ ว โดยประการต่าง ๆ เต นานปฺปกาเรน ยาจิตฺวา อลภนฺตา เถรํ
เมื่อไม่ได้ ส่งไปอยู่ ซึง่ พระเถระ ไปแล้ ว สิ ้นหนทางเข้ าไปด้ วยทังกึ
้ ง่ อุยฺโยเชนฺตา อุปฑฺฒปถํ คนฺตฺวา โรทิตฺวา นิวตฺตสึ .ุ
ร้ องไห้ แล้ ว กลับแล้ ว ฯ

อ. สามเณรพาเอาซึง่ พระเถระ ด้ วยปลายแห่งไม้ เท้ า ไปอยู่ ถึง สามเณโร เถรํ ยฏฺ€ิโกฏิยา อาทาย คจฺฉนฺโต
พร้ อมแล้ ว ซึง่ บ้ านอันอันพระเถระเคยเข้ าไปอาศัยอยูแ่ ล้ ว ชื่อว่า อนฺตรามคฺเค อฏวิยํ สงฺกฏฺ€นครํ นาม เถเรน
สังกัฏฐนคร ใกล้ ดง ในระหว่างแห่งหนทาง ฯ อุปนิสฺสาย วุตฺถปุพฺพคามํ สมฺปาปุณิ.
อ. สามเณรนัน้ ฟั งแล้ วซึง่ เสียงแห่งเพลงขับ ของหญิง คนหนึง่ โส ตโต นิกฺขมิตฺวา อรญฺญ คายิตฺวา ทารูนิ
ผู้ออกแล้ วจากบ้ านนัน้ ขับแล้ ว เก็บอยู่ ซึง่ ฟื น ท. ในป่ า ถือเอาแล้ ว อุทฺธรนฺติยา เอกิสฺสา อิตฺถิยา คีตสทฺทํ สุตฺวา สเร
ซึง่ นิมิต ในเสียง ฯ นิมิตฺตํ คณฺหิ.

จริ งอยู่ อ. เสียงอื่น ชื่อว่าสามารถ เพื่ออันแผ่ไปแล้ ว สูส่ รี ระ อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ สทฺโท ปุริสานํ
ทังสิ้ ้น ของบุรุษ ท. ตังอยู
้ ่ ราวกะ อ. เสียงแห่งหญิง ย่อมไม่มี ฯ สกลสรี รํ ผริ ตฺวา €าตุํ สมตฺโถ นาม นตฺถิ.

เพราะเหตุนนั ้ อ. พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรัสแล้ว ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. เตนาห ภควา “ นาหํ ภิกฺขเว อญฺญํ เอกสทฺทมฺปิ
อ. สัททชาตนี ้ คือ อ. เสียงแห่งหญิง ฉันใด, ดูกอ่ นภิกษุ ท., อ. เสียงใด สมนุปสฺสามิ, โย เอวํ ปุริสสฺส จิตฺตํ ปริ ยาทาย
ครอบง�ำแล้ ว ซึง่ จิต ของบุรุษ ย่อมตังอยู
้ ,่ อ. เรา ย่อมไม่พจิ ารณาเห็น ติฏฺ€ติ; ยถยิทํ ภิกฺขเว อิตฺถีสทฺโทติ.
แม้ ซงึ่ เสียงอย่างหนึง่ อื่น (นัน)
้ ฉันนัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. สามเณร ถือเอาแล้ ว ซึง่ นิมิต ในเสียงนัน้ ปล่อยแล้ ว สามเณโร ตตฺถ นิมิตฺตํ คเหตฺวา ยฏฺ€ิโกฏึ
ซึง่ ปลายแห่งไม้ เท้ า (กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน ท. วิสฺสชฺเชตฺวา “ติฏฺ€ถ ตาว ภนฺเต, กิจฺจํ เม
จงหยุด ก่อน, อ. กิจ ของกระผม มีอยู่ ดังนี ้ ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก อตฺถีติ ตสฺสา สนฺตกิ ํ คโต.
ของหญิงนัน้ ฯ
อ. หญิงนัน้ เห็นแล้ ว ซึง่ สามเณรนัน้ เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ สา ตํ ทิสฺวา ตุณฺหี อโหสิ.

อ. สามเณรนัน้ ถึงแล้ ว ซึง่ ความวิบตั แิ ห่งศีล กับ ด้ วยหญิงนัน้ ฯ โส ตาย สทฺธึ สีลวิปตฺตึ ปาปุณิ.

14 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระเถระ คิดแล้ ว ว่า อ. เสียงแห่งเพลงขับ เสียงหนึง่ (อันเรา) เถโร จินฺเตสิ “อิทาเนเวโก คีตสทฺโท สูยิตฺถ,
ฟั งแล้ ว ในกาลนี ้นัน่ เทียว, ก็แล อ. เสียงแห่งเพลงขับนัน้ (เป็ นเสียง โส จ โข อิตฺถิยา , สามเณโรปิ จิรายติ , โส
แห่งเพลงขับ) ของหญิง (ย่อมเป็ น), แม้ อ. สามเณร ประพฤติช้าอยู,่ สีลวิปตฺตึ ปตฺโต ภวิสฺสตีต.ิ
อ. สามเณรนัน้ เป็ นผู้ถงึ แล้ ว ซึง่ ความวิบตั แิ ห่งศีล จักเป็ น ดังนี ้ ฯ

อ. สามเณรแม้ นัน้ ยังกิ จ ของตน ให้ ส�ำเร็ จแล้ ว มาแล้ ว โสปิ อตฺตโน กิจฺจํ นิฏฺ€าเปตฺวา อาคนฺตฺวา
กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. เรา ท. จงไป ดังนี ้ ฯ “คจฺฉาม ภนฺเตติ อาห.
ครังนั
้ น้ อ. พระเถระ ถามแล้ว ซึง่ สามเณรนัน้ ว่า ดูกอ่ นสามเณร อถ นํ เถโร ปุจฺฉิ “ปาโป ชาโตสิ สามเณราติ.
อ. เธอ เป็ นคนลามก เป็ นผู้เกิดแล้ ว ย่อมเป็ นหรื อ ดังนี ้ ฯ
อ.สามเณรนัน้ เป็ นผู้นิ่ง เป็ น แม้ ผ้ อู นั พระเถระถามแล้ ว บ่อย ๆ โส ตุณหฺ ี หุตวฺ า ปุนปฺปนุ ํ ปุฏฺโ€ปิ น กิญจฺ ิ กเถสิ.
ไม่กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำอะไร ๆ ฯ
ครั ง้ นัน้ อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว กะสามเณรนัน้ ว่า อถ นํ เถโร อาห “ ตาทิเสน ปาเปน มม
อ.กิ จคือการถื อเอาซึ่งปลายแห่งไม้ เท้ า ด้ วยบุคคลผู้ลามก ยฏฺ€ิโกฏิคฺคหณกิจฺจํ นตฺถีต.ิ
ผู้เช่นกับด้ วยเธอ ย่อมไม่มี แก่เรา ดังนี ้ ฯ
อ.สามเณรนัน้ ผู้ถงึ แล้ วซึง่ ความสลด น�ำไปปราศแล้ ว โส สํเวคปฺปตฺโต กาสายานิ อปเนตฺวา
ซึง่ ผ้ าอันบุคคลย้ อมแล้ วด้ วยน� ้ำฝาด ท. นุง่ ห่มแล้ ว โดยท�ำนอง คิหินิยาเมน ปริทหิตวฺ า “ ภนฺเต อหํ ปุพเฺ พ สามเณโร,
แห่งคฤหัสถ์ กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ อ. กระผม เป็ นสามเณร อิทานิ ปนมฺหิ คิหี ชาโต; ปพฺพชนฺโตปิ จาหํ
(ได้เป็ นแล้ว) ในกาลก่อน, แต่วา่ อ. กระผม เป็ นคฤหัสถ์ เป็ นผู้เกิดแล้ว น สทฺธาย ปพฺพชิโต, มคฺคปริ ปนฺถภเยน ปพฺพชิโต;
ย่อมเป็ น ในกาลนี ้, เออก็ อ. กระผม เมื่อบวช เป็ นผู้บวชแล้ ว เอถ, คจฺฉามาติ อาห.
ด้ วยศรัทธา (ย่อมเป็ น) หามิได้ , อ. กระผม เป็ นผู้บวชแล้ ว
เพราะความกลัวแต่อนั ตรายเป็ นเครื่ องเบียดเบียนรอบในหนทาง
(ย่อมเป็ น) ; อ. ท่าน ท. จงมา, อ. เรา ท. จะไป ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. คฤหัสถ์ “อาวุโส คิหิปาโปปิ สมณปาโปปิ ปาโปเยว ;
ผู้ลามกก็ดี อ. สมณะผู้ลามกก็ดี เป็ นผู้ลามกนัน่ เทียว (ย่อมเป็ น), ตฺวํ สมณภาเว €ตฺวาปิ สีลมตฺตํ ปูเรตุํ นาสกฺขิ;
อ. เธอ แม้ ตงอยู ั ้ แ่ ล้ ว ในความเป็ นแห่งสมณะ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออัน คิหี หุตฺวา กินฺนาม กลฺยาณํ กริ สฺสสิ; ตาทิเสน
(ยังคุณ) สักว่าศีลให้ เต็ม ; อ. เธอ เป็ นคฤหัสถ์ เป็ น จักกระท�ำ ปาเปน มม ยฏฺ€ิโกฏิคฺคหณกิจฺจํ นตฺถีต.ิ
ซึง่ กรรมอันงาม ชื่ออย่างไร ; อ. กิจคือการถือเอาซึง่ ปลายแห่งไม้ เท้ า
ด้ วยบุคคลผู้ลามก ผู้เช่นกับด้ วยเธอ ย่อมไม่มี แก่เรา ดังนี ้ ฯ
(อ. นายปาลิตนันกล่ ้ าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. หนทาง “ภนฺเต อมนุสฺสปุ ทฺทโู ต มคฺโค, ตุมเฺ ห จ
เป็ นหนทางอันอมนุษย์เข้ าไปเบียดเบียนแล้ ว (ย่อมเป็ น) , อนึง่ อนฺธา, กถํ อิธ วสิสฺสถาติ.
อ. ท่าน ท. เป็ นคนบอด (ย่อมเป็ น) , อ. ท่าน ท. จักอยู่ ในที่นี ้
อย่างไร ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว กะนายปาลิตนัน้ ว่า อถ นํ เถโร “ อาวุ โ ส ตฺ วํ มา เอวํ
ดูกอ่ นท่านผู้มอี ายุ อ. เธอ อย่าคิดแล้ ว อย่างนี ้, เมือ่ เรา นอนตายอยู่ จินฺตยิ , อิเธว เม นิปชฺชิตฺวา มรนฺตสฺสาปิ อปราปรํ
ในที่นี ้นัน่ เทียวก็ดี กลิ ้งเกลือก ไป ๆ มา ๆ อยู่ (ในที่นี ้นัน่ เทียว) ก็ดี, ปวฏฺเฏนฺตสฺสาปิ , ตยา สทฺธึ คมนํ นาม นตฺถีติ
ชื่อ อ. การไป กับ ด้ วยเธอ ย่อมไม่มี ดังนี ้ ได้ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ท. วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
เหล่านี ้ ว่า

เอาเถิ ด อ. เรา เป็ นผูม้ ี จกั ษุอนั โรคขจัดแล้ว เป็ นผูม้ าแล้ว “หนฺทาหํ หตจกฺขสุ ฺมิ กนฺตารทฺธานมาคโต,
สู่หนทางไกลคือกันดาร ย่อมเป็ น, อ. เรา นอนอยู่ จะไม่ไป,
(เพราะว่า) อ. คุณเครื ่องความเป็ นแห่งสหาย ย่อมไม่มี สยมาโน น คจฺฉามิ ; นตฺถิ พาเล สหายตา.
ในเพราะชนพาล ฯ เอาเถิ ด อ. เราเป็ นผูม้ ี จกั ษุอนั โรคขจัดแล้ว
เป็ นผูม้ าแล้ว สู่หนทางไกลคือกันดาร ย่อมเป็ น, อ. เราจักตาย, หนฺทาหํ หตจกฺขสุ ฺมิ กนฺตารทฺธานมาคโต
อ. เรา จักไม่ไป, (เพราะว่า) อ. คุณเครื ่องความเป็ นแห่งสหาย
ย่อมไม่มี ในเพราะชนพาล ดังนี ้ ฯ มริ สฺสามิ , โน คมิ สฺสามิ ; นตฺถิ พาเล สหายตาติ .

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 15


อ. นายปาลิตนอกนี ้ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ ผู้มีความสลดเกิดแล้ ว, ตํ สุตฺวา อิตโร สํเวคชาโต, “ภาริ ยํ วต เม
(คิดแล้ ว) ว่า อ.กรรมอันหนักหนออันเป็ นไปกับด้ วยความผลุนผลัน สาหสิกํ อนนุจฺฉวิกํ กมฺมํ กตนฺติ พาหา ปคฺคยฺห
อันไม่สมควร อันเรา กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ประคองแล้ ว ซึง่ แขน ท. กนฺทนฺโต วนสณฺฑํ ปกฺขนฺทิตฺวา ตถา ปกฺกนฺโตว
คร�่ำครวญอยู่ แล่นไปแล้ว สูช่ ฏั แห่งป่ า เป็ นผู้หลีกไปแล้ว อย่างนันเที
้ ยว อโหสิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ. บัณฑุกมั พลศิลาอาสน์ ของท้าวสักกะ ผู้พระราชาแห่งเทพ เถรสฺ ส าปิ สี ล เตเชน สฏฺ €ิ โ ยชนายามํ
อันยาวโดยโยชน์ ๖๐ อันกว้างแล้วโดยโยชน์ ๕๐ อันหนาโดยโยชน์ ปณฺณาสโยชนวิตฺถตํ ปณฺณรสโยชนพหลํ ชยสุมน-
๑๕ มีสเี พียงดังสีแห่งดอกชัยพฤกษ์ มีอนั ยุบลงและอันฟูขึ ้นเป็ นปกติ ปุปผฺ วณฺณํ นิสีทนุฏฺ€หนกาเลสุ โอนมนุนฺนมนปกติกํ
ในกาลเป็ นที่ประทับนั่งและเป็ นที่เสด็จลุกขึน้ ท. แสดงแล้ ว สกฺกสฺส เทวราชสฺส ปณฺฑกุ มฺพลสิลาสนํ อุณฺหาการํ
ซึง่ อาการอันร้ อน ด้ วยเดชแห่งศีล แม้ ของพระเถระ ฯ ทสฺเสสิ.
อ. ท้ าวสักกะ ทรงตรวจดูอยู่ ว่า อ. ใคร หนอ แล เป็ นผู้ใคร่- สกฺโก “ โก นุ โข มํ €านา จาเวตุกาโมติ
เพื่ออัน ยังเรา ให้ เคลื่อน จากที่ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ได้ ทรงเห็นแล้ ว โอโลเกนฺโต ทิพฺเพน จกฺขนุ า เถรํ อทฺทส.
ซึง่ พระเถระ ด้ วยจักษุ อันเป็ นทิพย์ ฯ
เพราะเหตุนนั ้ อ. อาจารย์ผ้ มู ีในกาลก่อน ท. กล่าวแล้ ว ว่า เตนาหุ โปราณา

อ.ท้าวสหัสสเนตร ผูเ้ ป็ นจอมแห่งเทพ ทรงยังจักษุอนั เป็ นทิ พย์ “สหสฺสเนตฺโต เทวิ นโฺ ท ทิ พพฺ จกฺขํ ุ วิ โสธยิ
ให้หมดจดวิ เศษแล้ว ว่า อ.พระเถระ ชื อ่ ว่าปาละ นี ้ `ปาปครหี อยํ ปาโล อาชี วํ ปริ โสธยิ ’,
ผูต้ ิ เตียนซึ่งคนชัว่ โดยปกติ ยังอาชี พ ให้หมดจดรอบแล้ว สหสฺสเนตฺโต เทวิ นโฺ ท ทิ พพฺ จกฺขํ ุ วิ โสธยิ
(ดังนี)้ , อ. ท้าวสหัสสเนตร ผูเ้ ป็ นจอมแห่งเทพ ทรงยังจักษุ- `ธมฺมครุโก อยํ ปาโล นิ สินโฺ น สาสเน รโตติ .
อันเป็ นทิ พย์ ให้หมดจดวิ เศษแล้ว ว่า อ. พระเถระชื อ่ ว่าปาละ
นี ้ ผูห้ นักในธรรม ยิ นดีแล้ว ในศาสนา นัง่ แล้ว ดังนี ้ (ดังนี)้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. ความคิดนัน่ ว่า ถ้ าว่า อ. เรา จักไม่ไป สูส่ �ำนัก อถสฺส เอตทโหสิ “สจาหํ เอวรูปสฺส ปาปครหิโน
ของพระผู้เป็ นเจ้ า ผู้หนักในธรรม ผู้ตเิ ตียนซึง่ คนชัว่ โดยปกติ ธมฺมครุกสฺส อยฺยสฺส สนฺติกํ น คมิสฺสามิ, มุทฺธา
ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูปไซร้ , อ. ศีรษะ ของเรา พึงแตก โดยส่วนเจ็ด; เม สตฺตธา ผเลยฺย; คมิสฺสามิสฺส สนฺตกิ นฺติ .
อ. เรา จักไป สูส่ �ำนัก ของพระเถระชื่อว่าปาละนัน้ ดังนี ้ ได้ มีแล้ ว
แก่ท้าวสักกะนัน้ ฯ
ในล�ำดับนัน้ อ. ท้ าวสหัสสเนตร ผู้เป็ นจอมแห่งเทพ ผู้ทรงไว้ ตโต สหสฺสเนตฺโต เทวินฺโท เทวรชฺชสิรีธโร
ซึง่ สิริคอื ความเป็ นแห่งพระราชาแห่งเทพ เสด็จมาแล้ว โดยขณะนัน,้ ตํขเณน อาคนฺตฺวา, จกฺขปุ าลํ อุปาคมิ.
ได้ เสด็จเข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ พระเถระชื่อว่า จักขุบาล ฯ

ก็แล (อ. ท้ าวสักกะ) ครัน้ เสด็จเข้ าไปใกล้ แล้ ว ได้ ทรงกระท�ำ อุปคนฺตฺวา จ ปน เถรสฺสาวิทเู ร ปทสทฺทํ อกาสิ.
แล้ ว ซึง่ เสียงแห่งพระบาท ในที่อนั ไม่ไกล แห่งพระเถระ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระเถระ ถามแล้ ว ซึง่ ท้ าวสักกะนัน้ ว่า อ. ใครนัน่ อถ นํ เถโร ปุจฺฉิ “โก เอโสติ.
ดังนี ้ ฯ
(อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. กระผม “อหํ ภนฺเต อทฺธิโกติ.
เป็ นผู้ไปสูห่ นทางไกล (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ ถามแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก อ. ท่าน จะไป “กุหึ ยาสิ อุปาสกาติ.
ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ
(อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. กระผม “สาวตฺถิยํ ภนฺเตติ.
จะไป) ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. ท่าน “ยาหิ อาวุโสติ.
จงไป ดังนี ้ ฯ
(อ. ท้ าวสักกะ ตรัสถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ก็ “อยฺโย ปน ภนฺเต กุหึ คมิสฺสตีต.ิ
อ.พระผู้เป็ นเจ้ า จักไป ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ

16 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ.พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า แม้ อ. เราจักไป ในเมืองชื่อว่า “อหํปิ ตตฺเถว คมิสฺสามีต.ิ
สาวัตถีนนนั ั ้ น่ เทียว ดังนี ้ ฯ (อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) ว่า “เตนหิ เอกโตว คจฺฉาม ภนฺเตติ.
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ถ้ าอย่างนัน้ อ. เรา ท. จงไป โดยความเป็ น “อหํ ทุพฺพโล, มยา สทฺธึ คจฺฉนฺตสฺส ตว
อันเดียวกันเทียว ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา ปปญฺโจ ภวิสฺสตีต.ิ
เป็ นผู้มีก�ำลังอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว (ย่อมเป็ น), อ. ความเนิ่นช้ า “มยฺหํ อจฺจายิกํ นตฺถิ; อหํปิ อยฺเยน สทฺธึ
จักมี แก่ทา่ น ผู้ไปอยู่ กับ ด้ วยเรา ดังนี ้ ฯ (อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) คจฺฉนฺโต ทสสุ ปุญฺญกิริยาวตฺถสู ุ เอกํ ลภิสฺสามิ;
ว่า อ. ความรี บร้ อน แห่งกระผม ย่อมไม่มี; แม้ อ. กระผม ไปอยู่ เอกโตว คจฺฉาม ภนฺเตติ.
กับ ด้ วยพระผู้เป็ นเจ้ า จักได้ ในบุญกิริยาวัตถุ ท. สิบหนา
ซึง่ บุญกิริยาวัตถุอย่างหนึง่ ; ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. เรา ท. จงไป
โดยความเป็ นอันเดียวกันเทียว ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ คิดแล้ ว ว่า อ.บุรุษ นัน่ เป็ นสัตบุรุษ จักเป็ น เถโร “เอโส สปฺปรุ ิ โส ภวิสฺสตีติ จินฺเตตฺวา
ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ว่า ดูก่อนอุบาสก ถ้ าอย่างนัน้ อ. ท่าน จงจับ “เตนหิ ยฏฺ€ิโกฏึ คณฺห อุปาสกาติ อาห.
ซึง่ ปลายแห่งไม้ เท้ า ดังนี ้ ฯ อ.ท้ าวสักกะ ทรงกระท�ำแล้ ว สกฺโก ตถา กตฺวา ป€วึ สงฺขิปนฺโต สายณฺหสมเย
อย่างนัน้ ทรงย่นอยู่ ซึง่ แผ่นดิน (ทรงยังพระเถระ) ให้ ถงึ พร้ อมแล้ ว เชตวนํ สมฺปาเปสิ. เถโร สงฺขปณวาทิสทฺเท
ซึง่ พระเชตวัน ในสมัยเป็ นที่สิ ้นไปแห่งวัน ฯ อ. พระเถระ ฟั งแล้ ว สุตฺวา “กตฺเถโส สทฺโทติ ปุจฺฉิ.
ซึง่ เสียงแห่งดนตรี มีสงั ข์และบัณเฑาะว์เป็ นต้ น ท. ถามแล้ ว ว่า
อ. เสียงนัน่ เป็ นเสียง ในที่ไหน (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. เสียงนี ้ “สาวตฺถิยํ ภนฺเตติ.
เป็ นเสียง) ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ “มยํ คมนกาเล จิเรน คมิมฺหาติ.
กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา ท. ไปแล้ ว โดยกาลนาน ในกาลเป็ นที่ไป “อหํ อุชกุ มคฺคํ ชานามิ ภนฺเตติ.
ดังนี ้ฯ (อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. กระผม ตสฺมึ ขเณ เถโร “ นายํ มนุสฺโส , เทวตา
ย่อมรู้ ซึง่ หนทางตรง ดังนี ้ ฯ ในขณะนัน้ อ. พระเถระ ก�ำหนดแล้ ว ภวิสฺสตีติ สลฺลกฺเขสิ.
ว่า อ. บุรุษนี ้ เป็ นมนุษย์ (ย่อมเป็ น) หามิได้ , (อ.บุรุษนี ้) เป็ นเทวดา
จักเป็ น ดังนี ้ ฯ
(เพราะเหตุนนั ้ อ. อาจารย์ผ้ มู ีในกาลก่อน ท. กล่าวแล้ ว) ว่า
อ. ท้าวสหัสสเนตร ผูเ้ ป็ นจอมแห่งเทพ ผูท้ รงไว้ซึ่งสิ ริคือ- สหสฺสเนตฺโต เทวิ นโฺ ท เทวรชฺชสิ รีธโร
ความเป็ นแห่งพระราชาแห่งเทพ ทรงย่นแล้ว ซึ่งหนทางนัน้ สงฺขิปิตฺวาน ตํ มคฺคํ ขิ ปปฺ ํ สาวตฺถิมาคมิ .
เสด็จมาแล้ว สู่เมื องชื อ่ ว่าสาวัตถี พลัน ดังนี ้ ฯ
อ. ท้ าวสักกะนัน้ ทรงน�ำไปแล้ ว สูบ่ รรณศาลา อันอันกุฎมพี ุ โส เถรสฺเสวตฺถาย กนิฏฺ€กุฏมฺุ พิเกน การิ ตํ
ผู้น้อยที่สดุ (ยังบุคคล) ให้ กระท�ำแล้ ว เพื่อประโยชน์ แก่พระเถระ ปณฺณสาลํ เนตฺวา ผลเก นิสีทาเปตฺวา ปิ ยสหาย
นัน่ เทียว (ยังพระเถระ) ให้ นงั่ แล้ ว บนแผ่นกระดาน เสด็จไปแล้ ว วณฺเณน ตสฺส สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา “สมฺม ปาลาติ
สูส่ ำ� นักของกุฎมพีุ นนั ้ ด้วยเพศแห่งสหายผู้เป็ นทีร่ กั ทรงร้ องเรียกแล้ว ปกฺโกสิ.
ว่า แน่ะปาละ ผู้สหาย ดังนี ้ ฯ
(อ. กุฎมพี
ุ นนั ้ กล่าวแล้ ว) ว่า แน่ะสหาย อ. อะไร ดังนี ้ ฯ “กึ สมฺมาติ. “เถรสฺส อาคตภาวํ ชานาสีต.ิ
(อ. ท้ าวสักกะ ตรัสแล้ ว) ว่า อ. ท่าน ย่อมรู้ ซึง่ ความที่แห่งพระเถระ “น ชานามิ, กึ ปน เถโร อาคโตติ. “อาม สมฺม,
เป็ นผู้มาแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. กุฎมพี ุ นนั ้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา อิทานาหํ วิหารํ คนฺตวฺ า เถรํ ตยา การิตปณฺณสาลายํ
ย่อมไม่ร้ ู, ก็ อ. พระเถระ มาแล้ ว หรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. ท้ าวสักกะ นิสนิ ฺนกํ ทิสฺวา อาคโตมฺหีติ วตฺวา ปกฺกามิ.
ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนสหาย เออ (อ. อย่างนัน), ้ ในกาลนี ้ อ. เรา
เป็ นผู้ไปแล้ ว สูว่ ิหาร เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ ผู้นงั่ แล้ ว ในบรรณศาลา
อันอันท่าน (ยังบุคคล) ให้ กระท�ำแล้ ว มาแล้ ว ย่อมเป็ น ดังนี ้
เสด็จหลีกไปแล้ ว ฯ กุฏมฺุ พิโกปิ วิหารํ คนฺตฺวา เถรํ ทิสฺวา ปาทมูเล
แม้ อ. กุฎมพี ุ ไปแล้ ว สูว่ ิหาร เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ ร้ องไห้ ปวฏฺเฏนฺโต โรทิตฺวา “ อิทํ ทิสวฺ า อหํ ภนฺเต
กลิ ้งเกลือกอยูแ่ ล้ ว ณ ที่ใกล้ แห่งเท้ า กล่าวแล้ ว ( ซึง่ ค�ำ ท.) มีค�ำ ตุมหฺ ากํ ปพฺพชิตํุ นาทาสินฺตอิ าทีนิ วตฺวา เทฺว
ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. กระผม เห็นแล้ ว ซึง่ เหตุนี ้ ไม่ได้ ให้ แล้ ว ทาสทารเก ภุชิสฺเส กตฺวา เถรสฺส สนฺตเิ ก
เพื่ออันบวช แก่ทา่ น ท. ดังนี ้ เป็ นต้ น กระท�ำแล้ ว ซึง่ เด็กผู้เป็ นทาส ปพฺพาเชตฺวา
ท. ๒ ให้ เป็ นไท ให้ บวชแล้ ว ในส�ำนัก ของพระเถระ (กล่าวแล้ ว) ว่า

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 17


อ. ท่าน ท. น�ำมาแล้ ว (ซึง่ วัตถุ ท.) มีข้าวต้ มและข้ าวสวย “อนฺโตคามโต ยาคุภตฺตาทีนิ อาหริ ตฺวา เถรํ
เป็ นต้ น จากภายในแห่งบ้ านจงบ�ำรุง ซึง่ พระเถระ ดังนี ้ (ยังข้ าวต้ ม อุปฏฺ€หถาติ ปฏิปาเทสิ. สามเณรา วตฺตปฏิวตฺตํ
และข้ าวสวย) ให้ ถงึ เฉพาะแล้ ว ฯ อ. สามเณร ท. กระท�ำแล้ ว กตฺวา เถรํ อุปฏฺ€หึส.ุ
ซึง่ วัตรและวัตรตอบ บ�ำรุงแล้ ว ซึง่ พระเถระ ฯ
ครัง้ นัน้ ในวันหนึง่ อ. ภิกษุ ท. ผู้อยูใ่ นทิศโดยปกติ มาแล้ ว อเถกทิวสํ ทิสาวาสิโน ภิกฺขู “สตฺถารํ
สูพ่ ระเชตวัน (ด้ วยอันคิด) ว่า อ. เรา ท. จักเฝ้า ซึง่ พระศาสดา ปสฺสิสฺสามาติ เชตวนํ อาคนฺตฺวา สตฺถารํ
ดังนี ้ ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ วนฺทิตฺวา อสีตมิ หาเถเร ทิสฺวา วิหารจาริ กํ จรนฺตา
ผู้ใหญ่แปดสิบ ท. เที่ยวไปอยู่ สูท่ ี่เป็ นที่เที่ยวไปในวิหาร ถึงแล้ ว จกฺขปุ าลตฺเถรสฺส วสนฏฺ€านํ ปตฺวา “อิทํปิ
ซึง่ ที่เป็ นที่อยู่ ของพระเถระชื่อว่าจักขุบาล เป็ นผู้มีหน้ าที่เฉพาะ ปสฺสสิ ฺสามาติ สายํ ตทภิมขุ า อเหสุํ.
ต่อที่นนั ้ ได้ เป็ นแล้ ว ในเวลาเย็น (ด้ วยอันคิด) ว่า อ. เรา ท. จักเห็น
ซึง่ ที่เป็ นที่อยูแ่ ม้ นี ้ ดังนี ้ ฯ
ในขณะนัน้ อ. เมฆใหญ่ ตังขึ ้ ้นแล้ ว ฯ อ.ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ตสฺมึ ขเณ มหาเมโฆ อุฏฺ€หิ. เต “อิทานิ
(คิดแล้ ว) ว่า อ. กาลนี ้ เป็ นเวลาเย็น (เกิดแล้ ว) ด้ วย , อ. เมฆ สายญฺจ, เมโฆ จ อุฏฺ€ิโต, ปาโตว อาคนฺตฺวา
ตังขึ
้ ้นแล้ วด้ วย, อ. เรา ท. มาแล้ ว จักเห็นในเวลาเช้ าเทียว ดังนี ้ ปสฺสสิ ฺสามาติ นิวตฺตสึ .ุ
กลับแล้ ว ฯ
อ. ฝน ตกแล้ ว ในยามที่หนึง่ ไปปราศแล้ ว ในยามอันมี เทโว ป€มยาเม วสฺสติ ฺวา มชฺฌิมยาเม วิคโต.
ในท่ามกลาง ฯ
อ. พระเถระ เป็ นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ ว เป็ นผู้มีจงกรม เถโร อารทฺธวิริโย อาจิณฺณจงฺกมโน; ตสฺมา
อันประพฤติทวั่ แล้ ว (ย่อมเป็ น); เพราะเหตุนนั ้ (อ. พระเถระ) ปจฺฉิมยาเม จงฺกมนํ โอตริ .
ข้ ามลงแล้ ว สูท่ ี่เป็ นที่จงกรม ในยามอันมีในภายหลัง ฯ
ก็ ในกาลนัน้ อ. แมลงค่อมทอง ท. มาก ตังขึ ้ ้นแล้ ว บนภาคพื ้น ตทา ปน นววุฏฺ€าย ภูมิยา พหู อินฺทโคปกา
อันอันฝนตกแล้ วใหม่ ฯ อ. แมลงค่อมทอง ท. เหล่านัน้ ครัน้ เมื่อ อุฏฺ€หึส.ุ เต เถเร จงฺกมนฺเต , เยภุยเฺ ยน วิปชฺชสึ .ุ
พระเถระ จงกรมอยู,่ วิบตั แิ ล้ ว โดยมาก ฯ อ. อันเตวาสิก ท. อนฺเตวาสิกา เถรสฺส จงฺ กมนฏฺ€านํ กาลสฺเสว
ไม่กวาดแล้ ว ซึง่ ที่เป็ นที่จงกรม ของพระเถระ ต่อกาลนัน่ เทียว ฯ น สมฺมชฺชสึ .ุ
อ. ภิกษุ ท. นอกนี ้มาแล้ ว (ด้ วยความหวัง) ว่า อ. เรา ท. จักเห็น อิตเร ภิกฺขู “เถรสฺส วสนฏฺ€านํ ปสฺสสิ ฺสามาติ
ซึง่ ที่เป็ นที่อยู่ ของพระเถระ ดังนี ้ เห็นแล้ ว ซึง่ สัตว์มีปาณะ ท. อาคนฺตฺวา จงฺกมเน ปาณเก ทิสฺวา “ โก อิมสฺมึ
ในที่เป็ นที่จงกรม ถามแล้ วว่า อ. ใคร ย่อมจงกรม ในที่เป็ นที่จงกรม จงฺกมตีติ ปุจฺฉึส.ุ “อมฺหากํ อุปชฺฌาโย ภนฺเตติ.
นี ้ ดังนี ้ ฯ (อ. อันเตวาสิก ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ
อ. พระอุปัชฌาย์ ของกระผม ท. (ย่อมจงกรม ในที่เป็ นที่จงกรม นี ้)
ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ยกโทษแล้ ว ว่า อ. ท่าน ท. จงเห็น ซึง่ กรรม เต อุชฺฌายึสุ “ปสฺสถ สมณสฺส กมฺมํ;
ของสมณะ, อ. พระเถระนี ้ นอนประพฤติหลับอยู่ ในกาลแห่งตน สจกฺขกุ าเล นิปชฺชติ วฺ า นิททฺ ายนฺโต กิญจฺ ิ อกตฺวา,
เป็ นไปกับด้ วยจักษุ ไม่กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรมไร ๆ, ยังสัตว์มีปาณะ ท. อิทานิ จกฺขวุ ิกลกาเล `จงฺกมามีติ เอตฺตเก ปาเณ
มีประมาณเท่านี ้ ให้ ตายแล้ ว (ด้ วยอันคิด) ว่า อ. เรา จะจงกรม มาเรสิ; `อตฺถํ กริ สฺสามีติ อนตฺถํ อกรี ต.ิ
ดังนี ้ ในกาลแห่งตนมีจกั ษุอนั วิกล ในกาลนี ้; (อ. พระเถระ คิดแล้ ว)
ว่า อ. เราจักกระท�ำ ซึง่ ประโยชน์ ดังนี ้ ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรม
อันมิใช่ประโยชน์ ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ ว กราบทูลแล้ ว อถ เต คนฺตฺวา ตถาคตสฺส อาโรเจสุํ “ภนฺเต
แก่พระตถาคตเจ้ า ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. พระเถระชื่อว่า จกฺขปุ าลตฺเถโร `จงฺกมามีติ พหู ปาณเก มาเรสีติ.
จักขุบาล ยังสัตว์มีปาณะ ท. มาก ให้ ตายแล้ ว (ด้ วยอันคิด) ว่า
อ. เรา จะจงกรม ดังนี ้ ดังนี ้ ฯ
(อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า ก็ อ. ภิกษุชื่อว่าจักขุบาลนัน้ “กึ ปน โส ตุมเฺ หหิ มาเรนฺโต ทิฏฺโ€ติ.
(ยังมีสตั ว์มีปาณะ ท.) ให้ ตายอยู่ อันเธอ ท. เห็นแล้ ว หรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “น ทิฏฺโ€ ภนฺเตติ.
(อ. พระเถระ ชื่อว่าจักขุบาลนัน้ ยังสัตว์มีปาณะ ท. ให้ ตายอยู่
อันข้ าพระองค์ ท.) ไม่เห็นแล้ ว ดังนี ้ ฯ

18 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า อ. เธอ ท. ย่อมไม่เห็น ซึง่ ภิกษุ “ยเถว ตุมเฺ ห ตํ น ปสฺสถ; ตถา โสปิ เต
ชื่อว่าจักขุบาลนันฉั ้ นใดนัน่ เทียว; อ.ภิกษุชื่อว่าจักขุบาลแม้ นนั ้ ปาเณ น ปสฺสติ, ขีณาสวานํ มรณเจตนา นาม
ย่อมไม่เห็น ซึง่ สัตว์มีปาณะ ท. เหล่านัน้ ฉันนัน,้ ดูก่อนภิกษุ ท. นตฺถิ ภิกฺขเวติ.
ชื่อ อ. เจตนาเป็ นเหตุตาย แห่งพระขีณาสพ ท. ย่อมไม่มี ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “ภนฺเต อรหตฺตสฺส อุปนิสฺสเย สติ, กสฺมา
(อ. พระเถระชื่อว่าจักขุบาล นัน) ้ ครัน้ เมื่อธรรมอันเป็ นอุปนิสยั อนฺโธ ชาโตติ.
แห่งพระอรหัต มีอยู,่ เป็ นคนบอด เกิดแล้ ว เพราะเหตุไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. ภิกษุชื่อว่า “อตฺตนา กตกมฺมวเสน ภิกฺขเวติ.
จักขุบาลนัน้ เป็ นคนบอด เกิดแล้ ว) ด้ วยอ�ำนาจแห่งกรรม
อันตนกระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ทูลแล้ ว) ว่า “กึ ปน ภนฺเต เตน กตนฺต.ิ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ก็ (อ. กรรม) อะไร อันพระเถระชื่อว่า
จักขุบาลนัน้ กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า “เตนหิ ภิกฺขเว สุณาถ:
ดูก่อนภิกษุ ท. ถ้ าอย่างนัน้ อ. เธอ ท. จงฟั ง (ดังนี ้ ทรงน�ำมาแล้ ว
ซึง่ เรื่ องอันล่วงไปแล้ ว) ว่า
ในกาลอัน ล่ ว งไปแล้ ว ครั น้ เมื่ อ พระราชาผู้ เป็ นใหญ่ อตีเต พาราณสิยํ พาราณสีราเช รชฺชํ กาเรนฺเต,
ในเมื อ งชื่ อ ว่ า พาราณสี (ทรงยั ง บุ ค คล) ให้ กระท� ำ อยู่ เอโก เวชฺโช คามนิคเม จริ ตฺวา เวชฺชกมฺมํ กโรนฺโต
ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา ในเมืองชือ่ ว่าพาราณสี , อ.หมอคนหนึง่ เอกํ จกฺขทุ พุ ฺพลํ อิตฺถึ ทิสวฺ า ปุจฺฉิ “ กินฺเต
เที่ยวไปแล้ ว ในบ้ านและนิคม กระท�ำอยู่ ซึง่ เวชกรรม เห็นแล้ ว อผาสุกนฺต.ิ “อกฺขีหิ น ปสฺสามีต.ิ
ซึง่ หญิง ผู้มีจกั ษุมีก�ำลังอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว คนหนึง่ ถามแล้ ว
ว่า อ. ความไม่ส�ำราญ แห่งท่าน อย่างไร ดังนี ้ ฯ (อ. หญิงนัน้
กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา ย่อมไม่เห็น ด้ วยนัยน์ตา ท. ดังนี ้ ฯ
(อ.หมอนัน้ กล่าวแล้ว) ว่า อ. เรา จักกระท�ำ ซึง่ ยาแก่ทา่ น ดังนี ้ ฯ “เภสชฺชนฺเต กริ สฺสามีติ. “กโรหิ สามีต.ิ
(อ. หญิงนัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่นาย อ. ท่าน จงกระท�ำ ดังนี ้ ฯ “กึ เม ทสฺสสีต.ิ “สเจ เม อกฺขีนิ ปากติกานิ
(อ. หมอนัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. ท่าน จักให้ (ซึง่ วัตถุ) อะไร แก่เรา กาตุํ สกฺขิสฺสสิ, อหนฺเต สทฺธึ ปุตฺตธีตาหิ ทาสี
ดังนี ้ ฯ (อ. หญิงนัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ถ้ าว่า อ. ท่าน จักอาจ ภวิสฺสามีต.ิ
เพือ่ อันกระท�ำ ซึง่ นัยน์ตา ท. ของเรา ให้ เป็ นของตังอยู ้ ต่ ามปกติไซร้ ,
อ. เรา กับ ด้วยบุตรและธิดา ท. เป็ นทาสี ของท่าน จักเป็ น ดังนี ้ฯ
อ. หมอนัน้ (รับพร้ อมแล้ ว) ว่า อ. ดีละ ดังนี ้ จัดแจงแล้ ว ซึง่ ยา ฯ โส “สาธูติ เภสชฺชํ สํวิทหิ. เอกเภสชฺเชเนว
อ. นัยน์ตา ท. เป็ นของตังอยู ้ ต่ ามปกติ ได้เป็ นแล้ว ด้วยยาขนานเดียว อกฺขีนิ ปากติกานิ อเหสุํ. สา จินฺเตสิ “อหํ เอตสฺส
นัน่ เทียว ฯ อ. หญิงนัน้ คิดแล้ ว ว่า อ. เรา ปฏิญญาแล้ ว ว่า `สปุตฺตธีตา ทาสี ภวิสฺสามีติ ปฏิชานึ , น โข
(อ. เรา) ผู้เป็ นไปกับด้ วยบุตรและธิดา เป็ นทาสีจกั เป็ น ดังนี ้ ปน มํ สณฺเหน สมุทาจริ สฺสติ, วญฺเจสฺสามิ นนฺติ.
แก่หมอนัน่ , แต่วา่ (อ. หมอนัน) ้ จักประพฤติร้องเรี ยก ซึง่ เรา
ด้ วยค�ำอันอ่อนหวาน หามิได้ แล, อ. เรา จักลวง ซึง่ หมอนัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. หญิงนัน้ ผู้อนั หมอ มาแล้ ว ถามแล้ ว ว่า แน่ะนางผู้เจริ ญ สา เวชฺเชนาคนฺตฺวา “กีทิสํ ภทฺเทติ ปุฏฺ€า,
(อ. คูแ่ ห่งนัยน์ตา) เป็ นเช่นไร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, กล่าวแล้ ว ว่า “ปุพฺเพ เม อกฺขีนิ โถกํ รุชฺชสึ ,ุ อิทานิ อติเรกตรํ
อ. นัยน์ตา ท. ของเรา เสียดแทงแล้ ว หน่อยหนึง่ ในกาลก่อน, รุชฺชนฺตีติ อาห.
ในกาลนี ้ (อ. นัยน์ตา ท.) ย่อมเสียดแทง ยิ่งเกิน ดังนี ้ ฯ
อ. หมอคิดแล้ ว ว่า อ. หญิงนี ้ เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันลวง ซึง่ เรา แล้ ว เวชฺโช “อยํ มํ วญฺเจตฺวา กิญฺจิ อทาตุกามา,
ไม่ให้ ซึง่ วัตถุไร ๆ (ย่อมเป็ น) อ. ความต้ องการ ด้ วยค่าจ้ าง น เม เอตาย ทินฺนภติยา อตฺโถ, อิทานิ ตํ อนฺธํ
อันหญิงนัน่ ให้ แล้ ว (ย่อมมี) แก่เรา หามิได้ , ในกาลนี ้ อ. เรา กริ สฺสามีติ จินฺเตตฺวา เคหํ คนฺตฺวา ภริ ยาย ตมตฺถํ
จักกระท�ำ ซึง่ หญิงนัน้ ให้ เป็ นหญิงบอด ดังนี ้ ไปแล้ ว สูเ่ รื อน อาจิกขฺ .ิ สา ตุณหฺ ี อโหสิ. โส เอกํ เภสชฺชํ โยเชตฺวา
บอกแล้ ว ซึง่ เนื ้อความนัน้ แก่ภรรยา ฯ อ.ภรรยานัน้ เป็ นหญิงนิ่ง ตสฺสา สนฺตกิ ํ คนฺตวฺ า “ภทฺเท อิมํ เภสชฺชํ อญฺชาหีติ
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ อ. หมอนัน้ ประกอบแล้ ว ซึง่ ยา ขนานหนึง่ ไปแล้ ว อญฺชาเปสิ. เทฺว อกฺขีนิ ทีปสิขา วิย วิชฺฌายึส.ุ
สูส่ �ำนักของหญิงนัน้ (กล่าวแล้ ว) ว่า แน่ะนางผู้เจริ ญ อ. ท่าน โส เวชฺโช จกฺขปุ าโล อโหสิ.
จงหยอด ซึง่ ยานี ้ ดังนี ้ (ยังหญิงนัน) ้ ให้ หยอดแล้ ว ฯ อ. นัยน์ตา ท.
สอง ดับแล้ ว ราวกะ อ. เปลวแห่งประทีป ฯ อ. หมอนัน้ เป็ นภิกษุ
ชื่อว่า จักขุบาล ได้ เป็ นแล้ ว (ดังนี ้) ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 19


(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. กรรม “ภิกฺขเว ตทา มม ปุตฺเตน กตกมฺมํ ปจฺฉโต
อันบุตร ของเรา กระท�ำแล้ ว ในกาลนัน้ ติดตามแล้ ว ข้ างหลัง ๆ, ปจฺฉโต อนุพนฺธิ , ปาปกมฺมํ หิ นาเมตํ ธุรํ วหโต
จริ งอยู่ ชื่อ อ. กรรมอันลามกนัน่ ย่อมไปตาม ราวกะ อ. ล้ อ พลิวทฺทสฺส ปทํ จกฺกํ วิย อนุคจฺฉตีติ อิทํ วตฺถํุ
(หมุนไปตามอยู)่ ซึง่ รอยเท้ า ของโคตัวเนื่องด้ วยก�ำลัง ตัวน�ำไปอยู่ กเถตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ปติฏฺ€าปิ ตมตฺตกิ ํ สาสนํ
ซึง่ แอก ดังนี ้ ครัน้ ตรัสแล้ ว ซึง่ เรื่ องนี ้ ทรงสืบต่อ ซึง่ อนุสนธิ ราชมุทฺทาย ลญฺฉนฺโต วิย ธมฺมราชา อิมํ คาถมาห
ผู้เป็ นพระราชาเพราะธรรม ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถานี ้ ว่า

อ. ธรรม ท. มีใจเป็ นสภาพถึงก่อน มีใจเป็ นสภาพประเสริ ฐทีส่ ดุ “มโนปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺ€า มโนมยา;
อันส�ำเร็ จแล้วแต่ใจ , หากว่า (อ. บุคคล) มี ใจ อันอันโทษ
ประทุษร้ายแล้ว กล่าวอยู่หรื อ หรื อว่ากระท�ำอยู่ไซร้, อ. ทุกข์ มนสา เจ ปทุฏฺเ€น ภาสติ วา กโรติ วา,
ย่อมไปตาม ซึ่งบุคคลนัน้ (เพราะทุจริ ตอันมี อย่างสาม) นัน้
เพียงดัง อ. ล้อ (หมุนไปตามอยู่) ซึ่งรอยเท้า (ของโคตัวเนือ่ ง ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทนฺติ.
ด้วยก�ำลัง) ตัวน�ำไปอยู่ (ซึ่งแอก) ดังนี ้ ฯ

ราวกะ (อ.พระราชา) ทรงประทับอยู่ ซึง่ พระราชสาส์น มีดนิ เหนียว


อันพระองค์ ทรงให้ ตงไว้ ั ้ เฉพาะแล้ ว ด้ วยตราของพระราชา ฯ
อ. จิตอันเป็ นไปในภูมิ ๔ แม้ ทงปวงั้ อันต่างด้ วยจิตมีกศุ ลจิต ตตฺถ “มโนติ กามาวจรกุสลาทิเภทํ สพฺพมฺปิ
อันเป็ นกามาวจรเป็ นต้ นชื่อว่า ใจ ในพระคาถานัน้ ฯ แต่วา่ จตุภมู ิกจิตฺตํ. อิมสฺมึ ปน ปเท ตทา ตสฺส เวชฺชสฺส
อ. จิตนัน่ เทียว (อันบัณฑิต) นิยมอยู่ (อันบัณฑิต) ให้ ตงลงต่ั ้ างอยู่ อุปปฺ นฺนจิตฺตวเสน นิยมิยมานํ ววตฺถาปิ ยมานํ
(อันบัณฑิต) ก�ำหนดอยู่ ด้ วยอ�ำนาจแห่งจิตดวงเกิดขึ ้นแล้ ว ปริ จฺฉิชฺชมานํ, โทมนสฺสสหคตํ ปฏิฆสมฺปยุตฺตํ
แก่หมอนันในกาลนั
้ น,้ อันไปแล้วกับด้วยโทมนัส อันประกอบพร้ อมแล้ว จิตฺตเมว ลพฺภติ.
ด้ วยปฏิฆะ (อันบัณฑิต) ย่อมได้ ในบท นี ้ ฯ
(อ. อรรถ) ว่า มาตามพร้ อมแล้ ว (ด้ วยใจ) นัน้ เป็ นสภาพถึงก่อน ปุพพฺ งฺคมาติ: เตน ป€มคามินา หุตวฺ า สมนฺนาคตา.
โดยปกติ เป็ น (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า ปุพพ ฺ งฺคมา ดังนี ้ ฯ
ชื่อ อ. ธรรม ท. สื่ ด้ วยอ�ำนาจแห่งคุณธรรมและเทศนาธรรม ธมฺมาติ: คุณเทสนาปริ ยตฺตนิ ิสฺสตฺตนิชฺชีววเสน
และปริ ยตั ิธรรมและนิสสัตตธรรมและนิชชีวธรรม ชื่อว่าธรรม ฯ จตฺตาโร ธมฺมา นาม.
อ.ธรรมนี ้ (ในค�ำนี ้) ว่า เตสุ

(อ. สภาพ ท.) ทัง้ สอง คือ อ. ธรรมด้วย คือ อ. สภาพมิ ใช่ธรรม “ น หิ ธมฺโม อธมฺโม จ อุโภ สมวิ ปากิ โน,
ด้วย เป็ นสภาพมี วิบากเสมอกัน (ย่อมเป็ น) หามิ ได้แล,
อ. สภาพมิ ใช่ธรรม ย่อมน�ำไป (ซึ่งสัตว์) สู่นรก อ. ธรรม อธมฺโม นิ รยํ เนติ ธมฺโม ปาเปติ สุคฺคติ นตฺ ิ
(ยังสัตว์) ย่อมให้ถึง ซึ่งสุคติ ดังนี ้เป็ นต้ น

(ในธรรม ท. สี่) เหล่านันหนา


้ ชื่อว่า คุณธรรม ฯ อยํ คุณธมฺโม นาม.

อ. ธรรมนี ้ (ในค�ำนี ้) ว่าดูก่อนภิกษุ ท. อ. เรา จักแสดง ซึง่ ธรรม “ธมฺมํ โว ภิกฺขเว เทเสสฺสามิ อาทิกลฺยาณนฺติ
อันงามในเบื ้องต้ น แก่เธอ ท. ดังนี ้เป็ นต้ น ชื่อว่าเทศนาธรรม ฯ อยํ เทสนาธมฺโม นาม.
อ. ธรรมนี ้ (ในค�ำนี ้) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ก็ อ. กุลบุตร ท. “อิธ ปน ภิกฺขเว เอกจฺเจ กุลปุตฺตา ธมฺมํ
บางพวก ในศาสนา นี ้ ย่อมเล่าเรียน ซึง่ ธรรม คือซึง่ สูตร คือซึง่ ไคยะ ปริ ยาปุณนฺติ สุตฺตํ เคยฺยนฺติ อยํ ปริ ยตฺตธิ มฺโม นาม.
ดังนี ้เป็ นต้ น ชื่อว่าปริ ยตั ิธรรม ฯ
อ. ธรรมนี ้ (ในค�ำนี ้) ว่า ก็ อ. ธรรม ท. ย่อมมี ในสมัยนันแล ้ , “ตสฺมึ โข ปน สมเย ธมฺมา โหนฺติ, ขนฺธา
อ. ขันธ์ ท. ย่อมมี (ในสมัยนัน) ้ ดังนี ้เป็ นต้ น ชื่อว่า นิสสัตตธรรม ฯ โหนฺตีติ อยํ นิสฺสตฺตธมฺโม นาม. นิชฺชีวธมฺโมติปิ
อ. นัย (ในบท) แม้ วา่ อ. นิชชีวธรรม ดังนี ้ นี ้ นัน่ เทียว ฯ เอเสว นโย.
ในธรรม ท. ๔ เหล่านันหนา ้ อ. นิสสัตตธรรมและนิชชีวธรรม เตสุ อิมสฺมึ €าเน นิสฺสตฺตนิชฺชีวธมฺโม อธิปเฺ ปโต.
(อันพระผู้มีพระภาคเจ้ า) ทรงพระประสงค์ เอาแล้ วในที่นี ้ ฯ

20 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. นิสสัตตธรรมและนิชชีวธรรมนัน้ คือ อ. ขันธ์ ท. อันไม่มีรูป โส อตฺถโต ตโย อรูปิโน ขนฺธา “เวทนากฺขนฺโธ
๓ คือ อ. เวทนาขันธ์ อ. สัญญาขันธ์ อ. สัขารขันธ์ โดยเนื ้อความ ฯ สญฺญากฺขนฺโธ สงฺขารกฺขนฺโธติ. เอเต หิ, มโน
เพราะว่า อ. ธรรม ท.เหล่านัน่ , ชื่อว่ามีใจเป็ นสภาพถึงก่อน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา นาม.
(เพราะวิเคราะห์) ว่า อ. ใจ เป็ นสภาพถึงก่อนแห่งธรรม ท. เหล่านัน่ “กถํ ปเนเตหิ สทฺธึ เอกวตฺถโุ ก เอการมฺมโณ
ดังนี ้ ฯ (อ. อันถาม) ว่า ก็ อ. ใจ มีวตั ถุเป็ นอันเดียวกัน มีอารมณ์ อปุพฺพํ อจริ มํ เอกกฺขเณ อุปปฺ ชฺชมาโน มโน
เป็ นอันเดียวกัน กับ ด้ วยธรรม ท. เหล่านั่น เกิ ดขึน้ อยู่ ปุพฺพงฺคโม นาม โหตีติ. อุปปฺ าทปฺปจฺจยตฺเถน.
ในขณะเดียวกัน ไม่ก่อน ไม่หลัง ชื่อว่าเป็ นสภาพถึงก่อน ย่อมเป็ น
อย่างไร ดังนี ้ ฯ (อ. อันแก้ ) ว่า (อ. ใจชื่อว่าเป็ นสภาพถึงก่อน)
เพราะอรรถคือความเป็ นปั จจัยแห่งความเกิดขึ ้น (ย่อมเป็ น) (ดังนี ้) ฯ
เหมือนอย่างว่า ครัน้ เมื่อโจร ท. มาก กระท�ำอยู่ ซึง่ กรรม ยถา หิ พหูสุ เอกโต คามฆาตาทิกมฺมานิ
มีการฆ่าซึ่งชาวบ้ านเป็ นต้ น ท. โดยความเป็ นอันเดียวกัน, กโรนฺเตสุ, “โก เตสํ ปุพฺพงฺคโมติ วุตฺเต, โย เตสํ
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ. ใคร เป็ นผู้ถงึ ก่อน แห่งโจร ท. เหล่านัน้ ปจฺจโย โหติ, ยํ นิสฺสาย เต ตํ กมฺมํ กโรนฺติ;
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันชน ท.) กล่าวแล้ว, อ.โจรใด เป็ นปัจจัย ของโจร ท. โส ทตฺโต วา มตฺโต วา “เตสํ ปุพฺพงฺคโมติ วุจฺจติ;
เหล่านัน้ (ย่อมเป็ น), อ.โจร ท. เหล่านัน้ อาศัยแล้ ว ซึง่ โจรใด เอวํ สมฺปทมิทํ เวทิตพฺพํ.
ย่อมกระท�ำ ซึง่ กรรมนัน,้ อ.โจรนัน้ ชือ่ ว่าทัตตะหรือ หรือว่าชือ่ ว่ามัตตะ
(อันชน ท.) ย่อมเรี ยกกัน ว่า เป็ นผู้ถงึ ก่อน แห่งโจร ท. เหล่านัน้
ดังนี ้ ฉันใด, อ.ค�ำเป็ นเครื่ องยังอุปไมยให้ ถงึ พร้ อม นี ้ (อันบัณฑิต)
พึงทราบ ฉันนัน้ ฯ
อ. ใจ ชื่ อว่าเป็ นสภาพถึงก่อน แห่งธรรม ท. เหล่านั่น อิติ อุปปฺ าทปฺปจฺจยตฺเถน มโน ปุพฺพงฺคโม
เพราะอรรถคือความเป็ นปั จจัยแห่งความเกิดขึ ้น ด้ วยประการฉะนี ้ เอเตสนฺติ มโนปุพพฺ งฺคมา. น หิ เต, มเน อนุปปฺ ชฺชนฺเต,
เพราะเหตุนนั ้ (อ. ธรรม ท.เหล่านัน่ ) ชื่อว่ามีใจเป็ นสภาพถึงก่อน ฯ อุปปฺ ชฺชติ ํุ สกฺโกนฺต.ิ มโน ปน, เอกจฺเจสุ เจตสิเกสุ
เพราะว่า อ.ธรรม ท. เหล่านัน,้ ครัน้ เมื่อใจ ไม่เกิดขึ ้นอยู,่ ย่อมไม่อาจ อนุปปฺ ชฺชนฺเตสุปิ, อุปปฺ ชฺชติเยว. อธิปติวเสน ปน
เพื่ออันเกิดขึ ้น ฯ แต่วา่ อ. ใจ ,ครัน้ เมื่อเจตสิก ท. บางพวก มโน เสฏฺโ€ เอเตสนฺติ มโนเสฏฺ€า.
แม้ ไม่ เ กิ ด ขึ น้ อยู่ ย่ อ มเกิ ด ขึ น้ นั่ น เที ย ว ฯ แต่ ว่ า อ. ใจ
เป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ แห่งธรรม ท. เหล่านัน่ ด้ วยอ�ำนาจ
แห่งความเป็ นอธิบดี เพราะเหตุนนั ้ (อ. ธรรม ท. เหล่านัน่ ) ชื่อว่า
มีใจเป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ ฯ
เหมือนอย่างว่า (อ. ชน ท. ) ผู้เป็ นใหญ่ยิ่ง มีโจรผู้เจริ ญที่สดุ ยถา หิ โจราทีนํ โจรเชฏฺ€กาทโย อธิปติโน
เป็ นต้ น เป็ นผู้ประเสริ ฐที่สดุ (แห่งชน ท. ) มีโจรเป็ นต้ น (ย่อมเป็ น) เสฏฺ€า; ตถา เตสมฺปิ มโนติ มโนเสฏฺ€า.
ฉันใด ; อ.ใจ (เป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ ) (แห่งธรรม ท.) แม้ เหล่านัน้ ยถา ปน ทารุอาทีหิ นิปผฺ นฺนานิ ตานิ ตานิ
(ย่อมเป็ น) ฉันนัน้ เพราะเหตุนนั ้ (อ.ธรรม ท. เหล่านัน) ้ ชื่อว่ามีใจ ภณฺฑานิ ทารุมยาทีนิ นาม โหนฺต;ิ ตถา เอเตปิ
เป็ นสภาพประเสริฐทีส่ ดุ ฯ เหมือนอย่างว่า อ.ภัณฑะ ท. เหล่านันๆ ้ มนโต นิปผฺ นฺนตฺตา มโนมยา นาม.
อันส�ำเร็ จแล้ ว (แต่สมั ภาระ ท.) มีไม้ เป็ นต้ น ชื่อว่าเป็ นภัณฑะ
มีภณ ั ฑะส�ำเร็ จแล้ วแต่ไม้ เป็ นต้ น ย่อมเป็ น ฉันใด, อ.ธรรม ท.
แม้ เหล่านัน่ ชื่อว่าเป็ นสภาพส�ำเร็ จแล้ วแต่ใจ เพราะความที่
(แห่งธรรม ท.) เป็ นสภาพส�ำเร็ จแล้ ว แต่ใจ (ย่อมเป็ น) ฉันนัน้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า อันโทสะ ท. มีอภิชฌาเป็ นต้ น อันจรมา ปทุฏฺเฐนาติ: อาคนฺตเุ กหิ อภิชฺฌาทีหิ โทเสหิ
ประทุษร้ ายแล้ ว (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า ปทุฏฺเฐน ดังนี ้ ฯ ปทุฏฺเ€น. ปกติมโน หิ ภวงฺคจิตฺตํ.
จริ งอยู่ อ.ใจตามปกติ ชื่อว่า ภวังคจิต ฯ
(อ. ภวังคจิต) นัน้ (อันโทสะ ท.) ไม่ประทุษร้ ายแล้ ว, ตํ อปฺปทุฏฺ€ํ, ยถา หิ ปสนฺนํ อุทกํ อาคนฺตเุ กหิ
เหมือนอย่างว่า อ.น� ำ้ อันใสแล้ ว อันเข้ าไปเศร้ าหมองแล้ ว นีลาทีหิ อุปกฺกิลฏิ ฺ €ํ นีโลทกาทิเภทํ โหติ, น จ นวํ
(เพราะสี ท.) มีสีเขียวเป็ นต้ น อันจรมา เป็ นน� ้ำอันต่างด้ วยน� ้ำ อุทกํ นาปิ ปุริมํ ปสนฺนอุทกเมว; ตถา ตมฺปิ อาคนฺตเุ กหิ
มีน� ้ำสีเขียวเป็ นต้ น ย่อมเป็ น, เป็ นน� ้ำใหม่ (ย่อมเป็ น) หามิได้ แล, อภิชฺฌาทีหิ โทเสหิ ปทุฏฺ€ํ โหติ, น จ นวํ จิตฺตํ,
เป็ นน� ้ำอันใสแล้ว อันมีในก่อนนัน่ เทียว (ย่อมเป็ น) แม้หามิได้ ฉันใด,
อ.ภวังคจิตแม้ นนั ้ เป็ นธรรมชาต อันโทสะ ท. มีอภิชฌาเป็ นต้ น
อันจรมา ประทุษร้ ายแล้ ว ย่อมเป็ น, เป็ นจิตใหม่ (ย่อมเป็ น)
หามิได้ แล,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 21


เป็ นภวังคจิต อันมีในก่อนนัน่ เทียว (ย่อมเป็ น) แม้ หามิได้ ฉันนัน้ ฯ นาปิ ปุริมํ ภวงฺคจิตฺตเมว.
เพราะเหตุนนั ้ อ.พระผู้มพี ระภาคเจ้า ตรัสแล้ว ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. เตนาห ภควา “ ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ.
อ. จิตนี ้ เป็ นแดนสร้ านออกแห่งรัศมี (ย่อมเป็ น), ก็แล อ. จิตนัน้ ตญฺจ โข อาคนฺตเุ กหิ อุปกฺกิเลเสหิ อุปกฺกิลฏิ ฺ €นฺต.ิ
เข้ าไปเศร้ าหมองแล้ ว เพราะอุปกิเลส ท. อันจรมา ดังนี ้ ฯ
หากว่า (อ. บุคคล) มีใจ อันอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว อย่างนี ้ เอวํ มนสา เจ ปทุฏฺเ€น.
(กล่าวอยู่ หรื อ หรื อว่า กระท�ำอยูไ่ ซร้ ) ฯ
(อ.อรรถ) ว่า อ. บุคคลนัน้ เมื่อกล่าว ชื่อว่าย่อมกล่าว ภาสติ วา กโรติ วาติ: โส ภาสมาโน
ซึง่ วจีทจุ ริ ต มีอย่างสี่นนั่ เทียว , เมื่อกระท�ำ ชื่อว่าย่อมกระท�ำ จตุพฺพิธํ วจีทจุ ฺจริ ตเมว ภาสติ, กโรนฺโต ติวิธํ
ซึง่ กายทุจริ ต มีอย่างสามนัน่ เทียว , เมื่อไม่กล่าว เมื่อไม่กระท�ำ กายทุจฺจริ ตเมว กโรติ, อภาสนฺโต อกโรนฺโต ตาย
ยังมโนทุจริ ต มีอย่างสาม ชื่อว่าย่อมให้ เต็ม เพราะความที่- อภิชฌ
ฺ าทีหิ ปทุฏฺ€มานสตาย ติวธิ ํ มโนทุจจฺ ริตํ ปูเรติ.
แห่งตนเป็ นผู้มีใจ (อันโทสะ ท.) มีอภิชฌาเป็ นต้ น ประทุษร้ ายแล้ ว เอวมสฺส ทส อกุสลกมฺมปถา ปาริ ปรู ึ คจฺฉนฺติ.
นัน้ , อ. คลองแห่งกรรมอันเป็ นอกุศล ท. ๑๐ ย่อมถึง
ซึง่ ความเต็มรอบ แก่บคุ คลนัน้ ด้ วยประการฉะนี ้ (ดังนี ้ แห่งบาท
แห่งพระคาถา) ว่า ภาสติ วา กโรติ วา ดังนี ้ ฯ
(อ. อรรถ ว่า อ.ทุกข์ ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคล นัน้ เพราะทุจริ ต ตโต นํ ทุกขฺ มเนฺวตีต:ิ ตโต ติวิธทุจฺจริ ตโต
อันมีอย่างสามนัน้ คือว่า อ. ทุกข์ อันเป็ นวิบาก อันเป็ นไป ตํ ปุคฺคลํ ทุกฺขมเนฺวติ: ทุจฺจริ ตานุภาเวน จตูสุ
ในกายและเป็ นไปในจิต โดยปริ ยาย นี ้ คือ (อ. วิบากทุกข์) อปาเยสุ วา มนุสฺเสสุ วา ตมตฺตภาวํ คจฺฉนฺตํ
มีกายเป็ นที่ตงบ้ั ้ าง (อ. วิบากทุกข์) มีจิตนอกนี ้เป็ นที่ตงบ้ ั ้ าง กายวตฺถกุ มฺปิ อิตรวตฺถกุ มฺปีติ อิมินา ปริ ยาเยน
ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคลนัน้ ผู้ไปอยู่ สูอ่ ตั ภาพ ในอบาย ท. ๔ กายิกเจตสิกํ วิปากทุกฺขํ อนุคจฺฉติ.
หรื อ หรื อว่า ในมนุษย์ ท. เพราะอานุภาพแห่งทุจริ ต (ดังนี )้
(แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า ตโต นํ ทุกขฺ มเนฺวติ ดังนี ้ ฯ
(อ. อันถาม) ว่า (อ. ทุกข์ ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคลนัน้ เพราะทุจริ ต ยถากึ? จกฺกํว วหโต ปทนฺต:ิ ธุเร ยุตฺตสฺส
อันมีอย่างสามนัน) ้ ราวกะ อ. อะไร ? (ดังนี ้) (อ. อันแก้ ) ว่า (อ. ทุกข์ ธุรํ วหโต พลิวทฺทสฺส ปทํ จกฺกํ วิย.
ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคลนัน้ เพราะทุจริ ตอันมีอย่างสามนัน) ้ เพียงดัง
อ. ล้ อ (หมุนไปตามอยู)่ ซึง่ รอยเท้ า (ของโคตัวเนื่องด้ วยก�ำลัง)
ตัวน�ำไปอยู่ (ซึง่ แอก) ดังนี ้ : (อ. อธิบาย) ว่า ราวกะ อ. ล้ อ
(หมุนไปตามอยู)่ ซึง่ รอยเท้ า ของโคตัวเนื่องด้ วยก�ำลัง ตัวอันบุคคล
เทียมแล้ ว ที่แอก ชื่อว่าตัวน�ำไปอยู่ ซึง่ แอก (ดังนี ้) ฯ
(อ. อธิบาย) ว่า เหมือนอย่างว่า อ. โคตัวเนื่องด้ วยก�ำลังนัน้ ยถา หิ โส เอกํปิ ทิวสํ เทฺวปิ ปญฺจปิ ทสปิ
น�ำไปอยู่ (ซึง่ แอก) สิ ้นวันหนึง่ บ้ าง (สิ ้นวัน ท. ) สองบ้ าง (สิ ้นวัน ท.) อฑฺฒมาสํปิ วหนฺโต จกฺกํ นิวตฺเตตุํ ชหิตํุ น สกฺโกติ;
ห้ าบ้ าง (สิ ้นวัน ท.) สิบบ้ าง สิ ้นเดือนด้ วยทังกึ ้ ง่ บ้ าง ย่อมไม่อาจ อถขฺวสฺส ปุรโต อติกฺกมนฺตสฺส ยุคํ คีวํ พาธติ,
เพื่ออันยังล้ อให้ กลับ คือว่า เพื่ออันละ (ซึง่ ล้ อ) , โดยที่แท้ เมื่อโค ปจฺฉโต ปฏิกฺกมนฺตสฺส จกฺกํ อูรุมํสํ ปฏิหนฺติ;
ตัวเนือ่ งด้ วยก�ำลังนัน้ ก้ าวล่วงอยู่ ข้ างหน้ า อ. แอก ย่อมเบียดเบียน อิเมหิ ทฺวีหิ การเณหิ พาธนฺตํ จกฺกํ ตสฺส
ซึง่ คอ, เมื่อโคตัวเนื่องด้ วยก�ำลังนัน้ ก้ าวกลับอยู่ ข้ างหลัง อ. ล้ อ ปทานุปทิกํ โหนฺต,ิ ตเถว มนสา ปทุฏฺเ€น ตีณิ
ย่อมกระทบ ซึง่ เนื ้อแห่งขาอ่อน ; อ. ล้อ เบียดเบียนอยู่ ด้วยเหตุ ท. ๒ ทุจฺจริ ตานิ ปูเรตฺวา €ิตํ ปุคฺคลํ นิรยาทีสุ ตตฺถ
เหล่านี ้ เป็ นของแล่นไปตามซึง่ รอยเท้ า ของโคนัน้ ย่อมเป็ น ตตฺถ คตฏฺ€าเนสุ ทุจฺจริ ตมูลกํ กายิกมฺปิ เจตสิกมฺปิ
ฉันใด, อ. ทุกข์ อันเป็ นไปในกายบ้ าง อันเป็ นไปในจิตบ้ าง ทุกฺขํ อนุพนฺธตีต.ิ
อันมีทจุ ริตเป็ นมูล ย่อมติดตาม ซึง่ บุคคลผู้มใี จอันโทษประทุษร้ ายแล้ว
ยังทุจริต ท. ๓ ให้เต็มแล้ว ตังอยู ้ แ่ ล้ว ในทีแ่ ห่งบุคคลนันไปแล้
้ ว ท.
เหล่านัน้ ๆ มีนรกเป็ นต้ น ฉันนันนั ้ น่ เทียว ดังนี ้ (อันบัณฑิต
พึงทราบ) ฯ
อ. ภิกษุ ท. มีพนั สามสิบเป็ นประมาณ บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต คาถาปริ โ ยสาเน ตึ ส สหสฺ ส า ภิ กฺ ขู สห
กับ ด้ วยปฏิสมั ภิทา ท. ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา ฯ ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณึสุ .
อ. เทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ เป็ นเทศนา สมฺปตฺตปริ สายปิ เทสนา สาตฺถิกา สผลา
เป็ นไปกับด้ วยผล ได้ มีแล้ ว แม้ แก่บริ ษัทผู้ถงึ พร้ อมแล้ ว ดังนี ้แลฯ อโหสีต.ิ
อ. เรื่ องแห่ งพระเถระชื่อว่ าจักขุบาล (จบแล้ ว) ฯ จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ.

22 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


๒. อ. เรื่ องแห่ งมาณพชื่อว่ ามัฏฐกุณฑลี ๒. มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุ. (๒)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

แม้ อ. พระคาถาที่สอง ว่า มโนปุพพ ฺ งฺคมา ดังนี ้เป็ นต้ น “มโนปุพพ ฺ งฺคมาติ ทุตยิ คาถาปิ สาวตฺถิยํเยว
(อันพระศาสดา) ทรงปรารภ ซึง่ มาณพชือ่ ว่ามัฏฐกุณฑลี ตรัสแล้ ว มฏฺ€กุณฺฑลึ อารพฺภ ภาสิตา.
ในเมืองชื่อว่าสาวัตถีนนั่ เทียว ฯ

ได้ ยินว่า อ. พราณมณ์ ชื่อว่าอทินนปุพพกะ ได้ มีแล้ ว ในเมือง สาวตฺถิยํ กิร อทินฺนปุพฺพโก นาม พฺราหฺมโณ
ชือ่ ว่าสาวัตถี ฯ อ. วัตถุไร ๆ เป็ นของอันพราหมณ์นนั ้ ไม่เคยให้แล้ว อโหสิ. เตน กสฺสจิ กิฺจิ น ทินฺนปุพฺพํ,
แก่ใคร ๆ (ย่อมเป็ น), เพราะเหตุนนั ้ (อ. ชน ท.) รู้พร้ อมแล้ว ซึง่ พราหมณ์ เตน ตํ “อทินฺนปุพฺพโกเตฺวว สฺชานึส.ุ
นัน้ ว่า อ. พราหมณ์ชื่อว่า อทินนปุพพกะ ดังนี ้ นัน่ เทียว ฯ
(อ. มาณพชือ่ ว่ามัฏฐกุณฑลี) เป็ นลูกชายคนเดียว เป็ นผู้เป็ นทีร่ กั ตสฺเสกปุตฺตโก อโหสิ ปิ โย มนาโป.
เป็ นผู้ยงั ใจให้ เอิบอาบ ของพราหมณ์นนั ้ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. พราหมณ์นน) ั ้ เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันยังช่างให้ กระท�ำ อถสฺส ปิ ลนฺธนํ กาเรตุกาโม , “ สเจ
ซึง่ เครื่ องประดับ แก่บตุ รนัน้ (เป็ น) , (คิดแล้ ว) ว่า ถ้ าว่า อ. เรา สุวณฺณการสฺสาจิกฺขิสฺสามิ, เวตนํ ทาตพฺพํ ภวิสฺสตีติ
จักบอก แก่บคุ คลผู้กระท�ำซึง่ ทองไซร้ , อ. ก�ำเหน็จ เป็ นของอันเรา สยเมว สุวณฺณํ โกฏฺเฏตฺวา มฏฺ€านิ กุณฺฑลานิ
พึงให้ จักเป็ น ดังนี ้ บุแล้ ว ซึง่ ทอง เองนัน่ เทียว กระท�ำแล้ ว ซึง่ ต่างหู กตฺวา อทาสิ.
ท. อันเกลี ้ยง ได้ ให้ แล้ ว ฯ
เพราะเหตุนนั ้ อ. บุตร ของพราหมณ์นนั ้ ปรากฏแล้ ว ว่า เตนสฺส ปุตฺโต “มฏฺ€กุณฺฑลีเตฺวว ปฺายิตฺถ.
อ. มาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี ดังนี ้นัน่ เทียว ฯ อ. โรคผอมเหลือง ตสฺส โสฬสวสฺสกาเล ปณฺฑโุ รโค อุทปาทิ.
ได้ เกิดขึ ้นแล้ ว ในกาลแห่งบุตรนันมี ้ กาลฝนสิบหก ฯ
อ. มารดา แลดูแล้ ว ซึง่ บุตร กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่พราหมณ์ มาตา ปุตฺตํ โอโลเกตฺวา “พฺราหฺมณ ปุตฺตสฺส
อ. โรค เกิดขึ ้นแล้ ว แก่บตุ ร ของท่าน, อ. ท่าน (ยังหมอ) เต โรโค อุปปฺ นฺโน , ติกิจฺฉาเปหิ นนฺติ อาห .
จงให้ เยียวยา ซึง่ บุตรนัน้ ดังนี ้ ฯ (อ. พราหมณ์นนั ้ กล่าวแล้ ว) ว่า “โภติ สเจ เวชฺชํ อาเนสฺสามิ, ภตฺตเวตนํ ทาตพฺพํ
แน่ะนางผู้เจริ ญ ถ้ าว่า อ.เรา จักน� ำมา ซึ่งหมอไซร้ , ภวิสฺสติ; ตฺวํ มม ธนจฺเฉทํ น โอโลเกสีต.ิ
อ. ภัตรและก�ำเหน็จ เป็ นของอันเราพึงให้ จักเป็ น; อ. ท่าน ไม่แลดูแล้ว
ซึง่ ความขาดไปแห่งทรัพย์ ของเราหรือ? ดังนี ้ ฯ (อ. นางพราหมณีนนั ้ “อถ กึ กริ สฺสสิ พฺราหฺมณาติ.
กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พราหมณ์ ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่
อ. ท่าน จักกระท�ำ อย่างไร ดังนี ้ ฯ (อ. พราหมณ์นนั ้ กล่าวแล้ ว) “ยถา เม ธนจฺเฉโท น โหติ; ตถา กริ สฺสามีต.ิ
ว่า อ. ความขาดไปแห่งทรัพย์ ของเรา จะไม่มี โดยประการใด ;
อ. เรา จักกระท�ำ โดยประการนัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. พราหมณ์นน. ั ้ ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของหมอ ท. ถามแล้ ว ว่า โส เวชฺชานํ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา “อสุกโรคสฺส
อ.ท่าน ท. ย่อมกระท�ำซึง่ ยา อะไร ชื่อแก่โรคโน้ น ดังนี ้ ฯ นาม ตุมเฺ ห กึ เภสชฺชํ กโรถาติ ปุจฺฉิ.
ครัง้ นัน้ อ. หมอ ท. เหล่านัน้ บอกอยู่ (ซึง่ ยา) มีเปลือก อถสฺส เต ยํ วา ตํ วา รุกฺขตจาทึ อาจิกฺขนฺต.ิ
แห่งต้ นไม้ เป็ นต้ น ใดหรื อ หรื อว่านัน้ แก่พราหมณ์นนั ้ ฯ
อ. พราหมณ์นนั ้ น�ำมาแล้ ว ซึง่ ยานัน้ ย่อมกระท�ำ ซึง่ ยา โส ตํ อาหริ ตฺวา ปุตฺตสฺส เภสชฺชํ กโรติ.
แก่บุตร ฯ เมื่อพราหมณ์ นัน้ กระท�ำอยู่ ซึ่งยานัน้ นั่นเทียว ตํ กโรนฺตสฺเสวสฺส โรโค พลวา อโหสิ, อเตกิจฺฉภาวํ
อ. โรค เป็ นสภาพมีก�ำลัง ได้ เป็ นแล้ ว, (อ. โรคนัน) ้ ได้ เข้ าถึงแล้ ว อุปาคมิ.
ซึง่ ความเป็ นแห่งโรคอันบุคคลไม่พงึ เยียวยา ฯ
อ. พราหมณ์ รู้ แล้ ว ซึ่งความที่แห่งบุตรนัน้ เป็ นผู้มีก�ำลัง พฺราหฺมโณ ตสฺส ทุพฺพลภาวํ ตฺวา เอกํ
อันโทษประทุษร้ ายแล้ ว ร้ องเรี ยกแล้ ว ซึง่ หมอ คนหนึง่ ฯ เวชฺชํ ปกฺโกสิ.
อ. หมอนัน้ ตรวจดูแล้ ว (กล่าวแล้ ว) ว่า อ. กิจอย่างหนึง่ โส โอโลเกตฺวา “อมฺหากํ เอกํ กิจฺจํ อตฺถิ,
ของเรา ท. มีอยู,่ อ. ท่าน ร้ องเรี ยกแล้ ว ซึง่ หมอคนอื่น (ยังหมอนัน) ้ อฺํ เวชฺชํ ปกฺโกสิตฺวา ติกิจฺฉาเปหีติ ตํ
จงให้ เยียวยาเถิด ดังนี ้ บอกคืนแล้ ว ซึง่ พราหมณ์นนั ้ ออกไปแล้ ว ฯ ปจฺจกฺขาย นิกฺขมิ.

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 23


อ. พราหมณ์ รู้แล้ ว ซึง่ สมัยเป็ นที่ตาย แห่งบุตรนัน้ (คิดแล้ ว) พฺราหฺมโณ ตสฺส มรณสมยํ ตฺวา “อิมสฺส
ว่า (อ. ญาติ ท.) ผู้ทงมาแล้ ั้ วทังมาแล้
้ ว เพื่อต้ องการแก่อนั เห็น ทสฺสนตฺถาย อาคตาคตา อนฺโตเคเห สาปเตยฺยํ
ซึง่ บุตรนี ้ จักเห็น ซึง่ สมบัติ ในภายในแห่งเรื อน, อ. เรา จักกระท�ำ ปสฺสสิ ฺสนฺต,ิ พหิ นํ กริ สฺสามีติ ปุตฺตํ นีหริ ตฺวา พหิ
ซึง่ บุตรนัน้ ในภายนอก ดังนี ้ น�ำออกแล้ ว ซึง่ บุตร (ยังบุตร) อาลินฺเท นิปชฺชาเปสิ.
ให้ นอนแล้ ว ที่ระเบียง ในภายนอก ฯ

ในวันนัน้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า เสด็จออกแล้ ว จากสมาบัติ ตํ ทิวสํ ภควา พลวปจฺจสู สมเย มหากรุณา-


อันประกอบแล้ วด้ วยพระกรุ ณาใหญ่ ในสมัยอันขจัดเฉพาะ สมาปตฺติโต วุฏฺ€าย ปุพฺพพุทฺเธสุ กตาธิการานํ
ซึ่งความมืดมัวมีก�ำลัง ทรงตรวจดูอยู่ ซึ่งโลก ด้ วยจักษุ อุสฺสนฺนกุสลมูลานํ เวเนยฺยพนฺธวานํ ทสฺสนตฺถํ
ของพระพุทธเจ้ า เพื่ออันทอดพระเนตร ซึง่ สัตว์ผ้ เู ป็ นเผ่าพันธุ์ พุทฺธจกฺขนุ า โลกํ โวโลเกนฺโต, ทสสหสฺสจกฺกวาเฬ
แห่งสัตว์ผ้อู นั พระองค์ พึงทรงแนะน�ำ ท. ผู้มมี ลู แห่งกุศลอันหนาขึ ้นแล้ว าณชาลํ ปตฺถริ .
ผู้มอี ธิการอันกระท�ำแล้ว ในพระพุทธเจ้าในกาลก่อน ท., ทรงแผ่ไปแล้ว
ซึง่ ข่ายคือ พระญาณ ในจักรวาฬหมื่นหนึง่ ฯ
อ. มาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี ปรากฏแล้ ว ในภายใน แห่งข่าย มฏฺ€กุณฺฑลี พหิอาลินฺเท นิปนฺนากาเรเนว
คือพระญาณนัน้ โดยอาการแห่งตนนอนแล้ว ทีร่ ะเบียง ในภายนอก ตสฺส อนฺโต ปฺายิ.
นัน่ เทียว ฯ

อ.พระศาสดา ทรงเห็นแล้ ว ซึง่ มาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี สตฺถา ตํ ทิสฺวา ตสฺส อนฺโตเคหา นีหริ ตฺวา
นัน้ ทรงทราบแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งมาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลีนนั ้ ตตฺถ นิปปฺ ชฺชาปิ ตภาวํ ตฺวา “อตฺถิ นุ โข มยฺหํ
เป็ นผู้ (อันบิดา) น�ำออกแล้ ว จากภายในแห่งเรื อน ให้ นอนแล้ ว เอตฺถ คตปฺปจฺจเยน อตฺโถติ อุปธาเรนฺโต, อิทํ
ที่ระเบียงนัน้ ทรงใคร่ครวญอยู่ ว่า อ. ประโยชน์ เพราะปั จจัย อทฺทส “อยํ มาณโว มยิ จิตฺตํ ปสาเทตฺวา, กาลํ
แห่งเราผู้ไปแล้ ว ในที่นี ้ มีอยูห่ รื อหนอแล ดังนี ้, ได้ ทรงเห็นแล้ ว กตฺวา, ตาวตึสเทวโลเก ตึสโยชนิเก กนกวิมาเน
ซึง่ เหตุนี ้ ทรงทราบแล้ ว ว่า อ. มาณพนี ้ ยังจิต ให้ เลื่อมใสแล้ ว นิพฺพตฺตสิ ฺสติ, อจฺฉราสหสฺสปริ วาโร ภวิสฺสติ,
ในเรา, กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ, จักบังเกิด ในวิมานอันเป็ นวิการ
แห่งทอง อันประกอบแล้ วด้ วยโยชน์สามสิบ ในเทวโลกชื่อว่า-
ดาวดึงส์ , เป็ นผู้มีพนั แห่งนางอัปสรเป็ นบริ วาร จักเป็ น,
แม้ อ. พราหมณ์ ยังบุตรนัน้ ให้ ไหม้ แล้ ว ร้ องไห้ อยู่ จักเทีย่ วไป พฺราหฺมโณปิ ตํ ฌาเปตฺวา โรทนฺโต
ในป่ าช้า, อ. เทพบุตร แลดูแล้ว ซึง่ อัตภาพ อันมีคาวุต ๓ อาฬาหเน วิจริ สฺสติ, เทวปุตฺโต ติคาวุตปฺปมาณํ
เป็ นประมาณ อันประดับเฉพาะแล้ วด้ วยเครื่ องประดับมีเกวียน สฏฺ€ิสกฏภาราลงฺการปฏิมณฺฑิตํ อจฺฉราสหสฺสปริ วารํ
๖๐ เล่มเป็ นภาระ มีพนั แห่งนางอัปสรเป็ นบริวารตรวจดู อตฺตภาวํ โอโลเกตฺวา `เกน นุ โข กมฺเมน
อยู่ ว่า อ. สมบัตอิ นั เป็ นสิริ นี ้ อันเรา ได้ แล้ ว ด้ วยกรรม อะไร มยา อยํ สิริสมฺปตฺติ ลทฺธาติ โอโลเกนฺโต, มยิ
หนอ แล ดังนี ้, รู้แล้ ว ซึง่ ความที่ (แห่งสมบัตอิ นั เป็ นสิรินน) ั้ จิตฺตปฺปสาเทน ลทฺธภาวํ ตฺวา `ธนจฺเฉทภเยน
(อันตน) ได้ แล้ ว ด้ วยความเลื่อมใสแห่งจิต ในเรา (คิดแล้ ว) มม เภสชฺชํ อกาเรตฺวา, อิทานิ อาฬาหนํ
ว่า (อ. พราหมณ์นี ้) ไม่ (ยังหมอ) ให้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ยา แก่เรา คนฺตฺวา โรทติ , วิปปฺ การปฺปตฺตํ นํ กริ สฺสามีติ
เพราะกลัวแต่อนั ขาดไป แห่งทรัพย์, ไปแล้ ว สูป่ ่ าช้ า ย่อมร้ องไห้ ใน ปิ ตริ อกฺขนฺติยา มฏฺ€กุณฺฑลิวณฺเณนาคนฺตฺวา
กาลนี ้, อ. เรา จักกระท�ำ ซึง่ พราหมณ์นนั ้ ให้ เป็ นผู้ถงึ แล้ วซึง่ ประการ อาฬาหนสฺสาวิทเู ร นิปปฺ ชฺชิตฺวา โรทิสฺสติ.
อันแปลก ดังนี ้ มาแล้ ว ด้ วยเพศแห่งมาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี
จักนอนร้ องไห้ ในทีอ่ นั ไม่ไกลแห่งป่ าช้ า เพราะความไม่ชอบใจในบิดา,

ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. พราหมณ์ จักถาม อถ นํ พฺราหฺมโณ `โกสิ ตฺวนฺติ ปุจฺฉิสฺสติ,
ซึง่ เทพบุตรนัน้ ว่า อ. ท่าน เป็ นใคร ย่อมเป็ น ดังนี ้,
(อ. เทพบุตร จักกล่าว) ว่า อ. เรา เป็ นมัฏฐกุณฑลี ผู้เป็ นบุตร `อหนฺเต ปุตฺโต มฏฺ€กุณฺฑลีต,ิ
ของท่าน (ย่อมเป็ น) ดังนี ้,
(อ. พราหมณ์นนั ้ จักถาม) ว่า (อ. ท่าน) เป็ นผู้บงั เกิดแล้ ว `กุหึ นิพฺพตฺโตสีต,ิ
ในที่ไหน ย่อมเป็ น ดังนี ้,

24 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. เทพบุตร จักกล่าว ว่า อ. เรา เป็ นผู้บงั เกิดแล้ ว) ในภพ `ตาวตึสภวเนติ,
ชื่อว่าดาวดึงส์ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ , (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. ท่าน)
กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรมอะไร (เป็ นผู้บงั เกิดแล้ ว ในภพชื่อว่าดาวดึงส์ `กึ กมฺมํ กตฺวาติ วุตฺเต,
ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันพราหมณ์นน) ั ้ กล่าวแล้ ว, (อ. เทพบุตร) จักบอก
ซึง่ ความที่ (แห่งตน) เป็ นผู้บงั เกิดแล้ ว เพราะความเลื่อมใสแห่งจิต มยิ จิตฺตปฺปสาเทน นิพฺพตฺตภาวํ อาจิกฺขิสฺสติ,
ในเรา,

อ. พราหมณ์ จักถาม ซึง่ เรา ว่า (อ. สัตว์ ท.) ชื่อว่า ผู้ยงั จิต พฺราหฺมโณ `ตุมเฺ หสุ จิตฺตํ ปสาเทตฺวา สคฺเค
ให้ เลื่อมใสแล้ ว ในพระองค์ ท. บังเกิดแล้ ว ในสวรรค์ มีอยูห่ รื อ ดังนี ้, นิพฺพตฺตา นาม อตฺถีติ มํ ปุจฺฉิสฺสติ,
ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. เรา กล่าวแล้ ว ว่า อถสฺสาหํ `เอตฺตกานิ สตานิ วา สหสฺสานิ วา
(อันใคร ๆ) ไม่อาจ เพื่ออันก�ำหนด ด้ วยการนับ ว่า อ. ร้ อย ท. หรื อ สตสหสฺสานิ วาติ น สกฺกา คณนาย ปริ จฺฉินฺทิตนุ ฺติ
หรื อว่า อ. พัน ท. หรื อว่า อ. แสน ท. มีประมาณเท่านี ้ ดังนี ้ ดังนี ้ วตฺวา ธมฺมปเท คาถํ ภาสิสฺสามิ,
จักกล่าว ซึง่ คาถา ในธรรมบท แก่พราหมณ์นน, ั้

ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งคาถา อ. อันรู้ตลอดเฉพาะซึง่ ธรรม คาถาปริ โยสาเน จตุราสีตยิ า ปาณสหสฺสานํ


จักมี แก่พนั แห่งสัตว์ผ้ มู ีลมปราณ ท. แปดสิบสี่, อ, เทพบุตรชื่อว่า ธมฺมาภิสมโย ภวิสฺสติ, มฏฺ€กุณฑลี โสตาปนฺโน
มัฏฐกุณฑลี เป็ นพระโสดาบัน จักเป็ น ; อ. อย่างนัน้ คือว่า ภวิสฺสติ; ตถา อทินฺนปุพฺพโก พฺราหฺมโณ ,
อ. พราหมณ์ชื่อว่าอทินนปุพพกะ (เป็ นพระโสดาบัน จักเป็ น) ,
อ. การบูชาซึง่ ธรรม เป็ นคุณใหญ่ จักเป็ น เพราะอาศัย ซึง่ กุลบุตรนี ้ อิติ อิมํ กุลปุตฺตํ นิสฺสาย ธมฺมยาโค มหา
ด้ วยประการฉะนี ้ ดังนี ้, ในวันรุ่งขึ ้น ผู้มีการประคับประคอง ภวิสฺสตีติ ญตฺวา ปุนทิวเส กตสรี รปฏิชคฺคโน
ซึง่ พระสรีระอันทรงกระท�ำแล้ ว ผู้อนั หมูแ่ ห่งภิกษุใหญ่แวดล้ อมแล้ ว มหาภิกฺขสุ งฺฆปริ วโุ ต สาวตฺถึ ปิ ณฺฑาย ปวิสติ ฺวา,
เสด็จเข้ าไปแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าสาวัตถี เพื่อบิณฑะ เสด็จไปแล้ ว อนุปพุ ฺเพน พฺราหฺมณสฺส เคหทฺวารํ คโต.
สูป่ ระตูแห่งเรื อน ของพราหมณ์ โดยล�ำดับ ฯ

ในขณะนัน้ อ.มาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี เป็ นผู้มีหน้ าเฉพาะ ตสฺมึ ขเณ มฏฺ€กุณฺฑลี อนฺโตเคหาภิมุโข
ต่อภายในแห่งเรื อน เป็ นผู้นอนแล้ ว ย่อมเป็ น ฯ นิปนฺโน โหติ.
อ.พระศาสดา ทรงทราบแล้ ว ซึ่งความเป็ นคือการไม่เห็น สตฺถา อตฺตโน อปสฺสนภาวํ ญตฺวา, เอกํ
ซึง่ พระองค์ ทรงเปล่งแล้ ว ซึง่ พระรัศมี สิ ้นวาระหนึง่ ฯ รสฺมึ วิสฺสชฺเชสิ.
อ.มาณพ (คิดแล้ ว) ว่า ชื่อ อ.แสงสว่างนัน่ อะไร ดังนี ้ นอน มาณโว “กึ โอภาโส นาเมโสติ ปริ วตฺตติ ฺวา
ยังกายให้ เป็ นไปรอบแล้ วเทียว เห็นแล้ วซึง่ พระศาสดา (คิดแล้ ว) นิปปฺ นฺโนว สตฺถารํ ทิสฺวา “อนฺธพาลปิ ตรํ นิสฺสาย
ว่า อ.เรา อาศัยแล้ว ซึง่ บิดาผู้อนั ธพาล ไม่ได้ได้แล้ว เพือ่ อันเข้าไปเฝ้า เอวรูปํ พุทฺธํ อุปสงฺกมิตฺวา กายเวยฺยาวฏิกํ วา
ซึง่ พระพุทธเจ้า ผู้มอี ย่างนี ้เป็ นรูปแล้ว ท�ำซึง่ กรรม อันประกอบแล้ว กาตุํ ทานํ วา ทาตุํ ธมฺมํ วา โสตุํ นาลตฺถํ,
ด้ วยความขวนขวายด้ วยกาย หรื อ หรื อว่า เพื่ออันถวายซึง่ ทาน อิทานิ เม หตฺถาปิ อวิเธยฺยา, อญฺญํ กตฺตพฺพํ
หรื อว่า เพื่ออันฟั งซึง่ ธรรม, ในกาลนี ้ แม้ อ.มือ ท. ของเรา ไม่เป็ น นตฺถีติ มนเมว ปสาเทสิ.
อวัยวะควรแก่ความตังไว้ ้ ตา่ ง (ย่อมเป็ น), อ.กรรมอันเป็ นกุศล
อันเราพึงท�ำอื่น ย่อมไม่มี ดังนี ้ ยังใจนัน่ เทียว ให้ เลื่อมใสแล้ ว ฯ

อ.พระศาสดา (ทรงพระด�ำริ แล้ ว) ว่า อ.พอละ ด้ วยการยังใจ สตฺถา “อลํ เอตฺตเกน อิมสฺสาติ ปกฺกามิ.
ให้เลือ่ มใสมีประมาณเท่านี ้ ของมาณพนี ้ ดังนี ้ เสด็จหลีกไปแล้ว ฯ

ครัน้ เมื่อพระตถาคต ทรงละอยู่ ซึง่ คลองแห่งจักษุ นัน่ เทียว โส ตถาคเต จกฺขปุ ถํ วิชหนฺเตเยว, ปสนฺนมโน
อ.มาณพนัน้ เป็ นผู้มใี จเลือ่ มใสแล้ ว เป็ น ท�ำแล้ วซึง่ กาละ เกิดแล้ ว กาลํ กตฺวา สุตฺตปฺปพุทฺโธ วิย เทวโลเก ตึสโยชนิเก
ในวิมานอันส�ำเร็ จด้ วยทอง อันประกอบแล้ วด้ วยโยชน์สามสิบ กนกวิมาเน นิพฺพตฺต.ิ
ในเทวโลก ราวกะ อ.บุคคลผู้หลับแล้ วตื่น ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 25


แม้ อ.พราหมณ์ ยังสรีระ ของมาณพนัน้ ให้ ไหม้ แล้ ว เป็ นผู้มี พฺราหฺมโณปิ สฺส สรี รํ ฌาเปตฺวา อาฬาหเน
การร้ องไห้ เป็ นทีไ่ ปในเบื ้องหน้ า ได้ เป็ นแล้ ว ในทีเ่ ป็ นทีน่ ำ� มาเผา ฯ โรทนปรายโน อโหสิ,
อ.พราหมณ์นนั ้ ไปแล้ ว สูท่ ี่เป็ นที่น�ำมาเผา สิ ้นกาลอันเป็ น เทวสิกํ อาฬาหนํ คนฺตวฺ า โรทติ “กหํ เอกปุตตฺ ก,
ไปแล้วในวัน ย่อมร้ องไห้ ว่า ดูกอ่ นบุตรน้ อยคนเดียว (อ.เจ้า ไปแล้ว) กหํ เอกปุตฺตกาติ.
ณ ทีไ่ หน, ดูกอ่ นบุตรน้ อยคนเดียว (อ.เจ้า ไปแล้ว) ณ ทีไ่ หน ดังนี ้ ฯ

แม้ อ. เทพบุตร แลดูแล้ ว ซึง่ สมบัติ ของตน ใคร่ครวญอยู่ ว่า เทวปุตฺโตปิ อตฺตโน สมฺปตฺตึ โอโลเกตฺวา “เกน
(อ. สมบัตินี ้ อันเรา) ได้ แล้ ว เพราะกรรมอะไร ดังนี ้ รู้ แล้ ว ว่า กมฺเมน ลทฺธาติ อุปธาเรนฺโต “สตฺถริ มโนปสาเทนาติ
(อ. สมบัตนิ ี ้อันเรา ได้แล้ว) เพราะการยังใจความเลือ่ มใส ในพระศาสดา ญตฺวา “ อยํ พฺราหฺมโณ มม อผาสุกกาเล
ดังนี ้ (คิดแล้ ว) ว่า อ. พราหมณ์ นี ้ ไม่ยงั หมอให้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ยา เภสชฺ ชํ อกาเรตฺวา อิทานิ อาฬาหนํ คนฺตฺวา
ในกาลอันไม่ผาสุก แห่งเรา ไปแล้ ว สูท่ ี่เป็ นที่น�ำมาเผา ร้ องไห้ อยู่ โรทติ ; วิปฺปการปฺปตฺตเมตํ กาตุํ วฏฺฏตีติ
ในกาลนี ้ อ.อัน อันเรา ท�ำ ซึ่งพราหมณ์ นัน้ ให้ เป็ นผู้ถึงแล้ ว มฏฺ€กุณฺฑลิวณฺเณนาคนฺตฺวา อาฬาหนสฺสาวิทเู ร
ซึง่ ประการอันแปลก ย่อมควร ดังนี ้ มาแล้ ว ด้ วยเพศเพียงดัง พาหา ปคฺคยฺห โรทนฺโต อฏฺ€าสิ.
เพศแห่งมาณพชื่ อว่า มัฎฐกุณฑลี ได้ ยืนประคองซึ่งแขน ท.
ร้ องไห้ อยูแ่ ล้ ว ในที่อนั ไม่ไกลแห่งที่เป็ นที่น�ำมาเผา ฯ
พฺราหฺมโณ ตํ ทิสฺวา “ อหํ ตาว ปุตฺตโสเกน
อ. พราหมณ์ เห็นแล้ ว ซึง่ เทพบุตรนัน้ (คิดแล้ ว) ว่า อ. เรา โรทามิ, เอส กิมตฺถํ โรทติ; ปุจฺฉิสสฺ ามิ นนฺติ
ร้ องไห้ อยูเ่ พราะความโศกเพราะบุตร ก่อน, อ. มาณพนัน่ ร้ องไห้ อยู่ ปุจฺฉนฺโต อิมํ คาถมาห
เพื่อประโยชน์อะไร; อ. เรา จักถาม ซึง่ มาณพนัน้ ดังนี ้ เมื่อถาม
กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา นี ้ ว่า
“อลงฺกโต มฏฺ€กุณฺฑลี
(อ. ท่าน) ผูอ้ นั บุคคลกระท�ำให้พอแล้ว ผูม้ ี ตมุ้ หูอนั เกลีย้ ง
มาลาภารี หริ จนฺทนุสสฺ โท,
ผูม้ ี ภาระคือระเบี ยบ ผูม้ ี กายหนาขึ้นด้วยจันทน์เหลือง ,
พาหา ปคฺคยฺห กนฺทสิ
ประคองแล้ว ซึ่งแขน ท. คร�่ ำครวญอยู่ ในท่ามกลางแห่งป่ า
วนมชฺเฌ กึ ทุกฺขิโต ตุวนฺติ.
อ. ท่าน เป็ นผูถ้ ึงแล้วซึ่งความทุกข์ (ย่อมเป็ น) เพราะเหตุอะไร

ดังนี ้ ฯ

โส อาห
อ. เทพบุตรนัน้ กล่าวแล้ ว ว่า

“โสวณฺณมโย ปภสฺสโร
อ. เรื อนแห่งรถ อันส�ำเร็ จแล้วด้วยทอง อันเป็ นแดนสร้านออก
อุปปฺ นฺโน รถปญฺชโร มม,
แห่งรัศมี เกิ ดขึ้นแล้ว แก่ขา้ พเจ้า, อ. ข้าพเจ้า ย่อมไม่ประสบ
ตสฺส จกฺกยุคํ น วิ นทฺ ามิ
ซึ่งคู่แห่งล้อ แห่งเรื อนแห่งรถนัน้ อ. ข้าพเจ้า จักละ ซึ่งชี วิต
เตน ทุกฺเขน ชหิ สสฺ ามิ ชี วิตนฺติ.
เพราะความทุกข์ นนั้ ดังนี ้ ฯ

อถ นํ พฺราหฺมโณ อาห
ครัง้ นัน้ อ. พรามหมณ์ กล่าวแล้ ว กะเทพบุตรนัน้ ว่า

26 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ดูก่อนมาณพผูเ้ จริ ญ (อ.ท่าน) จงบอก (ซึ่งคู่แห่งล้อ) “โสวณฺณมยํ มณิ มยํ
อันส�ำเร็ จแล้วด้วยทองหรื อ หรื อว่าอันส�ำเร็ จแล้วด้วยแก้วมณี โลหมยํ อถ รู ปิยมยํ
อันส�ำเร็ จแล้วด้วยโลหะหรื อ หรื อว่าอันส�ำเร็ จแล้วด้วยรู ปิยะ อาจิ กฺข เม ภทฺทมาณว,
แก่เรา, อ. เรา จะยังท่านให้ได้เฉพาะ ซึ่งคู่แห่งล้อ ดังนี ้ ฯ จกฺกยุคํ ปฏิ ลาภยามิ เตติ .

อ.มาณพ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ คิดแล้ ว ว่า อ.พราหมณ์ นี ้ ตํ สุตฺวา มาณโว “อยํ ปุตฺตสฺส เภสชฺชํ อกตฺวา
ไม่กระท�ำแล้ ว ซึง่ ยา แก่บตุ ร เห็นแล้ ว ซึง่ เรา ผู้มีรูปเปรี ยบด้ วยบุตร ปุตฺตปฏิรูปกํ มํ ทิสฺวา โรทนฺโต `สุวณฺณาทิมยํ
ร้ องไห้ อยู่ ย่อมกล่าว ว่า อ. เรา จะกระท�ำ ซึง่ ล้ อแห่งรถ อันส�ำเร็ จแล้ ว รถจกฺกํ กโรมีติ วทติ; โหตุ, นิคฺคณฺหิสฺสามิ นนฺติ
ด้ วยรัตนะมีทองเป็ นต้ น ดังนี ้; (อ. อันกล่าวอย่างนัน) ้ จงมีเถิด, จินฺเตตฺวา “กีวมหนฺตํ เม จกฺกยุคํ กริ สฺสสีติ วตฺวา
อ. เรา จักข่ม ซึง่ พราหมณ์นนดั ั ้ งนี ้ กล่าวแล้ ว ว่า อ. ท่าน จักกระท�ำ “ยาวมหนฺตํ อากงฺขสีติ วุตฺเต,
ซึง่ คูแ่ ห่งล้ อ อันใหญ่เพียงไร แก่ข้าพเจ้ า ดังนี ้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า
อ. ท่าน ย่อมหวัง (ซึง่ คูแ่ ห่งล้ อ) อันใหญ่เพียงใด (อ. เรา จักกระท�ำ
ซึง่ คูแ่ ห่งล้ อ อันใหญ่เพียงนัน้ แก่ทา่ น) ดังนี ้ (อันพราหมณ์นน) ั้
กล่าวแล้ ว, (กล่าวแล้ ว) ว่า

อ. ความต้องการ ด้วยพระจันทร์ และพระอาทิ ตย์ ท. (ย่อมมี ) “จนฺทสุริเยหิ เม อตฺโถ, เต เม เทหีติ ยาจิ โต


แก่ขา้ พเจ้า, (อ. ท่าน) ผูอ้ นั ข้าพเจ้าขอแล้ว ขอจงให้ โส มาณโว ตสฺส ปาวทิ
ซึ่งพระจันทร์ และพระอาทิ ตย์ ท. เหล่านัน้ แก่ขา้ พเจ้า ดังนี ้ “จนฺทสุริยา อุภยตฺถ ภาตโร,
อ. มาณพนัน้ ได้กล่าวย�้ำแล้ว แก่พราหมณ์ นนั้ ว่า โสวณฺณมโย รโถ มม
อ. พระจันทร์ และพระอาทิ ตย์ ท. เป็ นพีน่ อ้ งกัน (ย่อมเป็ น) เตน จกฺกยุเคน โสภตีติ.
ในวิ ถี ทัง้ สอง, อ. รถ ของข้าพเจ้า อันส�ำเร็ จแล้วด้วยทอง
จะงาม ด้วยคู่แห่งล้อนัน้ ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. พราหมณ์ กล่าวแล้ ว กะมาณพนัน้ ว่า อถ นํ พฺราหฺมโณ อาห

ดูก่อนมาณพ อ. ท่านใด ปรารถนาอยู่ ซึ่งวัตถุอนั บุคคล “พาโล โข ตฺวมสิ มาณว,


ไม่พึงปรารถนา อ.ท่าน (นัน้ )เป็ นคนพาลแล ย่อมเป็ น, โย ตฺวํ ปตฺถยเส อปตฺถิยํ,
อ. เรา ย่อมส�ำคัญ ว่า อ. ท่าน จักตาย (ดังนี)้ , เพราะว่า มญฺญามิ ตุวํ มริ สสฺ สิ ,
อ. ท่าน จักไม่ได้ ซึ่งพระจันทร์ และพระอาทิ ตย์ ท. ดังนีฯ้ น หิ ตฺวํ ลจฺฉสิ จนฺทสุริเยติ .

ครัง้ นัน้ อ. มาณพ กล่าวแล้ ว กะพราหมณ์นนั ้ ว่า ก็ (อ. บุคคล) อถ นํ มาณโว “กึ ปน ปญฺญายมานสฺสตฺถาย
ร้ องไห้ อยู่ เพื่อประโยชน์ แก่วตั ถุอนั ปรากฏอยู่ เป็ นคนพาล โรทนฺโต พาโล โหติ, อุทาหุ อปญฺญายมานสฺสาติ
ย่อมเป็ นหรื อ, หรื อว่า (อ. บุคคล ร้ องไห้ อยู่ เพื่อประโยชน์แก่วตั ถุ) วตฺวา
อันไม่ปรากฏอยู่ (เป็ นคนพาล ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (กล่าวแล้ ว) ว่า

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 27


แม้ อ. การไปและการมา แม้ อ. ธาตุคือรัศมี (แห่งพระจันทร์ “คมนาคมนํปิ ทิ สสฺ ติ ,
และพระ อาทิ ตย์ ท.) ย่อมปรากฏ ในวิ ถี ทัง้ สอง, อ. บุคคล วณฺณธาตุ อุภยตฺถ วีถิยา,
ผูม้ ี กาละอันกระท�ำแล้ว ผูล้ ะไปแล้ว ย่อมไม่ปรากฏ แห่งเรา ท. เปโต กาลกโต น ทิ สสฺ ติ
ผูค้ ร�่ ำครวญอยู่ ในทีน่ ีห้ นา- อ.ใครเป็ นผูม้ ี ความเป็ น โก นีธ กนฺทตํ พาลฺยตโรติ .
แห่งคนพาลกว่า (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

อ. พราหมณ์ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ ก�ำหนดแล้ ว ว่า อ. มาณพนัน่ ตํ สุตฺวา พฺราหฺมโณ “ยุตฺตํ เอส วทตีติ สลฺลกฺเขตฺวา
ย่อมกล่าว ซึง่ ค�ำอันควรแล้ ว ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ว่า

ดูก่อนมาณพ อ. ท่าน กล่าวแล้ว ซึ่งค�ำจริ งแล (แห่งเรา ท.) “สจฺจํ โข วเทสิ มาณว
ผูค้ ร�่ ำครวญอยู่หนา อ. เรานัน่ เทียว เป็ นผูม้ ี ความเป็ น- อหเมว กนฺทตํ พาลฺยตโร
แห่งคนพาลกว่า (ย่อมเป็ น) อ. เรา ปรารถนาเฉพาะอยู่ จนฺทํ วิ ย ทารโก รุทํ
ซึ่งบุตร ผูม้ ี กาละอันกระท�ำแล้ว ราวกะ อ. เด็ก ร้องไห้ถึงอยู่ ปุตฺตํ กาลกตาภิ ปตฺถยนฺติ
ซึ่งพระจันทร์ ดังนี ้ ฯ

เป็ นผู้มีความเศร้ าโศกออกแล้ ว เพราะวาจาเป็ นเครื่ องกล่าว วตฺวา ตสฺส กถาย นิสฺโสโก หุตฺวา มาณวสฺส ถุตึ
ของมาณพนัน้ เป็ น เมื่อกระท�ำซึง่ การชมเชย แก่มาณพ กโรนฺโต อิมา คาถา อภาสิ
ได้ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ท. เหล่านี ้ ว่า

(อ. ท่าน) รดลงอยู่ ซึ่งข้าพเจ้า เป็ น ผูอ้ นั ไฟติ ดทัว่ แล้วหนอ “อาทิ ตฺตํ วต มํ สนฺตํ ฆตสิ ตฺตํว ปาวกํ
มี อยู่ ราวกะ (อ. บุคคล) (รดลงอยู่) ซึ่งไฟผูช้ �ำระ อันบุคคล
รดแล้วด้วยเปรี ยงเทียว ด้วยน�้ำ, ยังความกระวนกระวาย วาริ นา วิ ย โอสิ ฺจํ, สพฺพํ นิ พพฺ าปเย ทรํ ,
ทัง้ ปวง ให้ดบั แล้ว, อ. ท่านใด ได้บรรเทาไปปราศแล้ว
ซึ่งความเศร้าโศกเพราะบุตร แห่งข้าพเจ้า ผูม้ ี ความเศร้าโศก อพฺพหุ ิ วต เม สลฺลํ โสกํ หทยนิ สสฺ ิ ตํ,
อันไปแล้วในเบื อ้ งหน้า , (อ. ท่านนัน้ ) ถอนขึ้นแล้วหนอ
ซึ่งลูกศร คือความเศร้าโศก อันอาศัยแล้วซึ่งหทัย ของข้าพเจ้า, โย เม โสกปเรตสฺส ปุตฺตโสกํ อปานุทิ;
อ. ข้าพเจ้า นัน้ เป็ นผูม้ ี ลูกศรอันถอนขึ้นแล้ว ย่อมเป็ น
อ.ข้าพเจ้า เป็ นผูเ้ ย็นเป็ นแล้ว เป็ นผูด้ บั แล้ว ย่อมเป็ น, สฺวาหํ อพฺพฬุ หฺ สลฺโลสฺมิ สีติภูโตสฺมิ นิ พพฺ โุ ต,
ดูก่อนมาณพ อ,ข้าพเจ้า ย่อมไม่เศร้าโศก, ย่อมไม่ร้องไห้
เพราะฟั ง (ซึ่งค�ำ) ของท่าน ดังนี ้ ฯ น โสจามิ , น โรทามิ ตว สุตฺวาน มาณวาติ .

ครัง้ นัน้ (อ. พราหมณ์) เมื่อถาม ซึง่ มาณพนัน้ ว่า อ. ท่าน อถ นํ “โก นาม ตฺวนฺติ ปุจฺฉนฺโต
ซื่อเป็ นใคร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (กล่าวแล้ ว) ว่า

(อ. ท่าน) เป็ นเทวดาหรื อหนอ หรื อว่าเป็ นคนธรรพ์ หรื อว่า “เทวตา นุสิ คนฺธพฺโพ อาทู สกฺโก ปุรินทฺ โท,
เป็ นท้าวสักกะ ผูใ้ ห้ซึ่งทานในกาลก่อน ย่อมเป็ น, อ. ท่าน
เป็ นใครหรื อ หรื อว่าเป็ นบุตร ของใคร (ย่อมเป็ น) ? อ. เรา ท. โก วา ตฺวํ กสฺส วา ปุตฺโต? กถํ ชาเนมุ ตํ มยนฺติ.
พึงรู้ ซึ่งท่าน อย่างไร ดังนี ้ ฯ

28 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ครัง้ นัน้ อ. มาณพ บอกแล้ ว แก่พราหมณ์นนั ้ ว่า อถสฺส มาณโว

(อ. ท่าน) เผาแล้ว ซึ่งบุตร ในป่ าช้า เอง ย่อมคร� ำค่ รวญถึง “ยฺจ กนฺทสิ ยฺจ โรทสิ

ซึ่งบุตรใด ด้วย ย่อมร้องไห้ถึง ซึ่งบุตรใด ด้วย, อ. ข้าพเจ้า คือ ปุตฺตํ อาฬาหเน สยํ ฑหิ ตฺวา;

อ. บุตรนัน้ กระท�ำแล้ว ซึ่งกรรม อันเป็ นกุศล เป็ นผูถ้ ึงแล้ว สฺวาหํ กุสลํ กริ ตฺวาน กมฺมํ

ซึ่งความเป็ นแห่งบุคคลผูเ้ ทีย่ วไปพร้อมกัน (แห่งเทวดา ท.) ติ ทสานํ สหพฺยตํ ปตฺโตติ อาจิกฺขิ.

ผูอ้ ยู่ในชัน้ ไตรทศ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

อ. พราหมณ์ กล่าวแล้ ว ว่า พฺราหฺมโณ อาห

(เมื อ่ ท่าน) ถวายอยู่ ซึ่งทาน อันน้อยหรื อ หรื อว่าอันมาก “อปฺปํ วา พหุํ วา นาทฺทสาม

ในเรื อนอันเป็ นของตนหรื อ หรื อว่า (กระท�ำอยู่) ซึ่งกรรม- ทานํ ททนฺตสฺส สเก อคาเร,

คืออุโบสถ อันเช่นนัน้ , (อ.เรา ท.) ย่อมไม่เห็น, (อ. ท่าน) อุโปสถกมฺมํ วา ตาทิ สํ,

เป็ นผูไ้ ปแล้ว สู่เทวโลก ย่อมเป็ น เพราะกรรม อะไร ดังนี ้ ฯ เกน กมฺเมน คโตสิ เทวโลกนฺติ.

อ. มาณพ กล่าวแล้ ว ว่า มาณโว อาห

อ. ข้าพเจ้า เป็ นผูม้ ี อาพาธ เป็ นผูถ้ ึงแล้วซึ่งความล�ำบาก “อาพาธิ โกหํ ทุกฺขิโต คิ ลาโน
เป็ นคนไข้ เป็ นผูม้ ี รูปอันกระสับกระส่าย ในทีเ่ ป็ นทีอ่ ยู่ อาตูรรู โปมฺหิ สเก นิ เวสเน,
อันเป็ นของตน ย่อมเป็ น, อ. ข้าพเจ้า ได้เห็นแล้ว ซึ่งพระพุทธเจ้า พุทฺธํ วิ คตรชํ วิ ติณฺณกงฺขํ
ผูม้ ีกิเลสเพียงดังธุลีไปปราศแล้ว ผูม้ ีความสงสัยอันข้ามวิเศษแล้ว อทฺทกฺขึ สุคตํ อโนมปฺํ;
ผูเ้ สด็จไปดีแล้ว ผูม้ ี พระปั ญญาอันไม่ทราม, อ. ข้าพเจ้านัน้ สฺวาหํ มุทิตมโน ปสนฺนจิ ตฺโต
ผูม้ ี ใจอันบันเทิ งแล้ว ผูม้ ี จิตอันเลือ่ มใสแล้ว ได้กระท�ำแล้ว อฺชลึ อกรึ ตถาคตสฺส
ซึ่งอัญชลี แก่พระตถาคตเจ้า อ. ข้าพเจ้า ครัน้ กระท�ำแล้ว ตาหํ กุสลํ กริ ตฺวาน กมฺมํ
ซึ่งกรรมอันเป็ นกุศล นัน้ เป็ นผูถ้ ึงแล้ว ซึ่งความเป็ นแห่งบุคคล ติ ทสานํ สหพฺยตํ ปตฺโตติ .
ผูเ้ ทีย่ วไปพร้อมกัน (แห่งเทวดา ท.) ผูอ้ ยู่ในชัน้ ไตรทศ
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

ครัน้ เมื่อมาณพนัน้ กล่าวอยู่ กล่าวอยูน่ นั่ เทียว, อ. สรี ระทังสิ


้ ้น ตสฺมึ กเถนฺเต กเถนฺเตเยว, พฺราหฺมณสฺส
ของพราหมณ์ เต็มรอบแล้ ว ด้ วยปี ติ ฯ สกลสรี รํ ปี ติยา ปริ ปรู ิ .

อ. พราหมณ์นนั ้ เมื่อยังบุคคลให้ ร้ ูทวั่ ซึง่ ปี ตินนั ้ กล่าวแล้ ว ว่า โส ตํ ปี ตึ ปเวเทนฺโต

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 29


อ. เรื ่องน่าอัศจรรย์หนอ ไม่เคยมี แล้ว , อ. วิ บาก “อจฺฉริ ยํ วต อพฺภตุ ํ,
แห่งการกระท�ำซึ่งอัญชลี นี ้ เป็ นเช่นนี ้ (ย่อมเป็ น), แม้ อญฺชลิ กมฺมสฺส อยมี ทิโส วิ ปาโก.
อ. ข้าพเจ้า ผูม้ ี ใจอันบันเทิ งแล้ว ผูม้ ี จิตอันเลือ่ มใสแล้ว อหํปิ มุทิตมโน ปสนฺนจิ ตฺโต,
จะขอถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า ว่าเป็ นสรณะ ในวันนีน้ นั้ เทียว ดังนี ้ อชฺเชว พุทฺธํ สรณํ วชามี ติ อาห.

ครัง้ นัน้ อ. มาณพ กล่าวแล้ ว กะพราหมณ์นนั ้ ว่า อถ นํ มาณโว

อ. ท่าน ผูม้ ี จิตอันเลือ่ มใสแล้ว จงถึง ซึ่งพระพุทธเจ้าด้วย “อชฺเชว พุทฺธํ สรณํ วชาหิ ,
ซึ่งพระธรรมด้วย ซึ่งพระสงฆ์ ดว้ ย ว่าเป็ นสรณะ ในวันนี ้ ธมฺมฺจ สงฺฆฺจ ปสนฺนจิ ตฺโต,
นัน่ เทียว, อ. ท่าน จงสมาทาน ซึ่งสิ กขาบท ท. ๕ กระท�ำ ตเถว สิ กฺขาปทานิ ปฺจ
ให้เป็ นของขาดและท�ำลายแล้วหามิ ได้ อย่างนัน้ นัน่ เทียว ฯ อขณฺฑผุลฺลานิ สมาทิ ยสฺส.ุ
(อ. ท่าน) จงเว้น จากการยังสัตว์มีลมปราณให้ตกล่วงไป ปาณาติ ปาตา วิ รมสฺสุ ขิ ปปฺ ํ ,
พลันด้วย, จงเว้นรอบซึ่งวัตถุอนั เจ้าของไม่ให้แล้ว ในโลกด้วย, โลเก อทิ นนฺ ํ ปริ วชฺชยสฺส,ุ
เป็ นผูไ้ ม่ดืม่ ซึ่งน�้ำเมา (จงเป็ น) ด้วย, จงไม่กล่าว เท็จ ด้วย, อมชฺชโป, โน จ มุสา ภณาหิ ,
เป็ นผูย้ ิ นดีแล้ว ด้วยทาระ ผูเ้ ป็ นของตน จงเป็ นด้วย ดังนี ้ ฯ สเกน ทาเรน จ โหหิ ตุฏฺโ€ติ อาห.

(อ. พราหมณ์นน) ั ้ รับพร้ อมแล้ ว ว่า อ. ดีละ ดังนี ้ ได้ กล่าวแล้ ว โส “ สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
ซึง่ คาถา ท. เหล่านี ้ ว่า

ดูก่อนยักษ์ อ. ท่าน เป็ นผูใ้ คร่ ซึ่งประโยชน์ แก่ขา้ พเจ้า “อตฺถกาโมสิ เม ยกฺข หิ ตกาโมสิ เทวเต,
ย่อมเป็ น ดูก่อนเทวดา อ. ท่าน เป็ นผูใ้ คร่ ซึ่งความเกื อ้ กูล
(แก่ขา้ พเจ้า) ย่อมเป็ น, อ. ข้าพเจ้า จะกระท�ำ ซึ่งค�ำ กโรมิ ตุยฺหํ วจนํ ตฺวมสิ อาจริ โย มม
ของท่าน อ. ท่าน เป็ นอาจารย์ ของข้าพเจ้า ย่อมเป็ น
อ. ข้าพเจ้า จะเข้าถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า ว่าเป็ นสรณะด้วย อุเปมิ สรณํ พุทฺธํ ธมฺมญจาปิ อนุตฺตรํ
(อ. ข้าพเจ้า จะเข้าถึง) แม้ซึ่งพระธรรม อันยอดเยีย่ ม
(ว่าเป็ นสรณะด้วย) อ. ข้าพเจ้า จะถึง ซึ่งพระสงฆ์ สงฺฆฺจ นรเทวสฺส คจฺฉามิ สรณํ อหํ.
(ของพระพุทธเจ้า) ผูเ้ ป็ นเทพแห่งนระ ว่าเป็ นสรณะด้วย ฯ

อ. ข้าพเจ้า จะเว้น จากการยังสัตว์มีลมปราณ ปาณาติ ปาตา วิ รมามิ ขิ ปปฺ ํ ,


ให้ตกล่วงไปพลันด้วย, จะเว้นรอบ ซึ่งวัตถุอนั เจ้าของไม่ให้แล้ว โลเก อทิ นนฺ ํ ปริ วชฺชยามิ ,
ในโลกด้วย , เป็ นผูไ้ ม่ดืม่ ซึ่งน�้ำเมา (จะเป็ น) ด้วย , อมชฺชโป, โน จ มุสา ภณามิ ,
จะไม่กล่าว เท็จ ด้วย, เป็ นผูย้ ิ นดีแล้ว ด้วยทาระ ผูเ้ ป็ นของตน สเกน ทาเรน จ โหมิ ตุฏฺโ€ติ .
จะเป็ นด้วย ดังนี ้ ฯ

30 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ครัง้ นัน้ อ. เทพบุตร กล่าวแล้ ว กะพราหมณ์นนั ้ ว่า อถ นํ เทวปุตฺโต “พฺราหฺมณ ตว เคเห พหุํ
ดูก่อนพราหมณ์ อ. ทรัพย์ มาก มีอยูใ่ นเรื อน ของท่าน , ธนํ อตฺถิ, สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา ทานํ เทหิ ธมฺมํ
(อ. ท่าน) เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระศาสดา จงถวาย ซึง่ ทาน จงฟั ง สุณาหิ, ปฺหํ ปุจฺฉาหีติ วตฺวา ตตฺเถวนฺตรธายิ.
ซึง่ ธรรม, จงทูลถาม ซึง่ ปั ญหา ดังนี ้ หายไปแล้ ว ในที่นนนั
ั ้ น่ เทียว ฯ

แม้ อ. พราหมณ์ ไปแล้ ว สูเ่ รื อน เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ นางพราหมณี พฺราหฺมโณปิ เคหํ คนฺตวฺ า พฺราหฺมณึ อามนฺเตตฺวา
กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะนางผู้เจริ ญ อ. เรา ทูลนิมนต์แล้ ว ซึง่ พระสมณะ “ภทฺเท อหํ สมณํ โคตมํ นิมนฺเตตฺวา ปฺหํ
ผู้โคดม จักทูลถาม ซึง่ ปั ญหา; อ. ท่าน จงกระท�ำซึง่ สักการะ ปุจฺฉิสฺสามิ; สกฺการํ กโรหีติ วตฺวา วิหารํ คนฺตฺวา
ดังนี ้ ไปแล้ ว สูว่ ิหาร ไม่อภิวาทแล้ ว ซึง่ พระศาสดานัน่ เทียว สตฺถารํ เนว อภิวาเทตฺวา น ปฏิสนฺถารํ กตฺวา
ไม่กระท�ำแล้ ว ซึง่ ปฏิสนั ถาร ยืนแล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ทูลแล้ ว เอกมนฺตํ €ิโต “โภ โคตม อธิวาเสหิ เม อชฺชตนาย
ว่า ข้ าแต่พระโคดม ผู้เจริ ญ (อ. พระองค์) กับ ด้ วยหมูแ่ ห่งภิกษุ ภตฺตํ สทฺธึ ภิกฺขสุ งฺเฆนาติ อาห.
ทรงยังภัตร ของข้ าพระองค์ จงให้ อยูท่ บั เพื่อภัตรบริ โภคอันมี
ในวันนี ้ ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา (ทรงยังค�ำนิมนต์) ให้ อยูท่ บั แล้ ว ฯ สตฺถา อธิวาเสสิ.


อ.พราหมณ์นนั ้ ทราบแล้ว ซึง่ การ ยังค�ำนิมนต์ ให้อยูท่ บั โส สตฺถุ อธิวาสนํ วิทิตฺวา เวเคนาคนฺตฺวา
แห่งพระศาสดา มาแล้ ว โดยเร็ว (ยังบุคคล) ให้ จดั แจงแล้ ว สกนิเวสเน ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปสิ.
ซึง่ ของอันบุคคลพึงเคี ้ยว ซึง่ ของอันบุคคลพึงบริ โภค ในนิเวศน์
อันเป็ นของตน ฯ

อ. พระศาสดา ผู้อนั หมูแ่ ห่งภิกษุแวดล้ อมแล้ ว เสด็จไปแล้ ว สตฺถา ภิกฺขสุ งฺฆปริ วโุ ต ตสฺส เคหํ คนฺตฺวา
สูเ่ รื อน ของพราหมณ์นนั ้ ประทับนัง่ แล้ ว บนอาสนะอันบุคคล ปฺตฺตาสเน นิสีทิ.
ปูลาดแล้ ว ฯ
อ. พราหมณ์ อังคาสแล้ ว โดยเคารพ ฯ พฺราหฺมโณ สกฺกจฺจํ ปริ วิส.ิ
อ. มหาชน ประชุมกันแล้ ว ฯ มหาชโน สนฺนิปติ.

ได้ ยินว่า ครัน้ เมื่อพระตถาคตเจ้ า อันบุคคลผู้มีความเห็นผิด มิจฺฉาทิฏฺ€ิเกน กิร ตถาคเต นิมนฺตเิ ต, เทฺว
ทูลนิมนต์แล้ ว, อ. หมูแ่ ห่งชน ท. สอง ย่อมประชุมกัน : ชนกายา สนฺนิปตนฺต:ิ
(อ. ชน ท.) ผู้มีความเห็นผิด ย่อมประชุมกัน (ด้ วยความคิด) ว่า มิจฺฉาทิฏฺ€ิกา “ อชฺช สมณํ โคตมํ ปฺหํ
ในวันนี ้ (อ. เรา ท.) จักเห็น ซึง่ พระสมณะ ผู้โคดม ผู้อนั พราหมณ์ ปุจฺฉาย วิเห€ิยมานํ ปสฺสสิ ฺสามาติ สนฺนิปตนฺต,ิ
เบียดเบียนอยู่ ด้ วยการทูลถาม ซึง่ ปั ญหา ดังนี ้
(อ. ชน ท.) ผู้มีความเห็นชอบ ย่อมประชุมกัน (ด้ วยความคิด) สมฺมาทิฏฺ€ิกา “อชฺช พุทฺธวิสยํ พุทฺธลีฬฺหํ
ว่า ในวันนี ้ (อ. เรา ท.) จักเห็น ซึง่ วิสยั แห่งพระพุทธเจ้ า ปสฺสสิ ฺสามาติ สนฺนิปตนฺต.ิ
ซึง่ การเยื ้องกรายแห่งพระพุทธเจ้ า ดังนี ้ ฯ

ครั ง้ นัน้ อ.พราหมณ์ เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึ่งพระตถาคตเจ้ า อถ พฺราหฺมโณ กตภตฺตกิจจฺ ํ ตถาคตํ อุปสงฺกมิตวฺ า
ผู้มกี จิ ด้วยภัตรอันทรงกระท�ำแล้ว นัง่ แล้ว บนอาสนะต�ำ่ , ทูลถามแล้ว นีจาสเน นิสนิ โฺ น, ปฺหํ ปุจฉฺ ิ “ โภ โคตม ตุมหฺ ากํ
ซึง่ ปั ญหา ว่า ข้ าแต่พระโคดม ผู้เจริ ญ (อ. ชน ท.) ชื่อว่า ทานํ อทตฺวา ปูชํ อกตฺวา ธมฺมํ อสฺสตุ ฺวา อุโปสถ
เป็ นผู้ไม่ถวายแล้ว ซึง่ ทาน ไม่กระท�ำแล้ว ซึง่ การบูชา แก่พระองค์ ท. วาสํ อวสิตฺวา เกวลํ มโนปสาทมตฺเตเนว สคฺเค
ไม่ฟังแล้ ว ซึง่ ธรรม ไม่อยูแ่ ล้ ว อยูด่ ้ วยสามารถแห่งอุโบสถ นิพฺพตฺตา นาม โหนฺตีต.ิ
บังเกิดแล้ ว ในสวรรค์ (ด้ วยเหตุ) สักว่าความเลื่อมใสแห่งใจ
อย่างเดียวนัน่ เทียว ย่อมเป็ นหรื อ ? ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนพราหมณ์ (อ. ท่าน) “พฺราหฺมณ กสฺมา มํ ปุจฺฉสิ,
ย่อมถาม ซึง่ เรา เพราะเหตุไร,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 31


อ. ความที่ แห่งตน เป็ นผู้ยงั ใจ ให้เลือ่ มใสแล้ว ในเรา บังเกิดแล้ว นนุ เต ปุตฺเตน มฏฺ€กุณฺฑลินา มยิ มนํ
ในสวรรค์ อันมัฏฐกุณฑลี ผู้เป็ นบุตร ของท่าน บอกแล้ ว ปสาเทตฺวา อตฺตโน สคฺเค นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ.
(แก่ทา่ น) มิใช่หรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. พราหมณ์ ทูลถามแล้ ว) ว่า “กทา โภ โคตมาติ.
ข้ าแต่พระโคดมผู้เจริ ญ (อ. ความที่แห่งตน เป็ นผู้บงั เกิดแล้ ว
ในสวรรค์ อันมัฏฐกุณฑลี บอกแล้ ว แก่ข้าพระองค์) ในกาลไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดาตรัสแล้ ว) ว่า อ. ท่าน ไปแล้ ว สูป่ ่ าช้ า ในวันนี ้ “นนุ ตฺวํ อชฺช สุสานํ คนฺตฺวา กนฺทนฺโต
คร�่ ำครวญอยู่ เห็นแล้ ว ซึง่ มาณพ คนหนึง่ ผู้ประคองแล้ ว ซึง่ แขน ท. อวิทเู ร พาหา ปคฺคยฺห กนฺทนฺตํ เอกํ มาณวํ ทิสวฺ า
คร�่ ำครวญอยู่ ในที่อนั ไม่ไกล (วเทสิ) กล่าวแล้ ว ว่า

(อ. ท่าน) ผูอ้ นั บุคคลกระท�ำให้พอแล้ว ผูม้ ี ตมุ้ หูอนั เกลีย้ ง `อลงฺกโต มฏฺ€กุณฺฑลี
ผูม้ ี ภาระคือระเบี ยบ ผูม้ ี กายหนาขึ้นด้วยจันทน์เหลือง มาลาภารี หริ จนฺทนุสฺสโทติ
ดังนีเ้ ป็ นต้น

มิใช่หรื อ (ดังนี ้) เมื่อทรงประกาศ ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ทฺวีหิ ชเนหิ กถิตํ กถํ ปกาเสนฺโต สพฺพํ
อันอันชน ท. สอง กล่าวแล้ ว ตรัสแล้ ว ซึง่ เรื่ องแห่งมาณพชื่อว่า- มฏฺ€กุณฺฑลิวตฺถํุ กเถสิ.
มัฏฐกุณฑลี ทังปวง ้ ฯ
เพราะเหตุนนนั ั ้ น่ เทียว อ. เรื่ องแห่งมาณพชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี เตเนเวตํ พุทฺธภาสิตํ นาม ชาตํ.
นัน่ ชื่อว่าเป็ นเรื่ องอันพระพุทธเจ้ าตรัสแล้ ว เกิดแล้ ว ฯ
ก็แล (อ. พระศาสดา) ครัน้ ตรัสแล้ ว ซึง่ เรื่ องแห่งมาณพ ตํ กเถตฺวา จ ปน, “ น โข พฺราหฺมณ เอกสตํ ,
ชื่อว่ามัฏฐกุณฑลีนน, ั ้ ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนพราหมณ์ อ. ร้ อยหนึง่ น เทฺว , อถโข มยิ มนํ ปสาเทตฺวา สคฺเค
(ย่อมมี) หามิได้ แล, (อ. ร้ อย ท.) สอง (ย่อมมี) หามิได้ , อ. การนับ นิพฺพตฺตานํ คณนา นตฺถีติ อาห.
(ซึง่ สัตว์ ท.) ผู้ยงั ใจ ให้ เลื่อมใสแล้ ว ในเรา บังเกิดแล้ ว ในสวรรค์
ย่อมไม่มี โดยแท้ แล ดังนี ้ ฯ อ. มหาชน เป็ นผู้ประกอบแล้ ว มหาชโน เวมติโก อโหสิ.
ด้ วยความเคลือบแคลงสงสัย ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ทรงทราบแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งมหาชน อถสฺส อนิพฺเพมติกภาวํ วิทิตฺวา สตฺถา
นัน้ มิใช่เป็ นผู้ประกอบแล้ วด้ วยความเคลือบแคลงสงสัยออกแล้ ว “มฏฺ€กุณฺฑลิเทวปุตฺโต วิมาเนเนว สทฺธึ อาคจฺฉตูติ
ทรงอธิษฐานแล้ ว ว่า อ. เทพบุตรชื่อว่ามัฏฐกุณฑลี จงมา กับ อ ธิ ฏฺ € าสิ . โส ติ ค าวุ ต ปฺ ป ม า เ ณ น
ด้วยวิมานนัน่ เทียว ดังนี ้ ฯ อ. เทพบุตรชือ่ ว่ามัฏฐกุณฑลีนนั ้ มาแล้ว ทิพฺพาภรณปฏิมณฺฑิเตน อตฺตภาเวนาคนฺตฺวา
ด้ วยทังอั ้ ตภาพ อันมีคาวุตสามเป็ นประมาณ อันประดับเฉพาะ วิ ม านา โอรุ ยฺ ห สตฺ ถ ารํ วนฺ ทิ ตฺ ว า เอกมนฺ ตํ
แล้วด้วยเครื่องประดับอันเป็ นทิพย์ ลงแล้ว จากวิมาน ถวายบังคมแล้ว อฏฺ€าสิ.
ซึง่ พระศาสดา ได้ ยืนแล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ฯ
ครังนั้ น้ อ. พระศาสดา ตรัสถามอยู่ ซึง่ เทพบุตรชือ่ ว่ามัฏฐกุณฑลี อถ นํ สตฺถา “ตฺวํ อิมํ สมฺปตฺตึ กึ กมฺมํ กตฺวา
นัน้ ว่า อ. ท่าน กระท�ำแล้ว ซึง่ กรรมอะไร ได้เฉพาะแล้ว ซึง่ สมบัตนิ ี ้ ปฏิลภีติ ปุจฺฉนฺโต,
ดังนี ้, ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา ว่า
ดูก่อนเทวดา อ. ท่าน ใด มี รูป อันงาม ยังทิ ศ ท. ทัง้ ปวง อภิ กฺกนฺเตน วณฺเณน ยา ตฺวํ ติ ฏฺ€สิ เทวเต
ให้สว่างอยู่ ยืนอยู่ ราวกะ อ.ดาวประจ� ำรุ่ง (ยังทิ ศ ท. ทัง้ ปวง โอภาเสนฺตี ทิ สา สพฺพา โอสธี วิ ย ตารกา,
ให้สว่างอยู่) ฯ ดูก่อนเทวดา อ. เรา ย่อมถาม ซึ่งท่านนัน้ ปุจฺฉามิ ตํ เทว มหานุภาวํ
ผูม้ ี อานุภาพมาก (อ. ท่านนัน้ ) เป็ นมนุษย์เป็ นแล้ว มนุสสฺ ภูโต กิ มกาสิ ปุฺนฺติ
ได้กระท�ำแล้ว ซึ่งบุญอะไร ดังนี ้ ฯ
คาถมาห.
อ. เทพบุตร (กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ อ. สมบัติ นี ้ เทวปุตฺโต “อยํ ภนฺเต สมฺปตฺติ ตุมเฺ หสุ มนํ
อันข้ าพระองค์ ยังใจ ให้ เลือ่ มใสแล้ ว ในพระองค์ ท. ได้ แล้ ว ดังนี ้ ฯ ปสาเทตฺวา ลทฺธาติ. “มยิ มนํ ปสาเทตฺวา ลทฺธา
(อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า (อ. สมบัตนิ ี ้) อันท่าน ยังใจ เตติ. “อาม ภนฺเตติ.
ให้ เลื่อมใสแล้ ว ในเรา ได้ แล้ ว หรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. เทพบุตร
กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ พระเจ้ าข้ า (อ. อย่างนัน)

ดังนี ้ ฯ

32 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. มหาชน แลดูแล้ว ซึง่ เทพบุตร, (กล่าวแล้ว) ว่า ดูกอ่ นท่านผู้เจริญ มหาชโน เทวปุตฺตํ โอโลเกตฺวา, อจฺฉริ ยา
อ. คุณแห่งพระพุทธเจ้า ท. เป็ นสภาพน่าอัศจรรย์ หนอ (ย่อมเป็ น) ! วต โภ พุทฺธคุณา อทินฺนปุพฺพกพฺราหฺมณสฺส นาม
อ. บุตร ชื่อ ของพราหมณ์ชื่อว่าอทินนปุพพกะ ไม่กระท�ำแล้ ว ปุตฺโต อฺํ กิฺจิ ปุฺํ อกตฺวา สตฺถริ มนํ
ซึง่ บุญ อะไร ๆ อืน่ ยังใจ ให้เลือ่ มใสแล้ว ในพระศาสดา ได้เฉพาะแล้ว ปสาเทตฺวา เอวรูปํ สมฺปตฺตึ ปฏิลภีติ ตุฏฺ€ึ ปเวเทสิ.
ซึง่ สมบัติ มีอย่างนี ้เป็ นรูป ดังนี ้ (ยังชน ท.) ให้ ร้ ูทวั่ แล้ ว
ซึง่ ความยินดี ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) แก่ชน ท. เหล่านัน้ ว่า อถ เนสํ “ กุสลากุสลกมฺมกรเณ มโน
อ.ใจ เป็ นสภาพถึงก่อน ในการกระท�ำซึง่ กรรมอันเป็ นกุศลและอกุศล ปุพฺพงฺคโม, มโน เสฏฺโ€ ; ปสนฺเนน หิ มเนน
(ย่อมเป็ น), อ. ใจ เป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ (ในการกระท�ำซึง่ กรรม กตกมฺมํ เทวโลกํ มนุสฺสโลกํ คจฺฉนฺตํ ปุคฺคลํ
อันเป็ นกุศลและอกุศล ย่อมเป็ น); เพราะว่า อ. กรรมอันบุคคลกระท�ำแล้ว ฉายาว น วิชหตีติ อิทํ วตฺถํุ กเถตฺวา อนุสนฺธึ
ด้ วยใจ อันผ่องใสแล้ ว ย่อมไม่ละ ซึง่ บุคคล ผู้ไปอยู่ สูเ่ ทวโลก ฆเฏตฺวา ปติฏฺ€าปิ ตมตฺตกิ ํ สาสนํ ราชมุทฺทาย
สูม่ นุษยโลก เพียงดัง อ. เงา ดังนี ้ ครัน้ ตรัสแล้ ว ซึง่ เรื่ องนี ้ ลฺฉนฺโต วิย ธมฺมราชา อิมํ คาถมาห
ทรงสืบต่อ ซึง่ อนุสนธิ ผู้เป็ นพระราชาเพราะธรรม ตรัสแล้ ว
ซึง่ พระคาถานี ้ ว่า

อ. ธรรม ท. มีใจเป็ นสภาพถึงก่อน มีใจเป็ นสภาพประเสริ ฐทีส่ ดุ “มโนปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺ€า มโนมยา;
อันส�ำเร็ จแล้วแต่ใจ, หากว่า (อ. บุคคล) มี ใจ อันผ่องใสแล้ว
กล่าวอยู่ หรื อ หรื อว่ากระท�ำอยู่ไซร้, อ. ความสุข ย่อมไปตาม มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา,
ซึ่งบุคคลนัน้ เพราะสุจริ ตอันมี อย่างสามนัน้ เพียงดัง อ. เงา
อันไปตามโดยปกติ ดังนี ้ ฯ ตโต นํ สุขมเนฺวติ ฉายาว อนุปายิ นีติ.

ราวกะ (อ. พระราชา) ทรงประทับอยู่ ซึง่ พระราชสาส์น มีดนิ เหนียว


อันพระองค์ทรงให้ ตงไว้
ั ้ เฉพาะแล้ ว ด้ วยตราของพระราชา ฯ

อ. จิตอันเป็ นไปในภูมิสี่ แม้ ทงปวง


ั้ (อันบัณฑิต) ย่อมเรี ยก ว่า ตตฺถ กิฺจาปิ “มโนติ อวิเสเสน สพฺพมฺปิ
อ. ใจ ดังนี ้ ในพระคาถานัน้ โดยไม่แปลกกัน แม้ ก็จริ ง; ถึงอย่างนัน้ จตุภมู ิกจิตฺตํ วุจฺจติ; อิมสฺมึ ปน ปเท นิยมิยมานํ
อ. กุศลจิตอันเป็ นกามาวจร อันมีอย่าง ๘ อันอาจารย์นิยมอยู่ ววตฺถาปิ ยมานํ ปริ จฺฉิชฺชมานํ อฏฺ€วิธํ กามาวจร-
อันอาจารย์ให้ ตงลงต่ั ้ างอยู่ อันอาจารย์ก�ำหนดอยู่ (อันบัณฑิต) กุสลจิตฺตํ ลพฺภติ; วตฺถวุ เสน ปนาหริ ยมานํ
ย่อมได้ ในบทนี ้; ก็ อ. จิตนัน่ เทียว อันอาจารย์น�ำมาอยู่ ตโตปิ โสมนสฺสสหคตํ าณสมฺปยุตฺตํ จิตฺตเมว
ด้ วยอ�ำนาจแห่งวัตถุ อันไปแล้วกับด้วยโสมนัส อันประกอบพร้ อมแล้ว ลพฺภติ.
ด้ วยญาณ (จากกุศลจิตอันเป็ นกามาวจร) แม้ นนั ้ (อันบัณฑิต)
ย่อมได้ ฯ
(อ. อรรถ) ว่า มาตามพร้ อมแล้ ว ด้ วยใจนัน้ เป็ นสภาพถึงก่อน ปุพพฺ งฺคมาติ: เตน ป€มคามินา หุตฺวา
โดยปกติเป็ น (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า ปุพพ ฺ งฺคมา ดังนี ้ ฯ สมนฺนาคตา.
อ. ขันธ์ ท. สาม มีเวทนาเป็ นต้ น ชื่อว่า ธรรมา ฯ ธมฺมาติ: เวทนาทโย ตโย ขนฺธา.
จริ งอยู่ อ.ใจ ชื่อว่าเป็ นสภาพถึงก่อน แห่งธรรม ท. เหล่านัน่ เอเตสํ หิ อุปปฺ าทปฺปจฺจยตฺเถน มโน
เพราะอรรถคือความเป็ นปั จจัยแห่งความเกิดขึ ้น (ย่อมเป็ น), ปุพฺพงฺคโม, เตน มโนปุพฺพงฺคมา นาม.
เพราะเหตุนนั ้ (อ. ธรรม ท. เหล่านัน่ ) ชื่อว่ามีใจเป็ นสภาพถึงก่อน ฯ
เหมือนอย่างว่า (ครัน้ เมือ่ ทายก ท.) มาก กระท�ำอยู่ ซึง่ บุญ ท. ยถา หิ พหูสุ เอกโต มหาภิกฺขสุ งฺฆสฺส
มีการถวายซึง่ บาตรและจีวรเป็ นต้ น แก่หมูแ่ ห่งภิกษุใหญ่ หรื อ ปตฺตจีวรทานาทีนิ วา อุฬารปูชาธมฺมสฺสวน-
หรื อว่า มีการบูชาอันโอฬารและการฟั งซึง่ ธรรมและการกระท�ำ- ทีปมาลากรณาทีนิ วา ปุฺานิ กโรนฺเตสุ,
ซึง่ ประทีปและระเบียบเป็ นต้ น โดยความเป็ นอันเดียวกัน, “โก เตสํ ปุพฺพงฺคโมติ วุตฺเต,
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ. ใคร เป็ นผู้ถงึ ก่อน แห่งทายก ท. เหล่านัน้
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันใคร ๆ) กล่าวแล้ ว,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 33


อ. ทายกใด เป็ นปั จจัย ของทายก ท. เหล่านัน้ ย่อมเป็ น , โย เตสํ ปจฺจโย โหติ, ยํ นิสฺสาย เต ตานิ
อ. ทายก ท. เหล่านัน้ อาศัยแล้ ว ซึง่ ทายกใด ย่อมกระท�ำ ซึง่ บุญ ท. ปุฺานิ กโรนฺต,ิ โส ติสฺโส วา ปุสฺโส วา “เตสํ
เหล่านัน,้ อ. ทายกนัน้ ชื่อว่าติสสะหรื อ หรื อว่าชื่อว่าปุสสะ ปุพฺพงฺคโมติ วุจฺจติ; เอวํ สมฺปทมิทํ เวทิตพฺพํ.
(อันชน ท.) ย่อมเรี ยก ว่า (อ.ทายกนัน) ้ เป็ นผู้ถงึ ก่อน แห่งทายก ท.
เหล่านัน้ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฉันใด; อ. ค�ำเป็ นเครื่ องยังอุปไมย
ให้ ถงึ พร้ อมนี ้ (อันบัณฑิต) พึงทราบฉันนัน้ ฯ
อ. ใจ ชื่อว่าเป็ นสภาพถึงก่อน แห่งธรรม ท. เหล่านัน่ อิติ อุปปฺ าทปฺปจฺจยตฺเถน มโน ปุพฺพงฺคโม
เพราะอรรถคือความเป็ นปั จจัยแห่งความเกิดขึ ้น ด้ วยประการฉะนี ้ เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา.
เพราะเหตุนนั ้ (อ. ธรรม ท. เหล่านัน่ ) ชื่อว่ามีใจเป็ นสภาพถึงก่อน ฯ
จริ งอยู่ อ. ธรรม ท. เหล่านัน้ ครัน้ เมื่อใจ ไม่เกิดขึ ้นอยู่ , น หิ เต มเน อนุปปฺ ชฺชนฺเต, อุปปฺ ชฺชิตํุ สกฺโกนฺต,ิ
ย่อมไม่อาจ เพื่ออันเกิดขึ ้น, แต่วา่ อ. ใจ , ครัน้ เมื่อเจตสิก ท. มโน ปน, เอกจฺเจสุ เจตสิเกสุ อนุปปฺ ชฺชนฺเตสุปิ,
บางพวก แม้ ไม่เกิดขึ ้นอยู,่ ย่อมเกิดขึ ้นนัน่ เทียว ฯ ก็ อ. ใจ อุปปฺ ชฺชติเยว. เอวํ อธิปติวเสน ปน มโน เสฏฺโ€
เป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ แห่งธรรม ท. เหล่านัน้ ด้ วยอ�ำนาจ เอเตสนฺติ มโนเสฏฺ€า.
แห่งความเป็ นอธิบดี ด้ วยประการฉะนี ้ เพราะเหตุนนั ้ (อ. ธรรม ท.
เหล่านัน่ ) ชื่อว่ามีใจเป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ ฯ
เหมือนอย่างว่า อ. บุรุษ ผู้เป็ นอธิบดี (แห่งชน ท.) มีคณะเป็ นต้ น ยถา หิ คณาทีนํ อธิปติ ปุริโส “ คณเสฏฺโ€
(อันชน ท.) ย่อมเรี ยก ว่า ผู้ประเสริ ฐที่สดุ ในคณะ ผู้ประเสริ ฐที่สดุ เสนีเสฏฺโ€ติ วุจฺจติ; ตถา เตสํปิ มโนติ มโนเสฏฺ€า.
ในกองทัพ ดังนี ้ ฉันใด; อ. ใจ (เป็ นสภาพประเสริฐทีส่ ดุ ) แห่งธรรม ท.
แม้เหล่านัน้ (ย่อมเป็ น) ฉันนัน้ เพราะเหตุนนั ้ (อ.ธรรม ท.เหล่านัน)้
ชื่อว่ามีใจเป็ นสภาพประเสริ ฐที่สดุ ฯ
เหมือนอย่างว่า อ. ภัณฑะ ท. เหล่านัน้ เหล่านัน้ อันส�ำเร็ จแล้ ว ยถา ปน สุวณฺณาทีหิ นิปผฺ นฺนานิ ตานิ ตานิ
(แต่วตั ถุ ท.) มีทองเป็ นต้ น ชื่อว่าเป็ นวัตถุมีวตั ถุอนั ส�ำเร็ จแล้ ว ภณฺฑานิ สุวณฺณมยาทีนิ นาม โหนฺต;ิ ตถา
แต่ทองเป็ นต้ น ย่อมเป็ น ฉันใด; อ. ธรรม ท. แม้ เหล่านัน่ ชื่อว่า เอเตปิ มนโต นิปผฺ นฺนตฺตา มโนมยา นาม.
เป็ นสภาพส�ำเร็ จแล้ วแต่ใจ เพราะความที่ (แห่งธรรม ท. เหล่านัน่ )
เป็ นสภาพส�ำเร็ จแล้ ว แต่ใจ (ย่อมเป็ น) ฉันนัน้ ฯ
(อ.อรรถ)ว่าอันผ่องใสแล้ วด้ วยคุณท.มีความไม่เพ่งเล็งเป็ นต้ น ปสนฺเนนาติ: อนภิชฺฌาทีหิ คุเณหิ ปสนฺเนน.
(ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า ปสนฺเนน ดังนี ้ ฯ
(อ. อรรถ) ว่า (อ. บุคคล) มีใจ อันมีอย่างนี ้เป็ นรูป เมื่อกล่าว ภาสติ วา กโรติ วาติ: เอวรูเปน มเนน
ชื่อว่าย่อมกล่าว ซึง่ วจีสจุ ริ ต อันมีอย่าง ๔ นัน่ เทียว, เมื่อกระท�ำ ภาสนฺโต จตุพฺพิธํ วจีสจุ ริ ตเมว ภาสติ, กโรนฺโต ติวิธํ
ชื่อว่าย่อมกระท�ำ ซึง่ กายสุจริ ต อันมีอย่าง ๓ นัน่ เทียว, เมื่อไม่กล่าว กายสุจริ ตเมว กโรติ, อภาสนฺโต อกโรนฺโต ตาย
เมื่อไม่กระท�ำ ยังมโนสุจริ ต อันมีอย่าง ๓ ชื่อว่าย่อมให้ เต็มได้ อนภิชฺฌาทีหิ ปสฺนฺนมานสตาย ติวิธํ มโนสุจริ ตํ
เพราะความที่แห่งตนเป็ นผู้มีใจอันผ่องใสแล้ ว (ด้ วยคุณ ท.) ปูเรติ. เอวมสฺส ทส กุสลกมฺมปถา ปาริ ปรู ึ
มีความไม่เพ่งเล็งเป็ นต้ น นัน้ ฯ อ. กุศลกรรมบถ ท. ๑๐ ย่อมถึง คจฺฉนฺติ.
ซึง่ ความเต็มรอบ แก่บคุ คลนัน้ ด้ วยประการฉะนี ้ (ดังนี ้ แห่งบาท
แห่งพระคาถา) ว่า ภาสติ วา กโรติ วา ดังนี ้ ฯ
(อ. อรรถ) ว่า อ. ความสุข ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคลนัน้ ตโต นํ สุขมเนฺวตีต:ิ ตโต ติวิธสุจริ ตโต ตํ
เพราะสุจริ ตอันมีอย่าง ๓ นัน้ (ดังนี ้ แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า ปุคฺคลํ สุขมเนฺวติ.
ตโต นํ สุขมเนฺวติ ดังนี ้ ฯ
อ. กุศล แม้ อนั เป็ นไปในภูมิ ๓ (อันพระผู้มีพระภาคเจ้ า) อิธ เตภูมิกํปิ กุสลํ อธิปเฺ ปตํ; ตสฺมา “เตภูมิก-
ทรงประสงค์เอาแล้ ว ในที่นี ้; เพราะเหตุนนั ้ อ. อธิบาย ว่า สุจริ ตานุภาเวน สุคติภเว นิพฺพตฺตํ สุคติยํ วา
อ. ความสุขอันเป็ นวิบาก อันเป็ นไปในกายและเป็ นไปในจิต สุขานุภวนฏฺ€าเน €ิตํ `กายวตฺถกุ มฺปิ อิตรวตฺถกุ มฺปีติ
(โดยปริ ยายนี ้) ว่า (อ. วิบากสุข) อันมีกายเป็ นที่ตงบ้ ั ้ าง อันมีจิต กายิกเจตสิกํ วิปากสุขํ อนุคจฺฉติ น วิชหตีติ
นอกนี ้เป็ นทีต่ งบ้
ั ้ าง ดังนี ้ ย่อมไปตาม คือว่า ย่อมไม่ละ (ซึง่ บุคคลนัน)้ อตฺโถ เวทิตพฺโพ.
ผู้บงั เกิดแล้ ว ในสุคติภพหรื อ หรื อว่าผู้ด�ำรงอยูแ่ ล้ ว ในที่เป็ นที่เสวย
ซึง่ ความสุข ในสุคติ เพราะอานุภาพแห่งสุจริ ตอันเป็ นไปในภูมิ ๓
ดังนี ้ (อันบัณฑิต) พึงทราบ ฯ

34 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. อันถาม ว่า อ. ความสุข ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคล นัน้ ยถากึ? ฉายาว อนุปายินีต:ิ ยถา หิ ฉายา นาม
เพราะสุจริตอันมีอย่าง ๓ นัน) ้ ราวกะ อ. อะไร? (ดังนี ้) (อ. อันแก้ ว่า สรี รปฺปฏิพทฺธา สรี เร คจฺฉนฺเต, คจฺฉติ, ติฏฺ€นฺเต,
อ.ความสุข ย่อมไปตาม ซึง่ บุคคลนัน้ เพราะสุจริตอันมีอย่าง ๓ นัน) ้ ติฏฺ€ติ, นิสีทนฺเต, นิสีทติ, น สกฺกา สณฺเหน วา
เพียงดัง อ. เงา อันไปตามโดยปกติ ดังนี ้ ฯ (อ. อธิบาย) ว่า ผรุเสน วา `นิวตฺตาหีติ วตฺวา วา โปเถตฺวา วา
เหมือนอย่างว่า ชื่ อ อ. เงา อันเนื่ องเฉพาะแล้ วด้ วยสรี ระ นิวตฺตาเปตุํ.
ครัน้ เมื่อสรี ระ ไปอยู,่ ย่อมไป, (ครัน้ เมื่อสรี ระ) ยืนอยู,่ ย่อมยืน,
(ครัน้ เมือ่ สรีระ) นัง่ อยู,่ ย่อมนัง่ , (อันใคร ๆ) ไม่อาจ เพือ่ อันกล่าวแล้ ว
ว่า (อ.ท่าน) จงกลับ ดังนี ้ (ด้วยค�ำ) อันไพเราะหรือ หรือว่าอันหยาบคาย
หรื อ หรื อว่าโบยแล้ ว (ยังเงา) ให้ กลับ ฯ
(อ. อันถาม ว่า อันใคร ๆ ไม่อาจ เพื่ออันยังเงาให้ กลับ) กสฺมา? สรี รปฺปฏิพทฺธตฺตา. เอวเมว อิเมสํ ทสนฺนํ
เพราะเหตุไร?(ดังนี ้)(อ.อันแก้ ว่าอันใครๆไม่อาจเพือ่ อันยังเงาให้ กลับ) กุสลกมฺมปถานํ อาจิณฺณสมาจิณฺณกุสลมูลกํ
เพราะความที่แห่งเงา นัน้ เป็ นธรรมชาติเนื่องเฉพาะแล้ วด้ วยสรี ระ กามาวจราทิเภทํ กายิกเจตสิกํ สุขํ คตคตฏฺ€าเน
(ดังนี ้) (ฉันใด) อ. ความสุข อันเป็ นไปในกายและเป็ นไปในจิต อนุปายินี ฉายา วิย หุตฺวา น วิชหตีต.ิ
อันต่างด้วยสุขมีสขุ อันเป็ นกามาวจรเป็ นต้น อันมีแห่งกุศลกรรมบถ
ท. ๑๐ เหล่านี ห้ นา - กุศลอันอันบุคคลประพฤติทั่วแล้ วและ
ประพฤติทั่วดีแล้ วเป็ นมูล ย่อมไม่ละ (ซึ่งบุคคลนัน้ ) ในที่
(แห่งบุคคลนัน้ ) ไปแล้ วและไปแล้ ว เป็ นราวกะว่า อ.เงา
อันเป็ นตามโดยปกติ เป็ น ฉันนันนั ้ น่ เทียว ดังนี ้ ( แห่งบาท
แห่งพระคาถา)ว่า ฉายาว อนุปายินี ดังนี ้ ฯ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ. อันรู้ตลอดเฉพาะ คาถาปริ โยสาเน จตุราสีตยิ า ปาณสหสฺสานํ
ซึง่ ธรรม ได้ มีแล้ ว แก่พนั แห่งสัตว์ผ้ มู ีลมปราณ ท. ๘๔ ฯ ธมฺมาภิสมโย อโหสิ.
อ. เทพบุตรชือ่ ว่ามัฏฐกุณฑลี ตังอยู ้ เ่ ฉพาะแล้ว ในโสดาปัตติผล ฯ มฏฺ€กุณฺฑลิเทวปุตฺโต โสตาปตฺตผิ เล ปติฏฺ€หิ.
อ. อย่างนัน้ คือว่า อ. พราหมณ์ ชือ่ ว่าอทินนปุพพกะ (ตังอยู ้ เ่ ฉพาะแล้ว ตถา อทินฺนปุพฺพโก พฺราหฺมโณ. โส ตาวมหนฺตํ วิภวํ
ในโสดาปั ตติผล) ฯ อ. พราหมณ์ นัน้ เรี่ ยรายแล้ ว ซึง่ สมบัติ พุทฺธสาสเน วิปปฺ กิรีต.ิ
อันบุคคลพึงเสวย อันใหญ่ เพียงนัน้ ในพระพุทธศาสนา ดังนี ้แล
ฯ *จบ ก. ๖*

อ. เรื่ องแห่ งมาณพชื่อว่ ามัฏฐกุณฑลี (จบแล้ ว) ฯ มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุ.

๓. อ.เรื่ องแห่ งพระเถระชื่อว่ าติสสะ ๓. ติสฺสตฺเถรวตฺถุ. (๓)


(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “อกฺโกจฺฉิ มํ, อวธิ มนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
ซึง่ พระเถระชื่อว่าติสสะ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า เชตวเน วิหรนฺโต ติสสฺ ตฺเถรํ อารพฺภ กเถสิ.
อกฺโกจฺฉิ มํ, อวธิ มํ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ได้ ยนิ ว่า (อ. พระติสสะ) ผู้มอี ายุนนั ้ เป็ นโอรสแห่งพระเจ้ าอา โส กิรายสฺมา ภควโต ปิ ตุจฺฉาปุตฺโต มหลฺลก-
ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า (เป็ น) บวชแล้ ว ในกาลแห่งตนเป็ นคนแก่ กาเล ปพฺพชิโต พุทฺธสาสเน อุปปฺ นฺนํ ลาภสกฺการํ
บริ โภคอยู่ ซึง่ ลาภและสักการะ อันเกิดขึ ้นแล้ ว ในพระพุทธศาสนา ปริ ภ
ุ ฺชนฺโต ถุลฺลสรี โร อาโกฏิตปจฺจาโกฏิเตหิ จีวเรหิ
เป็ นผู้มีสรี ระอันอ้ วน (เป็ น) มีจีวร ท. อันบุคคลทุบทัว่ แล้ วและ เยภุยฺเยน วิหารมชฺเฌ อุปฏฺ€านสาลายํ นิสีทติ.
ทุบทัว่ เฉพาะแล้ ว นัง่ อยู่ ในศาลาเป็ นทีบ่ ำ� รุง ในท่ามกลางแห่งวิหาร
โดยมาก ฯ
อ. ภิกษุ ท. ผู้จรมา ผู้มาแล้ ว เพื่อต้ องการแก่อันเฝ้า ตถาคตสฺส ทสฺสนตฺถาย อาคตา อาคนฺตกุ า
ซึง่ พระตถาคตเจ้ า ไปแล้ ว สูส่ ำ� นัก ของพระติสสะนัน้ ด้ วยส�ำคัญ ว่า ภิกฺขู “เอโส มหาเถโร ภวิสฺสตีติ สฺาย ตสฺส
อ. พระเถระนัน่ เป็ นพระเถระผู้ใหญ่ จักเป็ น ดังนี ้ ย่อมถาม สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา วตฺตํ อาปุจฺฉนฺต,ิ ปาทสมฺพาหนาทีนิ
โดยเอื ้อเฟื อ้ ซึง่ วัตร, ย่อมถามโดยเอื ้อเฟื อ้ (ซึง่ กิจ ท.) มีการนวด อาปุจฺฉนฺต.ิ โส ตุณฺหี โหติ.
ซึ่ ง เท้ าเป็ นต้ น ฯ อ. พระเถระนั น้ เป็ นผู้ นิ่ ง ย่ อ มเป็ น ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 35


ครัง้ นัน้ อ. ภิกษุหนุม่ รูปหนึง่ ถามแล้ ว ซึง่ พระเถระนัน้ ว่า อถ นํ เอโก ทหรภิกฺขุ “กติวสฺสา ตุมเฺ หติ
อ. ท่าน ท. เป็ นผู้มีพรรษาเท่าไร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ปุจฺฉิตฺวา “วสฺสํ นตฺถิ, มหลฺลกกาเล ปพฺพชิตา
อ. พรรษา ย่อมไม่มี, อ. เรา ท. เป็ นผู้บวชแล้ ว ในกาลแห่งตนเป็ นคนแก่ มยนฺติ วุตฺเต, “อาวุโส ทุพฺพินีต มหลฺลก อตฺตโน
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันพระเถระ) กล่าวแล้ ว, ดีดแล้ ว ซึง่ นิ ้วมือ (มีอนั ให้ ร้ ู) ปมาณํ น ชานาสิ, เอตฺตเก มหลฺลกตฺเถเร
ว่า แน่ะคนแก่ ผู้อนั บุคคลแนะน�ำได้ โดยยากแล้ ว ผู้มีอายุ (อ. ท่าน) ทิสฺวา สามีจิมตฺตํปิ น กโรสิ, วตฺเต อาปุจฺฉิยมาเน,
ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ ประมาณ ของตน, อ. ท่าน เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระผู้แก่ ท. ตุณฺหี โหสิ, กุกฺกจุ ฺจมตฺตํปิ เต นตฺถีติ อจฺฉรํ
ผู้มีประมาณเท่านี ้ ย่อมไม่กระท�ำ (ซึง่ วัตร) แม้ สกั ว่าสามีจิกรรม , ปหริ .
ครัน้ เมื่อวัตร (อันเรา) ถามโดยเอื ้อเฟื อ้ อยู,่ (อ. ท่าน) เป็ นผู้นิ่ง ย่อมเป็ น,
(อ. เหตุ) แม้ สกั ว่าความรังเกียจ ย่อมไม่มี แก่ทา่ น ดังนี ้ (เป็ นเหตุ) ฯ
อ.พระเถระนัน้ ยังความถือตัวว่าเป็ นกษัตริ ย์ ให้ เกิดแล้ ว ถามแล้ ว โส ขตฺตยิ มานํ ชเนตฺวา “ตุมเฺ ห กสฺส สนฺตกิ ํ
ว่า อ. ท่าน ท. เป็ นผู้มาแล้ ว สูส่ �ำนัก ของใคร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, อาคตาติ ปุจฺฉิตฺวา, “สตฺถุ สนฺตกิ นฺติ วุตฺเต, “ มํ
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. เรา ท. เป็ นผู้มาแล้ ว) สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา ปน `โก เอโสติ สลฺลกฺเขถ, มูลเมว โว ฉินฺทิสฺสามีติ
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันภิกษุนน) ั ้ กล่าวแล้ ว, กล่าวแล้ ว ว่า ก็ อ. ท่าน ท. วตฺวา รุทนฺโต ทุกฺขี ทุมมฺ โน สตฺถุ สนฺตกิ ํ อคมาสิ.
ย่อมก�ำหนด ซึง่ เรา ว่า อ. ใคร นัน่ ดังนี ้, (อ. เรา) จักตัด ซึง่ รากเง่า
ของท่าน ท. นัน่ เทียว ดังนี ้ ร้ องไห้ อยู่ เป็ นผู้มีทกุ ข์ เป็ นผู้มีใจอันโทษ
ประทุษร้ ายแล้ ว (เป็ น) ได้ ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว ซึง่ พระเถระนัน้ ว่า แน่ะติสสะ อถ นํ สตฺถา “กินฺนุ ตฺวํ ติสฺส ทุกฺขี ทุมมฺ โน
อ. เธอ เป็ นผู้มีทกุ ข์ เป็ นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว เป็ นผู้มีหน้ าอัน อสฺสมุ โุ ข รุทมาโน อาคโตสีติ ปุจฺฉิ. เตปิ ภิกฺขู
ชุม่ แล้ วด้ วยน� ้ำตา (เป็ น) ร้ องไห้ อยู่ เป็ นผู้มาแล้ ว ย่อมเป็ น เพราะเหตุ “เอส คนฺตฺวา กิฺจิ อาลุลกิ ํ กเรยฺยาติ จินฺเตตฺวา
อะไรหนอ ดังนี ้ ฯ อ. ภิกษุ ท. แม้เหล่านัน้ คิดแล้ว ว่า อ. ภิกษุนนั่ ไปแล้ว เตเนว สทฺธึ คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ
พึงกระท�ำ ซึง่ ความวุน่ วาย อะไร ๆ ดังนี ้ ไปแล้ ว กับ ด้ วยพระเถระ นิสีทสึ .ุ
นันนั้ น่ เที่ยว ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา นัง่ แล้ ว ณ ทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ฯ
อ. พระเถระนัน้ ผู้อนั พระศาสดาตรัสถามแล้ ว กราบทูลแล้ ว ว่า โส สตฺถารา ปุจฺฉิโต “อิเม มํ ภนฺเต ภิกฺขู
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ อ. ภิกษุ ท. เหล่านี ้ ย่อมด่า ซึง่ ข้ าพระองค์ ดังนี ้ ฯ อกฺโกสนฺตีติ อาห.
(อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า ก็ อ. เธอ เป็ นผู้นงั่ แล้ ว ในที่ไหน “กหํ ปน ตฺวํ นิสนิ ฺโนสีต.ิ
ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “วิหารมชฺเฌ อุปฏฺ€านสาลายํ ภนฺเตติ.
(อ.ข้ าพระองค์ เป็ นผู้นงั่ แล้ ว) ในศาลาเป็ นที่บ�ำรุง ในท่ามกลาง “อิเม เต ภิกฺขู อาคจฺฉนฺตา ทิฏฺ€าติ.
แห่งวิหาร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ (อ.พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า “ทิฏฺ€า ภนฺเตติ.
อ. ภิกษุ ท. เหล่านี ้ มาอยู่ อันเธอ เห็นแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ “อุฏฺ€าย เต ปจฺจคุ ฺคมนํ กตนฺต.ิ
กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. ภิกษุ ท. เหล่านี ้ มาอยู่ “น กตํ ภนฺเตติ.
อันข้ าพระองค์) เห็นแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า
อ.การต้ อนรับ อันเธอ ลุกขึ ้นแล้ ว กระท�ำแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ
กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. การต้ อนรับ อันข้ าพระองค์)
ไม่กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า อ. การรับซึง่ บริ ขาร ของภิกษุ ท. “เตสํ ปริ กฺขารคฺคหณํ เต อาปุจฺฉิตนฺต.ิ
เหล่านัน้ อันเธอ ถามโดยเอื ้อเฟื อ้ แล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ “นาปุจฺฉิตํ ภนฺเตติ.
กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ (อ. การรับซึง่ บริขาร อันข้าพระองค์) “วตฺตํ วา ปานียํ วา อาปุจฺฉิตนฺต.ิ
ไม่ถามโดยเอื ้อเฟื อ้ แล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า “นาปุจฺฉิตํ ภนฺเตติ.
อ. วัตร หรือ หรือว่า อ. น� ้ำอันบุคคลพึงดืม่ (อันเธอ) ถามโดยเอื ้อเฟื อ้ แล้ว “อาสนํ อภิหริ ตฺวา ปาทสมฺพาหนํ กตนฺต.ิ
หรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ
(อ. วัตร หรื อ หรื อว่า อ. น� ้ำอันบุคคลพึงดื่ม อันข้ าพระองค์) ไม่ถาม
โดยเอื ้อเฟื อ้ แล้ว ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) ว่า อ. การนวดซึง่ เท้า
(อันเธอ) น�ำไปเฉพาะแล้ ว ซึง่ อาสนะ กระท�ำแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. การนวด “น กตํ ภนฺเตติ.
ซึง่ เท้ า อันข้ าพระองค์) ไม่กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) “ติสฺส มหลฺลกภิกฺขนู ํ สพฺพเมตํ วตฺตํ กตฺตพฺพํ,
ว่า ดูก่อนติสสะ อ. วัตรนัน่ ทังปวง ้ (อันเธอ) พึงกระท�ำ แก่ภิกษุผ้ แู ก่ ท.,

36 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. อัน (อันเธอ) ผู้ไม่กระท�ำอยู่ ซึง่ วัตรนัน่ นัง่ ในท่ามกลาง เอตํ อกโรนฺเตน วิหารมชฺเฌ นิสที ติ ํุ น วฏฺฏติ;
แห่งวิหาร ย่อมไม่ควร ; อ. โทษ ของเธอนัน่ เทียว อ. เธอ ยังภิกษุ ท. ตเวว โทโส, เอเต ภิกฺขู ขมาเปหีติ. “เอเต มํ ภนฺเต
เหล่านั่น จงให้ อดโทษ ดังนี ้ ฯ (อ.พระเถระ กราบทูลแล้ ว) ว่า อกฺโกสึส,ุ นาหํ เอเต ขมาเปมีต.ิ “ติสฺส มา เอวํ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน่ ด่าแล้ ว ซึง่ ข้ าพระองค์, กริ : ตเวว โทโส, ขมาเปหิ เนติ. “น ขมาเปมิ
อ. ข้ าพระองค์ ยังภิกษุ ท. เหล่านัน่ จะให้ อดโทษ หามิได้ ดังนี ้ ฯ ภนฺเตติ.
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนติสสะ (อ. เธอ) อย่ากระท�ำแล้ ว
อย่างนี ้ ; อ. โทษ ของเธอนัน่ เทียว, (อ. เธอ) ยังภิกษุ ท. เหล่านัน้
จงให้อดโทษ ดังนี ้ ฯ (อ.พระเถระ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ
(อ.ข้ าพระองค์) (ยังภิกษุ ท.) จะให้ อดโทษ หามิได้ ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อถ สตฺถา “ทุพฺพโจ เอส ภนฺเตติ ภิกฺขหู ิ
อ. พระเถระนัน่ เป็ นผู้อนั บุคคลพึงว่าได้ โดยยาก (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ วุตฺเต, “น ภิกฺขเว อิทาเนว, ปุพฺเพเปส ทุพฺพโจเย
อันภิกษุ ท. กราบทูลแล้ ว, ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. ติสสะ) วาติ วตฺวา “อิทานิ ตาวสฺส ภนฺเต ทุพฺพจภาโว
(เป็ นผู้อนั บุคคลพึงว่าได้ โดยยาก ย่อมเป็ น) ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ , อมฺเหหิ าโต, อตีเต กิมกาลีติ วุตฺเต, “เตนหิ
อ. ติสสะนัน่ เป็ นผู้อนั บุคคลพึงว่าได้ โดยยากนัน่ เทียว (ได้ เป็ นแล้ ว) ภิกฺขเว สุณาถาติ วตฺวา อตีตํ อาหริ :
แม้ ในกาลก่อน ดังนี ้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ความที่
แห่งพระเถระนันเป็ ้ นผู้อนั บุคคลพึงว่าได้ โดยยาก อันข้ าพระองค์ ท.
ทราบแล้ ว ในกาลนี ้ ก่อน, (อ. พระเถระนัน) ้ ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรม
อะไร ในกาลอันล่วงไปแล้ ว ดังนี ้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ ว, ตรัสแล้ ว
ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ถ้ าอย่างนัน้ (อ. เธอ ท.) จงฟั ง ดังนี ้ ทรงน�ำมาแล้ ว
ซึง่ เรื่ องอันล่วงไปแล้ ว ว่า:
ในกาลอันล่วงไปแล้ ว ครัน้ เมื่อพระราชา ผู้เป็ นใหญ่ในเมือง- อตีเต พาราณสิยํ พาราณสีราเช รชฺชํ กาเรนฺเต,
ชื่อว่าพาราณสี (ทรงยังบุคคล) ให้ กระท�ำอยู่ ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา เทวโล นาม ตาปโส อฏฺ€ มาเส หิมวนฺเต วสิตฺวา
ในเมืองชื่อว่าพาราณสี,อ. ดาบส ชื่อว่าเทวละ อยูแ่ ล้ ว ในป่ าหิมพานต์ โลณมฺพิลเสวนตฺถาย จตฺตาโร มาเส นครํ อุปนิสฺสาย
สิ ้นเดือน ท. ๘ เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเข้ าไปอาศัยซึง่ เมืองอยู่ ตลอดเดือน ท. วสิตกุ าโม หิมวนฺตโต อาคนฺตฺวา นครทฺวารปาลเก
๔ เพื่อต้ องการแก่อนั เสพซึง่ รสเค็มและรสเปรี ย้ ว (เป็ น) มาแล้ ว ทิสฺวา ปุจฺฉิ “อิมํ นครํ สมฺปตฺตปพฺพชิตา กตฺถ
จากป่ าหิมพานต์ เห็นแล้ ว (ซึง่ ชน ท.) ผู้รักษาซึง่ ประตูแห่งเมือง วสนฺตีต.ิ “กุมภฺ การสาลายํ ภนฺเตติ.
ถามแล้ ว ว่า อ. บรรพชิตผู้ถงึ พร้ อมแล้ ว ท. ซึง่ เมืองนี ้ ย่อมอยู่ ในที่ไหน
ดังนี ้ฯ (อ. ชน ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ (อ. บรรพชิต ท.
ย่อมอยู)่ ในโรงแห่งบุคคลผู้กระท�ำซึง่ หม้ อ ดังนี ้ ฯ
อ. ดาบสนัน้ ไปแล้ ว สูโ่ รงแห่งบุคคลผู้กระท�ำซึง่ หม้ อ ยืนแล้ ว โส กุมภฺ การสาลํ คนฺตฺวา ทฺวาเร €ตฺวา “สเจ
ใกล้ ประตู กล่าวแล้ ว ว่า ถ้ าว่า อ. ความไม่หนักใจ แห่งท่าน (ย่อมมี) เต อครุ , วเสยฺยาม เอกรตฺตึ สาลายนฺติ อาห .
ไซร้ , (อ. เรา ท.) พึงอยู่ ในโรง สิ ้นราตรี หนึง่ ดังนี ้ ฯ อ. บุคคลผู้กระท�ำ กุมภฺ กาโร “ มยฺหํ รตฺตึ สาลายํ กิจฺจํ นตฺถิ,
ซึง่ หม้ อ (กล่าวแล้ ว) ว่า อ. กิจ ของกระผม ย่อมไม่มี ในโรง ในกลางคืน, มหตี สาลา, ยถาสุขํ วสถ ภนฺเตติ สาลํ นิยยฺ าเทสิ.
อ. โรง ใหญ่, ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน ท. จงอยู่ ตามความสบาย ดังนี ้ ตสฺมึ ปวิสติ ฺวา นิสนิ ฺเน, อปโรปิ นารโท นาม
มอบถวายแล้ ว ซึง่ โรง ฯ ครัน้ เมื่อดาบสนัน้ เข้ าไปแล้ ว นัง่ แล้ ว, อ. ดาบส ตาปโส หิมวนฺตโต อาคนฺตฺวา กุมภฺ การํ เอกรตฺตวิ าสํ
ชื่อว่านารทะ แม้ อื่นอีก มาแล้ ว จากป่ าหิมพานต์ ขอแล้ ว ซึง่ การอยู่ ยาจิ.
สิ ้นราตรี หนึง่ กะบุคคลผู้กระท�ำซึง่ หม้ อ ฯ
อ. บุคคลผู้กระท�ำซึง่ หม้ อ คิดแล้ ว ว่า อ. ดาบสผู้มาแล้ วก่อน กุมภฺ กาโร “ป€มาคโต อิมินา สทฺธึ เอกโต
เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันอยู่ โดยความเป็ นอันเดียวกัน กับ ด้ วยดาบสนี ้ พึงเป็ น วสิตกุ าโม ภเวยฺย วา โน วา, อตฺตานํ ปริ โมเจสฺสามีติ
หรื อ หรื อว่า ( เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันอยู่ โดยความเป็ นอันเดียวกัน กับ จินฺเตตฺวา “สเจ ภนฺเต ป€มุปคโต โรเจสฺสติ,
ด้ วยดาบสนี ้) ไม่พงึ เป็ น, (อ. เรา) จักเปลื ้อง ซึง่ ตน ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ว่า ตสฺส รุจิยา วสถาติ อาห.
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ถ้ าว่า อ. ดาบสผู้เข้ าไปแล้ วก่อน จักชอบใจไซร้ ,
(อ. ท่าน ท.) จงอยู่ ตามความชอบใจ แห่งดาบสนัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. ดาบสนัน้ เข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ ดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ (กล่าวแล้ ว) โส ตํ อุปสงฺกมิตฺวา “สเจ เต อาจริ ย อครุ,
ว่า ข้ าแต่อาจารย์ ถ้ าว่า อ. ความไม่หนักใจ แห่งท่าน (ย่อมมี) ไซร้ , มยเมตฺถ เอกรตฺตึ วเสยฺยามาติ. “มหตี สาลา,
อ. กระผม ท. พึงอยู่ ในที่นี ้ สิ ้นราตรี หนึง่ ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า
อ. โรง ใหญ่,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 37


อ. ท่าน เข้ าไปแล้ ว จงอยู่ ในที่สดุ แห่งหนึง่ ดังนี ้ (อันดาบสนัน) ้ ปวิสติ ฺวา เอกมนฺเต วสาติ วุตฺเต, ปวิสติ ฺวา
กล่าวแล้ ว, เข้ าไปแล้ ว นัง่ แล้ ว ในส่วนอื่นอีก (แห่งดาบส) ผู้เข้ าไปแล้ ว ปุเรตรํ ปวิฏฺ€สฺส อปรภาเค นิสีทิ.
ก่อนกว่า ฯ
(อ. ดาบส ท.) แม้ทงสอง ั้ กล่าวแล้ว ซึง่ วาจาเป็ นเครือ่ งกล่าว อุโภปิ สาราณียํ กถํ กเถตฺวา, สยนกาเล
อันเป็ นที่ตงแห่
ั ้ งความระลึก, ในกาลเป็ นที่นอน อ. ดาบสชื่อว่านารทะ นารโท เทวลสฺส นิปชฺชนฏฺ€านฺจ ทฺวารฺจ
ก�ำหนดแล้ ว ซึง่ ที่เป็ นที่นอนแห่งดาบสชื่อว่าเทวละด้ วย ซึง่ ประตูด้วย สลฺลกฺเขตฺวา นิปชฺชิ. โส ปน เทวโล นิปชฺชมาโน
นอนแล้ ว ฯ ส่วนว่า อ. ดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ เมื่อนอน ไม่นอนแล้ ว อตฺตโน นิสนิ ฺนฏฺ€าเน อนิปชฺชิตฺวา ทฺวารมชฺเฌ
ในที่แห่งตนนัง่ แล้ ว นอนแล้ ว ขวาง ในท่ามกลางแห่งประตู ฯ อ. ดาบส ติริยํ นิปชฺชิ. นารโท รตฺตึ นิกฺขมนฺโต ตสฺส
ชื่อว่านารทะ ออกไปอยู่ ในกลางคืน เหยียบแล้ ว ที่ชฎา ท. ของดาบส ชฏาสุ อกฺกมิ.
ชื่อว่าเทวละนัน้ ฯ
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ. ใคร เหยียบแล้ ว ซึง่ เรา ดังนี ้ (อันดาบส “โก มํ อกฺกมีติ วุตฺเต, “อาจริ ย อหนฺติ
ชื่ อว่าเทวละ) กล่าวแล้ ว , (อ.ดาบสชื่ อว่านารทะ) กล่าวแล้ ว ว่า อาห. “กุฏชฏิล อรฺโต อาคนฺตฺวา มม ชฏาสุ
ข้ าแต่อาจารย์ อ. กระผม ดังนี ้ ฯ (อ. ดาบสชื่อว่าเทวละ) (กล่าวแล้ ว) อกฺกมสีต.ิ
ว่า ดูก่อนชฎิลโกง (อ. ท่าน) มาแล้ ว จากป่ า ย่อมเหยียบ ที่ชฎา ท.
ของเรา ดังนี ้ ฯ
(อ. ดาบสชื่อว่านารทะ) กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่อาจารย์ (อ. กระผม) “อาจริ ย ตุมหฺ ากํ อิธ นิปนฺนภาวํ น ชานามิ,
ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ ความที่ แห่งท่าน ท. เป็ นผู้นอนแล้ ว ในที่นี ้, อ. ท่าน ท. ขมถ เมติ วตฺวา ตสฺส กนฺทนฺตสฺเสว, พหิ นิกฺขมิ.
ขอจงอดโทษ ต่อกระผมเถิด ดังนี ้ เมื่อดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ คร�่ ำครวญ อิตโร “อยํ ปวิสนฺโตปิ มํ อกฺกเมยฺยาติ ปริ วตฺเตตฺวา
อยู่นั่นเทียว, ออกไปแล้ ว ในภายนอก ฯ อ. ดาบสชื่ อว่าเทวละ ปาทฏฺ€าเน สีสํ กตฺวา นิปชฺชิ.
นอกนี ้ (คิดแล้ ว) ว่า อ. ดาบสนี ้ แม้ เข้ าไปอยู่ พึงเหยียบ ซึง่ เรา ดังนี ้
เป็ นไปรอบแล้ ว นอนแล้ ว กระท�ำ ซึง่ ศีรษะ ในที่แห่งเท้ า ฯ
แม้ อ. ดาบสชื่อว่านารทะ เข้ าไปอยู่ คิดแล้ ว ว่า อ. เรา ผิดแล้ ว นารโทปิ ปวิสนฺโต “ ป€มมฺปาหํ อาจริ เย
ในอาจารย์ แม้ ก่อน, ในกาลนี ้ (อ. เรา) จักเข้ าไป โดยข้ างแห่งเท้ า อปรชฺฌ,ึ อิทานิสฺส ปาทปสฺเสน ปวิสสิ ฺสามีติ
ของอาจารย์นนั ้ ดังนี มาอยู
้ ่ เหยียบแล้ ว ที่คอ, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ.ใคร นัน่ จินฺเตตฺวา อาคจฺฉนฺโต คีวาย อกฺกมิ, “โก เอโสติ
ดังนี ้ (อันดาบสชื่อว่าเทวละ) กล่าวแล้ ว, กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่อาจารย์ วุตฺเต, “อหํ อาจริ ยาติ วตฺวา “กุฏชฏิล ป€มํ ชฏาสุ
อ. กระผม ดังนี ้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ดูก่อนชฎิลโกง (อ. ท่าน) เหยียบแล้ ว อกฺกมิตฺวา อิทานิ คีวาย อกฺกมสิ, อภิสปิ สฺสามิ
ที่ชฎา ท. ก่อน ย่อมเหยียบ ที่คอ ในกาลนี ้, (อ.เรา) จักแช่ง ซึง่ ท่าน ดังนี ้ ตนฺติ วุตฺเต, “อาจริ ย มยฺหํ โทโส นตฺถิ, อหํ ตุมหฺ ากํ
(อันดาบสชื่อว่าเทวละ) กล่าวแล้ ว , กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่อาจารย์ เอวํ นิปนฺนภาวํ น ชานามิ, `ป€มํปิ เม อปราธํ
อ. โทษ ของกระผม ย่อมไม่ม,ี อ. กระผม ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ ความทีแ่ ห่งท่าน ท. อตฺถิ, อิทานิ ปาทปสฺเสน ปวิสสิ ฺสามีติ ปวิฏฺโ€มฺหิ,
เป็ นผู้นอนแล้ วอย่างนี ้, อ. กระผม เป็ นผู้เข้ าไปแล้ ว (ด้ วยความคิด) ว่า ขมถ เมติ อาห. “กุฏชฏิล อภิสปิ สฺสามิ ตนฺติ .
อ. ความผิดแม้ ครัง้ ที่หนึง่ แห่งเรา มีอยู,่ ในกาลนี ้ อ. เรา จักเข้ าไป “มา เอวํ อกริ ตฺถ อาจริ ยาติ.
โดยข้ างแห่งเท้ า ดังนี ้ ย่อมเป็ น อ. ท่าน ท. ขอจงอดโทษ ต่อกระผมเถิด
ดังนี ้ ฯ (อ. ดาบสชื่อว่าเทวละ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนชฎิลโกง อ. เรา
จักแช่ง ซึง่ ท่าน ดังนี ้ ฯ (อ. ดาบสชื่อว่านารทะ กล่าวแล้ ว) ว่า
ข้ าแต่อาจารย์ อ. ท่าน ท. อย่าได้ กระท�ำแล้ ว อย่างนี ้ ดังนี ้ ฯ
อ. ดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ ไม่เอื ้อเฟื อ้ แล้ ว ซึง่ ค�ำ ของดาบสชื่อว่า โส ตสฺส วจนํ อนาทยิตฺวา
นารทะนัน้ แช่งแล้ ว ซึง่ ดาบสชื่อว่านารทะนันนั ้ น่ เทียว ว่า

อ. พระอาทิ ตย์ มี รศั มี อนั บัณฑิ ตก�ำหนดแล้วด้วยพัน มี เดช- “สหสฺสรํ สิ สตเตโช สุริโย ตมวิ โนทโน,
อันบัณฑิ ตก�ำหนดแล้วด้วยร้อย มี อนั บรรเทาซึ่งมื ดเป็ นปกติ ,
ครัน้ เมื อ่ พระอาทิ ตย์ ขึ้นไปอยู่ ในเวลาเช้า อ. ศีรษะ ของท่าน ปาโต อุทยนฺเต สุริเย มุทฺธา เต ผลตุ สตฺตธาติ
จงแตก โดยส่วนเจ็ด ดังนี ้ ฯ
ตํ อภิสปิ เยว.
อ. ดาสบชื่อว่านารทะ กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่อาจารย์ อ. โทษ นารโท “อาจริ ย มยฺหํ โทโส นตฺถิ,
ของกระผม ย่อมไม่มี,

38 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


เมื่อกระผม กล่าวอยูน่ นั่ เทียว, อ. ท่าน ท. แช่งแล้ ว , อ. โทษ มม วทนฺตสฺเสว, ตุมเฺ ห อภิสปิ ตฺถ, ยสฺส โทโส
ของบุคคลใด มีอยู;่ อ.ศรี ษะ ของบุคคลนัน้ จงแตก (อ. ศีรษะ) อตฺถิ; ตสฺส มุทฺธา ผลตุ มา นิทฺโทสสฺสาติ วตฺวา
ของบุคคลผู้ไม่มีโทษ จงอย่าแตก ดังนี ้ แช่งแล้ ว ว่า

อ. พระอาทิ ตย์ มี รศั มี อนั บัณฑิ ตก�ำหนดแล้วด้วยพัน “สหสฺสรํ สิ สตเตโช สุริโย ตมวิ โนทโน,
มี เดชอันบัณฑิ ตก�ำหนดแล้วด้วยร้อย มี อนั บรรเทาซึ่งมื ดเป็ นปกติ ,
ครัน้ เมื อ่ พระอาทิ ตย์ ขึ้นไปอยู่ ในเวลาเช้า อ. ศีรษะ ของท่าน ปาโต อุทยนฺเต สุริเย มุทฺธา เต ผลตุ สตฺตธาติ
จงแตก โดยส่วนเจ็ด ดังนี ้ ฯ
อภิสปิ .
ก็ (อ. ดาบสชื่อว่านารทะ) นัน้ เป็ นผู้มีอานุภาพมาก (เป็ น) โส ปน มหานุภาโว “อตีเต จตฺตาฬีส อนาคเต
ย่อมตามระลึกได้ ซึง่ กัปป์แปดสิบ ท. คือ (ซึง่ กัปป์ ท.) สี่สบิ ในกาล จตฺตาฬีสาติ อสีตกิ ปฺเป อนุสฺสรติ; ตสฺมา “ กสฺส
อันล่วงไปแล้ ว (ซึง่ กัปป์ ท.) สี่สบิ ในกาลอันไม่มาแล้ ว; เพราะเหตุนนั ้ นุ โข อุปริ สาโป ปติสฺสตีติ อุปธาเรนฺโต
(อ. ดาบสนัน) ้ ใคร่ครวญอยู่ ว่า อ. ความแช่ง จักตกไป ในเบื ้องบน “อาจริ ยสฺสาติ ตฺวา ตสฺมึ อนุกมฺปํ ปฏิจฺจ
แห่งใครหนอแล ดังนี ้ รู้แล้ ว ว่า (อ. ความแช่ง จักตกไป ในเบื ้องบน) อิทฺธิพเลน อรุณคุ ฺคมนํ นิวาเรสิ.
แห่งอาจารย์ ดังนี ้ อาศัยแล้ ว ซึง่ ความเอ็นดู ในอาจารย์นนั ้ ห้ ามแล้ ว
ซึง่ การขึ ้นไปแห่งอรุณ ด้ วยก�ำลังแห่งฤทธิ์ ฯ

(อ.ชน ท.) ผู้อยูใ่ นเมือง ครัน้ เมื่ออรุณ ไม่ขึ ้นไปอยู่ , ไปแล้ ว นาครา อรุเณ อนุคฺคจฺฉนฺเต, ราชทฺวารํ คนฺตฺวา
สูป่ ระตูแห่งพระราชา คร�่ ำครวญแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ สู มมติเทพ “เทว ตยิ รชฺชํ กาเรนฺเต, อรุโณ น อุฏฺ€าติ, อรุณํ
ครันเมื
้ อ่ พระองค์ (ทรงยังบุคคล) ให้กระท�ำอยู่ ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา, โน อุฏฺ€าเปหีติ กนฺทสึ .ุ
อ.อรุณ ย่อมไม่ตงขึ ั ้ ้น , (อ.พระองค์) ขอจงทรงยังอรุณให้ ตงขึ ั ้ ้น
แก่ข้าพระองค์ ท. ดังนี ้ ฯ

อ. พระราชา ทรงตรวจดูอยู่ (ซึง่ กรรม ท.) มีกายกรรมเป็ นต้ น ราชา อตฺตโน กายกมฺมาทีนิ โอโลเกนฺโต กิฺจิ
ของพระองค์ ไม่ทรงเห็นแล้ ว (ซึง่ กรรม) อันไม่ควรแล้ ว อะไร ๆ อยุตฺตํ อทิสฺวา “กึ นุ โข การณนฺติ จินฺเตตฺวา
ทรงด�ำริแล้ว ว่า อ. เหตุ อะไร หนอแล ดังนี ้ทรงระแวงอยู่ ว่า อันความวิวาท “ปพฺพชิตานํ วิวาเทน ภวิตพฺพนฺติ ปริ สงฺกมาโน
แห่งบรรพชิต ท. พึงมี ดังนี ้ ตรัสถามแล้ ว ว่า อ. บรรพชิต ท. ในเมืองนี ้ “กจฺจิ อิมสฺมึ นคเร ปพฺพชิตา อตฺถีติ ปุจฺฉิ .
มีอยู่ แลหรื อ ดังนี ้ ฯ
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ สู มมติเทพ (อ. บรรพชิต ท.) “หิยฺโย สายํ กุมฺภการสาลํ อาคตา อตฺถิ เทวาติ
ผู้มาแล้ ว สูโ่ รงแห่งบุคคลผู้กระท�ำซึง่ หม้ อ ในเวลาเย็น ในวันวาน มีอยู่ วุตฺเต, ตํขณฺเว ราชา อุกฺกาหิ ธาริ ยมานาหิ
ดังนี ้ (อันราชบุรุษ ท.) กราบทูลแล้ว, ในขณะนันนั ้ น่ เทียว อ. พระราชา ตตฺถ คนฺตฺวา นารทํ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสนิ ฺโน อาห
ด้ วยทังคบเพลิ
้ ง ท. (อันราชบุรุษ ท.) ทรงไว้ อยู่ เสด็จไปแล้ ว ในที่นนั ้
ทรงไหว้ แล้ ว ซึง่ ดาบสชื่อว่านารทะ ประทับนัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่
ตรัสแล้ ว ว่า

ข้าแต่พระดาบสชื อ่ ว่านารทะ อ.การงาน ท. ของชมพูทวีป “กมฺมนฺตา นปฺปวตฺตนฺติ ชมฺพทู ีปสฺส นารท,


ย่อมไม่เป็ นไปทัว่ , อ.โลก เป็ นโลกมื ดเป็ นแล้ว เพราะเหตุอะไร
(ย่อมเป็ น) ? (อ.ท่าน) ผูอ้ นั ข้าพเจ้าถามแล้ว จงบอก เกน โลโก ตโมภูโต? ตํ เม อกฺขาหิ ปุจฺฉิโตติ .
ซึ่งเหตุนนั้ แก่ขา้ พเจ้า ดังนี ้ ฯ

อ. ดาบสชื่อว่านารทะ กราบทูลแล้ ว ซึง่ เรื่ องอันเป็ นไปทัว่ ทังปวง


้ นารโท สพฺพํ ปวตฺตึ อาจิกฺขิตฺวา “อิมินา
(กราบทูลแล้ ว) ว่า อ. อาตมภาพ เป็ นผู้อนั ดาบสนี ้แช่งแล้ ว เพราะเหตุนี ้ การเณนาหํ อิมินา อภิสปิ โต, อถาหํ `มยฺหํ โทโส
(ย่อมเป็ น), ครัน้ เมือ่ ความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. อาตมภาพ กล่าวแล้ ว นตฺถิ, ยสฺส โทโส อตฺถิ;
ว่า อ. โทษ ของกระผม ย่อมไม่มี, อ. โทษ ของบุคคลใด มีอยู;่

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 39


อ. ความแช่ง จงตกไป ในเบื ้องบน แห่งบุคคล นันนั ้ น่ เทียว ดังนี ้ ตสฺเสว อุปริ สาโป ปตตูติ วตฺวา อภิสปึ ;
แช่งแล้ ว; ก็แล (อ.อาตมภาพ) ครัน้ แช่งแล้ ว ใคร่ครวญอยู่ ว่า อภิสปิ ตฺวา จ ปน `กสฺส นุโข อุปริ สาโป ปติสฺสตีติ
อ. ความแช่ง จักตกไป ในเบื ้องบน แห่งใคร หนอแล ดังนี ้ เห็นแล้ ว อุปธาเรนฺโต `สุริยคุ ฺคมนเวลาย อาจริ ยสฺส มุทฺธา
ว่า อ. ศีรษะ ของอาจารย์ จักแตก โดยส่วนเจ็ด ในเวลาเป็ นที่ขึ ้นไป สตฺตธา ผลิสฺสตีติ ทิสฺวา เอตสฺมึ อนุกมฺปํ ปฏิจฺจ
แห่งพระอาทิตย์ ดังนี ้ อาศัยแล้ ว ซึง่ ความอนุเคราะห์ ในอาจารย์นนั่ อรุณสฺส อุคฺคนฺตํุ น เทมีติ.
ย่อมไม่ให้ เพื่ออันขึ ้นไป แห่งอรุณ ดังนี ้ ฯ (อ. พระราชา ตรัสถามแล้ ว)
ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ก็ อ. อันตราย ไม่พงึ มี แก่ดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ “กถํ ปนสฺส ภนฺเต อนฺตราโย น ภเวยฺยาติ.
อย่างไร ดังนี ้ ฯ (อ. ดาบสชื่อว่านารทะ กราบทูลแล้ ว) ว่า ถ้ าว่า “สเจ มํ ขมาเปยฺย, น ภเวยฺยาติ.
(อ. ดาบสชื่อว่าเทวละ) ยังอาตมภาพ พึงให้ อดโทษไซร้ , (อ. อันตราย) “เตนหิ ขมาเปหีต.ิ
ไม่พงึ มี ดังนี ้ ฯ (อ. พระราชา ตรัสแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. ท่าน “เอโส มํ ชฏาสุ จ คีวาย จ อกฺกมิ, นาหํ
(ยังดาบสชื่อว่านารทะ) จงให้ อดโทษเถิด ดังนี ้ ฯ (อ.ดาบสชื่อว่าเทวละ เอตํ กุฏชฏิลํ ขมาเปมีติ.
กราบทูลแล้ ว) ว่า อ. ชฎิลนัน่ เหยียบแล้ ว ซึง่ อาตมภาพ ที่ชฎา ท. ด้ วย “ขมาเปหิ ภนฺเต, มา เอวํ กรี ต.ิ
ที่คอด้ วย, อ. อาตมภาพ จะไม่ยงั ชฎิลโกงนัน่ ให้ อดโทษ ดังนี ้ ฯ “น ขมาเปมีต.ิ
(อ. พระราชา ตรัสแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน ยังดาบส
ชื่อว่านารทะ จงให้ อดโทษเถิด , อ. ท่าน อย่ากระท�ำแล้ ว อย่างนี ้
ดังนี ้ ฯ (อ.ดาบสชื่อว่าเทวละ กราบทูลแล้ ว) ว่า อ. อาตมภาพ
จะไม่ยงั ชฎิลโกง ให้ อดโทษ ดังนี ้ ฯ

(ครัน้ เมื่อพระด�ำรัส) ว่า อ. ศีรษะ ของท่าน จักแตก โดยส่วนเจ็ด “มุทฺธา เต สตฺตธา ผลิสฺสตีติ วุตฺเตปิ ,
ดังนี ้ (อันพระราชา) แม้ ตรัสแล้ ว, (อ. ดาบสชื่อว่าเทวละ) ไม่ยงั ดาบส น ขมาเปสิเยว.
ชื่อว่านารทะให้ อดโทษแล้ วนัน่ เทียว ฯ ครัง้ นัน้ อ. พระราชา (ตรัสแล้ ว) อถ นํ ราชา “น ตฺวํ อตฺตโน รุจิยา ขมาเปสฺสสีต,ิ
กะดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ ว่า อ. ท่าน จักไม่ยงั ดาบสชื่อว่านารทะ หตฺถปาทกุจฺฉิคีวาสุ ตํ คาหาเปตฺวา นารทสฺส
ให้ อดโทษ ตามความชอบใจ ของตนหรื อ ดังนี ้, ทรงยังราชบุรุษ ท. ปาทมูเล โอนมาเปสิ.
ให้ จบั แล้ ว ซึง่ ดาบสชื่อว่าเทวละนัน้ ที่มือและเท้ าและท้ องและคอ ท.
ทรงยังดาบสชื่อว่าเทวละ ให้ น้อมลงแล้ ว ณ ที่ ใกล้ แห่งเท้ า ของดาบส
ชื่อว่านารทะ ฯ อ. ดาบสชื่อว่านารทะกล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่อาจารย์ นารโท “อุฏฺเ€หิ อาจริ ย, ขมามิ เตติ วตฺวา
อ. ท่าน จงลุกขึ ้นเถิด, อ. กระผม ย่อมอดโทษ ต่อท่าน ดังนี ้ “มหาราช นายํ ยถามเนน ขมาเปติ, อวิทเู ร เอโก
กราบทูลแล้ ว ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ. ดาบสนี ้ (ยังอาตมภาพ) สโร อตฺถิ, ตตฺถ นํ สีเส มตฺตกิ าปิ ณฺฑํ กตฺวา
ย่อมให้ อดโทษ ตามใจอย่างไร หามิได้ , อ. สระ แห่งหนึง่ มีอยู่ คลปฺปมาเณ อุทเก €ปาเปหีติ อาห.
ในทีอ่ นั ไม่ไกล, อ. พระองค์ ทรงกระท�ำแล้ว ซึง่ ก้ อนแห่งดินเหนียว บนศีรษะ
(ทรงยังราชบุรุษ ท.) จงให้ พกั ไว้ ซึง่ ดาบสนัน้ ในน� ้ำ มีคอเป็ นประมาณ
ในสระนัน้ ดังนี ้ ฯ อ. พระราชา (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้ กระท�ำแล้ ว ราชา ตถา กาเรสิ. นารโท เทวลํ อามนฺเตตฺวา
อย่างนัน้ ฯ อ. ดาบสชื่อว่านารทะ เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ ดาบสชื่อว่าเทวละ “อาจริ ย มยา อิทฺธิยา วิสฺสฏฺ€าย, สุริยสนฺตาเป
กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่อาจารย์ ครัน้ เมื่อฤทธิ์ อันกระผม คลายแล้ ว, อุฏฺ€หนฺเต, ตฺวํ อุทเก นิมชุ ฺชิตฺวา อฺเน €าเนน
ครัน้ เมื่อความร้ อนพร้ อมแห่งพระอาทิตย์ ตังขึ ้ ้นอยู,่ อ. ท่าน ด�ำลงแล้ ว อุตฺตริ ตฺวา คจฺเฉยฺยาสีติ อาห.
ในน� ้ำ ข้ ามขึ ้นแล้ ว พึงไป โดยที่ อื่น ดังนี ้ ฯ อ. ก้ อนแห่งดินเหนียว ตสฺส สุริยรํ สีหิ สมฺผฏุ ฺ €มตฺโตว มตฺตกิ าปิ ณฺโฑ
(บนศีรษะ) ของดาบสนัน้ อันสักว่าอันรัศมีแห่งพระอาทิตย์ ท. ถูกต้องแล้วเทียว สตฺตธา ผลิ. โส นิมชุ ฺชิตฺวา อฺเน €าเนน ปลายิ.
แตกแล้ ว โดยส่วนเจ็ด ฯ อ. ดาบสนัน้ ด�ำลงแล้ ว หนีไปแล้ ว โดยที่อื่น
(ดังนี ้) ฯ
อ. พระศาสดา ครัน้ ทรงน�ำมาแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนานี ้ ตรัสแล้ ว สตฺถา อิมํ ธมฺมเทสนํ อาหริ ตฺวา “ตทา ภิกฺขเว
ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. พระราชา ในกาลนัน้ เป็ นอานนท์ ได้ เป็ นแล้ ว ราชา อานนฺโท อโหสิ, เทวโล ติสฺโส, นารโท อหเมว,
(ในกาลนี ้), อ. ดาบสชื่อว่าเทวละ (ในกาลนัน) ้ เป็ นติสสะ (ได้ เป็ นแล้ ว เอวํ ตทาเปส ทุพฺพโจเยวาติ วตฺวา ติสฺสตฺเถรํ
ในกาลนี ้), อ. ดาบสชือ่ ว่านารทะ (ในกาลนัน)้ เป็ นเรานัน่ เทียว (ได้เป็ นแล้ว อามนฺเตตฺวา “ติสฺส ภิกฺขโุ น หิ `อสุเกนาหํ อกฺกฏุ ฺ โ€,
ในกาลนี ้), อ. ติสสะนัน่ เป็ นผู้อนั บุคคล พึงว่าได้ โดยยากนัน่ เทียว
(ได้ เป็ นแล้ ว) แม้ ในกาลนัน้ อย่างนี ้ ดังนี ้ ตรัสเรี ยกมาแล้ ว ซึง่ พระเถระ
ชื่อว่าติสสะ ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนติสสะ ก็ เมื่อภิกษุ คิดอยู่ ว่า อ. เรา
เป็ นผู้อนั บุคคลโน้ นด่าแล้ ว (ย่อมเป็ น),

40 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


เป็ นผู้อนั บุคคลโน้ นประหารแล้ว (ย่อมเป็ น), เป็ นผู้อนั บุคคลโน้ นชนะแล้ว อสุเกน ปหโฏ, อสุเกน ชิโต, อสุโก เม ภณฺฑํ
(ย่อมเป็ น), อ. บุคคลโน้ น ได้ ลกั แล้ ว ซึง่ สิง่ ของ ของเรา ดังนี ้ อหาสีติ จินฺเตนฺตสฺส เวรนฺนาม น วูปสมฺมติ; เอวํ
ชื่อ อ. เวร ย่อมไม่เข้ าไปสงบวิเศษ; แต่วา่ (เมื่อภิกษุ) ไม่เข้ าไปผูกไว้ อยู่ ปน อนุปนยฺหนฺตสฺเสว อุปสมฺมตีติ วตฺวา อิมา คาถา
(ซึง่ ความโกรธ) อย่างนี ้นัน่ เทียว (อ. เวร) ย่อมเข้ าไปสงบ ดังนี ้ ได้ ตรัสแล้ว อภาสิ
ซึง่ พระคาถา ท. เหล่านี ้ ว่า

ก็ อ.ชน ท.เหล่าใด ย่อมเข้าไปผูกไว้ ซึ่งความโกรธนัน้ ว่า “อกฺโกจฺฉิ มํ, อวธิ มํ, อชิ นิ มํ, อหาสิ เม,
(อ.บุคคลโน้น) ด่าแล้ว ซึ่งเรา, (อ.บุคคลโน้น) ได้ฆ่าแล้ว
ซึ่งเรา, (อ.บุคคลโน้น) ได้ชนะแล้ว ซึ่งเรา, (อ.บุคคลโน้น) เย จ ตํ อุปนยฺหนฺติ, เวรํ เตสํ น สมฺมติ .
ได้ลกั แล้ว (ซึ่งสิ่ งของ) ของเรา (ดังนี)้ , อ.เวร ของชน ท.
เหล่านัน้ ย่อมไม่สงบ ฯ ส่วนว่า อ.ชน ท. เหล่าใด `อกฺโกจฺฉิ มํ, อวธิ มํ, อชิ นิ มํ, อหาสิ เม,’
ย่อมไม่เข้าไปผูกไว้ ซึ่งความโกรธนัน้ ว่า (อ.บุคคลโน้น) ด่าแล้ว
ซึ่งเรา, (อ.บุคคลโน้น) ได้ฆ่าแล้ว ซึ่งเรา, (อ.บุคคลโน้น) เย จ ตํ นูปนยฺหนฺติ, เวรํ เตสูปสมฺมตีติ.
ได้ชนะแล้ว ซึ่งเรา, (อ.บุคคลโน้น) ได้ลกั แล้ว (ซึ่งสิ่ งของ)
ของเรา ดังนี ้ อ.เวร ของชน ท. เหล่านัน้ ย่อมเข้าไปสงบ ดังนี ้ ฯ

(อ. อรรถ) ว่า ด่าแล้ ว (ดังนี ้) ในบท ท. เหล่านันหนา้ (แห่งบท) ว่า ตตฺถ “อกฺโกจฺฉีต:ิ อกฺโกสิ.
อกฺโกจฺฉิ ดังนี ้ ฯ (อ. อรรถ) ว่า ประหารแล้ ว (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า อวธีต;ิ ปหริ .
อวธิ ดังนี ้ ฯ (อ. อรรถ) ว่า ได้ ชนะแล้ ว ซึง่ เรา ด้ วยการยังพยานโกง อชินีต:ิ กุฏสกฺขึ โอตารเณน วา วาทปฺปฏิวาเทน
ให้ ข้ามลงหรื อ หรื อว่าด้ วยการกล่าวและการกล่าวตอบ หรื อว่า วา กรณุตฺตริ ยกรเณน วา มํ อเชสิ.
ด้ วยการกระท�ำให้ ยิ่งกว่าการกระท�ำ (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า อชินิ ดังนี ้ ฯ อหาสีต:ิ มม สนฺตกํ วตฺถาทีสุ ยงฺกิฺจิเทว
(อ. อรรถ) ว่า ลักแล้ว ในวัตถุ ท. มีผ้าเป็ นต้นหนา ซึง่ วัตถุอย่างใดอย่างหนึง่ อวหริ .
นัน่ เทียว อันเป็ นของมีอยู่ แห่งเรา (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า อหาสิ ดังนี ้ ฯ
(อ. อรรถ) ว่า (อ. ชน ท.) เหล่าใดเหล่าหนึง่ คือ อ. เทพ ท. หรื อ เย จ ตนฺต:ิ เยเกจิ เทวา วา มนุสฺสา วา
หรื อว่าคือ อ. มนุษย์ ท. คือ อ. คฤหัสถ์ ท. หรื อ หรื อว่าคือ อ. บรรพชิต คหฏฺ€า วา ปพฺพชิตา วา ตํ `อกฺโกจฺฉิ มนฺตอิ าทิ
ท. ย่อมเข้ าไปผูกไว้ ซึง่ ความโกรธนัน้ คือว่า อันมีค�ำว่า (อ. บุคคลโน้ น) วตฺถกุ ํ โกธํ สกฏธุรํ วิย นทฺธินา ปูตมิ จฺฉาทีนิ วิย
ด่าแล้ ว ซึง่ เรา ดังนี ้เป็ นต้ นเป็ นวัตถุ ราวกะ (อ. ชน ท. ) (ขันอยู)่ ซึง่ แอก จ กุสาทีหิ ปุนปฺปนุ ํ เวเ€นฺตา อุปนยฺหนฺต,ิ เตสํ
แห่งเกวียน ด้ วยชะเนาะด้ วย ราวกะ (อ. ชน ท.) ห่ออยู่ ซึง่ วัตถุ ท. สกึ อุปปฺ นฺนํ เวรํ น สมฺมติ น อุปสมฺมติ.
มีปลาอันเน่าเป็ นต้ น ด้ วยวัตถุ ท. มีหญ้ าคาเป็ นต้ น บ่อย ๆ ด้ วย, อ. เวร
ของชน ท. เหล่านัน้ อันเกิดขึ ้นแล้ ว คราวเดียว ย่อมไม่สงบ คือว่า
ย่อมไม่เข้ าไปสงบ (ดังนี ้) (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า เย จ ตํ ดังนี ้
เป็ นต้ น ฯ

(อ. อรรถ) ว่า (อ. ชน ท. เหล่าใด ย่อมไม่เข้ าไปผูกไว้ ซึง่ ความ เย จ ตํ นูปนยฺหนฺตตี :ิ อสติอมนสิการวเสน
โกรธ นัน้ คือว่า อันมีเหตุมีการด่าเป็ นต้ นเป็ นที่ตงั ้ ด้ วยอ�ำนาจ วา กมฺมปจฺจเวกฺขณวเสน วา เย ตํ อกฺโกสาทิวตฺถกุ ํ
แห่งความไม่ระลึกถึงและการไม่กระท�ำไว้ในใจ หรือ หรือว่าด้วยอ�ำนาจ โกธํ “ตยาปิ โกจิ นิทฺโทโส ปุริมภเว อกฺกฏุ ฺ โ€
แห่งการพิจารณาซึง่ กรรม อย่างนี ้ ว่า (อ. บุคคล) ผู้มีโทษออกแล้ ว ภวิสฺสติ, ปหโฏ ภวิสฺสติ, กูฏสกฺขึ โอตาเรตฺวา ชิโต
บางคน เป็ นผู้แม้ อนั ท่านด่าแล้ ว ในภพอันมีในก่อน จักเป็ น, (อ. บุคคล ภวิสสฺ ติ , กสฺสจิ เต ปสยฺห กิฺจิ อจฺฉินฺนํ
ผู้มีโทษออกแล้ ว บางคน) เป็ นผู้ (อันท่าน) ประหารแล้ ว จักเป็ น, ภวิสฺสติ; ตสฺมา นิทฺโทโส หุตฺวาปิ อกฺโกสาทีนิ
(อ. บุคคล ผู้มีโทษออกแล้ ว บางคน) เป็ นผู้ (อันท่าน) ยังพยานโกง ปาปุณาสีติ เอวํ น อุปนยฺหนฺต,ิ เตสํ ปมาเทน
ให้ ข้ามลงแล้ ว ชนะแล้ ว จักเป็ น, (อ.ภัณฑะ) อะไร ๆ ของใครๆ เป็ นของ อุปปฺ นฺนมฺปิ เวรํ อิมินา อนุปนยฺหเนน นิรินฺธโน วิย
อันท่าน ครอบง�ำแล้ ว แย่งชิงเอาแล้ ว จักเป็ น; เพราะเหตุนนั ้ อ. ท่าน ชาตเวโท อุปสมฺมตีต.ิ
เป็ นผู้มีโทษออกแล้ ว แม้ เป็ น จะถึง (ซึง่ เหตุ ท.) มีการด่า เป็ นต้ น ดังนี ้
(อ. เวร) ของชน ท. เหล่านัน้ แม้ อนั เกิดขึ ้นแล้ ว เพราะความประมาท
ย่อมเข้าไปสงบ ด้วยการไม่เข้าไปผูกไว้นี ้ อย่างนี ้ ราวกะ อ. ไฟอันเกิดแล้ว
อันไม่มีเชื ้อ ดังนี ้ (แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า เย จ ตํ นูปนยฺหนฺติ
ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 41


ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งเทศนา อ. ภิกษุแสนหนึง่ ท. บรรลุแล้ว เทสนาปริโยสาเน สตสหสฺสภิกขฺ ู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ
(ซึง่ อริ ยผล ท.) มีโสดาปั ตติผลเป็ นต้ น ฯ อ. พระธรรมเทศนา ปาปุณึส.ุ ธมฺมเทสนา มหาชนสฺส สาตฺถิกา อโหสิ.
เป็ นเทศนาไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ ได้ มีแล้ ว แก่มหาชน ฯ
(อ. พระเถระชื่อว่าติสสะ) แม้ เป็ นผู้อนั บุคคลพึงว่าได้ ทุพฺพโจปิ สุวโจ ชาโตติ.
โดยยาก เป็ นผู้อนั บุคคลพึงว่าได้ โดยง่าย เกิดแล้ ว ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ องแห่ งพระเถระชื่อว่ าติสสะ (จบแล้ ว) ฯ ติสฺสตฺเถรวตฺถุ.

๔.อ.เรื่ องแห่ งความเกิดขึน้ แห่ งนางยักษิณีช่ ือว่ ากาลี ๔. กาลียกฺขนิ ิยา อุปปฺ ตฺตวิ ตฺถุ. (๔)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “น หิ เวเรน เวรานีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา


ซึง่ หญิงหมัน คนใดคนหนึง่ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า เชตวเน วิหรนฺโต อญฺญตรํ วญฺฌิตฺถึ อารพฺภ กเถสิ.
น หิ เวเรน เวรานิ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

ได้ ยนิ ว่า อ. บุตรแห่งกุฎมพี


ุ คนหนึง่ , ครัน้ เมือ่ บิดา เป็ นผู้มกี าละ เอโก กิร กุฏมฺุ พิกปุตฺโต, ปิ ตริ กาลกเต, เขตฺเต
อันกระท�ำแล้ ว (เป็ นอยู)่ , กระท�ำอยู่ ซึง่ การงานทังปวง้ ท. ในนา จ ฆเร จ สพฺพกมฺมานิ อตฺตนาว กโรนฺโต มาตรํ
ด้ วย ในเรื อนด้ วย ด้ วยตนเทียว ปฏิบตั แิ ล้ ว ซึง่ มารดา ฯ ปฏิชคฺคิ.

ครัง้ นัน้ อ.มารดา ของบุตรของกุฎมพีุ นนั ้ กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะพ่อ อถสฺส มาตา “กุมาริ กํ เต ตาต อาเนสฺสามีติ
อ.เรา จักน�ำมา ซึง่ นางกุมาริกา เพือ่ เจ้า ดังนี ้ ฯ อ.บุตรของกุฏมพี
ุ นนั ้ อาห. “อมฺม มา เอวํ วเทถ, อหํ ยาวชีวํ ตุมเฺ ห
กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่แม่ อ.ท่าน ท. ขอจงอย่ากล่าว อย่างนี ้, ปฏิชคฺคิสฺสามีต.ิ “ตาต เขตฺเต จ ฆเร จ กิจฺจํ
อ.กระผม จักปรนนิบตั ิ ซึง่ ท่าน ท. ตลอดกาลเพียงไรแห่งชีวติ ดังนี ้ ฯ ตฺวเมว กโรสิ, เตน มยฺหํ จิตฺตสุขํ นาม น โหติ,
อ.มารดา กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะพ่อ อ.เจ้ านัน่ เทียว ย่อมกระท�ำ อาเนสฺสามิ เตติ.
ซึง่ กิจในนาด้ วย ในเรือนด้ วย เพราะเหตุนนั ้ ชือ่ อ. ความสุขแห่งจิต
ย่อมไม่มี แก่เรา, อ. เรา จักน�ำมา (นางกุมาริ กา) เพื่อเจ้ า ดังนี ้ ฯ

อ. บุตรนัน้ แม้ ห้ามแล้ วบ่อย ๆ เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ โส ปุนปฺปนุ ํ ปฏิกฺขิปิตฺวาปิ ตุณฺหี อโหสิ. สา
อ. มารดานัน้ ออกไปแล้ ว จากเรื อน เพื่ออันไป สูต่ ระกูลหนึง่ ฯ เอกํ กุลํ คนฺตํุ เคหา นิกฺขมิ.

ครัง้ นัน้ อ. บุตร ถามแล้ ว ซึง่ มารดานัน้ ว่า อ. ท่าน ท. จะไป อถ นํ ปุตฺโต “กตรกุลํ คจฺฉถาติ ปุจฺฉิตฺวา,
สูต่ ระกูลไหน ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. เรา จะไป สูต่ ระกูล) ชื่อโน้ น “อสุกนฺนามาติ วุตฺเต, ตตฺถ คมนํ ปฏิเสเธตฺวา
ดังนี ้ (อันมารดา) กล่าวแล้ ว, ห้ ามแล้ ว ซึง่ การไป ในตระกูลนัน้ อตฺตโน อภิรุจิตํ กุลํ อาจิกฺขิ.
บอกแล้ ว ซึง่ ตระกูล อันอันตนชอบใจยิ่งแล้ ว ฯ
อ. มารดานัน้ ไปแล้ ว ในตระกูลนัน้ ขอแล้ ว ซึง่ นางกุมาริ กา สา ตตฺถ คนฺตฺวา กุมาริ กํ วาเรตฺวา ทิวสํ
ก�ำหนดแล้ ว ซึง่ วัน น�ำมาแล้ ว ซึง่ นางกุมาริ กา นัน้ ได้ กระท�ำแล้ ว ววฏฺ€เปตฺวา ตํ อาเนตฺวา ตสฺส ฆเร อกาสิ.
ในเรื อน เพื่อบุตรนัน้ ฯ อ. นางกุมาริ กานัน้ เป็ นหญิ งหมัน สา วญฺฌา อโหสิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ อ.มารดา (กล่าวแล้ ว) กะบุตรนัน้ ว่า แน่ะลูก อ. เจ้ า อถ นํ มาตา “ปุตฺต ตฺวํ อตฺตโน รุจิยา กุมาริ กํ
(ยังเรา) ให้ น�ำมาแล้ ว ซึง่ นางกุมาริ กา ตามความชอบใจ ของตน, อานาเปสิ, สา อิทานิ วญฺฌา ชาตา;
ในกาลนี ้ อ. นางกุมาริ กานัน้ เป็ นหญิงหมัน เกิดแล้ ว;

42 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ก็ อ. ตระกูล ชื่อว่าไม่มีบตุ ร ย่อมฉิบหาย, อ. เชื ้อสาย (อันบุตร) อปุตฺตกฺจ นาม กุลํ วินสฺสติ, ปเวณิ น ฆฏิยติ;
ย่อมไม่สืบต่อ; เพราะเหตุนนั ้ อ. เรา จักน�ำมา ซึง่ นางกุมาริ กา เตน อฺํ เต กุมาริ กํ อาเนสฺสามีต,ิ เตน “อลํ
คนอื่น แก่เจ้ า ดังนี ้ , แม้ ผ้ อู นั บุตรนันกล่
้ าวอยู่ ว่า ข้ าแต่แม่ อมฺมาติ วุจฺจมานาปิ ปุนปฺปนุ ํ กเถสิ.
อ. อย่าเลย ดังนี ้ กล่าวแล้ ว บ่อย ๆ ฯ

อ.หญิงหมัน ฟั งแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวนัน้ คิดแล้ วว่า วฺฌิตฺถี ตํ กถํ สุตฺวา “ปุตฺตา นาม มาตาปิ ตูนํ
ชื่อ อ.บุตร ท. ย่อมไม่อาจ เพื่ออันก้ าวล่วง ซึง่ ค�ำของมารดาและ วจนํ อติกฺกมิตํุ น สกฺโกนฺต,ิ อิทานิ อฺํ
บิดา ท., ในกาลนี ้ อ.แม่ผวั น�ำมาแล้ ว ซึง่ หญิง ผู้มีปกติคลอดอื่น วิชายินึ อิตฺถึ อาเนตฺวา มํ ทาสีโภเคน ภุฺชิสฺสติ,
จักใช้ สอย ซึง่ เรา ด้ วยการใช้ สอย เพียงดังทาสี, ไฉนหนอ อ.เรา ยนฺนนู าหํ สยเมเวกํ กุมาริ กํ อาเนยฺยนฺติ จินฺเตตฺวา
พึงน�ำมา ซึง่ นางกุมาริกา คนหนึง่ เองนัน่ เทียว ดังนี ้ ไปแล้วสูต่ ระกูล เอกํ กุลํ คนฺตฺวา ตสฺสตฺถาย กุมาริ กํ วาเรตฺวา
หนึง่ ขอแล้ ว ซึง่ นางกุมาริ กา เพื่อประโยชน์แก่สามีนนั ้ ผู้อนั ชน ท. “กินฺนาเมตํ อมฺม วเทสีติ เตหิ ปฏิกฺขิตฺตา “อหํ
เหล่านัน้ ห้ ามแล้ วว่า แนะแม่ อ.เจ้ า ย่อมกล่าว ซึง่ ค�ำนัน่ ชื่ออะไร วฺฌา, อปุตฺตกํ กุลํ วินสฺสติ, ตุมหฺ ากํ ธีตา
ดังนี ้ อ้ อนวอนแล้ ว ว่า อ.เรา เป็ นหญิงหมัน (ย่อมเป็ น), อ.ตระกูล ปุตฺตํ ปฏิลภิตฺวา กุฏมฺุ พสฺส สามินี ภวิสฺสติ, เทถ
อันไม่มีบตุ ร ย่อมพินาศ, อ.ธิดา ของท่าน ท. ได้ เฉพาะแล้ ว ซึง่ บุตร ตํ มยฺหํ สามิกสฺสาติ ยาจิตฺวา สมฺปฏิจฺฉาเปตฺวา
เป็ นเจ้ าของแห่งขุมทรัพย์ จักเป็ น, อ.ท่าน ท. จงให้ ซึง่ ธิดานัน้ อาเนตฺวา สามิกสฺส ฆเร อกาสิ.
แก่สามี ของดิฉนั ดังนี ้ ยังชน ท. เหล่านัน้ ให้ รับพร้ อมเฉพาะแล้ ว
น�ำมาแล้ ว ได้ กระท�ำแล้ ว ในเรื อน ของสามี ฯ

ครังนั
้ น้ อ. ความคิดนัน่ ว่า ถ้ าว่า อ. หญิงนี ้ จักได้ ซึง่ บุตร หรือ อถสฺสา เอตทโหสิ “สจายํ ปุตฺตํ วา ธีตรํ วา
หรื อว่า ซึง่ ธิดาไซร้ , อ. หญิง นี ้นัน่ เทียว เป็ นเจ้ าของ แห่งขุมทรัพย์ ลภิสฺสติ, อยเมว กุฏมฺุ พสฺส สามินี ภวิสฺสติ, ยถา
จักเป็ น, อ. หญิงนี ้ จะไม่ได้ ซึง่ เด็ก โดยประการใด; อ. อัน (อันเรา) ทารกํ น ลภติ; ตเถว นํ กาตุํ วฏฺฏตีต.ิ
กระท�ำ ซึง่ หญิงนัน้ โดยประการนันนั ้ น่ เทียว ย่อมควร ดังนี ้ ได้ มแี ล้ว
แก่หญิงหมันนัน้ ฯ
ครังนั
้ น้ (อ.หญิงหมันนัน)้ กล่าวแล้ว ว่า อ.สัตว์ผ้เู กิดแล้วในครรภ์ อถ นํ อาห “ยทา เต กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏฺ€าติ;
ย่อมตังอยู
้ เ่ ฉพาะ ในท้ องของเธอ ในกาลใด อ.เธอ พึงบอก แก่เรา ตทา เม อาโรเจยฺยาสีต.ิ
ในกาลนัน้ ดังนี ้ กะหญิงนัน้ ฯ
อ. หญิงนัน้ ฟั งตอบแล้ ว ว่า อ. ดีละ ดังนี ้, ครัน้ เมื่อสัตว์ สา “สาธูติ ปฏิสตุ ฺวา, คพฺเภ ปติฏฺ€ิเต, ตสฺสา
ผู้เกิดแล้ วในครรภ์ ตังอยู้ เ่ ฉพาะแล้ ว, บอกแล้ ว แก่หญิงหมันนัน้ ฯ อาโรเจสิ.
ก็ อ. หญิงหมันนันนั ้ น่ เทียว ย่อมให้ ซึง่ ข้ าวต้ มและข้ าวสวย ตสฺสา ปน สาเยว นิจฺจํ ยาคุภตฺตํ เทติ.
แก่หญิงนัน้ เนืองนิตย์ ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. หญิงหมันนัน) ้ ได้ ให้ แล้ ว ซึง่ ยาเป็ นเครื่ องยังสัตว์ อถสฺสา อาหาเรเนว สทฺธึ คพฺภปาตนเภสชฺชํ
ผู้เกิดแล้วในครรภ์ให้ตกไป กับ ด้วยอาหารนัน่ เทียว แก่หญิงนัน้ ฯ อทาสิ. คพฺโภ ปติ. ทุตยิ มฺปิ คพฺเภ ปติฏฺ€ิเต, ตสฺสา
อ. สัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์ ตกไปแล้ ว ฯ ครัน้ เมื่อสัตว์ผ้ เู กิดแล้ ว อาโรเจสิ.
ในครรภ์ ตังอยู ้ เ่ ฉพาะแล้ ว แม้ ในครัง้ ที่สอง, (อ. หญิงนัน) ้ บอกแล้ ว
แก่หญิงหมันนัน้ ฯ
อ.หญิงหมันแม้ นอกนี ้ (ยังสัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์) ให้ ตกไปแล้ ว อิตราปิ ทุตยิ มฺปิ ตเถว ปาเตสิ.
อย่างนันนั้ น่ เทียว แม้ ครัง้ ที่สอง ฯ

ครัง้ นัน้ อ. หญิงผู้ค้ นุ เคย ท. ถามแล้ ว ซึง่ หญิงนัน้ ว่า อ. หญิง อถ นํ ปฏิวิสฺสกิตฺถิโย ปุจฺฉึสุ “กจฺจิ เต สปตฺตี
ผู้เป็ นไปกับด้ วยผัว ย่อมกระท�ำ ซึง่ อันตราย แก่เธอ แลหรื อ ดังนี ้ ฯ อนฺตรายํ กโรตีต.ิ
อ. หญิงนัน้ บอกแล้ ว ซึง่ เนื ้อความนัน,้ (ผู้อนั หญิง ท. สา ตมตฺถํ อาโรเจตฺวา, “ อนฺธพาเล กสฺมา
เหล่านัน)กล่
้ าวแล้ ว ว่า แน่ะหญิงผู้อนั ธพาล อ.เธอ ได้ กระท�ำแล้ ว เอวมกาสิ? อยํ ตว อิสฺสริ ยภเยน คพฺภปาตน-
อย่างนี ้ เพราะเหตุอะไร? อ. หญิงนี ้ ประกอบแล้ ว ซึง่ ยาเป็ นเครื่ อง เภสชฺชํ โยเชตฺวา เทติ, เตน เต คพฺโภ ปตติ,
ยังสัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์ให้ ตกไป ย่อมให้ แก่เธอ เพราะกลัว มา ปุน เอวมกาสีติ วุตฺตา, ตติยวาเร น กเถสิ.
แต่ความเป็ นใหญ่, เพราะเหตุนนั ้ อ. สัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์
ของเธอ ย่อมตกไป, อ. เธอ อย่าได้ กระท�ำแล้ ว อย่างนี ้ อีก ดังนี ้,
ไม่บอกแล้ ว ในวาระที่สาม ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 43


ครัง้ นัน้ อ. หญิงหมันนอกนี ้ เห็นแล้ ว ซึง่ ท้ องของหญิงนัน้ อถสฺสา อิตรา อุทรํ ทิสฺวา “กสฺมา มยฺหํ
กล่าวแล้ ว ว่า อ. ท่าน ไม่บอกแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งสัตว์ผ้ เู กิดแล้ ว คพฺภสฺส ปติฏฺ€ิตภาวํ น กเถสีติ วตฺวา, “ตฺวํ มํ
ในครรภ์เป็ นผู้ตงอยู
ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว แก่เรา เพราะเหตุอะไร ดังนี ้, อาเนตฺวา เทฺว วาเร คพฺภํ ปาเตสิ, กิมตฺถํ ตุยฺหํ
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ. ท่าน น�ำมาแล้ ว ซึง่ ดิฉนั ยังสัตว์ผ้ เู กิดแล้ ว กเถมีติ วุตฺเต, “นฏฺ€าทานิมหฺ ีติ จินฺเตตฺวา, ตสฺสา
ในครรภ์ ให้ ตกไปแล้ ว สิ ้นวาระ ท. สอง, อ. ดิฉนั จะบอก แก่ทา่ น ปมาทํ โอโลเกนฺตี, ปริ ณเต คพฺเภ, โอกาสํ ลภิตฺวา
เพื่อประโยชน์ อะไร ดังนี ้ (อันหญิงนัน) ้ กล่าวแล้ ว, คิดแล้ ว ว่า เภสชฺชํ โยเชตฺวา อทาสิ. คพฺโภ ปริ ณตตฺตา ปติตํุ
อ. เรา เป็ นผู้ฉิบหายแล้ ว ย่อมเป็ น ในกาลนี ้ ดังนี ้ , แลดูอยู่ อสกฺโกนฺโต ติริยํ นิปชฺชิ.
ซึง่ ความพลังเผลอ้ แห่งหญิงนัน,้ ครัน้ เมื่อสัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์
แก่รอบแล้ ว, ได้ แล้ ว ซึง่ โอกาส ประกอบแล้ ว ซึง่ ยา ได้ ให้ แล้ ว ฯ
อ. สัตว์ผ้ เู กิดแล้ วในครรภ์ ไม่อาจอยู่ เพื่ออันตกไป เพราะความที่-
แห่งครรภ์เป็ นสภาพแก่รอบแล้ ว นอนแล้ ว ขวาง ฯ

อ. เวทนา กล้ า แข็ง เกิดขึ ้นแล้ ว ฯ ติพฺพา ขรา เวทนา อุปปฺ ชฺชิ.
(อ. หญิงนัน)้ ถึงแล้ ว ซึง่ ความสงสัยในชีวิต ฯ ชีวิตสํสยํ ปาปุณิ.
อ. หญิงนัน้ ตังไว้ ้ แล้ ว ซึง่ ความปรารถนา ว่า อ. เรา เป็ นผู้- สา “นาสิตมฺหิ ตยา, ตฺวเมว มํ อาเนตฺวา ตโย
อันท่านให้ ฉิบหายแล้ ว ย่อมเป็ น, อ. ท่านนัน่ เทียว น�ำมาแล้ ว ซึง่ เรา ทารเก นาเสสิ; อิทานิ สยํปิ นสฺสามิ, อิโตทานิ
ยังเด็ก ท. สาม ให้ ฉิบหายแล้ ว, ในกาลนี ้ อ. เรา จะฉิบหาย แม้ เอง, จุตา ยกฺขินี หุตฺวา ตว ทารเก ขาทิตํุ สมตฺถา
(อ. เรา) เคลื่อนแล้ ว จากอัตภาพนี ้ ในกาลนี ้ เป็ นนางยักษิณี เป็ น หุตฺวา นิพฺพตฺเตยฺยนฺติ ปตฺถนํ €เปตฺวา กาลํ
เป็ นผู้สามารถ เพื่ออันเคี ้ยวกิน ซึง่ เด็ก ท. ของท่าน เป็ น พึงบังเกิด กตฺวา ตสฺมเึ ยว เคเห มชฺชารี หุตฺวา นิพฺพตฺต.ิ
ดังนี ้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ เป็ นนางแมว เป็ น บังเกิดแล้ ว ในเรื อน
นันนั
้ น่ เทียว ฯ

อ. สามี จับแล้ ว ซึง่ หญิงหมันแม้ นอกนี ้ (กล่าวแล้ ว) ว่า อิตรํ ปิ สามิโก คเหตฺวา “ตยา เม กุลปุ จฺเฉโท
อ. การเข้ าไปตัดซึง่ ตระกูล ของเรา อันท่าน กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ กโตติ กปฺปรชนฺนกุ าทีหิ สุโปถิตํ โปเถสิ.
โบยแล้ ว โบยแล้ วด้ วยดี (ด้ วยอวัยวะ ท.) มีศอกและเข่าเป็ นต้ น ฯ

อ. หญิงหมันนัน้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ด้ วยความเจ็บนัน้ สา เตเนวาพาเธน กาลํ กตฺวา ตตฺเถว กุกฺกฏุ ี
นัน่ เทียว เป็ นแม่ไก่ เป็ น บังเกิดแล้ ว ในเรื อนนันนั
้ น่ เทียว ฯ หุตฺวา นิพฺพตฺต.ิ
อ. แม่ไก่ ตกแล้ ว ซึง่ ฟองไข่ ท. ต่อกาลไม่นานนัน่ เทียว ฯ น จิรสฺเสว กุกฺกฏุ ี อณฺฑานิ วิชายิ.
อ. นางแมว มาแล้ ว เคี ้ยวกินแล้ ว ซึง่ ฟองไข่ ท. เหล่านัน้ ฯ มชฺชารี อาคนฺตฺวา ตานิ ขาทิ.
(อ. นางแมว) เคี ้ยวกินแล้ ว แม้ ครัง้ ที่สอง แม้ ครัง้ ที่สาม ทุตยิ มฺปิ ตติยมฺปิ ขาทิเยว.
นัน่ เทียว ฯ

อ. แม่ไก่ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ความปรารถนา ว่า อ. ท่าน เคี ้ยวกินแล้ ว กุกฺกฏุ ี “ตโย วาเร มม อณฺฑานิ ขาทิตฺวา,
ซึง่ ฟองไข่ ท. ของเรา สิ ้นวาระ ท. สาม, เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเคี ้ยวกิน อิทานิ มํปิ ขาทิตกุ ามาสิ; อิโตทานิ จุตา ตํ
แม้ ซงึ่ เรา ย่อมเป็ น ในกาลนี ้; (อ. เรา) เคลื่อนแล้ ว จากอัตภาพนี ้ สปุตฺตกํ ขาทิตํุ ลเภยฺยนฺติ ปตฺถนํ กตฺวา ตโต จุตา
ในกาลนี ้ พึงได้ เพื่ออันเคี ้ยวกิน ซึง่ ท่าน ผู้เป็ นไปกับด้ วยบุตร ดังนี ้ ทีปินี หุตฺวา นิพฺพตฺต.ิ
เคลื่อนแล้ ว จากอัตภาพนัน้ เป็ นแม่เสือเหลือง เป็ น บังเกิดแล้ ว ฯ
อ. นางแมวแม้ นอกนี ้ เป็ นแม่เนื ้อ เป็ น บังเกิดแล้ ว ฯ อิตราปิ มิคี หุตฺวา นิพฺพตฺต.ิ
อ. แม่เสือเหลือง มาแล้วเคี ้ยวกินแล้ว ซึง่ ลูกน้ อย ท. สิ ้นวาระ ท. ๓ ตสฺสา วิชาตวิชาตกาเล ทีปินี อาคนฺตฺวา
ในกาลแห่งแม่เนื ้อนัน้ คลอดแล้ วและคลอดแล้ ว ฯ ตโย วาเร ปุตฺตเก ขาทิ.
อ. แม่เนื ้อ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ความปรารถนา ในกาลเป็ นที่ตาย มิคี มรณกาเล “อิมาย เม ติกฺขตฺตํุ ปุตฺตา
ว่า อ. บุตร ท. ของเรา อันแม่เสือเหลืองนี ้ เคี ้ยวกินแล้ ว ๓ ครัง้ , ขาทิตา, อิทานิ มํปิ ขาทิสฺสติ;
อ. แม่เสือเหลือง จักเคี ้ยวกิน แม้ ซงึ่ เรา ในกาลนี ้;

44 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. เรา เคลือ่ นแล้ว จากอัตภาพนี ้ ในกาลนี ้ พึงได้ เพือ่ อันเคี ้ยวกิน อิโตทานิ จุตา เอตํ สปุตฺตกํ ขาทิตํุ ลเภยฺยนฺติ
ซึง่ แม่เสือเหลืองนัน่ ผู้เป็ นไปกับด้ วยบุตร ดังนี ้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ปตฺถนํ กตฺวา กาลํ กตฺวา ยกฺขินี หุตฺวา นิพฺพตฺต.ิ
เป็ นนางยักษิณี เป็ น บังเกิดแล้ ว ฯ
แม้ อ. แม่เสือเหลือง เคลื่อนแล้ ว จากอัตภาพนัน้ เป็ นกุลธิดา ทีปินีปิ ตโต จุตา สาวตฺถิยํ กุลธีตา หุตฺวา
เป็ น บังเกิดแล้ ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ นิพฺพตฺต.ิ
อ. กุลธิดานัน้ ผู้ถงึ แล้วซึง่ ความเจริญ ได้ไปแล้ว สูต่ ระกูลแห่งผัว สา วุฑฺฒิปปฺ ตฺตา ทฺวารคาเม ปติกลุ ํ อคมาสิ.
ในบ้ านใกล้ ประตู ฯ
ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก (อ. กุลธิดานัน) ้ คลอดแล้ ว ซึง่ บุตร ฯ อปรภาเค ปุตฺตํ วิชายิ. ยกฺ ขินี ตสฺสา
อ. นางยักษิ ณี มาแล้ ว ด้ วยเพศแห่งหญิ งสหายผู้เป็ นที่รัก ปิ ยสหายิ ก าวณฺ เ ณน อาคนฺ ตฺ ว า “ กุ หึ เม
ของหญิงนัน้ ถามแล้ ว ว่า อ. หญิงสหาย ของดิฉนั (ย่อมอยู)่ สหายิกาติ ปุจฺฉิ.
ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ
(อ. ชน ท.) กล่าวแล้ ว ว่า (อ. หญิงสหาย ของท่าน) คลอดแล้ ว “อนฺโตคพฺเภ วิชาตาติ อาหํส.ุ
ในภายในแห่งห้ อง ดังนี ้ ฯ
อ. นางยักษิณนี นั ้ ฟังแล้ว ซึง่ ค�ำนัน้ (กล่าวแล้ว) ว่า (อ. หญิงสหาย) สา ตํ สุตฺวา “ปุตฺตํ นุ โข วิชาตา อุทาหุ
คลอดแล้ว ซึง่ ลูกชาย หรือหนอแล หรือว่า (อ. หญิงสหาย คลอดแล้ว) ธีตรํ , ปสฺสสิ ฺสามิ นนฺต,ิ ปวิสติ ฺวา ปสฺสนฺตี วิย
ซึง่ ลูกสาว, อ. เรา จักเห็น ซึง่ เด็กนัน้ ดังนี ้, เข้ าไปแล้ ว เป็ นราวกะว่า ทารกํ คเหตฺวา ขาทิตฺวา คตา.
ดูอยู่ (เป็ น) จับแล้ ว ซึง่ เด็ก เคี ้ยวกินแล้ ว ไปแล้ ว ฯ
(อ. นางยักษิณี) เคี ้ยวกินแล้ ว อย่างนันนั ้ น่ เทียว แม้ ในวาระ ทุตยิ วาเรปิ ตเถว ขาทิ.
ที่สอง ฯ
ในวาระที่สาม อ. หญิ งนอกนี ้ เป็ นผู้มีครรภ์ อันหนัก เป็ น ตติยวาเร อิตรา ครุคพฺภา หุตฺวา สามิกํ
เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ สามี (กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่นาย อ. นางยักษิณี อามนฺเตตฺวา “สามิ อิมสฺมึ €าเน เอกา ยกฺขินี
ตนหนึง่ เคี ้ยวกินแล้ ว ซึง่ บุตร ท. ๒ ของเรา ในที่นี ้ ไปแล้ ว, ในกาลนี ้ มม เทฺว ปุตฺเต ขาทิตฺวา คตา, อิทานิ มม กุลเคหํ
อ. ดิฉนั ไปแล้ ว สูเ่ รื อนแห่งตระกูล ของดิฉนั จักคลอด ดังนี ้ ไปแล้ ว คนฺตฺวา วิชายิสฺสามีติ กุลเคหํ คนฺตฺวา วิชายิ.
สูเ่ รื อนแห่งตระกูล คลอดแล้ ว ฯ
ในกาลนัน้ อ. นางยักษิณีนนั ้ เป็ นผู้ถงึ แล้ ว ซึง่ วาระแห่งน� ้ำ ตทา สา ยกฺขินี อุทกวารํ คตา โหติ.
ย่อมเป็ น ฯ
จริ งอยู่ อ. นางยักษิณี ท. น�ำมาอยู่ ซึง่ น� ้ำ โดยอันสืบ ๆ เวสฺสวณสฺส หิ ยกฺขินิโย วาเรน อโนตตฺตโต
แห่งศีรษะ จากสระชื่อว่าอโนดาต ตามวาระ เพื่อท้ าวเวสสุวณ ั สีสปรมฺปราย อุทกํ อาหรนฺตโิ ย จาตุมมฺ าสจฺจเยนปิ
ย่อมพ้ น โดยอันล่วงไปแห่งประชุมแห่งเดือนสี่บ้าง โดยอันล่วงไป ปฺจมาสจฺจเยนปิ มุจฺจนฺต.ิ
แห่งประชุมแห่งเดือนห้ าบ้ าง ฯ
อ. นางยักษิณี ท. เหล่าอื่นอีก ผู้มีกายอันบอบช� ้ำแล้ ว ย่อมถึง อปรา กิลนฺตกายา ชีวิตกฺขยํปิ ปาปุณนฺต.ิ
แม้ ซงึ่ ความสิ ้นไปแห่งชีวิต ฯ
ก็ อ. นางยักษิณีนนั ้ ผู้สกั ว่าพ้ นแล้ ว จากวาระแห่งน� ้ำเทียว สา ปน อุทกวารโต มุตฺตมตฺตาว เวเคน ตํ
ไปแล้ ว สูเ่ รื อนนัน้ โดยเร็ว ถามแล้ ว ว่า อ. หญิงสหาย ของดิฉนั ฆรํ คนฺตฺวา “กุหึ เม สหายิกาติ ปุจฺฉิ.
(ไปแล้ ว) ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ
(อ. ชน ท. กล่าวแล้ ว) ว่า อ. ท่าน จักเห็น ซึง่ หญิงนัน้ ในที่ไหน, “กุหึ นํ ปสฺสสิ ฺสสิ, ตสฺสา อิมสฺมึ €าเน
อ. นางยักษิณี ย่อมเคี ้ยวกิน ซึง่ เด็กผู้เกิดแล้ ว ท. ในที่นี ้ ของหญิง ชาตทารเก ยกฺขินี ขาทติ; ตสฺมา กุลเคหํ คตาติ.
นัน;้ เพราะเหตุนนั ้ (อ. หญิงนัน) ้ ไปแล้ ว สูเ่ รื อนแห่งตระกูล ดังนี ้ ฯ
อ. นางยักษิณีนนั ้ (คิดแล้ ว) ว่า (อ. หญิงนัน) ้ จงไป ในที่ใด สา “ยตฺถ วา ตตฺถ วา คจฺฉตุ, น เม มุจฺจิสฺสตีติ
หรื อ หรื อว่า ในที่นน, ั ้ (อ. หญิงนัน) ้ จักไม่พ้น จากเรา ดังนี ้ เวรเวคสมุสฺสาหิตา นคราภิมขุ ี ปกฺขนฺทิ.
ผู้อันก� ำลังแห่งเวรให้ อาจหาญขึน้ พร้ อมแล้ ว ผู้มีหน้ าเฉพาะ
ต่อเมือง แล่นไปแล้ ว ฯ
อ. หญิงแม้นอกนี ้ ยังเด็กนันให้ ้ อาบแล้ว ในวันเป็ นทีถ่ อื เอาซึง่ ชือ่ อิตราปิ นามคฺคหณทิวเส ตํ ทารกํ นหาเปตฺวา
กระท�ำแล้ ว ซึง่ ชื่อ (กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่นาย ในกาลนี ้ นามํ กตฺวา “สามิ อิทานิ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 45


อ. เรา ท. จงไป สูเ่ รื อนอันเป็ นของตน ดังนี ้ พาเอา ซึง่ บุตร สกฆรํ คจฺฉามาติ ปุตฺตํ อาทาย สามิเกน สทฺธึ
ไปอยู่ โดยหนทาง อันไปแล้ วในท่ามกลางแห่งวิหาร กับ ด้ วยสามี วิหารมชฺฌคเตน มคฺเคน คจฺฉนฺตี ปุตฺตํ สามิกสฺส
ให้ แล้ ว ซึง่ บุตรแก่สามี อาบแล้ ว ในสระโบกขรณีใกล้ วิหาร ทตฺวา วิหารโปกฺขรณิยํ นหาตฺวา อุตฺตริ ตฺวา ปุตฺตํ
ข้ ามขึ ้นแล้ ว รับแล้ ว ซึง่ บุตร, ครัน้ เมื่อสามี อาบอยู,่ ยืนยังบุตร คเหตฺวา, สามิเก นหายนฺเต, ปุตฺตํ ปายมานา €ิตา,
ให้ ดื่มอยูแ่ ล้ ว (ซึง่ น� ้ำนม), เห็นแล้ ว ซึง่ นางยักษิณี ผู้มาอยู่รู้พร้ อมแล้ ว ยกฺขินึ อาคจฺฉนฺตึ ทิสฺวา สฺชานิตฺวา “สามิ
กระท�ำแล้ ว ซึง่ เสียงสูง ว่า ข้ าแต่นาย อ. ท่าน จงมา โดยเร็ ว, เวเคน เอหิ, อยํ สา ยกฺขินีติ อุจฺจาสทฺทํ กตฺวา,
(อ.หญิงนี ้) เป็ นนางยักษิณีนนั ้ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, ไม่อาจอยู่ ยาว ตสฺสาคมนํ สณฺ€าตุํ อสกฺโกนฺตี นิวตฺตติ ฺวา
เพื่ออันด�ำรงอยูพ่ ร้ อม เพียงใด ซึง่ อันมา แห่งสามีนนั ้ กลับแล้ ว อนฺโตวิหาราภิมขุ ี ปกฺขนฺทิ.
ผู้มีหน้ าเฉพาะต่อภายในแห่งวิหาร แล่นไปแล้ ว ฯ

ในสมัยนัน้ อ. พระศาสดา ทรงแสดงอยู่ ซึง่ ธรรม ในท่ามกลาง ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปริ สมชฺเฌ ธมฺมํ เทเสติ.
แห่งบริ ษัทฯ
อ.กุลธิดานัน้ ยังบุตร ให้ นอนแล้ ว ที่หลังแห่งพระบาท สา ปุตฺตํ ตถาคตสฺส ปาทปิ ฏฺเ€ นิปชฺชาเปตฺวา
ของพระตถาคตเจ้ า กราบทูลแล้ ว ว่า อ. บุตรนัน่ อันหม่อมฉัน “ ตุมหฺ ากํ มยา เอส ทินฺโน , ปุตฺตสฺส เม ชีวิตํ
ถวายแล้ ว แก่พระองค์ ท., อ. พระองค์ ท. ขอจงประทาน ซึง่ ชีวิต เทถาติ อาห.
แก่บตุ ร ของหม่อมฉันเถิด ดังนี ้ ฯ
อ. สุมนเทพ ผู้สงิ อยูแ่ ล้ ว ที่ซ้ มุ แห่งประตู ไม่ได้ ให้ แล้ ว เพื่ออัน ทฺวารโกฏฺ€เก อธิวตฺโถ สุมนเทโว ยกฺขินิยา
เข้ าไป ในภายใน แก่นางยักษิณี ฯ อนฺโต ปวิสติ ํุ นาทาสิ.
อ. พระศาสดา ตรัสเรี ยกมาแล้ ว ซึง่ พระเถระชื่อว่าอานนท์ สตฺถา อานนฺทตฺเถรํ อามนฺเตตฺวา “คจฺฉานนฺท
ตรัสแล้ วว่า ดูก่อนอานนท์ อ. เธอ จงไป จงร้ องเรี ยก ซึง่ นางยักษิณี ตํ ยกฺขินึ ปกฺโกสาติ อาห. เถโร ตํ ปกฺโกสิ.
นัน้ ดังนี ้ ฯ อ. พระเถระ ร้ องเรี ยกแล้ ว ซึง่ นางยักษิณีนนั ้ ฯ
อ. กุลธิดานอกนัน้ กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อิตรา “อยํ ภนฺเต อาคจฺฉตีติ อาห.
อ. นางยักษิณีนี ้ ย่อมมา ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า (อ. นางยักษิณีนนั่ ) จงมาเถิด, สตฺถา “เอตุ, มา สทฺทํ อกาสีติ วตฺวา, ตํ
อ. เธอ อย่าได้กระท�ำแล้ว ซึง่ เสียง ดังนี ้, ตรัสแล้ว กะนางยักษิณนี นั ้ อาคนฺตฺวา €ิตํ “กสฺมา เอวํ กโรสิ? สเจ หิ ตุมเฺ ห
ผู้มาแล้ ว ยืนแล้ ว ว่า อ. เธอ ย่อมกระท�ำ อย่างนี ้ เพราะเหตุอะไร ? มาทิสสฺส พุทฺธสฺส สมฺมขุ ีภาวํ นาคมิสฺสถ, อหินกุลานํ
ก็ ถ้ าว่า อ. เธอ ท. จักไม่มาแล้ว สูค่ วามเป็ นแห่งบุคคลผู้มหี น้ าพร้ อม วิย เวรํ อจฺฉผนฺทนานํ วิย กาโกฬุกานํ วิย จ
ต่อพระพุทธเจ้ า ผู้เช่นกับด้ วยเราไซร้ , อ.เวร ของเธอ ท. กปฺปฏฺ€ิตกิ ํ โว เวรํ อภวิสฺส, กสฺมา เวรปฏิเวรํ
เป็ นเวรตังอยู
้ ต่ ลอดกัปป์ จักได้ เป็ นแล้ ว ราวกะ อ. เวรของงูเห่าและ กโรถ? เวรํ หิ อเวเรน อุปสมฺมติ, โน เวเรนาติ วตฺวา
พังพอน ท. ด้ วย ราวกะ (อ. เวร) ของหมีและไม้ สะคร้ อ ท. ด้ วย อิมํ คาถมาห
ราวกะ (อ.เวร) ของกาและนกเค้ า ท. ด้ วย, อ. เธอ ท. ย่อมกระท�ำ
ซึง่ เวรและเวรตอบ เพราะเหตุอะไร ? เพราะว่า อ. เวร ย่อมเข้าไปสงบ
ด้ วยความไม่มีเวร, (อ. เวร) ย่อมไม่เข้ าไปสงบ ด้ วยเวร ดังนี ้
ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา นี ้ ว่า

ก็ อ. เวร ท. ในโลกนี ้ ย่อมไม่สงบ ด้วยเวร ในกาลไหน ๆ, “น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ.


แต่ว่า (อ. เวร ท.) ย่อมสงบ ด้วยความไม่มีแห่งเวร
อ.ธรรมนัน่ เป็ นธรรมเก่า (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโนติ .

(อ. อรรถ) ว่า เหมือนอย่างว่า (อ. บุคคล) แม้ ล้างอยู่ ตตฺถ “น หิ เวเรนาติ: ยถา หิ เขฬสิงฺฆาณิกาทิ-
ซึ่ง ที่ อัน อัน ของไม่ส ะอาดมี น� ำ้ ลายและน� ำ้ มูก เป็ นต้ น เปื ้อ นแล้ ว อสุจิมกฺขิตฏฺ€านํ เตเหว อสุจีหิ โธวนฺโตปิ
ด้ วยของไม่สะอาด ท. เหล่านันนั ้ น่ เทียว

46 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ย่อมไม่อาจ เพื่ออันกระท�ำให้ เป็ นที่หมดจดแล้ ว ให้ เป็ นที่ สุทฺธํ นิคฺคนฺธํ กาตุํ น สกฺโกติ, อถโข ตํ €านํ
มีกลิน่ ออกแล้ ว, โดยที่แท้ อ. ที่นนั ้ เป็ นที่ไม่หมดจดแล้ วกว่าด้ วย ภิยโฺ ยโส มตฺตาย อสุทธฺ ตรฺจ ทุคคฺ นฺธตรฺจ โหติ;
เป็ นที่มีกลิน่ ชัว่ กว่าด้ วย ย่อมเป็ น โดยยิ่ง โดยประมาณ ฉันใด, เอวเมว อกฺ โ กสนฺ ตํ ปจฺ จ กฺ โ กสนฺ โ ต ปหรนฺ ตํ
(อ. บุคคล) ด่าตอบอยู่ ซึง่ บุคคลผู้ดา่ อย ประหารตอบอยู่ ซึง่ บุคคล ปฏิปปฺ หรนฺโต เวเรน เวรํ วูปสเมตุํ น สกฺโกติ,
ผู้ประหารอยู่ ย่อมไม่อาจ เพือ่ อันยังเวรให้ เข้ าไปสงบวิเศษ ด้ วยเวร, อถโข ภิยฺโย ภิยฺโย เวรเมว กโรติ.
โดยที่แท้ (อ.บุคคลนัน) ้ ย่อมกระท�ำ ซึง่ เวร ยิ่งๆ นัน่ เทียว ฉันนัน้
นัน่ เทียว ฯ
ชื่อ อ. เวร ท. ย่อมไม่สงบ ด้ วยเวร ในกาลแม้ ไหนๆ โดยที่แท้ อิติ เวรานิ นาม เวเรน กิสฺมิฺจิปิ กาเล
(อ. เวร ท.) ย่อมเจริ ญนัน่ เทียว ด้ วยประการฉะนี ้ (ดังนี ้) ในบท ท. น สมฺมนฺต,ิ อถโข วฑฺฒนฺตเิ ยว.
เหล่านันหนา
้ (แห่งบท) ว่า น หิ เวเรน ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
(อ. อรรถ) ว่า เหมือนอย่างว่า อ. ของไม่สะอาด ท. มีน� ้ำลาย อเวเรน จ สมฺมนฺตตี :ิ ยถา ปน ตานิ เขฬาทีนิ
เป็ นต้ น เหล่านัน้ อันอันบุคคลล้ างอยู่ ด้ วยน� ้ำ อันใสวิเศษแล้ ว อสุจนี ิ วิปปฺ สนฺเนน อุทเกน โธวิยมานานิ วินสฺสนฺต,ิ
ย่อมเลือนหาย , อ.ที่นนั ้ เป็ นที่หมดจดแล้ ว เป็ นที่มีกลิน่ ออกแล้ ว ตํ €านํ สุทฺธํ โหติ นิคฺคนฺธํ; เอวเมว อเวเรน
ย่อมเป็ น ฉันใด ; อ. เวร ท. ย่อมเข้ าไปสงบวิเศษ คือว่า ขนฺตเิ มตฺโตทเกน โยนิโสมนสิกาเรน ปจฺจเวกฺขเณน
ย่อมระงับเฉพาะ คือว่า ย่อมถึง ซึง่ ความไม่มี ด้ วยความไม่มีเวร เวรานิ วูปสมฺมนฺติ ปฏิปปฺ สฺสมฺภนฺติ อภาวํ คจฺฉนฺติ.
คือว่า ด้ วยน� ้ำคือขันติและเมตตา คือว่า ด้ วยการกระท�ำไว้ ในใจ
โดยแยบคาย คือว่า ด้ วยการพิจารณา ฉันนันนั ้ น่ เทียว (ดังนี ้
แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า อเวเรน จ สมฺมนฺติ ดังนี ้ ฯ
(อ. อรรถ) ว่า อ.ธรรม นัน่ คือว่า อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ ว เอส ธมฺโม สนนฺตโนติ: เอส อเวเรน
ว่าการยังเวรให้ เข้ าไปสงบวิเศษ ด้ วยความไม่มีเวร เป็ นธรรมเก่า เวรวูปสมนสงฺขาโต โปราณโก ธมฺโม สพฺเพสํ
คือว่า เป็ นหนทางแห่งพระพุทธเจ้ าและพระปั จเจกพุทธเจ้ าและ พุทฺธปจฺเจกพุทฺธขีณาสวานํ คตมคฺโคติ.
พระขีณาสพ ท. ทังปวง ้ ไปแล้ ว (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (แห่งบาท
แห่งพระคาถา) ว่า เอส ธมฺโม สนนฺตโน ดังนี ้ ฯ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ.นางยักษิณีนนั ้ คาถาปริ โยสาเน สา ยกฺขีนี โสตาปตฺติผเล
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในโสดาปั ตติผล ฯ อ. เทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไป ปติฏฺ€หิ. สมฺปตฺตปริ สายปิ เทสนา สาตฺถิกา อโหสิ.
กับด้ วยวาจามีประโยชน์ ได้ มีแล้ ว แม้ แก่บริ ษัทผู้ถงึ พร้ อมแล้ ว ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว กะหญิงนัน้ ว่า อ. เธอ จงให้ ซึง่ บุตร สตฺถา ตํ อิตฺถึ อาห “เอติสฺสา ตว ปุตฺตํ เทหีต.ิ
ของเธอ แก่นางยักษิณีนนั่ ดังนี ้ ฯ
(อ. หญิงนัน้ ทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. หม่อนฉัน “ภายามิ ภนฺเตติ.
ย่อมกลัว ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า อ. เธอ อย่ากลัวแล้ ว, “มา ภายิ, นตฺถิ เต เอตํ นิสฺสาย ปริ ปนฺโถติ.
อ. อันตรายเป็ นเครื่ องเบียดเบียนรอบ ย่อมไม่มี แก่เธอเพราะอาศัย
ซึง่ นางยักษิณีนนั่ ดังนี ้ ฯ
อ.หญิงนัน้ ได้ ให้ แล้ ว ซึง่ บุตร แก่นางยักษิณีนนั ้ ฯ สา ปุตฺตํ ตสฺสา อทาสิ. สา ตํ คเหตฺวา
อ. นางยักษิณีนนั ้ รับแล้ ว ซึง่ บุตรนัน้ จูบแล้ ว สวมกอดแล้ ว ให้ แล้ ว จุมฺพิตฺวา อาลิงฺคติ ฺวา ปุน มาตุเยว ทตฺวา โรทิตํุ
แก่มารดาอีกนัน่ เทียว เริ่ มแล้ ว เพื่ออันร้ องไห้ ฯ อารภิ.
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว ซึง่ นางยักษิณีนนั ้ ว่า อถ นํ สตฺถา “กิเมตนฺติ ปุจฺฉิ.
อ. เหตุนนั่ อะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. นางยักษิณีนนั ้ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “ภนฺเต อหํ ปุพฺเพ ยถา ตถา ชีวิตํ กปฺเปนฺตีปิ
ในกาลก่อน อ. หม่อมฉัน แม้ ส�ำเร็จอยู่ ซึง่ ชีวิต โดยประการใด กุจฺฉิปรู ํ นาม นาลตฺถํ, อิทานิ กถํ ชีวิสฺสามีติ.
โดยประการนัน้ ไม่ได้ ได้ แล้ ว (ซึง่ อาหารวัตถุ) ชื่ออันยังท้ องให้ เต็ม,
ในกาลนี ้ อ.หม่อมฉัน จักเป็ นอยู่ อย่างไร ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ทรงยังนางยักษิณีนนั ้ ให้ หายใจออก อถ นํ สตฺถา “มา จินฺตยีติ สมสฺสาเสตฺวา,
คล่องดีแล้ ว (ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า (อ. เธอ) อย่าคิดแล้ ว ดังนี ้ตรัสแล้ ว ตํ อิตฺถึ อาห “อิมํ เนตฺวา อตฺตโน เคเห
กะหญิงนัน้ ว่า อ. เธอ น�ำไปแล้ ว ซึง่ นางยักษิณีนี ้ ให้ เข้ าอยูแ่ ล้ ว นิวาสาเปตฺวา อคฺคยาคุภตฺเตหิ ปฏิชคฺคาหีต.ิ
ในเรื อน ของตน จงปฏิบตั ิ ด้ วยข้ าวต้ มและข้ าวสวยอันเลิศ ท.
ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 47


อ. หญิงนัน้ น�ำไปแล้ ว ซึง่ นางยักษิณีนนั ้ ให้ ด�ำรงอยูแ่ ล้ ว สา ตํ เนตฺวา ปิ ฏฺ€ิวํเส ปติฏฺ€าเปตฺวา
ในโรงแห่งครกกระเดื่อง ปฏิบตั แิ ล้ ว ด้ วยข้ าวต้ มและข้ าวสวย อคฺคยาคุภตฺเตหิ ปฏิชคฺค.ิ
อันเลิศ ท. ฯ

อ. สาก ย่อมปรากฏ แก่นางยักษิณนี นั ้ ราวกะว่าต่อยอยู่ ซึง่ ศีรษะ ตสฺสา วีหิปหรณกาเล มุสลํ มุทฺธํ ปหรนฺตํ
ในกาลเป็ นที่ซ้อมซึง่ ข้ าวเปลือก ฯ วิย อุปฏฺ€าติ.

อ. นางยักษิณีนนั ้ เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ หญิงสหาย กล่าวแล้ ว ว่า สา สหายิกํ อามนฺเตตฺวา “อิมสฺมึ €าเน วสิตํุ
อ. เรา จักไม่อาจ เพื่ออันอยู่ ในที่นี ้, อ. ท่าน ยังเรา จงให้ ตงอยู
ั ้ เ่ ฉพาะ น สกฺขิสฺสามิ, อฺตฺถ มํ ปติฏฺ€าเปหีติ วตฺวา,
ในที่อื่น ดังนี ้, แม้ ผ้ อู นั หญิงสหายให้ ตงอยูั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในที่ ท. มุสลสาลายํ อุทกจาฏิยํ อุทธฺ เน นิมพฺ โกเส สงฺการกูเฏ
เหล่านัน่ คือในโรงแห่งสาก ในตุม่ แห่งน� ้ำ ที่เตา ที่ชายคา ที่กอง คามทฺวาเรติ เอเตสุ €าเนสุ ปติฏฺ€าปิ ตาปิ ,
แห่งหยากเยื่อ ใกล้ ประตูแห่งบ้ าน, ห้ ามแล้ ว ซึง่ ที่ ท. เหล่านัน้ “อิธ เม มุสลํ สีสํ ภินฺทนฺตํ วิย อุปฏฺ€าติ, อิธ ทารกา
ทังปวง
้ (ด้ วยค�ำ) ว่า อ. สาก ย่อมปรากฏ แก่เรา ราวกะว่าต่อยอยู่ อุจฺฉิฏฺ€ุทกํ โอตาเรนฺต,ิ อิธ สุนขา นิปชฺชนฺติ,
ซึง่ ศีรษะ ในที่นี ้, อ. เด็ก ท. ยังน� ้ำอันเป็ นเดน ย่อมให้ ข้ามลง ในที่นี ้, อิธ ทารกา อสุจึ กโรนฺต,ิ อิธ กจวรํ ฉฑฺเฑนฺติ,
อ. สุนขั ท. ย่อมนอน ในที่นี ้, อ. เด็ก ท. ย่อมกระท�ำ ซึง่ ความไม่สะอาด อิธ คามทารกา ลกฺขโยคฺคํ กโรนฺตีติ สพฺพานิ
ในที่นี ้, (อ. ชน ท.) ย่อมทิ ้ง ซึง่ หยากเยื่อ ในที่นี ้, อ. เด็กในบ้ าน ท. ตานิ ปฏิกฺขิปิ.
ย่อมกระท�ำ ซึง่ กรรมอันบุคคลพึงประกอบด้ วยคะแนน ในที่นี ้
ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ (อ. หญิงสหาย) ยังนางยักษิณีนนั ้ ให้ ตงอยู


ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว อถ นํ พหิคาเม วิวิตฺโตกาเส ปติฏฺ€าเปตฺวา
ในโอกาสอันสงัดแล้ว ในภายนอกแห่งบ้าน น�ำไปแล้ว (ซึง่ อาหารวัตถุ ท.) ตตฺถ ตสฺสา อคฺคยาคุภตฺตาทีนิ หริ ตฺวา ปฏิชคฺคิ.
มีข้าวต้ มและข้ าวสวยอันเลิศเป็ นต้ น แก่นางยักษิณีนนั ้ ปฏิบตั แิ ล้ ว
ในที่นนั ้ ฯ

อ. นางยักษิณีนนั ้ คิดแล้ ว อย่างนี ้ ว่า อ. หญิงสหาย ของเรา นี ้ สา ยกฺขินี เอวํ จินฺเตสิ “อยํ เม สหายิกา
เป็ นผู้มีอปุ การะมาก (ย่อมเป็ น) ในกาลนี ้, เอาเถิด อ. เรา จะกระท�ำ อิทานิ พหูปการา, หนฺทาหํ กิฺจิ ปฏิคณ ุ ํ กโรมีติ,
ซึง่ คุณตอบ อะไร ๆ ดังนี ้, บอกแล้ ว แก่หญิงสหาย ว่า อ. ฝนดี จักมี “อิมสฺมึ สํวจฺฉเร สุพฺพฏุ ฺ €ิกา ภวิสฺสติ, ถลฏฺ€าเน
ในปี นี ้, อ. ท่าน จงกระท�ำ ซึง่ ข้ าวกล้ า ในที่อนั ดอน, อ. ฝนแล้ ง สสฺสํ กโรหิ, อิมสฺมึ สํวจฺฉเร ทุพฺพฏุ ฺ €ิกา ภวิสฺสติ,
จักมี ในปี นี ้, อ. ท่าน จงกระท�ำ ซึง่ ข้ าวกล้ า ในที่อนั ลุม่ นัน่ เทียว นินฺนฏฺ€าเนเยว สสฺสํ กโรหีติ สหายิกาย อาโรเจสิ.
ดังนี ้ ฯ

อ. ข้ าวกล้ า อันอันชนผู้เหลือ ท. กระท�ำแล้ ว ย่อมฉิบหาย เสสชเนหิ กตสสฺสํ อติอทุ เกน วา อโนทเกน วา


ด้ วยน� ้ำอันเกิน หรื อ หรื อว่า ด้ วยน� ้ำอันน้ อย ฯ อ. ข้ าวกล้ า นสฺสติ. ตสฺสา สสฺสํ อติวิย สมฺปชฺชติ.
ของหญิง นัน้ ย่อมถึงพร้ อม เกินเปรี ยบ ฯ

ครัง้ นัน้ (อ. ชน ท.) ถามแล้ ว ซึง่ หญิง นัน้ ว่า แน่ะแม่ อ. ข้ าวกล้ า อถ นํ “อมฺม ตยา กตํ สสฺสํ เนว อจฺโจทเกน
อันอันท่านกระท�ำแล้ ว ย่อมไม่เสียหาย ด้ วยน� ้ำอันเกินนัน่ เทียว, นสฺสติ, น อโนทเกน นสฺสติ; สุพฺพฏุ ฺ €ิทพุ ฺพฏุ ฺ €ิภาวํ
ย่อมไม่เสียหาย ด้ วยน� ้ำอันน้ อย; อ. ท่าน รู้แล้ ว ซึง่ ความเป็ น ตฺวา กมฺมํ กโรสิ, กึ นุ โข เอตนฺติ ปุจฺฉึส.ุ
แห่งฝนดีและฝนแล้ ง ย่อมกระท�ำ ซึง่ การงานหรื อ ?, อ. เหตุนนั่
อะไรหนอแล ดังนี ้ ฯ

(อ. หญิงนัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. นางยักษิณี ผู้เป็ นสหาย “อมฺหากํ สหายิกา ยกฺขินี สุพฺพฏุ ฺ €ิทพุ ฺพฏุ ฺ €ิภาวํ
ของเรา ท. ย่อมบอก ซึง่ ความเป็ นแห่งฝนดีและฝนแล้ ง, อาจิกฺขติ, มยํ ตสฺสา วจเนน ถลนินฺเนสุ สสฺสานิ
อ. เรา ท. ย่อมกระท�ำ ซึง่ ข้ าวกล้ า ท. ในที่ดอนและที่ลมุ่ ท. ตามค�ำ กโรม,
ของนางยักษิณีนนั ้

48 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


เพราะเหตุนนั ้ อ. ข้ าวกล้ า ของเรา ท. ย่อมถึงพร้ อม, อ. ท่าน ท. เตน โน สสฺสํ สมฺปชฺชติ, กึ น ปสฺสถ นิพทฺธํ
ย่อมไม่เห็น ( ซึง่ อาหารวัตถุ ท. ) มีข้าวต้ มและข้ าวสวยเป็ นต้ น อมฺหากํ เคหโต ยาคุภตฺตาทีนิ หริ ยมานานิ?
(อันเรา ท.) น�ำไปอยู่ จากเรื อน ของเรา ท. เนืองนิตย์ หรื อ ? ตานิ เอติสฺสา หริ ยนฺต,ิ ตุมเฺ หปิ เอติสฺสา
อ. อาหารวัตถุ ท. เหล่านัน้ (อันเรา ท.) ย่อมน�ำไป เพื่อนางยักษิณีนนั่ , อคฺคยาคุภตฺตาทีนิ หรถ, ตุมหฺ ากมฺปิ กมฺมนฺเต
แม้ อ.ท่าน ท. จงน�ำไป (ซึง่ อาหารวัตถุ ท.) มีข้าวต้ มและข้ าวสวย โอโลเกสฺสตีติ.
อันเลิศเป็ นต้ น เพื่อนางยักษิณีนนั่ อ. นางยักษิณี จักตรวจดู
ซึง่ การงาน ท. แม้ ของท่าน ท. ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. ชน ท.) ผู้อยูใ่ นเมืองทังสิ
้ ้นโดยปกติ กระท�ำแล้ ว อถสฺสา สกลนครวาสิโน สกฺการํ กรึสุ .
ซึง่ สักการะ แก่นางยักษิณีนนั ้ ฯ อ. นางยักษิณีแม้ นนั ้ ตรวจดูอยู่ สาปิ ตโต ปฏฺ€าย สพฺเพสํ กมฺมนฺเต โอโลเกนฺตี
ซึง่ การงาน ท. ของชน ท. ทังปวง ้ เป็ นผู้ถงึ แล้ วซึง่ ลาภอันเลิศ. ลาภคฺคปฺปตฺตา อโหสิ มหาปริ วารา.
เป็ นผู้มีบริ วารมาก ได้ เป็ นแล้ ว จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ ฯ
อ. นางยักษิณีนนั ้ เริ่ มตังแล้
้ ว ซึง่ สลากภัตร ท. ๘ ในกาล สา อปรภาเค อฏฺ€ สลากภตฺตานิ ปฏฺ€เปสิ.
อันเป็ นส่วนอื่นอีก ฯ อ. สลากภัตร ท. เหล่านัน้ (อันชน ท.) ตานิ ยาวชฺชกาลา ทียนฺตเิ ยว.
ถวายอยู่ เพียงใดแต่กาลอันมีในวันนี ้นัน่ เทียว ฯ

อ.เรื่ องแห่ งความเกิดขึน้ แห่ งนางยักษิณีช่ ือว่ ากาลี นี ้ อิทํ กาลียกฺขนิ ิยา อุปปฺ ตฺตวิ ตฺถุ.
(จบแล้ ว) ฯ

๕. อ. เรื่ องแห่ งภิกษุผ้ ูอยู่ในเมืองชื่อว่ าโกสัมพี ๕. โกสมฺพกิ วตฺถุ. (๕)


(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “ปเร จ น วิชานนฺตตี ิ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา


ซึง่ ภิกษุ ท. ผู้อยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา เชตวเน วิหรนฺโต โกสมฺพิเก ภิกฺขู อารพฺภ กเถสิ.
นี ้ ว่า ปเร จ น วิชานนฺติ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ดัง จะกล่ า วโดยพิ ส ดาร อ. ภิ ก ษุ ท. สอง คื อ โกสมฺพิยํ หิ โฆสิตาราเม ปญฺจสตปญฺจสต-
อ. พระวินยั ธรด้ วย อ. พระธรรมกถึก ด้ วย ผู้มีภิกษุมีร้อยห้ าและ ปริ วารา เทฺว ภิกฺขู วิหรึส:ุ วินยธโร จ ธมฺมกถิโก จ.
ร้ อยห้ าเป็ นประมาณเป็ นบริ วาร อยูแ่ ล้ ว ในโฆสิตาราม ใกล้ เมือง
ชื่อว่าโกสัมพี ฯ
ในภิกษุ ท. ๒ เหล่านันหนา ้ อ. พระธรรมกถึก กระท�ำแล้ ว เตสุ ธมฺมกถิโก เอกทิวสํ สรี รวลญฺชํ กตฺวา
ซึง่ วลัญชะในสรี ระ เหลือไว้ แล้ ว ซึง่ น� ้ำเป็ นเครื่ องช�ำระอันเหลือลง อุทกโกฏฺ€เก อาจมนอุทกาวเสสํ ภาชเน €เปตฺวา
ในภาชนะ ในซุ้มแห่งน� ้ำ ออกไปแล้ ว ในวันหนึง่ ฯ นิกฺขมิ.
อ. พระวินยั ธร เข้ าไปแล้ ว ในซุ้มแห่งน� ้ำนัน้ ในภายหลัง ปจฺฉา วินยธโร ตตฺถ ปวิฏฺโ€ ตํ อุทกํ ทิสฺวา
เห็นแล้ ว ซึง่ น� ้ำนัน้ ออกไปแล้ ว ถามแล้ ว ซึง่ พระธรรมกถึกนอกนี ้ ว่า นิกฺขมิตฺวา อิตรํ ปุจฺฉิ “อาวุโส ตยา อุทกํ
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. น� ้ำ อันท่าน เหลือไว้ แล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ €ปิ ตนฺต.ิ
(อ. พระธรรมกถึก กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ เออ “อาม อาวุโสติ.
(อ. อย่างนัน) ้ ดังนี ้ ฯ (อ. พระวินยั ธร ถามแล้ ว) ว่า ก็ อ. ท่าน “กึ ปเนตฺถ อาปตฺตภิ าวํ น ชานาสีต.ิ
ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ ความเป็ นแห่งอาบัติ ในเพราะเรื่ องนี ้ หรื อ ดังนี ้ ฯ “อาม น ชานามีต.ิ
(อ. พระธรรมกถึก กล่าวแล้ ว) ว่า เออ อ. ข้ าพเจ้ า ย่อมไม่ร้ ู ดังนี ้ ฯ “โหตาวุโส, เอตฺถ อาปตฺตีต.ิ
(อ. พระวินยั ธร กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ (อ. เรื่ อง นัน) ้ “เตนหิ ปฏิกฺกริ สฺสามิ นนฺติ ฯ
จงมีเถิด, อ. อาบัติ (ย่อมมี) ในเพราะเรื่ องนี ดั้ งนี ้ ฯ (อ. พระธรรมกถึก
กล่าวแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. ข้ าพเจ้ า จักกระท�ำคืน ซึง่ อาบัติ
นันดั้ งนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 49


(อ. พระวินยั ธร กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ก็ ถ้ าว่า “สเจ ปน เต อาวุโส อสญฺจิจฺจ อสติยา
(อ. วีตกิ กมนะ) อันท่าน ไม่แกล้งแล้ว กระท�ำแล้ว เพราะความระลึก กตํ, นตฺถิ อาปตฺตีติ.
ไม่ได้ ไซร้ , อ. อาบัติ ย่อมไม่มี ดังนี ้ ฯ
อ. พระธรรมกถึกนัน้ เป็ นผู้มคี วามเห็นในอาบัตนิ นว่
ั ้ าไม่เป็ นอาบัติ โส ตสฺสา อาปตฺตยิ า อนาปตฺตทิ ิฏฺ€ิ อโหสิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
แม้ อ. พระวินยั ธร บอกแล้ ว แก่นิสติ ท. ของตน ว่า วินยธโรปิ อตฺตโน นิสฺสติ กานํ “อยํ ธมฺมกถิโก
อ. พระธรรมกถึกนี ้ แม้ ต้องอยู่ ซึง่ อาบัติ ย่อมไม่ร้ ู ดังนี ้ ฯ อาปตฺตึ อาปชฺชมาโนปิ น ชานาตีติ อาโรเจสิ.
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ เห็นแล้ ว ซึง่ นิสติ ท. ของพระธรรมกถึก เต ตสฺส นิสฺสติ เก ทิสฺวา “ตุมหฺ ากํ อุปชฺฌาโย
นัน้ กล่าวแล้ ว ว่า อ. อุปัชฌาย์ ของท่าน ท. แม้ ต้องแล้ ว ซึง่ อาบัติ อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวาปิ อาปตฺตภิ าวํ น ชานาตีติ
ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ ความเป็ นแห่งอาบัติ ดังนี ้ ฯ อาหํส.ุ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ ว บอกแล้ ว แก่อปุ ั ชฌาย์ ของตน ฯ เต คนฺตฺวา อตฺตโน อุปชฺฌายสฺส อาโรเจสุํ.
อ. พระธรรมกถึกนัน้ กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ ว่า อ. พระวินยั ธร นี ้ โส เอวมาห “อยํ วินยธโร ปุพฺเพ “อนาปตฺตีติ
กล่าวแล้ ว ว่า ไม่เป็ นอาบัติ ดังนี ้ ในกาลก่อน ย่อมกล่าว ว่า วตฺวา อิทานิ `อาปตฺตีติ วทติ, มุสาวาที เอโสติ.
เป็ นอาบัติ ดังนี ้ ในกาลนี ้, อ. พระวินยั ธรนัน่ เป็ นผู้กล่าวเท็จ
โดยปกติ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ ว กล่าวแล้ ว ว่า อ. อุปัชฌาย์ เต คนฺตฺวา “ตุมฺหากํ อุปชฺฌาโย มุสาวาทีติ
ของท่าน ท. เป็ นผู้กล่าวเท็จโดยปกติ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ กถยึส.ุ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ยังความทะเลาะ ซึง่ กันและกัน เต เอวํ อญฺญมญฺญํ กลหํ วฑฺฒยึส.ุ
ให้ เจริ ญแล้ ว ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ
ในล�ำดับนัน้ อ. พระวินยั ธร ได้ แล้ ว ซึง่ โอกาส ได้ กระท�ำแล้ ว ตโต วินยธโร โอกาสํ ลภิตฺวา ธมฺมกถิกสฺส
ซึง่ อุกเขปนียกรรม ในเพราะอันไม่เห็น ซึง่ อาบัติ แก่พระธรรมกถึก ฯ อาปตฺตยิ า อทสฺสเน อุกฺเขปนียกมฺมํ อกาสิ.
แม้ อ. อุปัฏฐาก ท. ผู้ถวายซึง่ ปั จจัย แก่ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ตโต ปฏฺ€าย เตสํ ปจฺจยทายกา อุปฏฺ€ากาปิ
เป็ นส่วนสอง ได้ เป็ นแล้ ว จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ ฯ เทฺว โกฏฺ€าสา อเหสุํ.
อ. นางภิกษุณี ท. ผู้รับซึง่ โอวาทก็ดี อ. เทวดาผู้อารักขา ท. ก็ดี โอวาทปฏิคฺคาหิกา ภิกฺขนุ ิโยปิ อารกฺขเทวตาปิ
อ. เทวดาผู้ด�ำรงอยูใ่ นอากาศ ท. ผู้เห็นกันดีแล้ วและคบกันดีแล้ ว ตาสํ สนฺทิฏฺ€สมฺภตฺตา อากาสฏฺ€เทวตาปิ ยาว
แห่งเทวดา ท. เหล่านัน้ ก็ดี อ.ปุถชุ น ท. ทังปวง ้ เพียงใด พฺรหฺมโลกาปิ สพฺเพ ปุถชุ ฺชนา เทฺว ปกฺขา อเหสุํ.
แต่พรหมโลก ก็ดี เป็ นฝ่ ายสอง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ก็ อ. ความโกลาหล มีความบันลือออกแล้ วเป็ นอันเดียวกัน ยาว อกนิฏฺ€ภวนา ปน เอกนินฺนาทํ โกลาหลํ
ได้ ไปแล้ ว เพียงใด แต่ภพชื่อว่าอกนิฏฐะ ฯ อคมาสิ.
ครัง้ นัน้ อ. ภิกษุ รูปหนึง่ เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระตถาคตเจ้ า อเถโก ภิกฺขุ ตถาคตํ อุปสงฺกมิตฺวา อุกฺเขปกานํ
กราบทูลแล้ ว ซึง่ ลัทธิ ว่า อ. พระธรรมกถึกนี ้ (อันสงฆ์) ยกวัตรแล้ ว “ ธมฺ มิ เ กเนวายํ กมฺ เ มน อุ กฺ ขิ ตฺ โ ตติ ลทฺ ธึ
ด้ วยกรรม อันประกอบแล้ วด้ วยธรรมนัน่ เทียว ดังนี ้ (แห่งภิกษุ ท.) อุกฺขิตฺตานุวตฺตกานํ “อธมฺมิเกน กมฺเมน อุกฺขิตฺโตติ
ผู้ยกวัตรด้ วย ซึง่ ลัทธิ ว่า (อ.พระอุปัชฌาย์ ของเรา ท. อันสงฆ์) ลทฺธึ อุกฺเขปเกหิ วาริ ยมานานํปิ จ เตสํ ตํ
ยกวัตรแล้ว ด้วยกรรม อันไม่ประกอบแล้วด้วยธรรม ดังนี ้ (แห่งภิกษุ ท. ) อนุปริ วาเรตฺวา วิจรณภาวํ อาโรเจสิ.
ผู้ ประพฤติ ต ามซึ่ ง พระธรรมกถึ ก ผู้ อั น สงฆ์ ย กวั ต รแล้ วด้ วย
ซึง่ ความเป็ นคืออันเที่ยวไป ตามแวดล้ อม ซึง่ พระธรรมกถึกนัน้
แห่งภิกษุ ท. เหล่านัน้ แม้ ผ้ อู นั ภิกษุ ท. ผู้ยกวัตรห้ ามอยูด่ ้ วย ฯ

อ.พระผู้มพี ระภาคเจ้า ทรงส่งไปแล้ว (ซึง่ พระโอวาท) ว่า ได้ยนิ ว่า ภควา “สมคฺคา กิร โหนฺตตู ิ เทฺว วาเร เปเสตฺวา
(อ. ภิกษุ ท.) เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน จงเป็ น ดังนี ้ สิ ้นวาระ ท. สอง “น อิจฺฉนฺติ ภนฺเต สมคฺคา ภวิตนุ ฺติ สุตฺวา ตติยวาเร
ทรงสดับแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ.ภิกษุ ท.)ย่อมไม่ปรารถนา “ภินฺโน ภิกฺขสุ งฺโฆ, ภินฺโน ภิกฺขสุ งฺโฆติ สุตฺวา
เพื่ออันเป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน เป็ น ดังนี ้ ทรงสดับแล้ ว ว่า เตสํ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา,
อ. หมูแ่ ห่งภิกษุ แตกกันแล้ ว, อ. หมูแ่ ห่งภิกษุ แตกกันแล้ ว ดังนี ้
เป็ นต้ น ในวาระที่ ๓ เสด็จไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของภิกษุ ท. เหล่านัน,้

50 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ตรัสแล้ ว ซึง่ โทษ ในเพราะการยกวัตรแห่งภิกษุ ท. ผู้ยกวัตรด้ วย อุกฺเขปกานํ อุกฺเขปเน อิตเรสญฺจ อาปตฺติยา
ในเพราะการไม่เห็น ซึง่ อาบัติ แห่งภิกษุ ท. เหล่านอกนี ้ด้ วย อทสฺสเน อาทีนวํ กเถตฺวา ปุน เตสํ ตตฺเถว เอกสีมายํ
ทรงอนุญาตแล้ ว ซึง่ กรรม ท. มีอโุ บสถเป็ นต้ น ในสีมาอันเดียวกัน อุโปสถาทีนิ อนุชานิตวฺ า ภตฺตคฺคาทีสุ ภณฺฑนชาตานํ
ในโฆสิตารามนัน้ นัน่ เทียว แก่ภิกษุ ท. เหล่านัน้ อีก ทรงบัญญัตแิ ล้ ว “อาสนนฺตริ กาย นิสีทิตพฺพนฺติ ภตฺตคฺเค วตฺตํ
ซึง่ วัตร ในโรงแห่งภัตร ว่า (อันภิกษุ ท.) พึงนัง่ ในแถวอันมีในระหว่าง ปญฺญาเปตฺวา “อิทานิปิ ภณฺฑนชาตา วิหรนฺตีติ
แห่งอาสนะ ดังนี ้เป็ นต้ น (แก่ภิกษุ ท.) ผู้มีความแตกร้ าวเกิดแล้ ว สุตฺวา ตตฺถ คนฺตฺวา “อลํ ภิกฺขเว มา ภณฺฑนนฺติ
(ในที่ ท.) มีโรงแห่งภัตรเป็ นต้ น ทรงสดับแล้ ว ว่า (อ.ภิกษุ ท.) อาทีนิ วตฺวา “ภิกฺขเว ภณฺฑนกลหวิคฺคหวิวาทา
ผู้มีความแตกร้ าวเกิดแล้ ว อยูอ่ ยู่ แม้ ในกาลนี ้ ดังนี ้ เสด็จไปแล้ ว นาเมเต อนตฺถการกา, กลหํ นิสฺสาย หิ ลฏกิุ กาปิ
ในทีน่ นั ้ ตรัสแล้ว (ซึง่ พระด�ำรัส ท.) มีคำ� ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. อ. อย่าเลย สกุณิกา หตฺถินาคํ ชีวิตกฺขยํ ปาเปสีติ ลฏกิุ กชาตกํ
(อ.เธอ ท.) อย่า (ได้ กระท�ำแล้ ว) ซึง่ ความแตกร้ าว ดังนี ้เป็ นต้ น กเถตฺวา “ภิกฺขเว สมคฺคา โหถ มา วิวทถ; วิวาทํ
(ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ชื่อ อ. ความแตกร้ าวและความทะเลาะ นิสฺสาย หิ อเนกสหสฺสวฏฺฏกาปิ ชีวิตกฺขยํ ปตฺตาติ
และความแก่งแย่งและความวิวาท ท. เหล่านัน่ เป็ นเหตุกระท�ำ วฏฺฏกชาตกํ กเถสิ.
ซึง่ ความฉิบหายมิใช่ประโยชน์ (ย่อมเป็ น), ก็ อ. นางนก แม้ ชื่อว่า
นกไส้ อาศัยแล้ ว ซึง่ ความทะเลาะ ยังช้ างตัวประเสริ ฐ ให้ ถงึ แล้ ว
ซึง่ ความสิ ้นไปแห่งชีวิต ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ ลฏกิุ กชาดก (ตรัสแล้ ว)
ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน จงเป็ น
จงอย่าวิวาทกัน; ก็ แม้ อ. นกกระจาบมีพนั มิใช่หนึง่ ท. อาศัยแล้ ว
ซึง่ ความวิวาท ถึงแล้ ว ซึง่ ความสิ ้นไปแห่งชีวิต ดังนี ้ ตรัสแล้ ว
ซึง่ วัฏฏกชาดก ฯ

ครัน้ เมื่อภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไม่เอื ้อเฟื อ้ อยู่ ซึง่ พระด�ำรัส เอวํปิ เตสุ วจนํ อนาทิยนฺเตสุ, อญฺญตเรน
แม้ อย่างนี ้ , (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ธมฺมวาทินา ตถาคตสฺส วิเหสํ อนิจฺฉนฺเตน
อ.พระผู้มีพระภาคเจ้ า ผู้ทรงเป็ นเจ้ าของแห่งธรรม (ทรงยังกาล) “อาคเมตุ ภนฺเต ภควา ธมฺมสฺสามิ, อปฺโปสฺสกุ โฺ ก
จงให้ มาเถิด, ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ.พระผู้มีพระภาคเจ้ า ภนฺเต ภควา ทิฏฺ€ธมฺมสุขวิหารํ อนุยตุ ฺโต วิหรตุ;
ผู้ทรงมีความขวนขวายน้ อย ทรงตามประกอบแล้ วซึง่ ธรรม มยเมเตน ภณฺฑเนน กลเหน วิคฺคเหน วิวาเทน
เป็ นเครื่ องอยูส่ บายในธรรมอันสัตว์เห็นแล้ ว ขอจงประทับอยูเ่ ถิด; ปญฺญายิสฺสามาติ วุตฺเต,
อ.ข้ าพระองค์ ท. จักปรากฏ ด้วยความแตกร้ าว ด้วยความทะเลาะ
ด้วยความแก่งแย่ง ด้ วยความวิวาท นัน่ ดังนี ้ (อันภิกษุ) ผู้กล่าว
ซึง่ ธรรมโดยปกติ รูปใดรูปหนึง่ ผู้ไม่ปรารถนาอยู่ ซึง่ ความล�ำบาก
แห่งพระตถาคตเจ้ า กราบทูลแล้ ว,

(อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า) ตรัสแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งพระราชา “ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว พาราณสิยํ พฺรหฺมทตฺโต


ผู้เป็ นใหญ่ในแว่นแคว้ นชื่อว่าโกศล พระนามว่าทีฆีติ ผู้ประทับอยู่ นาม กาสีราชา อโหสีติ พฺรหฺมทตฺเตน ทีฆีตสิ ฺส
อยู่ ด้ วยเพศอันใคร ๆ ไม่ร้ ูแล้ ว ทรงเป็ นผู้อนั พระราชาพระนาม โกสลรญฺโญ รชฺชํ อจฺฉินฺทิตฺวา อญฺญาตกเวเสน
ว่าพรหมทัต ทรงแย่งชิงเอาแล้ ว ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา วสนฺตสฺส มาริ ตภาวญฺเจว ทีฆาวุกมุ าเรน อตฺตโน
ให้ สวรรคตแล้ วด้ วยนัน่ เทียว ซึง่ ความที่ ( แห่งกษัตริ ย์ ท. ๒ ) ชีวิเต ทินฺเน, ตโต ปฏฺ€าย เตสํ สมคฺคภาวญฺจ
เหล่านัน้ ครัน้ เมื่อพระชนม์ชีพ อันพระกุมารพระนามว่าทีฆาวุ กเถตฺ ว า “ เตสํ หิ นาม ภิ กฺ ข เว ราชู นํ
ถวายแล้ ว แก่พระองค์, ทรงเป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน จ�ำเดิมแต่กาล อาทินฺนทณฺฑานํ อาทินฺนสตฺถานํ เอวรูปํ ขนฺตโิ สรจฺจํ
นันด้
้ วย ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เรื่ องเคยมีแล้ ว อ. พระราชาผู้เป็ นใหญ่ ภวิสฺสติ,
ในแว่นแคว้ นชื่อว่ากาสี พระนามว่าพรหมทัต ได้ มีแล้ ว ในเมือง
ชื่อว่าพาราณสี ดังนี ้เป็ นต้ น แม้ ตรัสสอนแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท.
อ. ความอดทนและความเป็ นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้ วในธรรมอันงาม
มีอย่างนี ้เป็ นรูป ได้ มีแล้ วแล แก่พระราชา ท. เหล่านัน้ ผู้มีทอ่ นไม้
อันถือเอาแล้ ว ผู้มีศสั ตราอันถือเอาแล้ ว,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 51


ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. เป็ นผู้บวชแล้ ว ในธรรมและวินยั อิธ โข ตํ ภิกฺขเว โสเภถ; ยํ ตุมเฺ ห เอวํ
อันเรากล่าวดีแล้ ว อย่างนี ้ มีอยู่ เป็ นผู้อดทนด้ วย เป็ นผู้ยินดีแล้ ว สฺวากฺขาเต ธมฺมวินเย ปพฺพชิตา สมานา ขมา จ
ในธรรมอันงามด้ วย พึงเป็ น ใด อ. ความที่แห่งเธอ ท. เป็ นผู้อดทน ภเวยฺยาถ โสรตา จาติ โอวทิตฺวาปิ เนว เต สมคฺเค
และยินดีแล้ วในธรรมอันงามนัน้ พึงงามในธรรมและวินยั นี ้แล กาตุํ อสกฺขิ.
ดังนี ้ ไม่ได้ ทรงอาจแล้ ว เพื่ออันทรงกระท�ำ ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้
ให้ เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกันนัน่ เทียว ฯ

อ. พระศาสดานัน้ ทรงระอาแล้ ว เพราะความที่แห่งพระองค์ โส ตาย อากิณฺณวิหารตาย อุกฺกณฺ€ิโต


มีความอยูอ่ นั เกลื่อนกล่นแล้ วนัน้ ทรงด�ำริ แล้ ว ว่า อ. เราแล “อหํ โข อิทานิ อากิณฺโณ ทุกฺขํ วิหรามิ, อิเม
เกลื่อนกล่นแล้ ว ย่อมอยู่ ล�ำบาก ในกาลนี ้, อนึง่ อ. ภิกษุ ท. เหล่านี ้ จ ภิกฺขู มม วจนํ น กโรนฺต;ิ ยนฺนนู าหํ เอโก
ย่อมไม่กระท�ำ ซึง่ ค�ำ ของเรา; กระไรหนอ อ. เรา ผู้เดียว หลีกออกแล้ ว คณมฺหา วูปกฏฺโ€ วิหเรยฺยนฺติ จินฺเตตฺวา โกสมฺพิยํ
จากหมู่ พึงอยู่ ดังนี ้ เสด็จเที่ยวไปแล้ ว เพื่อก้ อนข้ าว ในเมืองชื่อว่า ปิ ณฺฑาย จริ ตฺวา อนปโลเกตฺวา ภิกฺขสุ งฺฆํ เอกโกว
โกสัมพี ไม่ทรงอ�ำลาแล้ ว ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ ผู้พระองค์เดียวเทียว อตฺตโน ปตฺตจีวรมาทาย พาลกโลณการามํ คนฺตฺวา
ทรงถือเอาแล้ ว ซึง่ บาตรและจีวร ของพระองค์ เสด็จไปแล้ ว ตตฺถ ภคุตฺเถรสฺส เอกจาริ กวตฺตํ กเถตฺวา
สูพ่ าลกโลณการาม ตรัสแล้ ว ซึง่ วัตรของภิกษุ ผู้มีอนั เที่ยวไป ปาจีนวํสมิคทาเย ติณฺณํ กุลปุตฺตานํ สามคฺคีรสานิสํสํ
ผู้เดียวเป็ นปกติ แก่พระเถระชื่อว่าภคุ ในอารามนัน้ ตรัสแล้ ว กเถตฺวา, เยน ปาริ เลยฺยกํ, ตทวสริ .
ซึง่ อานิสงส์แห่งรสของความสามัคคี แก่กลุ บุตร ท. ๓ ในป่ า
เป็ นที่ให้ ซงึ่ อภัยแก่เนื ้อชื่อว่าปราจีนวงศ์, อ. ป่ าชื่อว่าปาริ ไลยก์
(ย่อมตังอยู ้ )่ โดยส่วนแห่งทิศใด, เสด็จเที่ยวไปแล้ ว โดยส่วน
แห่งทิศนัน้ ฯ
ได้ ยินว่า ในกาลนัน้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า เสด็จเข้ าไป ตตฺร สุทํ ภควา ปาริ เลยฺยกํ อุปนิสฺสาย
อาศัยแล้ ว ซึง่ ป่ าชื่อว่าปาริ ไลยก์ ผู้อนั ช้ างชื่อว่าปาริ ไลยก์บ�ำรุงอยู่ รกฺขติ วนสณฺเฑ ภทฺทสาลมูเล ปาริเลยฺยเกน หตฺถนิ า
ประทับอยูแ่ ล้ ว ประทับอยูต่ ลอดพรรษา ส�ำราญ ณ โคนแห่งต้ นรัง อุปฏฺ€ิยมาโน ผาสุกํ วสฺสาวาสํ วสิ.
อันเจริ ญ ในชัฏชื่อว่ารักขิตวัน ฯ
อ. อุบาสกและอุบาสิกา ท. แม้ ผ้ อู ยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี โกสมฺพีวาสิโนปิ โข อุปาสกา วิหารํ คนฺตฺวา
โดยปกติแล ไปแล้ ว สูว่ ิหาร ไม่เห็นอยู่ ซึง่ พระศาสดา ถามแล้ ว ว่า สตฺถารํ อปสฺสนฺตา “กุหึ ภนฺเต สตฺถาติ ปุจฺฉึส.ุ
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. พระศาสดา (เสด็จไปแล้ ว) ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว ว่า (อ. พระศาสดา) เสด็จไปแล้ ว เต ภิกฺขู อาหํสุ “ปาริ เลยฺยกวนสณฺฑํ คโตติ.
สูช่ ฏั แห่งป่ าชื่อว่าปาริ ไลยก์ ดังนี ้ ฯ
(อ. อุบาสกและอุบาสิกา ท. ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ “กึการณา ภนฺเตติ.
(อ. พระศาสดา เสด็จไปแล้ ว) เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า อ. พระศาสดา ทรงพยายามแล้ ว “อมฺเห สมคฺเค กาตุํ วายมิ, มยํ ปน
เพื่ออันกระท�ำ ซึง่ เรา ท. ให้ เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน, แต่วา่ อ. เรา ท. น สมคฺคา อหุมหฺ าติ.
เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน ได้ เป็ นแล้ ว หามิได้ ดังนี ้ ฯ
(อ. อุบาสกและอุบาสิกา ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ “ภนฺเต ตุมเฺ ห สตฺถุ สนฺตเิ ก ปพฺพชิตฺวา,
อ. ท่าน ท. บวชแล้ ว ในส�ำนัก ของพระศาสดา,ครัน้ เมื่อพระศาสดา ตสฺมึ สามคฺคึ กโรนฺเตปิ , สมคฺคา น อหุวตฺถาติ.
นัน้ แม้ ทรงกระท�ำอยู่ ซึง่ ความสามัคคี, เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน
ได้ เป็ นแล้ ว หามิได้ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. อย่างนัน้ “เอวมาวุโสติ.
ดังนี ้ ฯ
อ. มนุษย์ ท. (ปรึกษากันแล้ ว) ว่า อ. ภิกษุ ท. เหล่านี ้ บวชแล้ ว มนุสฺสา “อิเม สตฺถุ สนฺตเิ ก ปพฺพชิตฺวา,
ในส�ำนัก ของพระศาสดา, ครันเมื ้ อ่ พระศาสดานัน้ แม้ทรงกระท�ำอยู่ ตสฺมึ สามคฺคึ กโรนฺเตปิ , สมคฺคา น ชาตา; มยํ
ซึง่ ความสามัคคี, เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน เกิดแล้ ว หามิได้ ; อิเม นิสฺสาย สตฺถารํ ทฏฺ€ุํ น ลภิมหฺ า;
อ. เรา ท. อาศัยแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านี ้ ไม่ได้ แล้ ว เพื่ออันเฝ้า
ซึง่ พระศาสดา;

52 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. เรา ท.) จักไม่ถวาย ซึง่ อาสนะ แก่ภิกษุ ท. เหล่านี ้นัน่ เทียว, อิเมสํ เนว อาสนํ ทสฺสาม, น อภิวาทนาทีนิ
จักไม่กระท�ำ ซึง่ สามีจิกรรม ท. มีการกราบไหว้ เป็ นต้ น (แก่ภิกษุ ท. กริ สฺสามาติ ตโต ปฏฺ€าย เตสํ สามีจิมตฺตกํปิ
เหล่านี ้) ดังนี ้ ไม่กระท�ำแล้ ว ซึง่ กิจแม้ สกั ว่าสามีจิกรรม แก่ภิกษุ ท. น กรึส.ุ
เหล่านัน้ จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ซูบผอมอยู่ เพราะความที่แห่งตน เต อปฺปาหารตาย สุสฺสมานา กติปาเหเนว
เป็ นผู้มอี าหารน้ อย เป็ นคนตรง เป็ น โดยวันเล็กน้ อยนัน่ เทียว แสดงแล้ว อุชกุ า หุตฺวา อฺมฺํ อจฺจยํ เทเสตฺวา
ซึง่ โทษล่วงเกิน ซึง่ กันและกัน (ยังกันและกัน) ให้ อดโทษแล้ ว ขมาเปตฺวา “อุปาสกา มยํ สมคฺคา ชาตา, ตุมเฺ หปิ
กล่าวแล้ ว ว่า ดูก่อนอุบาสกและอุบาสิกา ท. อ. เรา ท. โน ปุริมสทิสาว โหถาติ อาหํส.ุ
เป็ นผู้พร้ อมเพรี ยงกัน เป็ นผู้เกิดแล้ ว (ย่อมเป็ น), แม้ อ. ท่าน ท.
เป็ นเช่นกับด้ วยบุคคลผู้มีในก่อน เทียว จงเป็ น แก่เรา ท. ดังนี ้ ฯ
(อ. มนุษย์ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ก็ อ. พระศาสดา “ขมาปิ โต ปน โว ภนฺเต สตฺถาติ.
อันท่าน ท. ให้ ทรงอดโทษแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. (อ. พระศาสดา “น ขมาปิ โต อาวุโสติ.
อันเรา ท.) ไม่ทรงให้ อดโทษแล้ ว ดังนี ้ ฯ
(อ. มนุษย์ ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ (อ. ท่าน ท.) “เตนหิ สตฺถารํ ขมาเปถ, สตฺถุ ขมาปิ ตกาเล
ขอจงยังพระศาสดา ให้ ทรงอดโทษเถิด, แม้ อ. กระผม ท. มยํปิ ตุมหฺ ากํ ปุริมสทิสา ภวิสฺสามาติ.
เป็ นเช่นกับด้ วยบุคคลผู้มีในก่อน จักเป็ น แก่ทา่ น ท. ในกาล
แห่งพระศาสดา อันท่าน ท. ให้ ทรงอดโทษแล้ ว ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไม่อาจอยู่ เพื่ออันไป สูส่ �ำนัก เต อนฺโตวสฺสภาเวน สตฺถุ สนฺตกิ ํ คนฺตํุ
ของพระศาสดา เพราะความเป็ นแห่งภายในแห่งพรรษา อวิสหนฺตา ทุกฺเขน ตํ อนฺโตวสฺสํ วีตนิ าเมสุ.ํ
ยังภายในแห่งพรรษานัน้ ให้ น้อมไปล่วงวิเศษแล้ ว โดยยาก ฯ

ก็ อ. พระศาสดา ผู้อนั ช้ างนันบ�


้ ำรุงอยู่ ประทับอยูแ่ ล้ ว สบายฯ สตฺถา ปน เตน หตฺถินา อุปฏฺ€ิยมาโน สุขํ วสิ.

อ. ช้ างแม้ นนั ้ ละแล้ ว ซึง่ ฝูง ได้ เข้ าไปแล้ ว สูช่ ฏั แห่งป่ านัน้ โสปิ คณํ ปหาย ผาสุวิหารตฺถาย ตํ
เพื่อต้ องการแก่อนั อยูส่ �ำราญ ฯ วนสณฺฑํ ปาวิส.ิ

(อ.พระธรรมสังคาหกาจารย์) กล่าวแล้ ว อย่างไร ? ยถาห? “อหํ โข อากิณฺโณ วิหรามิ หตฺถีหิ


(อ.พระธรรมสังคาหกาจารย์ กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ ว่า ครัง้ นัน้ หตฺถินีหิ หตฺถิกลเภหิ หตฺถิจฺฉาเปหิ, ฉินฺนคฺคานิ เจว
อ. ความคิดนัน่ ได้ มีแล้ ว แก่ช้างนัน) ้ ว่า อ. เราแล เกลื่อนกล่นแล้ ว ติณานิ ขาทามิ, โอภคฺโคภคฺคฺจ เม สาขาภงฺคํ
ย่อมอยู่ ด้ วยช้ างพลาย ท. ด้ วยช้ างพัง ท. ด้ วยช้ างสะเทิ ้น ท. ขาทนฺต,ิ อาวิลานิ จ ปานียานิ ปิ วามิ, โอคาหนฺตสฺส
ด้ วยช้ างผู้ลกู น้ อย ท., อ.เรา ย่อมเคี ้ยวกิน ซึง่ หญ้ า ท. เม อุตฺตณ ิ ฺณสฺส หตฺถินิโย กายํ อุปนิฆํสนฺตโิ ย
มีปลายอันอันช้ าง ท. เหล่านัน้ ตัดแล้ วด้ วยนัน่ เทียว, (อ. ช้ าง ท. คจฺฉนฺติ, ยนฺนนู าหํ เอโก คณมฺหา วูปกฏฺโ€
เหล่านัน)้ ย่อมเคี ้ยวกิน ซึง่ รุกขาวัยวะอันบุคคลพึงหักคือกิ่งไม้ วิหเรยฺยนฺต.ิ
อันอันเรา หักลงแล้ วและหักลงแล้ วด้ วย, อ. เรา ย่อมดื่ม ซึง่ น� ้ำ
อันบุคคลพึงดื่ม ท. อันขุน่ มัวด้ วย, เมื่อเรา หยัง่ ลงอยู่ ข้ ามขึ ้นแล้ ว
อ. ช้ างพัง ท. เข้ าไปเสียดสีอยู่ ซึง่ กาย ย่อมไป, กระไรหนอ อ. เรา
ผู้เดียว หลีกออกแล้ ว จากฝูง พึงอยู่ ดังนี ้ (ดังนี ้) ฯ

ครัง้ นันแล
้ อ. ช้ างตัวประเสริ ฐนัน้ หลีกออกแล้ ว จากโขลง, อถโข โส หตฺถินาโค ยูถา อปกฺกมฺม,
อ. ป่ าชื่อว่าปาริ ไลยก์ อ. ชัฏชื่อว่ารักขิตวัน อ. โคนแห่งต้ นรัง- เยน ปาริ เลยฺยกํ รกฺขิตวนสณฺโฑ ภทฺทสาลมูลํ
อันเจริ ญ (ย่อมตังอยู
้ )่ โดยส่วนแห่งทิศใด, อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา จ ปน
(ย่อมประทับอยู)่ โดยส่วนแห่งทิศใด, เข้ าไปเฝ้าแล้ ว โดยส่วน- ภควนฺตํ วนฺทิตฺวา โอโลเกนฺโต อฺํ กิฺจิ อทิสฺวา
แห่งทิศนัน;้ ก็แล (อ. ช้ างนัน)
้ ครัน้ เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ถวายบังคมแล้ ว
ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า แลดูอยู่ ไม่เห็นแล้ ว ซึง่ วัตถุอะไร ๆ อื่น

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 53


กระทืบอยู่ ซึง่ โคนแห่งต้ นรังอันเจริ ญ ด้ วยเท้ า ถากแล้ ว จับแล้ ว ภทฺทสาลมูลํ ปาเทน ปหรนฺโต ตจฺเฉตฺวา โสณฺฑาย
ซึง่ กิ่งไม้ ด้ วยงวง กวาดแล้ ว; (อ. ช้ าง) จับแล้ ว ซึง่ หม้ อ ด้ วยงวง สาขํ คเหตฺวา สมฺมชฺชิ; ตโต ปฏฺ€าย โสณฺฑาย
ย่อมเข้ าไปตังไว้ ้ ซึง่ น� ้ำอันบุคคลพึงดื่ม ซึง่ น� ้ำอันบุคคลพึงใช้ สอย ฆฏํ คเหตฺวา ปานียํ ปริ โภชนียํ อุปฏฺ€เปติ;
จ�ำเดิม แต่กาลนัน;้ ครัน้ เมื่อความต้ องการด้ วยน� ้ำอันร้ อน มีอยู,่ อุณฺโหทเกน อตฺเถ สติ, อุณฺโหทกํ ปฏิยาเทติ.
(อ. ช้ าง) ย่อมจัดแจง ซึง่ น� ้ำอันร้ อน ฯ

(อ. อันถาม) ว่า (อ. ช้ าง ย่อมจัดแจง) อย่างไร ? (ดังนี ้) กถํ? หตฺเถน กฏฺ€านิ ฆํสติ ฺวา อคฺคึ สมฺปาเทติ,
(อ. อันแก้ ) ว่า (อ. ช้ าง) สีแล้ ว ซึง่ ไม้ แห้ ง ท. ด้ วยงวง ยังไฟ ย่อมให้ ตํ ทารูนิ ปกฺขิปนฺโต ชาเลตฺวา ตตฺถ ปาสาเณ
ถึงพร้ อม, (อ. ช้ าง) ใส่เข้ าอยูซ่ งึ่ ฟื น ท. ยังไฟนัน้ ให้ โพลงแล้ ว ปจิตฺวา ทารุทณฺฑเกน ปวฏฺเฏตฺวา ปริ จฺฉินฺนาย
เผาแล้ ว ซึง่ แผ่นหิน ท. ในไฟนัน้ เขี่ยแล้ ว ด้ วยท่อนแห่งไม้ ย่อมซัดไป ขุทฺทกโสณฺฑิยํ ขิปติ; ตโต หตฺถํ โอตาเรตฺวา
ในล�ำรางน้ อย อันอันตนก�ำหนดแล้ ว; (ดังนี ้) ในล�ำดับนัน้ (อ.ช้ าง) อุทกสฺส ตตฺตภาวํ ชานิตฺวา คนฺตฺวา สตฺถารํ
ยังงวง ให้ ข้ามลงแล้ ว รู้แล้ ว ซึง่ ความที่แห่งน� ้ำเป็ นของร้ อนแล้ ว วนฺทติ.
ไปแล้ ว ย่อมจบ ซึง่ พระศาสดา ฯ

อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนปาริ ไลยก์ อ. น� ้ำ อันเธอ สตฺถา “อุทกํ เต ตาปิ ตํ ปาริ เลยฺยกาติ วตฺวา
ให้ ร้อนแล้ วหรื อ ดังนี ้ เสด็จไปแล้ ว ในที่นนั ้ ย่อมทรงสนาน ฯ ตตฺถ คนฺตฺวา นหายติ. อถสฺส นานาวิธานิ ผลานิ
ครัง้ นัน้ (อ. ช้ าง) น�ำมาแล้ ว ซึง่ ผลไม้ ท. อันมีอย่างต่าง ๆ อาหริ ตฺวา เทติ.
ย่อมถวาย แก่พระศาสดานัน้ ฯ

ก็ ในกาลใด อ. พระศาสดา ย่อมเสด็จเข้ าไป สูบ่ ้ าน ยทา ปน สตฺถา คามํ ปิ ณฺฑาย ปวิสติ;
เพื่อก้ อนข้ าว; ในกาลนัน้ (อ. ช้ าง) ถือเอาแล้ ว ซึง่ บาตรและจีวร ตทา สตฺถุ ปตฺตจีวรมาทาย กุมเฺ ภ ปติฏฺ€าเปตฺวา
ของพระศาสดา (ยังบาตรและจีวร) ให้ตงอยู ั ้ เ่ ฉพาะแล้ว บนกระพอง สตฺถารา สทฺธึเยว คจฺฉติ.
ย่อมไป กับ ด้ วยพระศาสดานัน่ เทียว ฯ

อ. พระศาสดา เสด็จถึงแล้ ว ซึง่ อุปจารแห่งบ้ าน (ตรัสแล้ ว) ว่า สตฺถา คามูปจารํ ปตฺวา “ปาริ เลยฺยก อิโต
ดูก่อนปาริ ไลยก์ อันเจ้ า ไม่อาจ เพื่ออันไป จ�ำเดิม แต่ที่นี ้, อ. เจ้ า ปฏฺ€าย ตยา คนฺตํุ น สกฺกา, อาหร เม ปตฺตจีวรนฺติ
จงน�ำมา ซึง่ บาตรและจีวร ของเรา ดังนี ้ (ทรงยังช้ าง) ให้ น�ำมาแล้ ว อาหราเปตฺวา คามํ ปิ ณฺฑาย ปวิสติ.
ย่อมเสด็จเข้ าไป สูบ่ ้ าน เพื่อก้ อนข้ าว ฯ
อ. ช้ างแม้ นนั ้ ยืนแล้ ว ในทีน่ นนั
ั ้ น่ เทียว เพียงใด แต่อนั เสด็จออก โสปิ ยาว สตฺถุ นิกฺขมนา ตตฺเถว
แห่งพระศาสดา กระท�ำแล้ ว ซึง่ การต้ อนรับ ในกาลเป็ นที่เสด็จมา €ตฺวา สตฺถุ อาคมนกาเล ปจฺจคุ ฺคมนํ กตฺวา
แห่งพระศาสดา รับแล้ว ซึง่ บาตรและจีวร โดยนัยอันมีในก่อนนัน่ เทียว ปุริมนเยเนว ปตฺตจีวรํ คเหตฺวา วสนฏฺ€าเน
(ยังบาตรและจีวร) ให้ ข้ามลงแล้ ว ในที่เป็ นที่ประทับอยู่ แสดงแล้ ว โอตาเรตฺวา วตฺตํ ทสฺเสตฺวา สาขาย วีชติ, รตฺตึ
ซึง่ วัตร ย่อมพัด ด้ วยกิ่งไม้ , ในเวลากลางคืน (อ. ช้ าง) ถือเอาแล้ ว วาลมิคปริ ปนฺถนิวารณตฺถํ มหนฺตํ ทณฺฑํ โสณฺฑาย
ซึง่ ท่อนไม้ ใหญ่ ด้ วยงวง เพื่ออันห้ ามซึง่ อันตรายเป็ นเครื่ อง- คเหตฺวา “สตฺถารํ รกฺขิสฺสามีติ ยาว อรุณคุ ฺคมนา
เบียดเบียนรอบแต่เนื ้อร้ าย ย่อมเที่ยวไป ในระหว่างและระหว่าง วนสณฺฑสฺส อนฺตรนฺตเร วิจรติ.
แห่งชัฏแห่งป่ า เพียงใด แต่อนั ขึ ้นไปแห่งอรุณ (ด้ วยความคิด) ว่า
(อ. เรา) จักรักษา ซึง่ พระศาสดา ดังนี ้ ฯ

ได้ ยินว่า อ. ชัฏแห่งป่ านัน้ ชื่อเป็ นชัฏชื่อว่ารักขิตวัน เกิดแล้ ว ตโต ปฏฺ€ายเยว กิร โส วนสณฺโฑ
จ�ำเดิม แต่กาลนันนั้ น่ เทียว ฯ รกฺขิตวนสณฺโฑ นาม ชาโต.

ครัน้ เมือ่ อรุณขึ ้นไปแล้ ว, (อ.ช้ าง) ย่อมกระท�ำ ซึง่ วัตรทังปวง


้ ท. อรุเณ อุคฺคเต, มุโขทกทานํ อาทึ กตฺวา เตเนว
โดยอุบาย นันนั ้ น่ เทียว กระท�ำ ซึง่ การถวายซึง่ น� ้ำเป็ นเครื่ องล้ าง อุปาเยน สพฺพวตฺตานิ กโรติ.
ซึง่ พระพักตร์ ให้ เป็ นต้ น ฯ

54 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ครัง้ นัน้ อ. ลิง ตัวหนึง่ เห็นแล้ ว ซึง่ ช้ างนัน้ ผู้ลกุ ขึ ้นแล้ ว อเถโก มกฺกโฏ ตํ หตฺถึ อุฏฺ€าย สมุฏฺ€าย
ลุกขึ ้นพร้ อมแล้ ว กระท�ำอยู่ ซึง่ อภิสมาจาริกวัตร แก่พระตถาคตเจ้ า ตถาคตสฺส อภิสมาจาริ กํ กโรนฺตํ ทิสฺวา “อหํปิ
(คิดแล้ ว) ว่า แม้ อ. เรา จักกระท�ำ ซึง่ วัตรบางอย่างนัน่ เทียว ดังนี ้ กิฺจิเทว กริ สฺสามีติ วิจรนฺโต เอกทิวสํ นิมมฺ กฺขิกํ
เที่ยวไปอยู่ เห็นแล้ ว ซึง่ รวงแห่งผึ ้งที่ทอ่ นไม้ อันไม่มีตวั ในวันหนึง่ ทณฺฑกมธุปฏลํ ทิสฺวา ทณฺฑกํ ภฺชิตฺวา
หักแล้ ว ซึง่ ท่อนไม้ น�ำไปแล้ ว ซึง่ รวงแห่งผึ ้ง กับ ด้ วยท่อนไม้ นนั่ เทียว ทณฺฑเกเนว สทฺธึ มธุปฏลํ สตฺถุ สนฺตกิ ํ หริ ตฺวา
สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา ตัดแล้ ว ซึง่ ใบแห่งกล้ วย ได้ วางถวายแล้ ว กทลิปตฺตํ ฉินฺทิตฺวา ตตฺถ €เปตฺวา อทาสิ.
ในที่นนั ้ ฯ อ. พระศาสดา ทรงรับแล้ ว ฯ สตฺถา คณฺหิ.

อ. ลิง แลดูอยู่ (ด้วยความคิด) ว่า (อ. พระศาสดา) จักทรงกระท�ำ มกฺกโฏ “กริ สฺสติ นุ โข ปริ โภคํ น กริ สฺสตีติ
(ซึง่ การบริโภค) หรือหนอแล (หรือว่า อ. พระศาสดา) จักไม่ทรงกระท�ำ โอโลเกนฺโต คเหตฺวา นิสนิ ฺนํ ทิสฺวา “กึ นุ โขติ
ซึง่ การบริ โภค ดังนี ้ เห็นแล้ ว (ซึง่ พระศาสดา) ผู้ทรงรับแล้ ว จินฺเตตฺวา ทณฺฑโกฏึ คเหตฺวา ปริ วตฺเตตฺวา
ประทับนัง่ แล้ ว คิดแล้ ว ว่า อ. อะไร หนอแล ดังนี ้ จับแล้ ว อุปธาเรนฺโต อณฺฑกานิ ทิสฺวา ตานิ สณิกํ อปเนตฺวา
ซึง่ ปลายแห่งท่อนไม้ (ยังปลายแห่งท่อนไม้ ) ให้ เป็ นไปรอบแล้ ว ปุน อทาสิ.
ใคร่ครวญอยู่ เห็นแล้ ว ซึง่ ตัวอ่อน ท. น�ำไปปราศแล้ ว ซึง่ ตัวอ่อน ท.
เหล่านัน้ ค่อย ๆ ได้ ถวายแล้ ว อีก ฯ

อ. พระศาสดา ได้ ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ การบริ โภค ฯ สตฺถา ปริ โภคมกาสิ.

อ. ลิงนัน้ ผู้มใี จยินดีแล้ว จับแล้ว ซึง่ กิง่ ไม้ นัน้ ๆ ได้ยนื ฟ้อนอยูแ่ ล้ว ฯ โส ตุฏฺ€มานโส ตํ ตํ สาขํ คเหตฺวา นจฺจนฺโต
ครัง้ นัน้ อ. กิง่ ไม้ อนั ลิงนันจั
้ บแล้ วก็ดี อ. กิง่ ไม้ อนั ลิงนันเหยี้ ยบแล้ ว อฏฺ€าสิ. อถสฺส คหิตสาขาปิ อกฺกนฺตสาขาปิ ภิชฺชิ.
ก็ดี หักแล้ ว ฯ

อ. ลิ ง นั น้ ตกไปแล้ ว บนที่ สุ ด แห่ ง ตอไม้ แห่ ง หนึ่ ง , โส เอกสฺมึ ขาณุมตฺถเก ปติตวฺ า, นิพพฺ ทิ ธฺ คตฺโต
ผู้มตี วั อันตอไม้ แทงแล้ ว มีจติ อันเลือ่ มใสแล้ ว นัน่ เทียว กระท�ำแล้ ว ปสนฺเนเนว จิตฺเตน กาลํ กตฺวา ตาวตึสภวเน
ซึง่ กาละ บังเกิดแล้ว ในวิมานอันเป็ นวิการแห่งทอง อันประกอบแล้ว ตึสโยชนิเก กนกวิมาเน นิพฺพตฺติ , อจฺฉราสหสฺส-
ด้ วยโยชน์ ๓๐ ในภพชื่อว่าดาวดึงส์, เป็ นผู้มีพนั แห่งนางอัปสร ปริ วาโร อโหสิ.
เป็ นบริ วาร ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

อ. ความเป็ นคืออันประทับอยู่ แห่งพระตถาคตเจ้ า ผู้อนั ช้ าง ตถาคตสฺส ตตฺถ หตฺถินาเคน อุปฏฺ€ิยมานสฺส


ตัวประเสริ ฐบ�ำรุงอยู่ ในป่ านัน้ เป็ นสภาพปรากฏแล้ ว ในชมพูทวีป วสนภาโว สกลชมฺพทุ ีเป ปากโฏ อโหสิ.
ทังสิ
้ ้น ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

อ. ตระกูลใหญ่ ท. มีอย่างนี ้คือ อ.เศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ สาวตฺถีนครโต “ อนาถปิ ณฺฑิโก วิสาขา


อ. นางวิสาขา ผู้มหาอุบาสิกา เป็ นต้ น ส่งไปแล้ ว ซึง่ ข่าวสาส์น มหาอุปาสิกาติ เอวมาทีนิ มหากุลานิ อานนฺทตฺเถรสฺส
แก่พระเถระชือ่ ว่าอานนท์ จากเมืองชือ่ ว่าสาวัตถี ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ สาสนํ ปหิณึสุ “สตฺถารํ โน ภนฺเต ทสฺเสถาติ.
(อ. ท่าน ท.) ขอจงแสดงซึง่ พระศาสดา แก่เรา ท. ดังนี ้ ฯ

อ.ภิกษุ ท. มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ แม้ ผ้ อู ยูใ่ นทิศโดยปกติ ทิสาวาสิโนปิ ปฺจสตา ภิกฺขู วุตฺถวสฺสา
ผู้มีกาลฝนอันอยูแ่ ล้ ว เข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ พระเถระชื่อว่าอานนท์ อานนฺทตฺเถรํ อุปสงฺกมิตฺวา “จิรสฺสตุ า โน อาวุโส
อ้ อนวอนแล้ ว ว่า ดูก่อนอานนท์ ผู้มีอายุ อ. วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว อานนฺท ภควโต สมฺมขุ า ธมฺมีกถา; สาธุ มยํ
ซึง่ ธรรม ในที่พร้ อมพระพักตร์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า อันเรา ท. อาวุโส อานนฺท ลเภยฺยาม ภควโต สมฺมขุ า
ฟั งแล้ วสิ ้นกาลนาน ; ดูก่อนอานนท์ ผู้มีอายุ ดังเรา ท. ขอโอกาส ธมฺมีกถํ สวนายาติ ยาจึส.ุ
อ. เรา ท. พึงได้ เพื่ออันฟั ง ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวซึง่ ธรรม
ในที่พร้ อมพระพักตร์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า ดังนี ้ ฯ

อ. พระเถระ พาเอา ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ ว ในที่นนั ้ เถโร เต ภิกฺขู อาทาย ตตฺถ คนฺตฺวา

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 55


คิดแล้ ว ว่า อ. อัน (อันเรา) เข้ าไปสูส่ �ำนัก ของพระตถาคตเจ้ า “ เตมาสํ เอกวิหาริ โน ตถาคตสฺส สนฺตกิ ํ เอตฺตเกหิ
ผู้ประทับอยูพ่ ระองค์เดียวโดยปกติ ตลอดประชุมแห่งเดือนสาม ภิกฺขหู ิ สทฺธึ อุปสงฺกมิตํุ อยุตฺตนฺติ จินฺเตตฺวา
กับ ด้ วยภิกษุ ท. มีประมาณเท่านี ้ ไม่ควรแล้ ว ดังนี ้ พักไว้ แล้ ว เต ภิกฺขู พหิ €เปตฺวา เอกโกว สตฺถารํ
ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ในภายนอก ผู้ผ้ เู ดียวเทียว เข้ าไปเฝ้าแล้ ว อุปสงฺกมิ.
ซึง่ พระศาสดา ฯ
อ. ช้ างชื่อว่าปาริ ไลยก์ เห็นแล้ ว ซึง่ พระอานนท์นนั ้ ถือเอาแล้ ว ปาริ เลยฺยโก ตํ ทิสฺวา ทณฺฑกํ อาทาย
ซึง่ ท่อนไม้ แล่นไปแล้ ว ฯ อ. พระศาสดา ทรงแลดูแล้ ว ตรัสแล้ ว ปกฺขนฺทิ. สตฺถา โอโลเกตฺวา “อเปหิ ปาริ เลยฺยก,
ว่า ดูก่อนปาริ ไลยก์ อ. เจ้ า จงหลีกไป, อ. เจ้ า อย่าห้ ามแล้ ว ; มา นิวารยิ; พุทฺธปุ ฏฺ€าโก เอโสติ อาห.
อ. ภิกษุนนั่ เป็ นผู้บ�ำรุงซึง่ พระพุทธเจ้ า (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
อ. ช้ างนัน้ ทิ ้งแล้ ว ซึง่ ท่อนไม้ ในที่นนนั ั ้ น่ เทียว ถามโดย โส ตตฺเถว ทณฺฑํ ฉฑฺเฑตฺวา ปตฺตจีวรปฏิคคหณํ
เอื ้อเฟื อ้ แล้ ว ซึง่ การรับเฉพาะซึง่ บาตรและจีวร ฯ อ. พระเถระ อาปุจฺฉิ. เถโร นาทาสิ. นาโค “ สเจ
ไม่ได้ ให้ แล้ ว ฯ อ. ช้ างตัวประเสริ ฐ คิดแล้ ว ว่า ถ้ าว่า อุคฺคหิตวตฺโต ภวิสฺสติ, สตฺถุ นิสีทนปาสาณผลเก
(อ. ภิกษุนี ้) เป็ นผู้มีวตั รอันเรี ยนเอาแล้ ว จักเป็ นไซร้ , (อ. ภิกษุนี ้) อตฺตโน ปริ กฺขารํ น €เปสฺสตีติ จินฺเตสิ.
จักไม่วาง ซึง่ บริ ขาร ของตน บนแผ่นแห่งหินเป็ นที่ประทับนัง่ เถโร ปตฺตจีวรํ ภูมิยํ €เปสิ.
ของพระศาสดา ดังนี ้ ฯ อ. พระเถระ วางแล้ว ซึง่ บาตรและจีวร
บนภาคพื ้น ฯ
จริ งอยู่ (อ. ชน ท.) ผู้ถงึ พร้ อมแล้ วด้ วยวัตร ย่อมไม่วาง วตฺตสมฺปนฺนา หิ ครูนํ อาสเน วา สยเน วา
ซึง่ บริ ขาร ของตน บนที่เป็ นที่นงั่ หรื อ หรื อว่าบนที่เป็ นที่นอนของครู อตฺตโน ปริ กฺขารํ น €เปนฺต.ิ โส ตํ ทิสฺวา
ท. ฯ อ. ช้ างนัน้ เห็นแล้ ว ซึง่ อาการนัน้ เป็ นผู้มีจิตเลื่อมใสแล้ ว ปสนฺนจิตฺโต อโหสิ . เถโร สตฺถารํ วนฺทิตฺวา
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ อ. พระเถระ ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา เอกมนฺตํ นิสีทิ.
นัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว ว่า ดูก่อนอานนท์ อ. เธอ ผู้ผ้ เู ดียว สตฺถา “อานนฺท เอกโกว อาคโตสีติ ปุจฺฉิตฺวา
เทียว เป็ นผู้มาแล้ ว ย่อมเป็ นหรื อ ดังนี ้ ทรงสดับแล้ ว ซึง่ ความที ปฺจสเตหิ ภิกฺขหู ิ สทฺธึ อาคตภาวํ สุตฺวา “กุหึ
แห่งพระเถระเป็ นผู้มาแล้ ว กับ ด้ วยภิกษุ ท. มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ ปน เตติ วตฺวา, “ตุมหฺ ากํ จิตฺตํ อชานนฺโต พหิ
ตรัสแล้ ว ว่า ก็ อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ (ย่อมอยู)่ ในที่ไหน ดังนี ้, €เปตฺวา อาคโตมฺหีติ วุตฺเต, “ปกฺโกสาหิ เตติ อาห.
(ครัน้ เมือ่ ค�ำ) ว่า อ. ข้ าพระองค์ ไม่ทราบอยู่ ซึง่ พระทัย ของพระองค์
ท. พักไว้ แล้ ว (ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน) ้ ในภายนอก เป็ นผู้มาแล้ ว
ย่อมเป็ น ดังนี ้ (อันพระเถระ) กราบทูลแล้ ว, ตรัสแล้ ว ว่า อ. เธอ
จงเรี ยก ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ ได้ กระท�ำแล้ ว อย่างนัน้ ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ เถโร ตถา อกาสิ. เต ภิกฺขู อาคนฺตฺวา สตฺถารํ
มาแล้ ว ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา นัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ฯ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทสึ .ุ

อ. พระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ ปฏิสนั ถาร กับ ด้ วยภิกษุ สตฺถา เตหิ สทฺธึ ปฏิสนฺถารํ กตฺวา, เตหิ ภิกฺขหู ิ
ท. เหล่านัน,้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. พระผู้มี “ภนฺเต ภควา พุทฺธสุขมุ าโล เจว ขตฺตยิ สุขมุ าโล จ,
พระภาคเจ้ า เป็ นพระพุทธเจ้ าผู้ละเอียดอ่อนด้ วยนั่นเทียว ตุมเฺ หหิ เตมาสํ เอกเกหิ ติฏฺ€นฺเตหิ นิสีทนฺเตหิ จ
เป็ นกษัตริ ย์ผ้ ลู ะเอียดอ่อนด้ วย (ย่อมเป็ น), อ. กรรมอันบุคคล ทุกฺกรํ กตํ; วตฺตปฏิวตฺตการโกปิ มุโขทกทายโกปิ
กระท�ำได้ โดยยาก อันพระองค์ ท. ผู้พระองค์เดียว ผู้ประทับ นาโหสิ มฺเติ วุตฺเต, “ภิกฺขเว ปาริ เลยฺยกหตฺถินา
ยืนอยูด่ ้ วย ผู้ประทับนัง่ อยูด่ ้ วย ตลอดประชุมแห่งเดือนสาม มม สพฺพกิจฺจานิ กตานิ, เอวรูปํ หิ สหายกํ
ทรงกระท�ำแล้ ว ; (อ. บุคคล) ผู้กระท�ำซึง่ วัตรและวัตรตอบก็ดี ลภนฺเตน เอกโต วสิตํุ ยุตฺตํ , อลภนฺตสฺส
ผู้ถวายซึง่ น� ้ำเป็ นเครื่ องล้ างซึง่ พระพักตร์ ก็ดี เห็นจะไม่ได้ มีแล้ ว เอกจาริ กภาโวว เสยฺโยติ วตฺวา อิมา นาควคฺเค
ดังนี ้ อันภิกษุ ท. เหล่านัน้ กราบทูลแล้ ว, ตรัสแล้ ว ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. ติสฺโส คาถาโย อภาสิ
อ. กิจทังปวง้ ท. ของเรา อันช้ างชื่อว่าปาริ ไลยก์ กระท�ำแล้ ว,
จริ งอยู่ อ. อัน (อันบุคคล) ผู้ได้ อยู่ ซึง่ สหาย ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป
อยู่ โดยความเป็ นอันเดียวกัน ควรแล้ ว, อ. ความที่ แห่งบุคคล
ผู้ไม่ได้ อยู่ (ซึง่ สหาย ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป) เป็ นผู้มีการเที่ยวไป
แห่งบุคคลคนเดียวเป็ นปกติเทียว เป็ นอาการประเสริฐกว่า (ย่อมเป็ น)
ดังนี ้ ได้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา ท. ๓ ในนาควรรค เหล่านี ้ ว่า

56 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ถ้าว่า (อ. บุคคล) พึงได้ ซึ่งสหาย ผูม้ ี ปัญญาเป็ นเครื ่องรักษา “สเจ ลเภถ นิ ปกํ สหายํ
ซึ่งตนโดยไม่เหลือ ผูเ้ ป็ นปราชญ์ ผูม้ ี ธรรมเป็ นเครื ่องอยู่ สทฺธึจรํ สาธุวิหาริ ธี รํ,
อันยังประโยชน์ให้ส�ำเร็ จ ผูเ้ ทีย่ วไปอยู่กบั (ด้วยตนไซร้), อภิ ภยุ ฺย สพฺพานิ ปริ สสฺ ยานิ
(อ. บุคคลนัน้ ) เป็ นผูม้ ี ใจเป็ นของแห่งตน เป็ นผูม้ ี สติ (เป็ น) จเรยฺย เตนตฺตมโน สตีมา.
ครอบง�ำแล้ว ซึ่งอันตรายเป็ นเครื ่องนอนรอบ ท. ทัง้ ปวง โน เจ ลเภถ นิ ปกํ สหายํ
พึงเทีย่ วไป (กับ) ด้วยสหายนัน้ ฯ หากว่า (อ. บุคคล) สทฺธึจรํ สาธุวิหาริ ธี รํ,
ไม่พงึ ได้ ซึ่งสหาย ผูม้ ีปัญญาเป็ นเครื อ่ งรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ ราชาว รฏฺ€ํ วิ ชิตํ ปหาย,
ผูเ้ ป็ นปราชญ์ ผูม้ ี ธรรมเป็ นเครื ่องอยู่อนั ยังประโยชน์ เอโก จเร, มาตงฺครฺเว นาโค.
ให้ส�ำเร็ จ ผูเ้ ทีย่ วไปอยู่ กับ (ด้วยตนไซร้), อ. บุคคลนัน้ เอกสฺส จริ ตํ เสยฺโย , นตฺถิ พาเล สหายตา ;
เป็ นคนเดียว (เป็ น) พึงเทีย่ วไป เพียงดัง อ. พระราชา เอโก จเร น จ ปาปานิ กยิ รา,
ทรงละแล้ว ซึ่งแว่นแคว้น อันอันพระองค์ทรงชนะวิ เศษแล้ว อปฺโปสฺสกุ ฺโก มาตงฺครฺเว นาโคติ .
(เสด็จเทีย่ วไปอยู่), เพียงดัง อ.ช้างตัวประเสริ ฐ ชื อ่ ว่ามาตังคะ
(เทีย่ วไปอยู่) ในป่ า ฯ อ. การเทีย่ วไป แห่งบุคคลคนเดียว
เป็ นกิ ริยาประเสริ ฐกว่า (ย่อมเป็ น) , (เพราะว่า)
อ. คุณเครื ่องความเป็ นแห่งสหาย ย่อมไม่มี ในเพราะชนพาล,
(อ. บุคคล) เป็ นคนเดียว (เป็ น) พึงเทีย่ วไป เพียงดัง
อ. ช้างตัวประเสริ ฐ ชื อ่ ว่ามาตังคะตัวมี ความขวนขวายน้อย
(เทีย่ วไปอยู่) ในป่ าด้วย ไม่พึงกระท�ำ ซึ่งบาป ท. ด้วย ดังนี ้ ฯ

ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ คาถาปริ โยสาเน ปฺจสตาปิ เต ภิกฺขู อรหตฺเต
แม้ มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในพระอรหัต ฯ ปติฏฺ€หึส.ุ

อ.พระเถระชื่อว่าอานนท์ กราบทูลแล้ ว ซึง่ ข่าวสาส์น อานนฺทตฺเถโร อนาถปิ ณฺฑิกาทีหิ เปสิตํ สาสนํ


อัน (อันชน ท.) มีเศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะเป็ นต้ น ส่งไปแล้ ว อาโรเจตฺวา “ภนฺเต อนาถปิ ณฺฑิกปมุขา ปฺจ
กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ.โกฏิแห่งอริ ยสาวก ท. อริ ยสาวกโกฏิโย ตุมหฺ ากํ อาคมนํ ปจฺจาสึสนฺตีติ
ห้ า มีเศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะเป็ นประมุข ย่อมหวังเฉพาะ อาห.
ซึง่ การเสด็จมาแห่งพระองค์ ท. ดังนี ้ ฯ
อ. พระศาสดา (ตรัสแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. เธอ จงถือเอา สตฺถา “เตนหิ คณฺหาหิ ปตฺตจีวรนฺติ ปตฺตจีวรํ
ซึง่ บาตรและจีวร ดังนี ้ (ยังพระเถระ) ให้ ถอื เอาแล้ ว ซึง่ บาตรและจีวร คาหาเปตฺวา นิกฺขมิ.
เสด็จออกไปแล้ ว ฯ

อ. ช้ างตัวประเสริ ฐ ไปแล้ ว ได้ ยืนแล้ ว ขวาง ในหนทาง ฯ นาโค คนฺตฺวา มคฺเค ติริยํ อฏฺ€าสิ.
อ. ภิกษุ ท. เห็นแล้ ว ซึง่ ช้ างนัน้ ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า ภิกฺขู ตํ ทิสวฺ า ภควนฺตํ ปุจฺฉึสุ “กึ กโรติ ภนฺเตติ.
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. ช้ าง) จะกระท�ำ ซึง่ อะไร ดังนี ้ ฯ

(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. ช้ าง) “ตุมฺหากํ ภิกฺขเว ภิกฺขํ ทาตุํ ปจฺจาสึสติ,
ย่อมหวังเฉพาะ เพื่ออันถวาย ซึง่ ภิกษา แก่เธอ ท., ก็ อ. ช้ างนี ้ ทีฆรตฺตํ โข ปนายํ มยฺหํ อุปการโก, นาสฺส
เป็ นผู้กระท�ำซึง่ อุปการะ แก่เรา (ย่อมเป็ น) สิ ้นกาลนานแล, จิตฺตํ โกเปตุํ วฏฺฏติ, นิวตฺตถ ภิกฺขเวติ.
อ.อัน (อันเรา) ยังจิต แห่งช้ างนัน้ ให้ ก�ำเริ บ ย่อมไม่ควร,
ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. จงกลับ ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ทรงพาเอา ซึง่ ภิกษุ ท. เสด็จกลับแล้ ว, สตฺถา ภิกฺขู คเหตฺวา นิวตฺต.ิ หตฺถีปิ วนสณฺฑํ
แม้ อ. ช้ าง เข้ าไปแล้ ว สูช่ ฏั แห่งป่ า ปวิสติ ฺวา

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 57


รวบรวมแล้ ว ซึง่ ผลไม้ ตา่ ง ๆ ท. มีผลแห่งขนุนและกล้ วยเป็ นต้ น ปนสกทลิผลาทีนิ นานาผลานิ สํหริ ตฺวา ราสึ
กระท�ำแล้ ว ให้ เป็ นกอง ได้ ถวายแล้ ว แก่ภิกษุ ท. ในวันรุ่งขึ ้น ฯ กตฺวา ปุนทิวเส ภิกฺขนู ํ อทาสิ.
อ. ภิกษุ ท. มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออัน ปฺจสตา ภิกฺขู สพฺพานิ เขเปตุํ นาสกฺขสึ .ุ
ยังผลไม้ ท. ทังปวง ้ ให้ สิ ้นไป ฯ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งกิจด้ วยภัตร อ. พระศาสดา ภตฺตกิจฺจปริ โยสาเน สตฺถา ปตฺตจีวรํ คเหตฺวา
ทรงถือเอาแล้ ว ซึง่ บาตรและจีวร เสด็จออกไปแล้ ว ฯ นิกฺขมิ.
อ. ช้ างตัวประเสริ ฐ ไปแล้ ว โดยระหว่างและระหว่าง แห่งภิกษุ นาโค ภิกฺขนู ํ อนฺตรนฺตเรน คนฺตฺวา สตฺถุ ปุรโต
ท. ได้ ยืนแล้ ว ขวาง ข้ างพระพักตร์ ของพระศาสดา ฯ ติริยํ อฏฺ€าสิ.
อ. ภิกษุ ท. เห็นแล้ ว ซึง่ ช้ างนัน้ ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระผู้มี ภิกฺขู ตํ ทิสวฺ า ภควนฺตํ ปุจฺฉึสุ “กึ กโรติ
พระภาคเจ้ า ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ช้ าง จะกระท�ำ ซึง่ อะไร ภนฺเตติ.
ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. ช้ าง นี ้ “อยํ ภิกฺขเว ตุมเฺ ห เปเสตฺวา มํ นิวตฺเตตีติ.
ส่งไปแล้ ว ซึง่ เธอ ท. ยังเรา จะให้ กลับ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “เอวํ ภนฺเตติ.
อ. อย่างนันหรื ้ อ ดังนี ้ ฯ
((อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. เออ (อ. อย่างนัน) ้ “อาม ภิกฺขเวติ.
ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว กะช้ างนัน้ ว่า ดูก่อนปาริ ไลยก์ อถ นํ สตฺถา “ปาริ เลยฺยก อิทํ มม อนิวตฺตคมนํ,
อ. การไปนี ้เป็ นการไปไม่กลับแล้ ว แห่งเรา (ย่อมเป็ น), อ. ฌานหรื อ ตว อิมินา อตฺตภาเวน ฌานํ วา วิปสฺสนํ วา
หรื อว่า อ. วิปัสสนา หรื อว่า อ. มรรคและผล ย่อมไม่มี แก่เจ้ า มคฺคผลํ วา นตฺถิ, ติฏฺ€ ตฺวนฺติ อาห.
ด้ วยอัตภาพนี ้, อ. เจ้ า จงหยุดเถิด ดังนี ้ ฯ
อ. ช้ างตัวประเสริ ฐ ฟั งแล้ ว ซึง่ พระด�ำรัสนัน้ ใส่เข้ าแล้ ว ตํ สุตฺวา นาโค มุเข โสณฺฑํ ปกฺขิปิตฺวา
ซึง่ งวง ในปาก ร้ องไห้ อยู่ ได้ ไปแล้ ว ข้ างหลัง ๆ ฯ ก็ อ. ช้ าง โรทนฺโต ปจฺฉโต ปจฺฉโต อคมาสิ. โส หิ
ตัวประเสริ ฐนัน้ เมื่อได้ เพื่ออันยังพระศาสดาให้ เสด็จกลับ สตฺถารํ นิวตฺเตตุํ ลภนฺโต เตเนว นิยาเมน ยาวชีวํ
พึงปฏิบตั ิ โดยท�ำนองนันนั ้ น่ เทียว ก�ำหนดเพียงไรแห่งชีวิต ฯ ปฏิชคฺเคยฺย.
ส่วนว่า อ. พระศาสดา เสด็จถึงแล้ ว ซึง่ อุปจารแห่งบ้ าน นัน้ สตฺถา ปน ตํ คามูปจารํ ปตฺวา “ปาริ เลยฺยก
ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนปาริ ไลยก์ (อ. ภาคพื ้นนี ้) เป็ นที่มิใช่ภาคพื ้น อิโต ปฏฺ€าย ตว อภูมิ, มนุสฺสาวาโส สปริ ปนฺโถ,
ของเจ้ า (ย่อมเป็ น) จ�ำเดิม แต่ที่นี ้, อ. ประเทศเป็ นที่อยูอ่ าศัย ติฏฺ€ ตฺวนฺติ อาห.
แห่งมนุษย์ เป็ นประเทศเป็ นไปกับด้ วยอันตรายเป็ นเครื่ อง-
เบียดเบียนรอบ (ย่อมเป็ น), อ. เจ้ า จงหยุด ดังนี ้ ฯ
อ.ช้ างนัน้ ยืนร้ องไห้ อยูแ่ ล้ ว ในที่นนั ้ ครัน้ เมื่อพระศาสดา โส โรทมาโน ตตฺถ €ตฺวา, สตฺถริ จกฺขปุ ถํ
ทรงละอยู่ ซึง่ คลองแห่งจักษุ, มีหทัย อันแตกแล้ ว กระท�ำแล้ ว วิชหนฺเต, หทเยน ผลิเตน กาลํ กตฺวา สตฺถริ
ซึง่ กาละ บังเกิดแล้ ว ในท่ามกลางแห่งพันแห่งนางอัปสร ในวิมาน ปสาเทน ตาวตึสภวเน ตึสโยชนิเก กนกวิมาเน
อันเป็ นวิการแห่งทอง อันประกอบแล้ วด้ วยโยชน์ ๓๐ ในภพชื่อว่า อจฺฉราสหสฺสมชฺเฌ นิพฺพตฺต.ิ
ดาวดึงส์ เพราะความเลื่อมใส ในพระศาสดา ฯ
(อ.ค�ำ) ว่า อ. เทพบุตรชื่อว่าปาริ ไลยก์ ดังนี ้นัน่ เทียว เป็ นชื่อ “ปาริ เลยฺยกเทวปุตฺโตเตฺววสฺส นามํ อโหสิ.
ของเทพบุตรนัน้ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
แม้ อ. พระศาสดา ได้ เสด็จถึงแล้ ว ซึง่ พระเชตวัน ตามล�ำดับ ฯ สตฺถาปิ อนุปพุ ฺเพน เชตวนํ อคมาสิ.
อ. ภิกษุ ท. ผู้อยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี ฟั งแล้ ว ว่า ได้ ยินว่า โกสมฺพิกา ภิกฺขู “สตฺถา กิร สาวตฺถึ อาคโตติ
อ. พระศาสดา เสด็จมาแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าสาวัตถี ดังนี ้ ได้ ไปแล้ ว สุตฺวา สตฺถารํ ขมาเปตุํ ตตฺถ อคมํส.ุ
ในที่นนั ้ เพื่ออันยังพระศาสดาให้ ทรงอดโทษ ฯ
อ. พระราชาพระนามว่าโกศล ทรงสดับแล้ ว ว่า ได้ ยินว่า โกสลราชา “เต กิร โกสมฺพิกา ภณฺฑนการกา
อ. ภิกษุ ท. ผู้กระท�ำซึง่ ความแตกร้ าว ผู้อยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี ภิกฺขู อาคจฺฉนฺตีติ สุตฺวา สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา
เหล่านัน้ มาอยู่ ดังนี ้ เสด็จเข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระศาสดา ตรัสแล้ ว “อหํ ภนฺเต เตสํ มม วิชิตํ ปวิสติ ํุ น ทสฺสามีติ
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. หม่อมฉัน จักไม่ให้ เพื่ออันเข้ าไป อาห.
สูแ่ ว่นแคว้ น ของหม่อมฉัน แก่ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ดังนี ้ ฯ

58 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ. ภิกษุ ท. “มหาราช สีลวนฺตา เต ภิกฺข,ู เกวลํ
เหล่านัน้ มีศีล, ไม่ถือเอาแล้ ว ซึง่ ค�ำ ของอาตมภาพ อฺมฺํ วิวาเทน มม วจนํ น คณฺหสึ ;ุ อิทานิ
เพราะความวิวาท ซึง่ กันและกัน อย่างเดียว ; ย่อมมา เพื่ออัน มํ ขมาเปตุํ อาคจฺฉนฺต:ิ อาคจฺฉนฺตุ มหาราชาติ.
ยังอาตมภาพให้ อดโทษ ในกาลนี ้ : ดูก่อนมหาบพิตร อ. ภิกษุ ท.
เหล่านัน้ จงมา ดังนี ้ ฯ
แม้ อ. เศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่ อนาถปิ ณฑฺ โิ กปิ “ภนฺเต อหํ เตสํ วิหารํ ปวิสติ ํุ
พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ข้ าพระองค์ จักไม่ให้ เพื่ออันเข้ าไป สูว่ ิหาร น ทสฺสามีติ วตฺวา ตเถว ภควตา ปฏิกฺขิตฺโต
แก่ภกิ ษุ ท. เหล่านัน้ ดังนี ้ ผู้อนั พระผู้มพี ระภาคเจ้ าทรงคัดค้ านแล้ ว ตุณฺหี อโหสิ.
อย่างนันนั
้ น่ เทียว เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

ก็ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า (ทรงยังบุคคล) ให้ กระท�ำแล้ ว สาวตฺถยิ ํ อนุปปฺ ตฺตานํ ปน เตสํ ภควา เอกมนฺเต
(ซึง่ ที่) อันสงัดแล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ (ทรงยังบุคคล) ให้ ถวายแล้ ว วิวิตฺตํ การาเปตฺวา เสนาสนํ ทาเปสิ.
ซึง่ เสนาสนะ แก่ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ผู้ถงึ โดยล�ำดับแล้ ว ซึง่ เมือง
ชื่อว่าสาวัตถี ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่าอื่น ย่อมไม่นงั่ นัน่ เทียว ย่อมไม่ยืน โดยความ อฺเ ภิกฺขู เตหิ สทฺธึ เนว เอกโต นิสีทนฺติ
เป็ นอันเดียวกัน กับ ด้ วยภิกษุ ท. เหล่านัน้ ฯ น ติฏฺ€นฺต.ิ
อ. ชน ท. ผู้มาแล้ วและมาแล้ ว ย่อมทูลถาม ซึง่ พระศาสดา อาคตาคตา สตฺถารํ ปุจฺฉนฺติ “กตเม เต ภนฺเต
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ภิกษุ ท. ผู้อยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี ภณฺฑนการกา โกสมฺพิกา ภิกฺขตู .ิ
ผู้กระท�ำซึง่ ความแตกร้ าว เหล่านัน้ เหล่าไหน ? ดังนี ้ ฯ
อ. พระศาสดา ทรงแสดงอยู่ ว่า อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ดังนี ้ ฯ สตฺถา “เอเตติ ทสฺเสติ.

อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ (ผู้อนั ชน ท.) ผู้มาแล้ วและมาแล้ ว แสดงอยู่ เต “เอเต กิร เต, เอเต กิร เตติ อาคตาคเตหิ
ด้ วยนิ ้วมือ ว่า ได้ ยินว่า (อ. ภิกษุ ท.) เหล่านัน้ เหล่านัน่ (เป็ นภิกษุ องฺคลุ ยิ า ทสฺสยิ มานา ลชฺชาย สีสํ อุกฺขิปิตุํ
ผู้อยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี) (ย่อมเป็ น), ได้ ยินว่า (อ. ภิกษุ ท.) อสกฺโกนฺตา ภควโต ปาทมูเล นิปชฺชิตฺวา ภควนฺตํ
เหล่านัน้ เหล่านัน่ (เป็ นภิกษุผ้ อู ยูใ่ นเมืองชื่อว่าโกสัมพี) (ย่อมเป็ น) ขมาเปสุ.ํ
ดังนี ้ ไม่อาจอยู่ เพื่ออันยกขึ ้น ซึง่ ศีรษะ เพราะความละอาย
หมอบลงแล้ ว ณ ที่ใกล้ แห่งพระบาท ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า
ยังพระผู้มีพระภาคเจ้ า ให้ ทรงอดโทษแล้ ว ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. กรรมอันหนัก สตฺถา “ภาริ ยํ โว ภิกฺขเว กตํ; ตุมเฺ ห นาม
อันเธอ ท. กระท�ำแล้ ว ; ชื่อ อ. เธอ ท. แม้ บวชแล้ ว ในส�ำนัก มาทิสสฺส พุทฺธสฺส สนฺตเิ ก ปพฺพชิตฺวาปิ , มยิ สามคฺคึ
ของพระพุทธเจ้ า ผู้เช่นกับด้ วยเรา, ครัน้ เมื่อเรา กระท�ำอยู่ กโรนฺเต, มม วจนํ น กริ ตฺถ, โปราณกปณฺฑิตาปิ
ซึง่ ความสามัคคี, ไม่กระท�ำแล้ ว ซึง่ ค�ำ ของเรา, แม้ อ. บัณฑิต วชฺฌปฺปตฺตานํ มาตาปิ ตูนํ โอวาทํ สุตฺวา, เตสุ
ผู้มีในก่อน ท. ฟั งแล้ ว ซึง่ โอวาท ของมารดาและบิดา ท. ผู้ถงึ แล้ ว ชีวิตา โวโรปิ ยมาเนสุปิ, ตํ อนติกฺกมิตฺวา ปจฺฉา
ซึง่ ความเป็ นผู้อนั บุคคลพึงฆ่า, ครัน้ เมือ่ มารดาและบิดา ท. เหล่านัน้ ทฺวีสุ รฏฺเ€สุ รชฺชํ การยึสตู ิ วตฺวา ปุนเทว ทีฆาวุ-
(อันชน ท.) แม้ ปลงลงอยู่ จากชีวิต, ไม่ก้าวล่วงแล้ ว ซึง่ โอวาทนัน้ กุมารชาตกํ กเถตฺวา “เอวํ ภิกฺขเว ทีฆาวุกมุ าโร
(ยังบุคคล) ให้กระท�ำแล้ว ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา ในแว่นแคว้น ท. ๒ มาตาปิ ตูสุ ชีวิตา โวโรปิ ยมาเนสุปิ, เตสํ โอวาทํ
ในภายหลัง ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ ทีฆาวุกมุ ารชาดก อีกนัน่ เทียว อนติกฺกมิตฺวา ปจฺฉา พฺรหฺมทตฺตสฺส ธีตรํ ลภิตฺวา
ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. พระกุมารพระนามว่าทีฆาวุ ทฺวีสุ กาสิโกสลรฏฺเ€สุ รชฺชํ กาเรสิ, ตุมเฺ หหิ ปน มม
ครัน้ เมื่อพระมารดาและพระบิดา ท. (อันชน ท) แม้ ปลงลงอยู่ วจนํ อกโรนฺเตหิ ภาริ ยํ กตนฺติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
จากพระชนม์ชีพ อย่างนี ้, ไม่ทรงก้ าวล่วงแล้ ว ซึง่ พระโอวาท
ของพระมารดาและพระบิดา ท. เหล่านัน้ ทรงได้ แล้ ว ซึง่ พระธิดา
ของพระเจ้ าพรหมทัต ในภายหลัง ทรงยังบุคคลให้ กระท�ำแล้ ว
ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา ในแว่นแคว้ นชื่อว่ากาสีและแว่นแคว้ น
ชือ่ ว่าโกศล ท. ๒, ส่วนว่า อ. กรรม อันหนัก อันเธอ ท. ผู้ไม่กระท�ำอยู่
ซึง่ ค�ำ ของเรา กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา นี ้ ว่า

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 59


ก็ อ.ชน ท. เหล่าอืน่ ย่อมไม่รู้แจ้ง ว่า อ.เรา ท. ย่อมย่อยยับสิ “ปเร จ น วิ ชานนฺติ `มยเมตฺถ ยมาม เส;
ในท่ามกลางแห่งสงฆ์ นี้ (ดังนี)้ , ส่วนว่า อ.ชน ท. เหล่าใด เย จ ตตฺถ วิ ชานนฺติ, ตโต สมฺมนฺติ เมธคาติ .
ในหมู่นนั้ ย่อมรู้แจ้ง , อ. ความหมายมัน่ ท. ย่อมสงบ
(จากส�ำนัก ของชน ท. เหล่านัน้ ) นัน้ ดังนี ้ ฯ

(อ. อรรถ) ว่า อ. ชน ท. ผู้กระท�ำซึง่ ความแตกร้ าว เว้ น ตตฺถ “ปเรติ: ปณฺฑิเต €เปตฺวา ตโต อฺเ
ซึง่ บัณฑิต ท. คือว่า เหล่าอื่น จากบัณฑิตนัน้ ชื่อว่าเหล่าอื่น ฯ ภณฺฑนการกา ปเร นาม.
(อ. ชน ท. เหล่าอื่น) เหล่านัน้ กระท�ำอยู่ ซึง่ ความโกลาหล เต ตตฺถ สงฺฆมชฺเฌ โกลาหลํ กโรนฺตา “มยํ
ในท่ามกลางแห่งสงฆ์นนั ้ ชื่อว่าย่อมไม่ร้ ูแจ้ ง ว่า อ. เรา ท. ยมาม เส อุปรมาม นสฺสาม สสตํ สมีปํ มจฺจสุ นฺตกิ ํ
ย่อมย่อยยับ สิ คือว่า ย่อมบ่นปี ้ คือว่า ย่อมฉิบหาย คือว่า คจฺฉามาติ น วิชานนฺต.ิ
ย่อมไป สูท่ ี่ใกล้ คือว่า สูส่ �ำนักของมัจจุ เนือง ๆ ดังนี ้(ดังนี ้) ในบท ท.
เหล่านันหนา้ (แห่งบท) ว่า ปเร ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
(อ. อรรถ) ว่า อ. ชน ท. เหล่าใด ผู้เป็ นบัณฑิต ในหมูน่ นั ้ เย จ ตตฺถ วิชานนฺตตี ;ิ เย ตตฺถ ปณฺฑิตา
ย่อมรู้แจ้ ง ว่า อ. เรา ท. ย่อมไป สูท่ ี่ใกล้ แห่งมัจจุ ดังนี ้ (ดังนี ้) “มยํ มจฺจสุ มีปํ คจฺฉามาติ วิชานนฺต.ิ
(แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า เย จ ตตฺถ วิชานนฺติ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า อ. ชน ท. เหล่านัน้ รู้อยู่ อย่างนี ้ แล ยังการกระท�ำ ตโต สมฺมนฺติ เมธคาติ: เอวํ หิ เต ชานนฺตา
ไว้ ในใจโดยแยบคาย ให้ เกิดขึ ้นแล้ ว ปฏิบตั อิ ยู่ เพื่อความเข้ าไป โยนิโสมนสิการํ อุปปฺ าเทตฺวา เมธคานํ กลหานํ
สงบวิเศษ แห่งความหมายมัน่ ท. คือว่า แห่งความทะเลาะ ท., วูปสมาย ปฏิปชฺชนฺต,ิ อถ เตสํ ตาย ปฏิปตฺติยา
ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. ความหมายมัน่ ท. เหล่านัน้ เต เมธคา สมฺมนฺต.ิ
ชื่อว่าย่อมสงบ เพราะการปฏิบตั นิ นั ้ แห่งบัณฑิต ท. เหล่านัน้ (ดังนี ้)
(แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า ตโต สมฺมนฺติ เมธคา ดังนี ้ ฯ
อีกอย่างหนึง่ อ. อธิบาย ในพระคาถานี ้ นี ้ว่า (อ. อรรถ) ว่า อถวา “ปเร จาติ: ปุพฺเพ มยา “มา ภิกฺขเว
(อ. ชน ท.) แม้ ผ้ อู นั เรากล่าวแล้ ว (ซึง่ ค�ำ ท.) มีค�ำ ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ภณฺฑนนฺตอิ าทีนิ วตฺวา โอวทิยมานาปิ มม โอวาทสฺส
(อ. เธอ ท. อย่าได้ กระท�ำแล้ ว) ซึง่ ความแตกร้ าว ดังนี ้เป็ นต้ น อปฏิคฺคหเณน อมามกา ปเร นาม “มยํ ฉนฺทาทิวเสน
กล่าวสอนอยู่ ในกาลก่อน ชื่อว่าผู้ไม่เชื่อถือ เพราะอันไม่รับเอา มิจฺฉาคาหํ คเหตฺวา เอตฺถ สงฺฆมชฺเฌ ยมามเส
ซึง่ โอวาท ของเรา ชื่อว่าเหล่าอื่น, (อ. ชน ท. เหล่าอื่น เหล่านัน) ้ ภณฺฑนาทีนํ วุฑฺฒิยา วายมามาติ น วิชานนฺติ.
ย่อมไม่ร้ ูแจ้ งว่า อ.เรา ท. ถือเอาแล้ ว ถือเอาผิด ด้ วยอ�ำนาจแห่งอคติ
มีฉนั ทะเป็ นต้ น ย่อมย่อยยับสิ คือว่า ย่อมพยายาม เพือ่ ความเจริญ
(แห่งเหตุ ท.) มีความแตกร้ าวเป็ นต้ น ในท่ามกลางแห่งสงฆ์นี ้
ดังนี ้ ฯ

แต่วา่ ในกาลนี ้ อ.บุรุษผู้เป็ นบัณฑิต ท. เหล่าใด ในระหว่าง อิทานิ ปน โยนิโส ปจฺจเวกฺขมานา ตตฺถ
แห่งเธอ ท. นัน้ พิจารณาอยู่ โดยแยบคาย ย่อมรู้แจ้ ง ว่า ในกาลก่อน ตุมหฺ ากํ อนฺตเร เย ปณฺฑิตปุริสา “ปุพฺเพ มยํ
อ.เรา ท. พยายามอยู่ ด้ วยอ�ำนาจแห่งอคติมีฉนั ทะเป็ นต้ น ฉนฺทาทิวเสน วายมนฺตา อโยนิโส ปฏิปนฺนาติ
เป็ นผู้ปฏิบตั แิ ล้ ว โดยไม่แยบคาย (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, ในกาลนี ้ วิชานนฺต,ิ ตโต เตสํ สนฺตกิ า เต ปณฺฑิตปุริเส
อ.ความหมายมัน่ ท. อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ วว่าความทะเลาะ นิสฺสาย อิเมทานิ กลหสงฺขาตา เมธคา สมฺมนฺตีติ
เหล่านี ้ ย่อมสงบ จากส�ำนัก ของบัณฑิต ท. เหล่านัน้ นัน้ คือว่า อยเมตฺถ อตฺโถติ.
เพราะอาศัย ซึง่ บุรุษผู้เป็ นบัณฑิต ท. เหล่านัน้ (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า
ปเร จ ดังนี ้เป็ นต้ น (ดังนี ้) (อันบัณฑิตพึงทราบ) ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ
ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ. ภิกษุผ้ถู งึ พร้ อมแล้ว ท. คาถาปริ โยสาเน สมฺปตฺตภิกฺขู โสตาปตฺตผิ ลาทีสุ
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว (ในอริ ยผล ท.) มีโสดาปั ตติผลเป็ นต้ น ดังนี ้แล ฯ ปติฏฺ€หึสตู .ิ

อ. เรื่ องแห่ งภิกษุผ้ ูอยู่ในเมืองชื่อว่ าโกสัมพี โกสมฺพกิ วตฺถุ.


(จบแล้ ว) ฯ

60 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


๖. อ. เรื่ องแห่ งภิกษุช่ ือว่ าจุลกาลและภิกษุช่ ือว่ ามหากาล ๖. จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ. (๖)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อเสด็จเข้ าไปอาศัย ซึง่ เมืองชื่อว่าเสตัพยะ “สุภานุปสฺสึ วิหรนฺตนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
ประทับอยู่ ในป่ าแห่งไม้ สีเสียด ทรงปรารภ ซึง่ ภิกษุชื่อว่าจุลกาล เสตพฺยนครํ อุปนิสฺสาย สีสปาวเน วิหรนฺโต จุลฺลกาล
และภิกษุชื่อว่ามหากาล ท. ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า มหากาเล อารพฺภ กเถสิ.
สุภานุปสฺสึ วิหรนฺตํ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ. กุฎมพี ุ ท. ผู้เป็ นพี่น้องชายกัน ๓ คือ เสตพฺยนครวาสิโน หิ “จุลฺลกาโล มชฺฌิมกาโล
อ. จุลกาลด้ วย อ.มัชฌิมกาลด้ วย อ. มหากาลด้ วย เป็ นผู้อยูใ่ น มหากาโล จาติ ตโย ภาตโร กุฏมฺุ พิกา.
เมืองชื่อว่าเสตัพยะโดยปกติ (ได้ เป็ นแล้ ว) ฯ
ในกุฎมพี ุ ท. ๓ เหล่านันหนา
้ อ. พีช่ ายผู้เจริญทีส่ ดุ และน้ องชาย เตสุ เชฏฺ€กนิฏฺ€า ทิสาสุ วิจริ ตฺวา ปฺจหิ
ผู้น้อยที่สดุ ท. เที่ยวไปแล้ ว ในทิศ ท. ย่อมน�ำมา ซึง่ สิง่ ของ สกฏสเตหิ ภณฺฑํ อาหรนฺต.ิ มชฺฌิมกาโล อาภตํ
ด้ วยร้ อยแห่งเกวียน ท. ๕ ฯ อ. กุฎมพี
ุ ชื่อว่ามัชฌิมกาล วิกฺกีณาติ.
ย่อมขาย (ซึง่ สิง่ ของ) อันอันชน ท. เหล่านันน� ้ ำมาแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ ในสมัย หนึง่ อ. พี่น้องชาย ท. แม้ ทงสอง ั้ เหล่านัน้ อเถกสฺมึ สมเย เต อุโภปิ ภาตโร ปฺจหิ
ถือเอา ซึง่ สิง่ ของต่าง ๆ ด้ วยร้ อยแห่งเกวียน ท. ๕ ไปแล้ ว สูเ่ มือง สกฏสเตหิ นานาภณฺฑํ คเหตฺวา สาวตฺถึ คนฺตฺวา
ชื่อว่าสาวัตถี แก้ แล้ ว ซึง่ เกวียน ท. ในระหว่าง แห่งเมืองชื่อว่า สาวตฺถิยา จ เชตวนสฺส จ อนฺตเร สกฏานิ โมจยึส.ุ
สาวัตถีด้วย แห่งพระเชตวันด้ วย ฯ
ในกุฎมพี ุ ท. ๒ เหล่านันหนา
้ อ. กุฎมพี
ุ ชือ่ ว่ามหากาล เห็นแล้ ว เตสุ มหากาโล สายณฺหสมเย มาลาคนฺธาทิหตฺเถ
ซึง่ อริ ยสาวก ท. ผู้อยูใ่ นเมืองชื่อว่าสาวัตถีโดยปกติ ผู้มีวตั ถุ สาวตฺถีวาสิโน อริ ยสาวเก ธมฺมสฺสวนาย คจฺฉนฺเต
มีระเบียบและของหอมเป็ นต้ นในมือ ผู้ไปอยู่ เพื่ออันฟั งซึง่ ธรรม ทิสวฺ า “กุหึ อิเม คจฺฉนฺตีติ ปุจฺฉิตฺวา ตมตฺถํ
ในสมัยเป็ นที่สิ ้นไปแห่งวัน ถามแล้ ว ว่า อ. ชน ท. เหล่านี ้ จะไป สุตฺวา “อหํปิ คมิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา กนิฏฺ€ํ
ในที่ไหน ดังนี ้ ฟั งแล้ ว ซึง่ เนื ้อความ นัน้ คิดแล้ ว ว่า แม้ อ. เรา อามนฺเตตฺวา “ตาต สกเฏสุ อปฺปมตฺโต โหหิ, อหํปิ
จักไป ดังนี ้ เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ น้ องชายผู้น้อยที่สดุ กล่าวแล้ ว ว่า ธมฺมํ โสตุํ คมิสฺสามีติ วตฺวา คนฺตฺวา ตถาคตํ
แน่ะพ่อ อ. เจ้ า เป็ นผู้ไม่ประมาทแล้ ว ในเกวียน ท. จงเป็ น, แม้ วนฺทิตฺวา ปริ สปริ ยนฺเต นิสีทิ.
อ.เรา จักไป เพื่ออันฟั ง ซึง่ ธรรม ดังนี ้ ไปแล้ ว ถวายบังคมแล้ ว
ซึง่ พระตถาคตเจ้ า นัง่ แล้ ว ในที่สดุ รอบแห่งบริ ษัท ฯ

ในวันนัน้ อ. พระศาสดา เมื่อตรัส ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว สตฺถา ตํทิวสํ ตสฺส อชฺฌาสเยน อนุปพุ ฺพีกถํ
โดยล�ำดับ ตามอัธยาศัย แห่งกุฎมพี ุ นนั ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ โทษด้ วย กเถนฺโต ทุกฺขกฺขนฺธสุตฺตาทิวเสน อเนกปริ ยาเยน
ซึง่ การกระท�ำต�่ำด้ วย ซึง่ ความเศร้ าหมองพร้ อมด้ วย แห่งกาม ท. กามานํ อาทีนวํ โอการํ สงฺกิเลสฺจ กเถสิ.
โดยปริยายมิใช่หนึง่ ด้ วยอ�ำนาจแห่งสูตรมีทกุ ขักขันธสูตร เป็ นต้ น ฯ

อ. กุฎมพี
ุ ชื่อว่ามหากาล ฟั งแล้ ว ซึง่ พระด�ำรัสนัน้ คิดแล้ ว ตํ สุตฺวา มหากาโล “ สพฺพํ กิร ปหาย
ว่า ได้ยนิ ว่า (อันบุคคล) ละแล้ว ซึง่ วัตถุทงปวง
ั้ พึงไป, อ. โภคะ ท. คนฺตพฺพํ, ปรโลกํ คจฺฉนฺตํ เนว โภคา น าตโย
ย่อมไม่ไปตามนัน่ เทียว อ. ญาติ ท. ย่อมไม่ไปตาม (ซึง่ บุคคล) อนุคจฺฉนฺต,ิ กึ เม ฆราวาเสน, ปพฺพชิสสฺ ามีติ จินเฺ ตตฺวา,
ผู้ไปอยู่ สูโ่ ลกอื่น, อ. ประโยชน์อะไร ของเรา ด้ วยการอยูค่ รอง มหาชเน วนฺทิตฺวา ปกฺกนฺเต, สตฺถารํ ปพฺพชฺชํ
ซึง่ เรื อน, อ. เรา จักบวช ดังนี ้, ครัน้ เมื่อมหาชน ถวายบังคมแล้ ว ยาจิตฺวา, สตฺถารา “นตฺถิ เต โกจิ อปโลเกตพฺโพติ
หลีกไปแล้ ว, ทูลขอแล้ ว ซึง่ การบวช กะพระศาสดา, (ครัน้ เมื่อ วุตฺเต, “กนิฏฺโ€ เม อตฺถิ ภนฺเตติ วตฺวา, “เตนหิ
พระด�ำรัส) ว่า อ. ใคร ๆ ผู้อนั ท่านพึงอ�ำลา ย่อมไม่มีหรื อ ดังนี ้ อปโลเกหิ นนฺติ วุตฺเต, “สาธุ ภนฺเตติ อาคนฺตฺวา
อันพระศาสดา ตรัสแล้ ว, กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ
อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ ของข้ าพระองค์ มีอยู่ ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อ
พระด�ำรัส) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. ท่าน จงอ�ำลา ซึง่ น้ องชายผู้น้อยที่สดุ
นัน้ ดังนี ้ (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ ว , (รับพร้ อมแล้ ว) ว่า
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ดีละ ดังนี ้ มาแล้ ว

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 61


ได้ กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน่ กะน้ องชายผู้น้อยที่สดุ ว่า แน่ะพ่อ อ. เจ้ า กนิฏฺ€ํ เอตทโวจ “ตาต อิมํ สพฺพํ สาปเตยฺยํ
จงครอบครอง ซึง่ สมบัติ นี ้ ทังปวง้ ดังนี ้ ฯ ปฏิปชฺชาติ.

(อ.น้ องชายผู้น้อยทีส่ ดุ นัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พี่ ก็ อ. ท่าน ท. “ตุมฺเห ปน ภาติกาติ.


เล่า ? ดังนี ้ ฯ
(อ. กุฎมพีุ นนั ้ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา จักบวช ในส�ำนัก “อหํ สตฺถุ สนฺติเก ปพฺพชิสฺสามีต.ิ
ของพระศาสดา ดังนี ้ ฯ
อ. น้ องชายผู้น้อยที่สดุ นัน้ อ้ อนวอนแล้ ว ซึง่ กุฎมพี ุ นนั ้ โส ตํ นานปฺปกาเรหิ ยาจิตฺวา นิวตฺเตตุํ
โดยประการต่าง ๆ ท. ไม่อาจอยู่ เพื่ออัน (ยังกุฎมพี ุ ) ให้ กลับได้ อสกฺโกนฺโต “สาธุ สามิ ยถาชฺฌาสยํ กโรถาติ
กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่นาย อ. ดีละ , อ. ท่าน ท. จงกระท�ำ อาห.
ตามอัธยาศัย ดังนี ้ ฯ

อ. มหากาล ไปแล้ว บวชแล้ว ในส�ำนัก ของพระศาสดา ฯ มหากาโล คนฺตฺวา สตฺถุ สนฺตเิ ก ปพฺพชิ.
แม้ อ. จุลกาล บวชแล้ ว (ด้ วยความคิด) ว่า อ. เรา พาเอาแล้ ว “ อหํ ภาติกํ คเหตฺวาว อุปปฺ พฺพชิสฺสามีติ
ซึง่ พี่ชายเทียว จักสึก ดังนี ้ ฯ จุลฺลกาโลปิ ปพฺพชิ.

ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก อ. มหากาล ได้ แล้ ว ซึง่ การอุปสมบท อปรภาเค มหากาโล อุปสมฺปทํ ลภิตฺวา
เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระศาสดา ทูลถามแล้ ว ซึง่ ธุระ ท. ในศาสนา, สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา สาสเน ธุรานิ ปุจฺฉิตฺวา,
ครัน้ เมื่อธุระ ท. สอง อันพระศาสดา ตรัสแล้ ว (กราบทูลแล้ ว) สตฺถารา ทฺวีสุ ธุเรสุ กถิเตสุ , “อหํ ภนฺเต
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ข้ าพระองค์ จักไม่อาจ เพื่ออัน มหลฺลกกาเล ปพฺพชิตตฺตา คนฺถธุรํ ปูเรตุํ
ยังคันถธุระให้ เต็ม เพราะความที่แห่งข้ าพระองค์เป็ นผู้บวชแล้ ว น สกฺขิสฺสามิ, วิปสฺสนาธุรํ ปน ปูเรสฺสามีติ ยาว
ในกาลแห่งตนเป็ นคนแก่, แต่วา่ อ. ข้ าพระองค์ ยังวิปัสสนาธุระ อรหตฺตา โสสานิกธุตงฺคํ กถาเปตฺวา, ป€มยามาติกกฺ เม
จักให้ เต็ม ดังนี ้ (ยังพระศาสดา) ให้ ตรัสบอกแล้ ว ซึง่ ธุดงค์ สพฺเพสุ นิทฺทํ โอกฺกนฺเตสุ, สุสานํ คนฺตฺวา
แห่งภิกษุผ้ มู ีอนั อยูใ่ นป่ าช้ าเป็ นปกติ เพียงใด แต่พระอรหัต, ปจฺจสู กาเล สพฺเพสุ อนุฏฺ€ิเตสุเยว, วิหารํ อาคจฺฉติ.
ครันเมื
้ อ่ ชน ท. ทังปวง ้ ก้ าวลงแล้ว สูค่ วามหลับ ในกาลเป็ นทีก่ ้ าวล่วง
ซึง่ ยามที่หนึง่ , ไปแล้ ว สูป่ ่ าช้ า ครัน้ เมื่อชน ท. ทังปวง

ไม่ลุกขึน้ แล้ วนั่นเทียว ในกาลอันขจัดเฉพาะซึ่งความมืดมัว,
ย่อมมา สูว่ ิหาร ฯ

ครัง้ นัน้ (อ.หญิง) ผู้เผาซึง่ ซากศพ คนหนึง่ ชื่อว่ากาลี ผู้เฝ้า อเถกา สุสานโคปิ กา กาลี นาม ฉวฑาหิกา
ซึง่ ป่ าช้ า เห็นแล้ ว ซึง่ ที่แห่งพระเถระยืนแล้ วด้ วยนัน่ เทียว เถรสฺส €ิตฏฺ€านฺจ นิสที นฏฺ€านฺจ จงฺกมนฏฺ€านฺจ
ซึง่ ทีเ่ ป็ นทีน่ งั่ แห่งพระเถระด้ วย ซึง่ ทีเ่ ป็ นทีจ่ งกรมแห่งพระเถระด้ วย ทิสฺวา “โก นุ โข อิธาคจฺฉติ, ปริ คฺคณฺหิสฺสามิ
(คิดแล้ ว) ว่า อ. ใครหนอแล ย่อมมา ในที่นี ้, อ. เรา จักก�ำหนดจับ นนฺติ ปริ คฺคณฺหิตํุ อสกฺโกนฺตี เอกทิวสํ สุสานกุฏิกาย
ซึง่ บุคคลนัน้ ดังนี ้ ไม่อาจอยู่ เพือ่ อันก�ำหนดจับ ในวันหนึง่ ยังประทีป ทีปํ ชาเลตฺวา ปุตฺตธี ตโร อาทาย คนฺตฺวา
ให้ โพลงแล้ ว ในกระท่อมใกล้ ป่าช้ า พาเอา ซึง่ บุตรและธิดา ท. เอกมนฺเต นิลีนา มชฺฌิมยาเม เถรํ อาคจฺฉนฺตํ
ไปแล้ ว แอบแล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ ผู้มาอยู่ ทิสฺวา คนฺตฺวา วนฺทิตฺวา “อยฺโย โน ภนฺเต อิมสฺมึ
ในยามอันมีในท่ามกลาง ไปแล้ว ไหว้แล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ €าเน วิหรตีติ อาห.
อ. พระผู้เป็ นเจ้ า ย่อมอยู่ ในที่นี ้ ของเรา ท. หรื อ ดังนี ้ ฯ

(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสิกา เออ (อ. อย่างนัน) ้ “อาม อุปาสิเกติ.
ดังนี ้ ฯ
(อ. นางกาลี กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ อ. อัน (อันภิกษุ ท.) “ภนฺเต สุสาเน วิหรนฺเตหิ นาม วตฺตํ อุคฺคณฺหิตํุ
ชื่อผู้อยูอ่ ยู่ ในป่ าช้ า เรี ยนเอา ซึง่ วัตร ย่อมควร ดังนี ้ ฯ วฏฺฏตีต.ิ
อ. พระเถระ ไม่กล่าวแล้ ว ว่า ก็ อ. เรา ท. จักประพฤติ ในวัตร เถโร “กึ ปน มยํ ตยา กถิตวตฺเต วตฺตสิ ฺสามาติ
อันอันท่านกล่าวแล้ ว หรื อ ดังนี ้ อวตฺวา

62 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


กล่าวแล้ ว ว่า ดูก่อนอุบาสิกา อ. อัน (อันเรา) กระท�ำ ซึง่ อะไร “กึ กาตุํ วฏฺฏติ อุปาสิเกติ อาห.
ย่อมควร ดังนี ้ ฯ
(อ. นางกาลี กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ อ. อัน (อันภิกษุ ท.) “ภนฺเต โสสานิเกหิ นาม สุสาเน วสนภาโว
ชื่อว่าผู้มีการอยูใ่ นป่ าช้ าเป็ นปกติ กล่าว ซึง่ ความเป็ นคือการอยู่ สุสานโคปกานํ วิหาเร มหาเถรสฺส คามโภชกสฺส
ในป่ าช้ า (แก่ชน ท.) ผู้เฝ้าซึง่ ป่ าช้ าด้ วย แก่พระมหาเถระ ในวิหาร จ กเถตุํ วฏฺฏตีต.ิ
ด้ วย แก่บคุ คลผู้บริ โภคซึง่ บ้ านด้ วย ย่อมควร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ ถามแล้ ว) ว่า อ.อัน ๆ ภิกษุ ท. ชื่อผู้มีการอยู่ “กึการณาติ.
ในป่ าช้ าเป็ นปกติ กล่าวซึง่ ความเป็ นคืออันอยูใ่ นป่ าช้ า แก่ชน ท.
ผู้เฝ้าซึ่งป่ าช้ าด้ วย แก่พระมหาเถระ ในวิหารด้ วย แก่บุคคล
ผู้บริ โภคซึง่ บ้ านด้ วย ย่อมควร เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ
(อ.นางกาลี กล่าวแล้ ว) ว่า (เพราะว่า) อ.โจร ท. ผู้มีกรรม “กตกมฺมา โจรา สามิเกหิ ปทานุปทํ อนุพนฺธนฺตา
อันกระท�ำแล้ว ผู้อนั เจ้าของ ท. ติดตามอยู่ ซึง่ รอยเท้าและรอยเท้าตาม สุสาเน ภณฺฑิกํ ฉฑฺเฑตฺวา ปลายนฺต;ิ อถ มนุสฺสา
ทิ ้งแล้ ว ซึง่ ห่อมีภณ ั ฑะ ในป่ าช้ า จะหนีไป; ครัน้ เมื่อความเป็ น โสสานิกานํ ปริ ปนฺถํ กโรนฺต;ิ เอเตสํ ปน กถิเต,
อย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. มนุษย์ ท. จะกระท�ำ ซึง่ อันตรายเป็ นเครื่ อง `มยํ อิมสฺส ภทฺทนฺตสฺส เอตฺตกนฺนาม กาลํ เอตฺถ
เบียดเบียนรอบ (แก่ภิกษุ ท.) ผู้มีอันอยู่ในป่ าช้ าเป็ นปกติ; วสนภาวํ ชานาม, อโจโร เอโสติ อุปทฺทวํ นิวาเรนฺติ;
แต่วา่ ครัน้ เมื่อความเป็ นคืออันอยูใ่ นป่ าช้ า อันภิกษุ ท. ผู้มีการอยู่ ตสฺมา เอเตสํ กเถตุํ วฏฺฏตีต.ิ
ในป่ าช้ าเป็ นปกติ กล่าวแล้ ว แก่ชน ท. มีชนผู้เฝ้าซึง่ ป่ าช้ าเป็ นต้ น
เหล่านัน่ อ.ชน ท. มีชนผู้เฝ้าซึง่ ป่ าช้ าเป็ นต้ น เหล่านัน่ ย่อมห้ าม
ซึง่ อุปัททวะ ด้ วยอันกล่าวว่า อ.เรา ท. ย่อมรู้ ซึง่ ความเป็ นคือ
อันอยูใ่ นปาช้ านี ้ แห่งท่านผู้เจริ ญนี ้ ตลอดกาลชื่อมีประมาณเท่า
นี ้ อ.ท่านผู้เจริ ญนัน่ เป็ นผู้มิใช่โจร ย่อมเป็ น ดังนี ้, เพราะฉะนัน้
อ.อัน ๆ ภิกษุ ท. ผู้มีการอยูใ่ นป่ าช้ าเป็ นปกติ กล่าวซึง่ ความเป็ น
คือการอยูในป่ าช้ า แก่ชน ท. มีชนผู้เฝ้าซึง่ ป่ าช้ าเป็ นต้ น เหล่านัน้
ย่อมควร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ ถามแล้ ว) ว่า อ. กรรมอะไร อื่น (อันเรา) พึงกระท�ำ “อญฺญํ กึ กาตพฺพนฺต.ิ
ดังนี ้ ฯ
(อ. นางกาลี กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. วัตถุ ท.) “ภนฺเต สุสาเน วสนฺเตน นาม อยฺเยน
มีปลาและเนื ้อและแป้งและงาและน� ้ำอ้อยงบเป็ นต้น อันพระผู้เป็ นเจ้า มจฺฉมํสปิ ฏฺ€ติลคุฬาทีนิ วชฺเชตพฺพานิ, ทิวา
ชื่อว่าผู้อยูอ่ ยู่ ในป่ าช้ า พึงเว้ น, (อันพระผู้เป็ นเจ้ า ชื่อว่าผู้อยูอ่ ยู่ น นิทฺทายิตพฺพํ, อกุสีเตน ภวิตพฺพํ อารทฺธวิริเยน,
ในป่ าช้ า) ไม่พงึ ประพฤติหลับ ในกลางวัน, พึงเป็ นผู้เกียจคร้ าน อสเ€น อมายาวินา หุตฺวา กลฺยาณชฺฌาสเยน
หามิได้ พึงเป็ น เป็ นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ ว เป็ นผู้โอ้ อวด ภวิตพฺพํ, สายํ สพฺเพสุ สุตฺเตสุ วิหารโต อาคนฺตพฺพํ,
หามิได้ เป็ นผู้มมี ายาหามิได้ เป็ น พึงเป็ นผู้มอี ธั ยาสัยอันงาม พึงเป็ น ปจฺจสู กาเล สพฺเพสุ อนุฏฺ€ิเตสุเยว, วิหารํ คนฺตพฺพํ,
ในเวลาเย็น ครัน้ เมื่อชน ท. ทังปวง ้ หลับแล้ ว (อันพระผู้เป็ นเจ้ า สเจ ภนฺเต อยฺโย อิมสฺมึ €าเน เอวํ วิหรนฺโต
ชือ่ ผู้อยู่ ๆ ในป่ าช้ า) พึงมาจากวิหาร, ในกาลเป็ นทีข่ จัดเฉพาะซึง่ มืด ปพฺพชิตกิจฺจํ มตฺถกํ ปาเปตุํ สกฺขิสฺสติ, สเจ
ครัน้ เมื่อชน ท. ทังปวง ้ ยังไม่ลกุ ขึ ้นแล้ วนัน่ เทียว พึงไป สูว่ ิหาร, มตสรี รํ อาเนตฺวา ฉฑฺเฑนฺต,ิ กมฺพลกูฏาคารํ
ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ ถ้ าว่า อ.พระผู้เป็ นเจ้า อยู่ ๆ อย่างนี ้ ในทีน่ ี ้ จักอาจ อาโรเปตฺวา คนฺธมาลาทีหิ สกฺการํ กตฺวา สรี รกิจฺจํ
เพื่ออันยังกิจแห่งบรรพชิต ให้ ถงึ ซึง่ ที่สดุ ไซร้ , ถ้ าว่า อ.ชน ท. กริ สฺสามิ; โน เจ สกฺขิสฺสติ, จิตกํ อาโรเปตฺวา อคฺคึ
น� ำมาแล้ ว ซึ่งสรี ระของชนผู้ตายแล้ ว ย่อมทิง้ ไซร้ , อ.ดิฉัน ชาเลตฺวา สงฺกนุ า อากฑฺฒิตฺวา พหิ €เปตฺวา ผรสุนา
จักยกขึ ้นแล้ ว ซึง่ สรี ระของชนผู้ตายแล้ วนัน้ สูเ่ รื อนยอดอันบุคคล โกฏฺเฏตฺวา ขณฺฑาขณฺฑิกํ ฉินฺทิตฺวา อคฺคมิ หฺ ิ
ลาดแล้ วด้ วยผ้ ากัมพล กระท�ำแล้ ว ซึง่ สักการะ (ด้ วยวัตถุ ท.) ปกฺขิปิตฺวา ตุยฺหํ ทสฺเสตฺวา ฌาเปสฺสามีต.ิ
มีของหอมและระเบียบแห่งดอกไม้ เป็ นต้ น จักกระท�ำ ซึง่ กิจคือ
การเผาซึง่ สรี ระ, ถ้ าว่า อ.พระผู้เป็ นเจ้ า จักไม่อาจเพื่ออันยังกิจ
แห่งบรรพชิตให้ ถงึ ซึง่ ที่สดุ ไซร้ อ. ดิฉนั จักยกขึ ้นแล้ ว ซึง่ สรี ระ
ของชนผู้ตายแล้ วนัน้ สูเ่ ชิงตะกอน ยังไฟให้ โพลงแล้ ว คร่ามาแล้ ว
ด้ วยขอ ตังไว้ ้ แล้ ว ในภายนอก ทุบแล้ ว ด้ วยขวาน ตัดแล้ ว
ท�ำให้ เป็ นชิ ้นน้ อยชิ ้นใหญ่ ใส่เข้ าแล้ ว ในไฟ แสดงแล้ ว แก่ทา่ น
จักยังสรี ระของชนผู้ตายแล้ วนันให้ ้ ไหม้ ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 63


ครัง้ นัน้ อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว กะนางกาลีนนั ้ ว่า ดูก่อน อถ นํ เถโร “สาธุ ภทฺเท, เอกํ ปน รูปารมฺมณํ
นางผู้เจริ ญ อ. ดีละ, ก็ อ. ท่าน เห็นแล้ ว ซึง่ อารมณ์คือรูป อย่างหนึง่ ทิสฺวา มยฺหํ กเถหีติ อาห.
จงบอก แก่เรา ดังนี ้ ฯ
อ. นางกาลีนนั ้ ได้ ฟังตอบแล้ ว ว่า อ. ดีละ ดังนี ้ ฯ สา “สาธูติ ปจฺจสฺโสสิ.
อ. พระเถระ ย่อมกระท�ำ ซึง่ สมณธรรม ในป่ าช้ า ตามอัธยาศัย เถโร ยถาชฺฌาสเยน สุสาเน สมณธมฺมํ กโรติ.
อย่างไร ฯ
ส่วนว่า อ. พระเถระชื่อว่าจุลกาล ลุกขึ ้นแล้ ว ลุกขึ ้นพร้ อมแล้ ว จุลฺลกาลตฺเถโร ปน อุฏฺ€าย สมุฏฺ€าย ฆราวาสํ
ย่อมคิด ซึง่ การอยูค่ รองซึง่ เรือน, ย่อมตามระลึกถึง ซึง่ บุตรและทาระ, จินฺเตติ, ปุตฺตทารํ อนุสฺสรติ, “อยํ เม ภาติโก
คิดแล้ ว ว่า อ. พี่ชาย ของเรา นี ้ ย่อมกระท�ำ ซึง่ กรรม อันหนักยิ่ง อติภาริ ยํ กมฺมํ กโรตีติ จินฺเตสิ.
ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. กุลธิดา คนหนึง่ ไม่เหี่ยวแห้ งแล้ ว ไม่บอบช� ้ำแล้ ว อเถกา กุลธีตา ตํมหุ ตุ ฺตํ สมุฏฺ€ิเตน พฺยาธินา
ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ในสมัยเป็ นที่สิ ้นไปแห่งวัน ด้ วยความเจ็บ สายณฺหสมเย อมิลาตา อกิลนฺตา กาลมกาสิ.
อันตังขึ้ ้นพร้ อมแล้ ว ในครู่หนึง่ นัน้ ฯ

อ. ญาติ ท. น�ำไปแล้ ว ซึง่ กุลธิดานัน่ นัน้ สูป่ ่ าช้ า ในเวลาเย็น ตเมนํ าตโย ทารุเตลาทีหิ สทฺธึ สายํ สุสานํ
กับ (ด้ วยวัตถุ ท.) มีฟืนและน� ้ำมันเป็ นต้ น ให้ แล้ ว ซึง่ ค่าจ้ าง เนตฺวา สุสานโคปิ กาย “อิมํ ฌาเปหีติ ภตึ ทตฺวา
แก่หญิงผู้เฝ้าซึง่ ป่ าช้ า (ด้ วยค�ำ) ว่า (อ. เธอ) ยังกุลธิดานี ้ จงให้ ไหม้ นิยฺยาเทตฺวา ปกฺกมึส.ุ
ดังนี ้ มอบให้ แล้ ว หลีกไปแล้ ว ฯ

อ. หญิงผู้เฝ้าซึง่ ป่ าช้ า นัน้ น�ำไปปราศแล้ ว ซึง่ ผ้ าเป็ นเครื่ องห่ม สา ตสฺสา ปารุปนวตฺถํ อปเนตฺวา ตํ มุหตุ ฺตมตํ
ของกุลธิดานัน้ เห็นแล้ ว ซึง่ สรี ระ มีสีเพียงดังสีแห่งทอง อันประณีต ปณีตปฺปณีตํ สุวณฺณวณฺณํ สรี รํ ทิสวฺ า “อิมํ
และประณีต อันตายแล้ วในครู่หนึง่ นัน้ คิดแล้ ว ว่า อ. อารมณ์นี ้ อยฺยสฺส ทสฺเสตุํ ปฏิรูปํ อารมฺมณนฺติ จินฺเตตฺวา
เป็ นอารมณ์ อันสมควร เพื่ออันแสดง แก่พระผู้เป็ นเจ้ า (ย่อมเป็ น) คนฺตฺวา เถรํ วนฺทิตฺวา “เอวรูปํ นาม ภนฺเต
ดังนี ้ ไปแล้ ว ไหว้ แล้ ว ซึง่ พระเถระ กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อารมฺมณํ อตฺถิ, โอโลเกยฺยาถาติ อาห.
อ. อารมณ์ ชื่อมีอย่างนี ้เป็ นรูป มีอยู,่ (อ.ท่าน ท.) ควรแลดู ดังนี ้ ฯ

อ. พระเถระ (รับพร้ อมแล้ ว) ว่า อ. ดีละ ดังนี ไปแล้


้ ว (ยังนางกาลี) เถโร “สาธูติ คนฺตฺวา ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา
ให้ น�ำออกแล้ ว ซึง่ ผ้ าเป็ นเครื่ องห่ม แลดูแล้ ว แต่พื ้นแห่งเท้ า ปาทตลโต ยาว เกสคฺคา โอโลเกตฺวา “อติปณีตเมตํ
เพียงใด แต่ปลายแห่งผม กล่าวแล้ว ว่า อ. รูปนัน่ เป็ นรูปประณีตเกิน รูปํ สุวณฺณวณฺณํ , อคฺคมิ หฺ ิ นํ ปกฺขิปิตฺวา
เป็ นรูปมีสีเพียงดังสีแห่งทอง (ย่อมเป็ น), (อ. ท่าน) ใส่เข้ าแล้ ว มหาชาลาหิ คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา
ซึง่ รูปนัน้ ในไฟ พึงบอก แก่เรา ในกาลแห่งรูปนัน้ อันเปลวไฟใหญ่ สกฏฺ€านเมว คนฺตฺวา นิสีทิ.
ท. จับแล้ ว ดังนี ้ ไปแล้ ว สูท่ ี่อนั เป็ นของตนนัน่ เทียว นัง่ แล้ ว ฯ

อ. นางกาลีนนั ้ กระท�ำแล้ ว อย่างนัน้ บอกแล้ ว แก่พระเถระ ฯ สา ตถา กตฺวา เถรสฺส อาโรเจสิ.


อ. พระเถระ ไปแล้ ว แลดูแล้ ว ฯ เถโร คนฺตฺวา โอโลเกสิ.
อ. สีแห่งสรี ระ เป็ นราวกะว่าแม่โคด่าง ได้ เป็ นแล้ ว ในที่ ชาลาย ปหฏปหฏฏฺ€าเน กวรคาวี วิย สรีรวณฺณํ
แห่งสรี ระ อันเปลวไฟกระทบแล้ วและกระทบแล้ ว ฯ อโหสิ.
อ. เท้ า ท. งอแล้ ว ห้ อยลงแล้ ว, อ. มือ ท. งอกลับแล้ ว, ปาทา นมิตฺวา โอลมฺพสึ ,ุ หตฺถา ปฏิกชุ ฺชสึ ,ุ
อ. หน้ าผาก เป็ นอวัยวะไม่มีหนัง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ ลลาฏํ นิจฺจมฺมํ อโหสิ.

อ. พระเถระ กระท�ำไว้ ในใจแล้ ว ว่า อ. สรี ระ นี ้ เถโร “อิทํ สรี รํ อิทาเนว โอโลเกนฺตานํ
เป็ นอวัยวะกระท�ำซึง่ กิเลสให้เป็ นสภาพไม่มที สี่ ดุ รอบ เป็ น แก่ชน ท. อปริ ยนฺตีกรํ หุตฺวา อิทาเนว ขยปฺปตฺตํ วยปฺปตฺตนฺติ
ผู้แลดูอยู่ ในกาลนี ้นัน่ เทียว เป็ นอวัยวะถึงแล้ วซึง่ ความสิ ้นไป รตฺตฏิ ฺ €านํ คนฺตฺวา นิสที ิตฺวา ขยวยํ สมฺปสฺสมาโน
เป็ นอวัยวะถึงแล้ วซึง่ ความเสื่อมไป (ย่อมเป็ น) ในกาลนี ้นัน่ เทียว
ดังนี ้ ไปแล้ ว สูท่ ี่เป็ นที่พกั ในเวลากลางคืน นัง่ พิจารณาอยูแ่ ล้ ว
ซึง่ ความสิ ้นไปและความเสื่อมไป กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ว่า

64 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. สังขาร ท. ไม่เทีย่ งหนอ มี ความเกิ ดขึ้นและความเสือ่ มไป “อนิ จฺจา วต สงฺขารา อุปปฺ าทวยธมฺมิโน,
เป็ นธรรม เกิ ดขึ้นแล้ว ย่อมดับไป, อ. ความเข้าไปสงบวิ เศษ
แห่งสังขาร ท. เหล่านัน้ เป็ นเหตุน�ำมาซึ่งความสุข (ย่อมเป็ น) อุปปฺ ชฺชิตฺวา นิ รุชฺฌนฺติ เตสํ วูปสโม สุโขติ
ดังนี ้ ฯ

ยังวิปัสสนา ให้ เจริ ญแล้ ว บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต กับ คาถํ วตฺวา วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา สห ปฏิสมฺภิทาหิ
ด้ วยปฏิสมั ภิทา ท. ฯ อรหตฺตํ ปาปุณิ.

ครัน้ เมื่อพระเถระนัน้ บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต, อ. พระศาสดา ตสฺมึ อรหตฺตํ ปตฺเต, สตฺถา ภิกฺขสุ งฺฆปริ วโุ ต
ผู้อนั หมูแ่ ห่งภิกษุแวดล้อมแล้ว เสด็จเทีย่ วไปอยู่ สูท่ จี่ าริก เสด็จไปแล้ว จาริ กฺจรมาโน เสตพฺยนครํ คนฺตฺวา สึสปาวนํ
สูเ่ มืองชื่อว่าเสตัพยะ ได้ เสด็จเข้ าไปแล้ ว สูป่ ่ าแห่งไม้ สีเสียด ฯ ปาวิส.ิ

อ. ภรรยา ท. ของพระจุลกาล ฟังแล้ว ว่า ได้ยนิ ว่า อ. พระศาสดา จุลฺลกาลสฺส ภริ ยาโย “สตฺถา กิร อนุปปฺ ตฺโตติ
เสด็จถึงโดยล�ำดับแล้ ว ดังนี ้ (คิดกันแล้ ว) ว่า อ. เรา ท. จักจับ สุตฺวา “อมฺหากํ สามิกํ คณฺหิสฺสามาติ เปเสตฺวา
ซึง่ สามี ของเรา ท. ดังนี ้ ส่งไปแล้ ว (ซึง่ บุรุษ) (ยังบุรุษ) สตฺถารํ นิมนฺตาเปสุํ.
ให้ ทลู นิมนต์แล้ ว ซึง่ พระศาสดา ฯ

ก็ อ. อัน อันภิกษุ รูปหนึง่ ผู้บอกอยู่ ซึง่ การปูลาดซึง่ อาสนะ พุทฺธานํ ปน อปริ จิตฏฺ€าเน อาสนปฺตฺตึ
ไป ก่อนกว่า ในทีแ่ ห่งพระพุทธเจ้ า ท. ไม่ทรงคุ้นเคยแล้ ว ย่อมควร ฯ อาจิกฺขนฺเตน เอเกน ภิกฺขนุ า ป€มตรํ คนฺตํุ วฏฺฏติ.

จริ งอยู่ อ. อาสนะ เป็ นอาสนะ อันบุคคล ปูลาดแล้ ว ซึง่ อาสนะ พุทฺธานํ หิ มชฺฌิมฏฺ€าเน อาสนํ ปฺาเปตฺวา
ในที่อนั มีในท่ามกลาง แก่พระพุทธเจ้ า ท. พึงปูลาดแก่พระเถระ ตสฺส ทกฺ ขิณโต สารี ปุตฺตตฺเถรสฺส วามโต
ชื่อว่าสารี บตุ ร ข้ างขวา แห่งอาสนะ นัน้ แก่พระเถระชื่อว่า มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ตโต ปฏฺ€าย อุโภสุ
มหาโมคคัลลานะ ข้ างซ้ าย (แห่งอาสนะ นัน) ้ แก่หมูแ่ ห่งภิกษุ ปสฺเสสุ ภิกฺขสุ งฺฆสฺส อาสนํ ปฺาเปตพฺพํ โหติ;
ในข้ าง ท. ทังสอง้ จ�ำเดิม แต่ที่นนั ้ ย่อมเป็ น ; เพราะเหตุนนั ้ ตสฺมา มหากาลตฺเถโร จีวรปารุปนฏฺ€าเน €ตฺวา
อ. พระเถระชื่อว่ามหากาล ยืนแล้ ว ในที่เป็ นที่หม่ ซึง่ จีวร ส่งไปแล้ ว “ตฺวํ ปุรโต คนฺตฺวา อาสนปฺตฺตึ อาจิกฺขาหีติ
ซึง่ พระจุลกาล (ด้ วยค�ำ) ว่า อ. ท่าน ไปแล้ ว ข้ างหน้ า จงบอก จุลฺลกาลํ เปเสสิ.
ซึง่ การปูลาดซึง่ อาสนะ ดังนี ้ ฯ
อ. ชนในเรือน ท. กระท�ำอยู่ ซึง่ การหัวเราะ กับ ด้ วยพระจุลกาล ตสฺส ทิฏฺ€กาลโต ปฏฺ€าย เคหชนา เตน
นัน้ ย่อมลาด ซึง่ อาสนะต�่ำ ท. ในที่สดุ แห่งพระเถระในสงฆ์, สทฺธึ ปริ หาสํ กโรนฺตา นีจาสนานิ สงฺฆตฺเถรโกฏิยํ
(ย่อมลาด) ซึง่ อาสนะสูง ท. ในที่สดุ แห่งภิกษุผ้ ใู หม่ในสงฆ์ จ�ำเดิม อตฺถรนฺต,ิ อุจฺจาสนานิ สงฺฆนวกโกฏิยํ.
แต่กาลแห่งพระจุลกาลนันอั้ นชน ท. เหล่านัน้ เห็นแล้ ว ฯ

อ. พระจุลกาลนอกนี ้ กล่าวแล้ ว ว่า (อ.ท่าน ท.) จงอย่ากระท�ำ อิตโร “มา เอวํ กโรถ, อุจฺจาสนานิ อุปริ
อย่างนี ้, (อ.ท่าน ท.) จงปูลาด ซึง่ อาสนะสูง ท. ในเบื ้องบน, (อ.ท่าน ท. ปฺาเปถ, นีจาสนานิ เหฏฺ€าติ อาห.
จงปูลาด) ซึง่ อาสนะต�่ำ ท. ในภายใต้ ดังนี ้ ฯ

อ.หญิง ท. เป็ นราวกะว่าไม่ฟังอยู่ ซึง่ ค�ำ ของพระเถระนัน้ อิตฺถิโย ตสฺส วจนํ อสณนฺตโิ ย วิย “ตฺวํ
เป็ น กล่าวแล้ ว ว่า อ. ท่าน ย่อมเที่ยวไปกระท�ำอยู่ ซึง่ อะไร ? กึ กโรนฺโต วิจรสิ? กึ ตว อาสนานิ ปฺาเปตุํ
อ. อันอันท่านปูลาด ซึง่ อาสนะ ท. จะไม่ควร หรื อ ? อ. ท่าน น วฏฺฏติ? ตฺวํ กํ อาปุจฺฉิตฺวา ปพฺพชิโต? เกน
อ�ำลาแล้ ว ซึง่ ใคร เป็ นผู้บวชแล้ ว (ย่อมเป็ น) ? อ. ท่าน เป็ นผู้อนั ใคร ปพฺพชาปิ โตสิ? กสฺมา อิธาคโตสีติ วตฺวา นิวาสน-
ให้ บวชแล้ ว ย่อมเป็ น ? อ. ท่าน เป็ นผู้มาแล้ ว ในที่นี ้ ย่อมเป็ น ปารุปนํ อจฺฉินฺทิตฺวา เสตกานิ วตฺถานิ นิวาเสตฺวา
เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ แย่งชิงเอาแล้ ว ซึง่ ผ้ าเป็ นเครื่ องนุง่ และ
ผ้ าเป็ นเครื่ องห่ม (ยังพระจุลกาล) ให้ นงุ่ แล้ ว ซึง่ ผ้ า ท. อันขาว

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 65


วางแล้ ว ซึง่ เทริ ดอันเป็ นวิการแห่งระเบียบ บนศีรษะ ส่งไปแล้ ว สีเส มาลาจุมพฺ ฏกํ €เปตฺวา “คจฺฉ ตฺวํ,
(ด้ วยค�ำ) ว่า อ. ท่าน จงไป, (อ. ท่าน) จงน�ำมา ซึง่ พระศาสดา ; สตฺถารํ อาเนหิ; มยํ อาสนานิ ปฺาเปสฺสามาติ
อ. เรา ท. จักปูลาด ซึง่ อาสนะ ท. ดังนี ้ ฯ *จบ ก. ๑๒* ปหิณึส.ุ
อ. จุลกาลนัน้ ด�ำรงอยูแ่ ล้ว ในความเป็ นแห่งภิกษุ สิ ้นกาลไม่นาน โส นจิรํ ภิกฺขภุ าเว €ตฺวา อวสฺสโิ กว
ผู้ไม่มีกาลฝนเทียว สึกแล้ ว ย่อมไม่ร้ ู เพื่ออันละอาย ; เพราะเหตุนนั ้ อุปปฺ พฺพชิตฺวา ลชฺชิตํุ น ชานาติ; ตสฺมา เตน
(อ. จุลกาลนัน) ้ ผู้ไม่มีความรังเกียจ ด้ วยมรรยาทนันเที้ ยว ไปแล้ ว อากปฺเปน นิราสงฺโกว คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา
ถวายบังคมแล้ว ซึง่ พระศาสดา พาเอา ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้า พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขสุ งฺฆํ อาทาย อาคโต.
เป็ นประมุข มาแล้ ว ฯ

ก็ ในกาลเป็ นที่สุดลงแห่งกิ จด้ วยภัตร ของหมู่แห่งภิกษุ ภิกฺขสุ งฺฆสฺส ปน ภตฺตกิจฺจาวสาเน มหากาลสฺส


อ. ภรรยา ท. ของพระเถระชื่อว่ามหากาล คิดแล้ ว ว่า อ. สามี ภริ ยาโย “อิมาหิ อตฺตโน สามิโก คหิโต,
ของตน อันหญิง ท. เหล่านี ้ จับแล้ ว, แม้ อ. เรา ท. จักจับ มยํปิ อมฺหากํ สามิกํ คณฺหิสฺสามาติ จินฺเตตฺวา
ซึง่ สามี ของเรา ท. ดังนี ้ ทูลนิมนต์แล้ว ซึง่ พระศาสดา เพือ่ ประโยชน์ ปุนทิวสตฺถาย สตฺถารํ นิมนฺตยึส.ุ
ในวันรุ่งขึ ้น ฯ

ก็ ในกาลนัน้ อ.ภิกษุ รูปอืน่ ได้ ไปแล้ ว เพือ่ อันปูลาดซึง่ อาสนะ ฯ ตทา ปน อาสนปฺาปนตฺถํ อฺโ ภิกฺขุ
อ.หญิง ท. เหล่านัน้ ไม่ได้ แล้ ว ซึง่ โอกาส ในขณะนัน้ อคมาสิ. ตา ตสฺมึ ขเณ โอกาสํ อลภิตฺวา
ยังหมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้ าเป็ นประมุข ให้ นงั่ แล้ ว ได้ ถวายแล้ ว พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขสุ งฺฆํ นิสีทาเปตฺวา ภิกฺขํ อทํส.ุ
ซึง่ ภิกษา ฯ
ก็ อ. ภรรยา ท. ๒ ของจุลกาล (มีอยู)่ , อ. ภรรยา ท. ๔ จุลฺลกาลสฺส ปน เทฺว ภริ ยาโย, มชฺฌิมกาลสฺส
ของมัชฌิมกาล (มีอยู)่ , อ. ภรรยา ท. ๘ ของพระเถระชื่อว่ามหากาล จตสฺโส, มหากาลสฺส อฏฺ€.
(มีอยู)่ ฯ
แม้ อ. ภิกษุ ท. ผู้ใคร่เพื่ออันกระท�ำ ซึง่ กิจด้ วยภัตร นัง่ แล้ ว ภิกฺขปู ิ ภตฺตกิจฺจํ กาตุกามา นิสีทิตฺวา
ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กิจด้ วยภัตร , (อ. ภิกษุ ท.) ผู้ใคร่เพื่ออันไป ภตฺตกิจฺจมกํส,ุ พหิ คนฺตกุ ามา อุฏฺ€าย อคมํส.ุ
ในภายนอก ลุกขึ ้นแล้ ว ได้ ไปแล้ ว ฯ
ส่วนว่า อ. พระศาสดา ประทับนัง่ แล้ ว ทรงกระท�ำแล้ ว สตฺถา ปน นิสีทิตฺวา ภตฺตกิจฺจํ กริ .
ซึง่ กิจด้ วยภัตร ฯ

ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งกิจด้ วยภัตร ของพระศาสดานัน้ ตสฺส ภตฺตกิจฺจปริ โยสาเน ตา อิตฺถิโย “ภนฺเต
อ. หญิง ท. เหล่านัน้ กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ มหากาโล อมฺหากํ อนุโมทนํ กตฺวา คมิสฺสติ,
อ. พระเถระชือ่ ว่ามหากาล กระท�ำแล้ว ซึง่ อนุโมทนา แก่หม่อมฉัน ท. ตุมเฺ ห ปุรโต คจฺฉถาติ วทึส.ุ
จักไป, อ. พระองค์ ท. ขอจงเสด็จไป ข้ างหน้ า ดังนี ้ ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า อ. ดีละ ดังนี ้ ได้ เสด็จไปแล้ ว สตฺถา “สาธูติ วตฺวา ปุรโต อคมาสิ.
ข้ างหน้ า ฯ

อ. หมูแ่ ห่งภิกษุ ถึงแล้ ว ซึง่ ประตูแห่งบ้ าน ยกโทษแล้ ว ว่า คามทฺวารํ ปตฺวา ภิกขฺ สุ งฺโฆ อุชฌ
ฺ ายิ “กินนฺ าเมตํ
(อ. กรรม) นัน่ อันพระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ ว ชื่ออย่างไร, (อ. กรรม สตฺถารา กตํ, ตฺวา นุ โข กตํ อุทาหุ อชานิตฺวา?,
อันพระศาสดา) ทรงทราบแล้ ว ทรงกระท�ำแล้ วหรื อหนอแล หรื อว่า หิยฺโย จุลฺลกาลสฺส ปุรโต คตตฺตา ปพฺพชฺชนฺตราโย
(อ. กรรม อันพระศาสดา) ไม่ทรงทราบแล้ ว (ทรงกระท�ำแล้ ว) ?, ชาโต, อชฺช อฺสฺส ปุรโต คตตฺตา อนฺตราโย
อ. อันตรายแห่งการบวช เกิดแล้ ว เพราะความที่แห่งจุลกาล นาโหสิ, อิทานิ สตฺถา มหากาลํ นิวตฺเตตฺวา อาคโต,
เป็ นผู้ไปแล้ ว ข้ างหน้ า ในวันวาน , ในวันนี ้ อ. อันตราย สีลวา โข ปน ภิกฺขุ อาจารสมฺปนฺโน; กริ สฺสนฺติ
ไม่ได้ มีแล้ ว เพราะความที่แห่งภิกษุรูปอื่นเป็ นผู้ไปแล้ ว ข้ างหน้ า, นุ โข ตสฺส ปพฺพชฺชนฺตรายนฺต.ิ
ในกาลนี ้ อ.พระศาสดา ทรงยังพระเถระชื่อว่ามหากาลให้ กลับแล้ ว
เสด็จมาแล้ ว, ก็ อ. ภิกษุ เป็ นผู้มีศีลแล เป็ นผู้ถงึ พร้ อมแล้ ว
ด้ วยมรรยาท (ย่อมเป็ น) ; (อ.หญิง ท. เหล่านัน) ้ จักกระท�ำ
ซึง่ อันตรายแห่งการบวช แก่พระเถระนัน้ หรื อหนอแล ดังนี ้ ฯ

66 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ ว ซึง่ ค�ำ ของภิกษุ ท. เหล่านัน้ สตฺถา เตสํ วจนํ สุตฺวา นิวตฺตติ ฺวา €ิโต
เสด็จกลับประทับยืนแล้ ว ตรัสถามแล้ ว ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. (อ. เธอ ท.) “กึ กเถถ ภิกฺขเวติ ปุจฺฉิ.
ย่อมกล่าว ซึง่ ค�ำอะไร ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ กราบทูลแล้ ว ซึง่ เนื ้อความนัน้ ฯ เต ตมตฺถํ อาโรเจสุํ.
(อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ก็ อ. เธอ ท. “กึ ปน ตุมเฺ ห ภิกฺขเว จุลฺลกาลํ วิย มหากาลํ
ย่อมก�ำหนด ซึง่ มหากาล (กระท�ำ) ให้ เป็ นราวกะว่าจุลกาล หรื อ สลฺลกฺเขถาติ.
ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ พระเจ้ าข้ า “อาม ภนฺเต, ตสฺส หิ เทฺว ปชาปติโย, อิมสฺส
(อ. อย่างนัน),้ เพราะว่า อ. ปชาบดี ท. ๒ ของจุลกาลนัน้ (มีอยู)่ , อฏฺ€; อฏฺ€หิ ปริ กฺขิปิตฺวา คหิโต กึ กริ สฺสติ
อ. ปชาบดี ท. ๘ ของพระเถระชื่อว่ามหากาลนี ้ (มีอยู)่ ; ภนฺเตติ.
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. พระเถระชื่อว่ามหากาล) ผู้อนั ปชาบดี ท.
๘ แวดล้ อมแล้ ว จับเอาแล้ ว จักกระท�ำ อย่างไร ดังนี ้ ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. สตฺถา “มา ภิกฺขเว เอวํ อวจุตฺถ, จุลฺลกาโล
อย่าได้ กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ , อ. ภิกษุชื่อว่าจุลกาล ลุกขึ ้นแล้ ว อุฏฺ€าย สมุฏฺ€าย สุภารมฺมณพหุโล วิหรติ, ปปาตตเฏ
ลุกขึ ้นพร้ อมแล้ ว เป็ นผู้มากด้ วยอารมณ์วา่ งาม (เป็ น) ย่อมอยู,่ €ิตทุพฺพลรุกฺขสทิโส, มยฺหํ ปน ปุตฺโต มหากาโล
(อ. ภิกษุชื่อว่าจุลกาลนัน) ้ เป็ นผู้เช่นกับด้ วยต้ นไม้ มีก�ำลังอันโทษ- อสุภานุปสฺสี วิหรติ, ฆนเสลปพฺพโต วิย อจโล วาติ
ประทุษร้ ายแล้ ว อันตังอยู้ แ่ ล้ ว ที่ริมแห่งเหว (ย่อมเป็ น), ส่วนว่า วตฺวา อิมา คาถาโย อภาสิ
อ.ภิกษุชอื่ ว่ามหากาล ผู้เป็ นบุตร ของเรา เป็ นผู้ตามเห็นซึง่ อารมณ์-
ว่าไม่งามโดยปกติ (เป็ น) ย่อมอยู,่ (อ. ภิกษุชื่อว่ามหากาลนัน) ้
เป็ นผู้มีความหวัน่ ไหวหามิได้ เทียว (ย่อมเป็ น) ราวกะ อ. ภูเขา-
อันประกอบแล้ วด้ วยศิลาอันเป็ นแท่งทึบ ดังนี ้ ได้ ตรัสแล้ ว
ซึง่ พระคาถา ท. เหล่านี ้ ว่า

อ. มาร ย่อมรังควาน ซึ่งบุคคลนัน้ แล ผูต้ ามเห็นซึ่งอารมณ์ “สุภานุปสฺสึ วิ หรนฺตํ อิ นทฺ ฺริเยสุ อสํวตุ ํ
ว่างามโดยปกติ อยู่อยู่ ผูไ้ ม่ส�ำรวมแล้ว ในอิ นทรี ย์ ท. โภชนมฺหิ อมตฺตฺุํ กุสีตํ หีนวีริยํ
ผูไ้ ม่รู้ซึ่งประมาณ ในโภชนะ ผูเ้ กี ยจคร้านแล้ว ผูม้ ี ความเพียร- ตํ เว ปสหตี มาโร, วาโต รุกฺขํว ทุพพฺ ลํ.
อันทราม เพียงดัง อ. ลม (รังควานอยู่) ซึ่งต้นไม้ อันมี ก�ำลัง- อสุภานุปสฺสึ วิ หรนฺตํ อิ นทฺ ฺริเยสุ สุสํวตุ ํ
อันโทษประทุษร้ายแล้ว, อ.มาร ย่อมไม่รงั ควาน ซึ่งบุคคลนัน้ แล โภชนมฺหิ จ มตฺตฺุํ สทฺธํ อารทฺธวีริยํ
ผูต้ ามเห็นซึ่งอารมณ์วา่ ไม่งามโดยปกติ อยูอ่ ยู่ ด้วย ผูส้ ำ� รวมดีแล้ว ตํ เว นปฺปสหตี มาโร, วาโต เสลํว ปพฺพตนฺติ.
ในอิ นทรี ย์ ท. ด้วย ผูร้ ู้ซึ่งประมาณ ในโภชนะด้วย
ผูม้ ี ศรัทธาด้วย ผูม้ ี ความเพียรอันปรารภแล้วด้วย, เพียงดัง
อ.ลม(ไม่รงั ควานอยู่) ซึ่งภูเขา อันประกอบแล้วด้วยศิ ลา ดังนี ้ ฯ

อ. อรรถว่า ผู้ตามเห็นอยู่ ซึง่ อารมณ์วา่ งาม ดังนี ้ ในบท ท. ตตฺถ สุภานุปสฺสินฺต:ิ สุภํ อนุปสฺสนฺตํ.
เหล่านันหนา
้ แห่งบทว่า สุภานุปสฺสึ ดังนี ้ อ. อธิบายว่า “อิฏฺ€ารมฺมเณ มานสํ วิสฺสชฺเชตฺวา วิหรนฺตนฺติ อตฺโถ.
ผู้สละแล้ วซึง่ ใจ ในอารมณ์อนั บุคคลปรารถนาแล้ ว อยูอ่ ยู่ ดังนี ้ ฯ

จริ งอยู่ อ. บุคคลใด เมื่อถือ ถือโดยนิมิต ถือโดยอนุพยัญชนะ โย หิ ปุคฺคโล นิมิตฺตคฺคาหํ อนุพฺยฺชนคฺคาหํ


ย่อมถือ ว่า อ. เล็บ ท. เป็ นของงาม (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, ย่อมถือ คณฺหนฺโต “นขา โสภณาติ คณฺหาติ, “องฺคลุ โิ ย
ว่า อ. นิ ้ว ท. เป็ นของงาม (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, ย่อมถือ ว่า อ. มือ ท. โสภณาติ คณฺหาติ, “หตฺถา ปาทา ชงฺฆา อูรู
อ. เท้ า ท. อ. แข้ ง ท. อ. ขาอ่อน ท. อ. สะเอว อ. ท้ อง อ. ถัน ท. กฏิ อุทรํ ถนา คีวา โอฏฺโ€ ทนฺตา มุขํ นาสา
อ. คอ อ. ริ มฝี ปาก อ. ฟั น ท. อ. ปาก อ. จมูก อ. นัยน์ตา ท. อ. หู ท. อกฺขีนิ กณฺณา ภมุกา ลลาฏํ เกสา โสภณาติ
อ. คิ ้ว ท. อ. หน้ าผาก อ. ผม ท. เป็ นของงาม (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, คณฺหาติ, “เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ โสภโณติ
ย่อมถือว่า อ.ผม ท. อ.ขน ท. อ.เล็บ ท. อ.ฟั น ท. อ.หนัง คณฺหาติ, “วณฺโณ สุโภ, สณฺ€านํ สุภนฺติ
เป็ นของงาม (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, ย่อมถือว่า อ. วรรณะ เป็ นของงาม คณฺหาติ;
ย่อมเป็ น ดังนี ้ ย่อมถือว่า อ. ทรวดทรง เป็ นของงาม ย่อมเป็ น ดังนี ้

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 67


อ.บุคคลนี ้ ชื่อว่า เป็ นผู้ตามเห็นซึง่ อารมณ์วา่ งามโดยปกติ อยํ สุภานุปสฺสี นาม; ตํ เอวํ สุภานุปสฺสึ
ย่อมเป็ น, ซึง่ บุคคลนัน้ ผู้ตามเห็นซึง่ อารมณ์วา่ งามโดยปกติ อยูอ่ ยู่ วิหรนฺตํ.
อย่างนี ้ ฯ
อ. อรรถว่า ในอินทรี ย์ ท. หก มีจกั ษุเป็ นต้ น ดังนี ้ แห่งบทว่า อินฺทรฺ ิเยสูต:ิ จกฺขาทีสุ ฉสุ อินฺทฺริเยสุ.
อินฺทรฺ ิเยสุ ดังนี ้ ฯ
อ. อรรถว่า ผู้ไม่รักษาอยูซ่ งึ่ ทวาร ท. มีทวารคือจักษุเป็ นต้ น อสํวุตนฺ ฺต;ิ จกฺขทุ ฺวาราทีนิ อรกฺขนฺตํ.
ดังนี ้ แห่งบทว่า อสํวุตํ ดังนี ้ ฯ
อ. อรรถว่า ชือ่ ว่าผู้ไม่ร้ ูซงึ่ ประมาณ ในโภชนะ เพราะความไม่ร้ ู อมตฺตญฺญนุ ตฺ :ิ ปริเยสนมตฺตา ปฏิคคฺ หณมตฺตา
ซึง่ ประมาณนี ้ คือ อ. ประมาณในการแสวงหา อ. ประมาณในการรับ ปริ โภคมตฺตาติ อิมิสฺสา มตฺตาย อชานนโต โภชนมฺหิ
อ. ประมาณในการบริ โภค ดังนี ้ แห่งบทว่า อมตฺตญฺญุํ ดังนี ้ ฯ อมตฺตฺุํ.
อีกอย่างหนึง่ ชื่อว่าผู้ไม่ร้ ูซงึ่ ประมาณ เพราะความไม่ร้ ู อปิ จ “ ปจฺจเวกฺขณมตฺตา วิสฺสชฺชนมตฺตาติ
ซึง่ ประมาณ แม้ นี ้ คือ อ.ประมาณ ในการพิจารณา อ.ประมาณ- อิมิสฺสาปิ มตฺตาย อชานนโต อมตฺตฺุํ.
ในการสละ ฯ คือว่า ผู้ไม่ร้ ูอยู่ แม้วา่ อ.โภชนะนี ้ เป็ นของประกอบแล้ว “อิทํ โภชนํ ธมฺมิกํ, อิทํ อธมฺมิกนฺตปิ ิ
ด้ วยธรรม (ย่อมเป็ น) อ.โภชนะนี ้ เป็ นของไม่ประกอบแล้ ว อชานนฺตํ.
ด้ วยธรรม (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
อ.อรรถว่า ชื่อว่าผู้เกียจคร้ านแล้ ว เพราะความที่แห่งตน กุสีตนฺต:ิ กามพฺยาปาทวิหสึ าวิตกฺกวสิกตาย
เป็ นผู้เป็ นไปแล้ วในอ�ำนาจแห่งกามวิตกและพยาบาทวิตกและ กุสีตํ.
วิหิงสาวิตก ดังนี ้ แห่งบทว่า กุสีตํ ดังนี ้ ฯ
อ.อรรถว่า ผู้มีความเพียรอันออกแล้ ว คือว่าผู้เว้ นแล้ ว- หีนวีริยนฺติ: นิพฺพีริยํ จตูสุ อิริยาปเถสุ
จากการกระท�ำซึง่ ความเพียร ในอิริยาบถ ท. สี่ ดังนี ้ แห่งบทว่า วีริยกรณวิรหิตํ.
หีนวีริยํ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ย่อมครอบง�ำ คือว่า ย่อมท่วมทับ ดังนี ้ แห่งบท ว่า ปสหตีติ: อภิภวติ อชฺโฌตฺถรติ.
ปสหติ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ราวกะ อ.ลมมีก�ำลัง (รังควานอยู)่ ซึง่ ต้ นไม้ วาโต รุ กขฺ วํ ทุพพฺ ลนฺต:ิ พลววาโต ฉินฺนตเฏ
มีก�ำลังอันโทษประทุษร้ าย อันเกิดแล้ วแล้ ว ใกล้ เหวอันขาดแล้ ว ชาตํ ทุพฺพลรุกฺขํ วิย.
(ดังนี ้ แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า วาโต รุ กขฺ วํ ทุพพ ฺ ลํ ดังนี ้ ฯ

อธิบาย ว่า เหมือนอย่างว่า อ.ลมนัน้ (ยังรุกขาวัยวะ ท.) “ยถา หิ โส วาโต ตสฺส รุกขฺ สฺส ปุปผฺ ผลปลฺลวาทีนปิ ิ
มีดอกและผลและใบอ่อนเป็ นต้ น ของต้ นไม้ นนั ้ ย่อมให้ ตกไปบ้ าง ปาเตติ, ขุทฺทกสาขาปิ ภฺชติ, มหาสาขาปิ ภฺชติ,
ย่อมหักราน ซึง่ กิ่งน้ อย ท. บ้ าง ย่อมหักราน ซึง่ กิ่งใหญ่ ท. บ้ าง สมูลํปิ ตํ รุกฺขํ อุพฺพตฺเตตฺวา อุทฺธมูลํ อโธสาขํ กตฺวา
ยังต้ นไม้ นนั ้ อันเป็ นไปกับด้ วยราก ให้ เพิกขึ ้นแล้ ว กระท�ำ ให้ มีราก คจฺฉติ; เอวเมว เอวรูปํ ปุคฺคลํ อนฺโต อุปปฺ นฺโน
ในเบื ้องบน ให้ มกี งิ่ ในเบื ้องต�ำ่ ย่อมไปบ้ าง ฉันใด ; อ.มารคือกิเลส กิเลสมาโร ปสหติ; พลววาโต ทุพฺพลรุกฺขสฺส
อันเกิดขึ ้นแล้ ว ในภายใน ย่อมรังควาน ซึง่ บุคคล ผู้มอี ย่างนี ้เป็ นรูป ปุปผฺ ผลปลฺลวาทิปาตนํ วิย ขุทฺทานุขทุ ฺทกาปตฺติ
ฉันนันนั
้ น่ เทียว คือว่า (อ.มารคือกิเลส) ย่อมกระท�ำ ซึง่ การต้ อง อาปชฺชนํปิ กโรติ , ขุทฺทกสาขาภฺชนํ วิย
ซึง่ อาบัตเิ ล็กๆน้ อยๆ ราวกะ อ.ลมมีก�ำลัง (กระท�ำอยู)่ ซึง่ การ- นิสสฺ คฺคยิ าทิอาปตฺตอิ าปชฺชนํปิ กโรติ, มหาสาขาภฺชนํ
ยังรุกขาวัยวะมีดอกและผลและใบอ่อนเป็ นต้ น ของต้ นไม้ มีก�ำลัง วิย เตรสสงฺฆาทิเสสาปชฺชนํปิ กโรติ, อุพฺพตฺเตตฺวา
อันโทษประทุษร้ ายแล้ ว ให้ ตกไปบ้ าง ย่อมกระท�ำ ซึง่ การต้ อง- อุทธฺ มูลํ เหฏฺ€าสาขํ กตฺวา ปาตนํ วิย ปาราชิกาปตฺต-ิ
ซึง่ อาบัตมิ ีนิสสัคคีย์เป็ นต้ น ราวกะ (อ.ลมมีก�ำลัง กระท�ำอยู)่ อาปชฺชนํปิ กโรติ, สฺวากฺขาตสาสนา นีหริ ตฺวา
ซึง่ การหักรานกิ่งน้ อยบ้ าง ย่อมกระท�ำ ซึง่ การต้ องซึง่ สังฆาทิเสส กติปาเหเนว คิหิภาวํ ปาเปติ; เอวรูปํ ปุคฺคลํ
๑๓ ราวกะ (อ.ลมมีก�ำลัง กระท�ำอยู)่ ซึง่ การรักรานกิ่งใหญ่บ้าง กิเลสมาโร อตฺตโน วเส วตฺเตตีติ อตฺโถ.
ย่อมกระท�ำ ซึง่ การต้ องซึง่ อาบัตคิ ือปาราชิก น�ำออกแล้ ว
จากพระศาสนาอันพระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสไว้ ดีแล้ ว ย่อมให้ ถงึ
ซึง่ ความเป็ นแห่งคฤหัสถ์ โดยวันเล็กน้ อยนัน่ เทียว ราวกะ
(อ.ลมมีก�ำลัง กระท�ำอยู)่ ซึง่ การ (ยังต้ นไม้ ) ให้ เพิกขึ ้นแล้ ว กระท�ำ
ให้ มีรากในเบื ้องบน ให้ มีกิ่งในภายใต้ แล้ วให้ ตกไปบ้ าง อ.มาร-
คือกิเลส ยังบุคคล ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป ย่อมให้ เป็ นไป ในอ�ำนาจ
ของตน ดังนี ้ ฯ

68 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ.อรรถ) ว่า ผู้เห็นอยู่ (ในอารมณ์ ท.) อันไม่งาม ๑๐ หนา อสุภานุปสฺสินฺต:ิ ทสสุ อสุเภสุ อฺตรํ อสุภํ
(ซึง่ อารมณ์) ว่าไม่งาม อย่างใดอย่างหนึง่ , คือว่า ผู้ประกอบแล้ ว ปสฺสนฺตํ, ปฏิกลู มนสิกาเร ยุตฺตํ, เกเส อสุภโต
ในการกระท�ำไว้ ในใจโดยความเป็ นของน่าเกลียด, คือว่า ผู้เห็นอยู่ ปสฺสนฺตํ, โลเม นเข ทนฺเต ตจํ วณฺณํ สณฺ€านํ
ซึง่ ผม ท. โดยความเป็ นของไม่งาม, ผู้เห็นอยู่ ซึง่ ขน ท. ซึง่ เล็บ ท. อสุภโต ปสฺสนฺตํ.
ซึง่ ฟั น ท. ซึง่ หนัง ซึง่ วรรณะ ซึง่ ทรวดทรง โดยความเป็ นของไม่งาม
(ดังนี ้ แห่งบท) ว่า อสุภานุปสฺสึ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ในอินทรี ย์ ท. ๖ (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า อินฺทรฺ ิเยสุ อินฺทรฺ ิเยสูต:ิ ฉสุ อินฺทฺริเยสุ.
ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ผู้เว้ นแล้ วจากการถือมีการถือโดยนิมิตเป็ นต้ น สุสวํ ุตนฺต:ิ นิมิตฺตคฺคาหาทิวิรหิตํ ปิ หิตทฺวารํ .
คือว่า ผู้มีทวารอันปิ ดแล้ ว (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า สุสวํ ุตํ ดังนี ้ ฯ
ก็ ผู้ร้ ูซงึ่ ประมาณ ในโภชนะ โดยความเป็ น ข้ าศึกต่อความเป็ น อมตฺตฺุตาปฏิปกฺเขน โภชนมฺหิ จ มตฺตฺุํ.
แห่งบุคคลผู้ไม่ร้ ูซงึ่ ประมาณ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ผู้มาตามพร้ อมแล้ ว ด้ วยศรัทธาอันเป็ นโลกิยะ สทฺธนฺต:ิ กมฺมสฺส เจว ผลสฺส จ สทฺทหนลกฺขณาย
มีการเชื่อซึง่ กรรมด้ วยนัน่ เทียว ซึง่ ผล (ของกรรม) ด้ วยเป็ นลักษณะ โลกิยสทฺธาย เจว ตีสุ วตฺถสู ุ อเวจฺจปฺปสาทสงฺขาตาย
ด้ วยนัน่ เทียว ด้ วยศรัทธาอันเป็ นโลกุตระ อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ ว โลกุตฺตรสทฺธาย จ สมนฺนาคตํ.
ว่าความเลื่อมใสอันไม่คลอนแคลน ในวัตถุ ท. ๓ ด้ วย (ดังนี ้
แห่งบท) ว่า สทฺธํ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ผู้มคี วามเพียรอันประคองแล้ว คือว่า ผู้มคี วามเพียร อารทฺธวีริยนฺต:ิ ปคฺคหิตวีริยํ ปริ ปณ
ุ ฺณวีริยํ.
อันเต็มรอบแล้ ว (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า อารทฺธวีริยํ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ซึง่ บุคคลนัน้ คือว่า ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป (ดังนี ้ ตํ เวติ: ตํ เอวรูปํ ปุคฺคลํ.
แห่งบท) ว่า ตํ เว ดังนี ้ ฯ
อ.อธิบาย ว่า อ.ลมมีกำ� ลังอันโทษประทุษร้ าแล้ ว พัดอยู่ ค่อย ๆ “ยถา ทุพฺพลวาโต สณิกํ ปหรนฺโต เอกฆนํ เสลํ
ย่อมไม่อาจ เพื่ออันยังภูเขา อันประกอบแล้ วด้ วยศิลา อันเป็ น- จาเลตุํ น สกฺโกติ; ตถา อพฺภนฺตเร อุปปฺ ชฺชมาโนปิ
แท่งทึบเป็ นอันเดียวกัน ให้หวัน่ ไหวได้ ฉันใด ; อ.มารคือกิเลสมีกำ� ลัง- ทุพฺพลกิเลสมาโร นปฺปสหติ โขเภตุํ กมฺเปตุํ
อันโทษประทุษร้ ายแล้ ว แม้ เกิดขึ ้นอยู่ ในภายใน ย่อมไม่รังควาน จาเลตุํ น สกฺโกตีติ อตฺโถ.
คือว่า ย่อมไม่อาจ เพื่ออันให้ หวัน่ ไหว เพื่ออันให้ สะเทือน
เพื่ออันให้ คลอนแคลน ฉันนัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. หญิงที่สองผู้มีในก่อน ท. ของพระเถระนัน้ แม้ เหล่านันแล ้ ตาปิ โข ตสฺส ปุราณทุติยิกา เถรํ ปริ วาเรตฺวา
แวดล้ อมแล้ ว ซึง่ พระเถระ กล่าวแล้ ว (ซึง่ ค�ำ ท.) มีค�ำ ว่า อ. ท่าน “ตฺวํ กํ อาปุจฺฉิตฺวา ปพฺพชิโต? อิทานิ คิหี ภวิสฺสสิ
อ�ำลาแล้ ว ซึง่ ใคร เป็ นผู้บวชแล้ ว (ย่อมเป็ น) ? ในกาลนี ้ อ. ท่าน น ภวิสฺสสีตอิ าทีนิ วตฺวา กาสายานิ นีหริ ตกุ ามา
เป็ นคฤหัสถ์ จักเป็ น (หรื อ หรื อว่า อ. ท่าน เป็ นคฤหัสถ์) จักไม่เป็ น อเหสุํ.
ดังนี ้เป็ นต้ น เป็ นผู้ใคร่เพือ่ อันน�ำออก ซึง่ ผ้ ากาสายะ ท. ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ. พระเถระ ก�ำหนดแล้ ว ซึง่ อาการ ของหญิง ท. เหล่านัน้ เถโร ตาสํ อาการํ สลฺลกฺเขตฺวา นิสนิ ฺนาสนา
ลุกขึ ้นแล้ ว จากอาสนะแห่งตนนัง่ แล้ ว เหาะขึ ้นแล้ ว ด้ วยฤทธิ์ วุฏฺ€าย อิทฺธิยา อุปปฺ ติตฺวา กูฏาคารกณฺณิกํ
ท�ำลายแล้ ว ซึง่ ช่อฟ้าแห่งเรื อนยอด ไปแล้ ว โดยอากาศ, ภินฺทิตฺวา อากาเสน คนฺตฺวา , สตฺถริ คาถา
ครัน้ เมื่อพระศาสดา ทรงยังคาถา ท. ให้ จบลงรอบอยูน่ นั่ เทียว, ปริ โยสาเปนฺเตเยว , สตฺถุ สุวณฺณวณฺณํ สรี รํ
ชมเชยอยู่ ซึง่ พระสรี ระ มีสีเพียงดังสีแห่งทอง ของพระศาสดา อภิตฺถวนฺโต โอตริ ตฺวา ตถาคตสฺส ปาเท วนฺทิ.
ข้ ามลงแล้ ว ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระบาท ท. ของพระตถาคตเจ้ า

ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ. ภิกษุผ้ถู งึ พร้ อมแล้ว ท. คาถาปริโยสาเน สมฺปตฺตภิกขฺ ู โสตาปตฺตผิ ลาทีสุ
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว (ในอริ ยผล ท.) มีโสดาปั ตติผลเป็ นต้ น ดังนี ้แล ฯ ปติฏฺ€หึสตู .ิ

อ.เรื่ องแห่ งภิกษุช่ ือว่ าจุลกาลและภิกษุช่ ือว่ ามหากาล จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ.


(จบแล้ ว) ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 69


๗. อ.เรื่ องแห่ งพระเทวทัต (อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ ๗. เทวทตฺตวตฺถุ. (๗)

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “อนิกกฺ สาโวติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน
ซึ่งการได้ ซึ่งผ้ ากาสาวะอันบุคคลน�ำมาแล้ วจากแว่นแคว้ นชื่อว่า- วิหรนฺโต ราชคเห เทวทตฺตสฺส คนฺธารกาสาวลาภํ
คันธาระ แห่งพระเทวทัต ในเมืองชื่อว่าราชคฤห์ ตรัสแล้ ว อารพฺภ กเถสิ.
ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า อนิกกฺ สาโว ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ดังจะกล่าวโดยพิสดาร ในสมัยหนึง่ อ. พระอัครสาวก ท. สอง เอกสฺมึ หิ สมเย เทฺว อคฺคสาวกา ปฺจสเต
พาเอาแล้ ว ซึง่ บริวาร ท. ของตน มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ ๆ ทูลลาแล้ ว ปฺจสเต อตฺตโน ปริ วาเร อาทาย สตฺถารํ
ซึง่ พระศาสดา ได้ ไปแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าราชคฤห์ จากพระเชตวัน ฯ อาปุจฺฉิตฺวา เชตวนโต ราชคหํ อคมํส.ุ
(อ. ชน ท.) ผู้อยูใ่ นเมืองชือ่ ว่าราชคฤห์โดยปกติ ๒ บ้ าง ๓ บ้ าง ราชคหวาสิโน เทฺวปิ ตโยปิ พหูปิ เอกโต
มากบ้ าง เป็ น โดยความเป็ นอันเดียวกัน ได้ ถวายแล้ ว ซึง่ ทาน หุตฺวา อาคนฺตกุ ทานํ อทํส.ุ
เพื่อภิกษุ ผ้ ูจรมา ฯ

ครัง้ นันในวั
้ นหนึง่ อ. พระสารี บตุ รผู้ มีอายุ เมื่อกระท�ำ อเถกทิวสํ อายสฺมา สารี ปตุ ฺโต อนุโมทนํ
ซึง่ การอนุโมทนา แสดงแล้ ว ซึง่ ธรรม อย่างนี ้ ว่า ดูก่อนอุบาสก กโรนฺโต “อุปาสกา เอโก สยํ ทานํ เทติ,
และอุบาสิกา ท. (อ. บุคคล) คนหนึง่ ย่อมถวาย ซึง่ ทาน เอง, ปรํ น สมาทเปติ; โส นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺ€าเน
ย่อมไม่ชกั ชวน ซึง่ บุคคลอืน่ ; อ. บุคคลนัน้ ย่อมได้ ซึง่ ความถึงพร้ อม โภคสมฺปทํ ลภติ, โน ปริ วารสมฺปทํ, เอโก ปรํ
ด้ วยโภคะ, ย่อมไม่ได้ ซึง่ ความถึงพร้ อมด้ วยบริ วาร ในที่แห่งตน สมาทเปติ, สยํ น เทติ; นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺ€าเน
บังเกิดแล้ วและบังเกิดแล้ ว, อ.บุคคล คนหนึง่ ย่อมชักชวน ปริ วารสมฺปทํ ลภติ, โน โภคสมฺปทํ, เอโก สยํปิ
ซึง่ บุคคลอื่น, ย่อมไม่ถวาย เอง, (อ. บุคคลนัน) ้ ย่อมได้ ซึง่ ความ น เทติ, ปรํ ปิ น สมาทเปติ; โส นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺ€าเน
ถึงพร้ อมด้ วยบริ วาร, ย่อมไม่ได้ ซึง่ ความถึงพร้ อมด้ วยโภคะ กฺชิกมตฺตํปิ กุจฺฉิปรู ํ น ลภติ, อนาโถ โหติ
ในทีแ่ ห่งตนบังเกิดแล้วและบังเกิดแล้ว, อ. บุคคล คนหนึง่ ย่อมไม่ถวาย นิปปฺ จฺจโย, เอโก สยํปิ เทติ, ปรํ ปิ สมาทเปติ;
แม้ เอง, ย่อมไม่ชกั ชวน ซึง่ บุคคลแม้ อื่น; อ. บุคคลนัน้ ย่อมไม่ได้ โส นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺ€าเน อตฺตภาวสเตปิ
ซึง่ วัตถุอนั ยังท้ องให้ เต็ม แม้ สกั ว่าข้ าวปลายเกรี ยน, เป็ นผู้ไม่มีที่พงึ่ อตฺตภาวสหสฺเสปิ อตฺตภาวสตสหสฺเสปิ โภคสมฺปทฺเจว
เป็ นผู้ไม่มีปัจจัย ย่อมเป็ น ในที่แห่งตนบังเกิดแล้ วและบังเกิดแล้ ว, ปริ วารสมฺปทฺจ ลภตีติ เอวํ ธมฺมํ เทเสสิ.
(อ. บุคคล) คนหนึง่ ย่อมถวาย แม้ เอง, ย่อมชักชวน ซึง่ บุคคล
แม้ อื่น; อ. บุคคลนัน้ ย่อมได้ ซึง่ ความถึงพร้ อมด้ วยโภคะด้ วย
นัน่ เทียว ซึง่ ความถึงพร้ อมด้ วยบริ วารด้ วย ในร้ อยแห่งอัตภาพบ้ าง
ในพันแห่งอัตภาพบ้าง ในแสนแห่งอัตภาพบ้าง ในทีแ่ ห่งตนบังเกิดแล้ว
และบังเกิดแล้ ว ดังนี ้ ฯ

อ. บุรุษผู้ฉลาด คนหนึง่ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ คิดแล้ ว ว่า ตเมโก ปณฺฑิตปุริโส สุตฺวา “อจฺฉริ ยา วต โภ
แน่ะท่านผู้เจริ ญ อ.พระธรรมเทศนา น่าอัศจรรย์ หนอ, ธมฺมเทสนา, สุขการณํ กถิตํ; มยา อิมาสํ ทฺวินฺนํ
อ. เหตุแห่งความสุข (อันพระเถระ) กล่าวแล้ ว, อ. อัน อันเรา สมฺปตฺตีนํ นิปผฺ าทนกกมฺมํ กาตุํ วฏฺฏตีติ จินฺเตตฺวา
กระท�ำ ซึง่ กรรมเป็ นเหตุยงั สมบัติ ท. สอง เหล่านี ้ ให้ ส�ำเร็ จ “ ภนฺเต เสฺว มยฺหํ ภิกฺขํ คณฺหถาติ เถรํ
ย่อมควร ดังนี ้ นิมนต์แล้ ว ซึง่ พระเถระ ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ นิมนฺเตสิ.
อ. ท่าน ท. ขอจงรับ ซึง่ ภิกษา ของกระผม ในวันพรุ่ง ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก อ. ความต้ องการ “กิตฺตเกหิ เต ภิกฺขหู ิ อตฺโถ อุปาสกาติ.
ด้ วยภิกษุ ท. มีประมาณเท่าไร (มีอยู)่ แก่ทา่ น ดังนี ้ ฯ
(อ. อุบาสก ถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ก็ อ. บริ วาร ท. “กิตฺตกา ปน โว ภนฺเต ปริ วาราติ.
ของท่าน ท. มีประมาณเท่าไร ดังนี ้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ ว)
ว่า ดูก่อนอุบาสก (อ. บริ วาร ท. ของเรา) มีพนั เป็ นประมาณ ดังนี ้ฯ “สหสฺสมตฺตา อุปาสกาติ.
(อ. อุบาสก กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้เจริญ (อ. ท่าน ท.) “สพฺเพหิ สทฺธึเยว ภิกฺขํ คณฺหถ ภนฺเตติ.
ขอจงรับ ซึง่ ภิกษา กับ ด้ วยภิกษุ ท. ทังปวงนั ้ น่ เทียว ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ (ยังค�ำนิมนต์) ให้ อยูท่ บั แล้ ว ฯ เถโร อธิวาเสสิ.

70 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. อุบาสก เที่ยวไปอยู่ ในถนนในเมือง ย่อมชักชวน ว่า อุปาสโก นครวีถิยํ จรนฺโต “อมฺมตาตา มยา
แน่ะแม่และพ่อ ท. อ. พันแห่งภิกษุ อันข้าพเจ้า นิมนต์แล้ว, อ. ท่าน ท. ภิกฺขสุ หสฺสํ นิมนฺตติ ํ, ตุมเฺ ห กิตฺตกานํ ภิกฺขนู ํ ภิกฺขํ
จักอาจ เพื่ออันถวาย ซึง่ ภิกษา แก่ภิกษุ ท. มีประมาณเท่าไร, ทาตุํ สกฺขิสฺสถ, ตุมเฺ ห กิตฺตกานนฺติ สมาทเปติ.
อ. ท่าน ท. (จักอาจ เพื่ออันถวาย ซึง่ ภิกษา แก่ภิกษุ ท.) มีประมาณ
เท่าไร ดังนี ้ ฯ
อ. มนุษย์ ท. กล่าวแล้ ว ว่า อ. ข้ าพเจ้ า ท. จักถวาย แก่ภิกษุ ท. มนุสฺสา อตฺตโน อตฺตโน ปโหนกนิยาเมน “มยํ
๑๐, อ. ข้าพเจ้า ท. จักถวาย (แก่ภกิ ษุ ท.) ๒๐, อ. ข้าพเจ้า ท. จักถวาย ทสนฺนํ ทสฺสาม, มยํ วีสติยา, มยํ สตสฺสาติ
แก่ร้อย (แห่งภิกษุ ท.) ดังนี ้ โดยก� ำหนดแห่งภิกษุ ผ้ ูเพียงพอ อาหํส.ุ
แก่ตน แก่ตน ฯ
อ. อุบาสก (กล่าวแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. เรา ท. จักกระท�ำ อุปาสโก “เตนหิ เอกสฺมึ €าเน สมาคมํ กตฺวา
ซึง่ การมาพร้ อมกัน ในที่แห่งหนึ่ง แล้ วจักหุงต้ ม โดยความเป็ น เอกโตว ปจิสฺสาม, สพฺเพ เตลติลตณฺฑลุ สปฺปิ
อันเดียวกันเทียว , (อ.ท่าน ท.) ทังปวง้ จงน�ำมาพร้ อม (ซึง่ อาหารวัตถุ ท.) ผาณิตาทีนิ สมาหรถาติ เอกสฺมึ €าเน สมาหราเปสิ.
มีนํม้ ันและงาและข้ าวสารและเนยใสและน� ำ้ อ้ อยเป็ นต้ น ดังนี ้
(ยังมนุษย์ ท.) ให้ น�ำมาพร้ อมแล้ ว (ซึง่ วัตถ ท. มีน� ้ำมันเป็ นต้ น
เหล่านัน) ้ ในที่แห่งหนึง่ ฯ
ครัง้ นัน้ อ.กุฏมพี
ุ คนหนึง่ ให้ แล้ ว ซึง่ ผ้ าอันบุคคลย้ อมแล้ ว อถสฺส เอโก กุฏมฺุ พิโก สตสหสฺสคฺฆนกํ คนฺธาร-
ด้ วยน� ้ำฝาด อันบุคคลน�ำมาแล้ ว จากแคว้ นชื่อว่า คันธาระ อันมี กาสาววตฺถํ ทตฺวา “สเจ เต ทานวฏฺฏํ นปฺปโหติ,
แสนหนึง่ เป็ นราคา แก่อบุ าสกนัน้ กล่าวแล้ วว่า ถ้ าว่า อ.วัตถุ อิทํ วิสฺสชฺเชตฺวา, ยทูนํ, ตํ ปูเรยฺยาสิ; สเจ ปโหติ,
อันเป็ นไปในทาน ของท่าน ย่อมไม่เพียงพอ (แก่ทา่ น) ไซร้ , อ.ท่าน ยสฺส อิจฺฉสิ; ตสฺส ภิกฺขโุ น ทเทยฺยาสีติ อาห.
พึงสละแล้ ว ซึง่ ผ้ าอันบุคคลย้ อม แล้ วด้ วยนํ ้าฝาดนี ้ ยัง - อ.วัตถุ
ใด เป็ นของพร่อง ย่อมเป็ น - วัตถุนนั ้ พึงให้ เต็ม ถ้ าว่า อ.วัตถุ
อัน เป็ นไปในทาน ย่อมไม่เพียงพอ ไซร้ , อ.ท่าน พึงถวาย แก่ - อ.ท่าน
ย่อมปรารถนา เพื่ออันถวาย แก่ภิกษุรูปใด - ภิกษุรูปนัน้ ดังนี ้ ฯ
ในกาลนัน้ อ. วัตถุอนั เป็ นไปในทาน ทังปวง ้ ของอุบาสกนัน้ ตทา ตสฺส สพฺพํ ทานวฏฺฏํ ปโหสิ, กิจฺ ิ อูนนฺนาม
เพียงพอแล้ ว, อ. วัตถุอะไร ๆ ชื่อว่าเป็ นของพร่อง ไม่ได้ มีแล้ ว ฯ นาโหสิ.
อ. อุบาสกนัน้ ถามแล้ ว ซึง่ มนุษย์ ท. ว่า อ.ผ้ ากาสาวะ- โส มนุสฺเส ปุจฺฉิ “อิทํ อนคฺฆกาสาวํ เอเกน
อันมีคา่ หามิได้ นี ้ อันกุฎมพี
ุ คนหนึง่ กล่าวแล้ ว ชือ่ ย่างนี ้ ถวายแล้ ว, กุฏมฺุ พิเกน เอวํ นาม วตฺวา ทินฺนํ, ทานวฏฺฏํ อติเรกํ
อ.วัตถุอนั เป็ นไปในทาน เป็ นของยิ่งเกิน เกิดแล้ ว, อ. เรา ท. ชาตํ, กสฺสทิ ํ เทมาติ.
จะถวาย ซึง่ ผ้ านี ้ แก่ใคร ดังนี ้ ฯ
อ. ชน ท. บางพวก กล่าวแล้ ว ว่า (อ. เรา ท. จะถวาย) เอกจฺเจ “สารี ปตุ ฺตตฺเถรสฺสาติ อาหํส.ุ
แก่พระเถระชื่อว่าสารี บตุ ร ดังนี ้ ฯ
อ. ชน ท. บางพวก กล่าวแล้ ว ว่า อ. พระเถระ เป็ นผู้มกี ารมา เอกจฺเจ “เถโร สสฺสปริ ปากสมเย อาคนฺตฺวา
ในสมัยเป็ นทีแ่ ก่รอบแห่งข้ าวกล้ า แล้ วจึงไปเป็ นปกติ (ย่อมเป็ น); คมนสีโล; เทวทตฺโต อมฺหากํ มงฺคลามงฺคเลสุ
อ. พระเทวทัต เป็ นสหาย ในงานมงคลและมิใช่มงคล ท. ของเรา ท. สหาโย อุทกมณิโก วิย นิจฺจํ ปติฏฺ€ิโต, ตสฺส ตํ
(เป็ น) ด�ำรงอยูแ่ ล้ ว เนืองนิตย์ ราวกะ อ. หม้ อแห่งน� ้ำ, (อ. เรา ท.) เทมาติ อาหํส.ุ
จะถวาย ซึง่ ผ้ านัน้ แก่พระเทวทัตนัน้ ดังนี ้ ฯ
แม้ครันเมื
้ อ่ วาจาเป็ นเครื่องกล่าว เป็ นวาจามีมากพร้ อม (มีอยู)่ สมฺพหุลกิ าย กถายปิ “เทวทตฺตสฺส ทาตพฺพนฺติ
(อ. ชน ท.) ผู้กล่าว ว่า (อ. ผ้ า อันเรา ท.) ควรถวาย แก่พระเทวทัต วตฺตาโร พหุตรา อเหสุํ.
ดังนี ้ เป็ นผู้มากกว่า ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. ชน ท.) ได้ ถวายแล้ ว ซึง่ ผ้ านัน้ แก่พระเทวทัต ฯ อถ นํ เทวทตฺตสฺส อทํส.ุ โส ตํ ฉินฺทิตฺวา
อ.พระเทวทัต นัน้ ตัดแล้ ว ซึง่ ผ้ านัน้ เย็บแล้ ว ย้ อมแล้ ว นุง่ แล้ ว สิพฺพิตฺวา รชิตฺวา นิวาเสตฺวา ปารุปิตฺวา วิจรติ.
ห่มแล้ ว ย่อมเที่ยวไป ฯ
อ. มนุษย์ ท. เห็นแล้ ว ซึง่ พระเทวทัตนัน้ กล่าวแล้ ว ว่า อ. ผ้ า มนุสฺสา ตํ ทิสฺวา “นยิทํ เทวทตฺตสฺส อนุจฺฉวิกํ;
นี ้ เป็ นผ้ าสมควร แก่พระเทวทัต (ย่อมเป็ น) หามิได้ ; (อ. ผ้ านัน) ้ สารี ปตุ ฺตตฺเถรสฺส อนุจฺฉวิกํ ; เทวทตฺโต อตฺตโน
เป็ นผ้ าสมควร แก่พระเถระชื่อว่าสารี บตุ ร (ย่อมเป็ น) ; อ. พระเทวทัต อนนุจฺฉวิกํ นิวาเสตฺวา ปารุปิตฺวา วิจรตีติ วทึส.ุ
นุง่ แล้ ว ห่มแล้ ว (ซึง่ ผ้ า) อันไม่สมควร แก่ตน ย่อมเที่ยวไป ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. ภิกษุ ผู้อยูใ่ นทิศโดยปกติ รูปหนึง่ ไปแล้ ว สูเ่ มือง อเถโก ทิสาวาสิโก ภิกฺขุ ราชคหา สาวตฺถึ
ชื่อว่าสาวัตถี จากเมืองชื่อว่าราชคฤห์ คนฺตฺวา
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 71
ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา ผู้มีปฏิสนั ถารอันพระศาสดา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา กตปฏิสนฺถาโร สตฺถารา ทฺวินฺนํ
ทรงกระท�ำแล้ ว ผู้อนั พระศาสดาตรัสถามแล้ ว ซึง่ การอยูส่ �ำราญ อคฺคสาวกานํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉิโต อาทิโต ปฏฺ€าย
แห่งพระอัครสาวก ท. สอง กราบทูลแล้ ว ซึง่ ความเป็ นไปทัว่ นัน้ สพฺพํ ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสิ.
ทังปวง
้ จ�ำเดิม แต่ต้น ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า ดูกอ่ นภิกษุ อ. เทวทัตนัน้ ย่อมทรงไว้ สตฺถา “น โข ภิกฺขุ อิทาเนว โส อตฺตโน
ซึง่ ผ้ า อันไม่สมควร แก่ตน ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ แล, (อ. เทวทัต) อนนุจฺฉวิกํ วตฺถํ ธาเรติ, ปุพฺเพปิ ธาเรสิเยวาติ วตฺวา
ทรงไว้ แล้ ว (ซึง่ ผ้ า อันไม่สมควร แก่ตน) นัน่ เทียว แม้ ในกาลก่อน อตีตํ อาหริ ;
ดังนี ้ ทรงน�ำมาแล้ ว ซึง่ เรื่ องอันล่วงไปแล้ ว ว่า ;

ในกาลอันล่วงไปแล้ว ครันเมื ้ อ่ พระเจ้าพรหมทัต (ทรงยังบุคคล) อตีเต พาราณสิยํ พฺรหฺมทตฺเต รชฺชํ กาเรนฺเต,


ให้ กระท�ำอยูซ่ งึ่ ความเป็ นแห่งพระราชา ในเมืองชื่อว่าพาราณสี, พาราณสีวาสี เอโก หตฺถิมารโก หตฺถึ มาเรตฺวา
อ. บุคคลผู้ยงั ช้างให้ตาย คนหนึง่ ผู้อยูใ่ นเมืองชือ่ ว่าพาราณสีโดยปกติ ทนฺเต จ ตเจ จ อนฺตานิ จ ฆนมํสฺจ อาหริ ตฺวา
ยังช้ าง ให้ ตายแล้ ว น�ำมาแล้ ว ซึง่ งา ท. ด้ วย ซึง่ หนัง ท. ด้ วย วิกฺกีณนฺโต ชีวติ ํ กปฺเปสิ.
ซึง่ ไส้ ใหญ่ ท. ด้ วย ซึง่ เนื ้อล�่ำด้ วย ขายอยู่ ส�ำเร็จแล้ ว ซึง่ ชีวิต ฯ

ครัง้ นัน้ อ. ช้ าง ท. มีพนั มิใช่หนึง่ ในป่ า แห่งหนึง่ คาบ ซึง่ เหยื่อ อเถกสฺมึ อรฺเ อเนกสหสฺสา หตฺถี โคจรํ
ไปอยู่ เห็นแล้ ว ซึง่ พระปั จเจกพุทธเจ้ า ท. เมื่อไป จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ คเหตฺวา คจฺฉนฺตา ปจฺเจกพุทฺเธ ทิสฺวา ตโต ปฏฺ€าย
หมอบลงแล้ ว ด้ วยเข่า ท. จบแล้ ว ในกาลเป็ นที่ไปและเป็ นที่มา คจฺฉมานา คมนาคมนกาเล ชนฺนเุ กหิ นิปติตฺวา
ย่อมหลีกไป ฯ วนฺทิตฺวา ปกฺกมนฺต.ิ

ในวันหนึง่ (อ. บุคคล) ผู้ยงั ช้ างให้ ตาย เห็นแล้ ว ซึง่ กิริยานัน้ เอกทิวสํ หตฺถิมารโก ตํ กิริยํ ทิสฺวา “อหํ อิเม
คิดอยู่ ว่า อ. เรา ยังช้ าง ท. เหล่านี ้ ย่อมให้ ตายได้ โดยยาก, กิจฺเฉน มาเรมิ, อิเม จ คมนาคมนกาเล ปจฺเจกพุทฺเธ
ก็ อ. ช้ าง ท. เหล่านี ้ ย่อมจบ ซึง่ พระปั จเจกพุทธเจ้ า ท. ในกาล วนฺทนฺต,ิ กินฺนุ โข ทิสฺวา วนฺทนฺตีติ จินฺเตนฺโต
เป็ นทีไ่ ปและเป็ นทีม่ า, (อ. ช้าง ท.) เห็นแล้ว ซึง่ อะไรหนอแล ย่อมจบ “กาสาวนฺติ สลฺลกฺเขตฺวา “มยาปิ อิทานิ กาสาวํ
ดังนี ้ ก�ำหนดแล้ ว ว่า (อ. ช้ าง ท. เห็นแล้ ว) ซึง่ ผ้ ากาสาวะ (ย่อมจบ) ลทฺธํุ วฏฺฏตีติ จินฺเตตฺวา เอกสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส
ดังนี ้ คิดแล้ ว ว่า อ. อัน แม้ อนั เรา ได้ ซึง่ ผ้ ากาสาวะ ย่อมควร ชาตสฺสรํ โอรุยฺห นหายนฺตสฺส ตีเร €ปิ เตสุ กาสาเวสุ
ในกาลนี ้ ดังนี ้ ลักแล้ว ในผ้ากาสาวะ ท. อันอันพระปัจเจกพุทธเจ้า จีวรํ เถเนตฺวา เตสํ หตฺถีนํ คมนาคมนมคฺเค สตฺตึ
รูปหนึง่ ผู้ลงแล้ ว สูส่ ระอันเกิดแล้ ว อาบอยู่ ตังไว้ ้ แล้ ว ที่ฝั่ง หนา คเหตฺวา สสีสํ ปารุปิตฺวา นิสีทติ.
ซึง่ จีวร ถือเอาแล้ ว ซึง่ หอก ย่อมนัง่ คลุม (ซึง่ อวัยวะ) อันเป็ นไปกับ
ด้วยศีรษะ ใกล้หนทางเป็ นทีไ่ ปและเป็ นทีม่ า แห่งช้าง ท. เหล่านัน้ ฯ

อ. ช้ าง ท. เห็นแล้ ว ซึง่ บุคคลนัน้ จบแล้ ว ด้ วยความส�ำคัญ หตฺถี ตํ ทิสฺวา “ปจฺเจกพุทฺโธติ สฺาย


ว่า อ. พระปั จเจกพุทธเจ้ า ดังนี ้ ย่อมหลีกไป ฯ วนฺทิตฺวา ปกฺกมนฺต.ิ

อ. พรานนัน้ ประหารแล้ ว (ซึง่ ช้ าง) ตัวไปอยู่ ข้ างหลังแห่งช้ าง โส เตสํ สพฺพปจฺฉโต คจฺฉนฺตํ สตฺตยิ า
ทังปวง
้ แห่งช้ าง ท. เหล่านัน้ ด้ วยหอก (ยังช้ างนัน) ้ ให้ ตายแล้ ว ปหริ ตฺวา มาเรตฺวา ทนฺตาทีนิ คเหตฺวา เสสํ ภูมิยํ
ถือเอาแล้ ว (ซึง่ อวัยวะ ท.) มีงาเป็ นต้ น ฝั งแล้ ว ซึง่ อวัยวะอันเหลือ นิขนิตฺวา คจฺฉติ.
ในแผ่นดิน ย่อมไป ฯ
ในกาลอันเป็ นส่วนอืน่ อีก อ. พระโพธิสตั ว์ ถือเอาแล้ว ซึง่ ปฏิสนธิ อปรภาเค โพธิสตฺโต หตฺถิโยนิยํ ปฏิสนฺธึ
ในก� ำเนิดแห่งช้ าง เป็ นช้ างตัวเจริ ญที่สุด เป็ นเจ้ าแห่งโขลง คเหตฺวา หตฺถิเชฏฺ€โก ยูถปติ อโหสิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
แม้ ในกาลนัน้ อ. พรานนัน้ ย่อมกระท�ำ อย่างนันนั ้ น่ เทียว ฯ ตทาปิ โส ตเถว กโรติ .
อ. พระมหาบุรุษ ทราบแล้ ว ซึง่ ความเสื่อมรอบ แห่งบริ ษัท มหาปุริโส อตฺตโน ปริ สาย ปริ หานึ ตฺวา
ของตน ถามแล้ว ว่า อ. ช้าง ท. เหล่านี ้ ไปแล้ว ในทีไ่ หน เป็ นสัตว์น้อย “กุหึ อิเม หตฺถี คตา มนฺทา ชาตาติ ปุจฺฉิตฺวา,
เกิดแล้ ว ดังนี ้,

72 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่นาย อ. เรา ท. ย่อมไม่ร้ ู ดังนี ้ (อันช้ าง ท.) “น ชานาม สามีติ วุตฺเต, “กุหึ คจฺฉนฺตา มํ
กล่าวแล้ ว, คิดแล้ ว ว่า (อ. ช้ าง ท.) เมื่อไป ในที่ไหน ไม่อ�ำลาแล้ ว อนาปุจฺฉา น คมิสฺสนฺต,ิ ปริ ปนฺเถน ภวิตพฺพนฺติ
ซึง่ เรา จักไม่ไป, อันอันตรายเป็ นเครื่ องเบียดเบียนรอบ พึงมี ดังนี ้ จินฺเตตฺวา “เอกสฺมึ €าเน กาสาวํ ปารุปิตฺวา
ระแวงแล้ ว ว่า อันอันตรายเป็ นเครื่ องเบียดเบียนรอบ พึงมี นิสนิ ฺนสฺส สนฺตกิ า ปริ ปนฺเถน ภวิตพฺพนฺติ
จากส�ำนัก ของบุรุษ ผู้นงั่ คลุมแล้ ว ซึง่ ผ้ ากาสาวะ ในที่แห่งหนึง่ ปริ สงฺกิตฺวา ตํ ปริ คฺคณฺหิตํุ สพฺเพ หตฺถี ปุรโต
ดังนี ้ ส่งไปแล้ ว ซึง่ ช้ าง ท. ทังปวง
้ ข้ างหน้ า ย่อมมาล้ าอยู่ ข้ างหลัง เปเสตฺวา สยํ ปจฺฉโต วิลมฺพมาโน อาคจฺฉติ.
เอง เพื่ออันก�ำหนดจับ ซึง่ บุรุษนัน้ ฯ

อ. พรานนัน้ ครัน้ เมื่อช้ างตัวเหลือ ท. จบแล้ ว ไปแล้ ว, เห็นแล้ ว โส เสสหตฺถีสุ วนฺทิตฺวา คเตสุ, มหาปุริสํ อาคจฺฉนฺตํ
ซึง่ พระมหาบุรุษ ผู้มาอยู่ ม้ วนแล้ ว ซึง่ จีวร ปล่อยไปแล้ ว ซึง่ หอก ฯ ทิสฺวา จีวรํ สํหริ ตฺวา สตฺตึ วิสฺสชฺชิ.
อ. พระมหาบุรุษ เข้ าไปตังไว้ ้ แล้ ว ซึง่ สติ มาอยู่ ก้ าวกลับแล้ ว มหาปุริโส สตึ อุปฏฺ€เปตฺวา อาคจฺฉนฺโต
ข้ างหลัง ลวงแล้ ว ซึง่ หอก ฯ ปจฺฉโต ปฏิกฺกมิตฺวา สตฺตึ วฺเจสิ.
ครัง้ นัน้ (อ. พระ มหาบุรุษ) แล่นไปแล้ ว เพื่ออันจับ ซึง่ พรานนัน้ อถ นํ “อิมินา เม หตฺถี นาสิตาติ คณฺหิตํุ
(ด้ วยความส�ำคัญ) ว่า อ. ช้ าง ท. ของเรา อันบุรุษนี ้ให้ ฉิบหายแล้ ว ปกฺขนฺทิ.
ดังนี ้ ฯ
อ.พรานนอกนี ้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ต้ นไม้ ต้ นหนึง่ ข้ างหน้ า อิตโร เอกํ รุกฺขํ ปุรโต กตฺวา นิลียิ.
แอบแล้ ว ฯ

ครังนั
้ น้ อ. พระมหาบุรุษ รวบรัดแล้ว ซึง่ พรานนัน้ กับ ด้วยต้นไม้ อถ นํ รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริ กฺขิปิตฺวา
ด้ วยงวง (คิดแล้ ว) ว่า (อ. เรา) จับแล้ ว จักฟาด บนภาคพื ้น ดังนี ้ “คเหตฺวา ภูมิยํ โปเถสฺสามีติ เตน นีหริ ตฺวา ทสฺสติ ํ
เห็นแล้ ว ซึง่ ผ้ ากาสาวะ อันอันพรานนัน้ น�ำออกแล้ ว แสดงแล้ ว กาสาวํ ทิสฺวา “สจาหํ อิมสฺมึ ทุสฺสสิ ฺสามิ,
(ยังความโกรธ) ให้ อยูท่ บั แล้ ว (ด้ วยความคิด) ว่า ถ้ าว่า อ. เรา อเนกสหสฺเสสุ เม พุทฺธปฺปจฺเจกพุทฺธขีณาสเวสุ
จักประทุษร้ าย ในบุรุษนี ้ไซร้ , ชื่อ อ. ความละอาย ในพระพุทธเจ้ า ลชฺ ชา นาม ภินฺนา ภวิสฺสตีติ อธิ วาเสตฺวา
และพระปั จเจกพุทธเจ้ าและพระขีณาสพ ท. มีพนั มิใช่หนึง่ “ตยา เม เอตฺตกา าตกา นาสิตาติ ปุจฺฉิ.
เป็ นกิริยาอันเราท�ำลายแล้ ว จักเป็ น ดังนี ้ ถามแล้ ว ว่า อ. ญาติ ท.
มีประมาณเท่านี ้ ของเรา อันเจ้ า ให้ ฉิบหายแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ

(อ. พราน กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่นาย เออ (อ. อย่างนัน)


้ ดังนี ้ ฯ “อาม สามีต.ิ
(อ. พระมหาบุรุษ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เจ้ า ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรม “กสฺมา เอวํ ภาริ ยํ กมฺมํ อกาสิ? อตฺตโน
อันหนัก อย่างนี ้ เพราะเหตุอะไร ? อ. กรรมอันหนัก อันเจ้ า อนนุจฺฉวิกํ วีตราคานํ อนุจฺฉวิกํ วตฺถํ ปริ ทหิตฺวา
ผู้เมื่อนุง่ ห่มแล้ ว ซึง่ ผ้ า อันไม่สมควร แก่ตน อันสมควร (แก่ชน ท.) เอวรูปํ ปาปกมฺมํ กโรนฺเตน ภาริ ยํ ตยา กตนฺติ.
ผู้มีราคะไปปราศแล้ วกระท�ำ ซึง่ กรรมอันลามก อันมีอย่างนี ้เป็ นรูป
กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ
ก็แล (อ. พระมหาบุรุษ) ครัน้ กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ เมื่อข่มขี่ แม้ ยิ่ง เอวฺจ ปน วตฺวา อุตฺตรึปิ นิคฺคณฺหนฺโต
กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ว่า

อ. บุคคลใด ผูม้ ี กิเลสเพียงดังน�้ำฝาดอันไม่ออกแล้ว “อนิ กฺกสาโว กาสาวํ โย วตฺถํ ปริ ทเหสฺสติ


ผูไ้ ปปราศแล้ว จากทมะและสัจจะ จักนุ่งห่ม ซึ่งผ้ากาสาวะ,
อ. บุคคลนัน้ ย่อมไม่ควร (เพือ่ อันนุ่งห่ม) ซึ่งผ้ากาสาวะ, อเปโต ทมสจฺเจน, น โส กาสาวมรหติ ,
ส่วนว่า อ. บุคคลใด เป็ นผูม้ ี กิเลสเพียงดังน�้ำฝาดอันคายแล้ว
เป็ นผูต้ งั้ มัน่ ดีแล้ว ในศีล ท. เป็ นผูเ้ ข้าถึงแล้ว ด้วย ทมะและสัจจะ โย จ วนฺตกสาวสฺส สีเลสุ สุสมาหิ โต
พึงเป็ น, อ.บุคคลนัน้ แล ย่อมควร (เพือ่ อันนุ่งห่ม)
ซึ่งผ้ากาสาวะ ดังนี ้ อุเปโต ทมสจฺเจน, ส เว กาสาวมรหตีติ

กล่าวแล้ ว ว่า อ. กรรมอันไม่ควรแล้ ว อันเจ้ ากระท�ำแล้ ว ดังนี ้ คาถํ วตฺวา “อยุตฺตนฺเต กตนฺติ วตฺวา ตํ วิสฺสชฺเชสิ.
ปล่อยแล้ ว ซึง่ พรานนัน้ (ดังนี ้) ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 73


อ. พระศาสดา ครัน้ ทรงน�ำมาแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ สตฺถา อิมํ ธมฺมเทสนํ อาหริ ตฺวา “ตทา
ทรงยังชาดก ให้ ตัง้ ลงพร้ อมแล้ วว่า อ. บุคคลผู้ยังช้ างให้ ตาย หตฺถิมารโก เทวทตฺโต อโหสิ, ตสฺส นิคฺคหโก หตฺถิ
ในกาลนัน้ เป็ นเทวทัต ได้ เป็ นแล้ ว (ในกาลนี ้), อ. ช้ างตัวประเสริ ฐ นาโค อหเมวาติ ชาตกํ สโมธาเนตฺวา “น โข ภิกฺขุ
ตัวข่มขี่ ซึง่ บุคคลผู้ยงั ช้ างให้ ตายนัน้ (ในกาลนัน) ้ เป็ นเรานัน่ เทียว อิทาเนว, ปุพฺเพปิ เทวทตฺโต อตฺตโน อนนุจฺฉวิกํ วตฺถํ
(ได้ เป็ นแล้ ว ในกาลนี ้) ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ (อ. เทวทัต ธาเรสิเยวาติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
ย่อมทรงไว้ ซึง่ ผ้า อันไม่สมควร แก่ตน) ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้แล,
อ.เทวทัต ทรงไว้ แล้ ว ซึ่งผ้ า อันไม่สมควร แก่ตนนั่นเทียว
แม้ ในกาลก่อน ดังนี ้ ได้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา ท. เหล่านี ้ ว่า
อ. บุคคลใด ผูม้ ี กิเลสเพียงดังน�้ำฝาดอันไม่ออกแล้ว “อนิ กฺกสาโว กาสาวํ โย วตฺถํ ปริ ทเหสฺสติ
ผูไ้ ปปราศแล้ว จากทมะและสัจจะ จักนุ่งห่ม ซึ่งผ้ากาสาวะ, อเปโต ทมสจฺเจน, น โส กาสาวมรหติ ,
อ. บุคคลนัน้ ย่อมไม่ควร (เพือ่ อันนุ่งห่ม) ซึ่งผ้ากาสาวะ, โย จ วนฺตกสาวสฺส สีเลสุ สุสมาหิ โต
ส่วนว่า อ. บุคคลใด เป็ นผูม้ ี กิเลสเพียงดังน�้ำฝาดอันคายแล้ว อุเปโต ทมสจฺเจน, ส เว กาสาวมรหตีติ.
เป็ นผูต้ งั้ มัน่ ดีแล้ว ในศีล ท. เป็ นผูเ้ ข้าถึงแล้ว ด้วยทมะและสัจจะ
พึงเป็ น, อ.บุคคลนัน้ แล ย่อมควร (เพือ่ อันนุ่งห่ม)
ซึ่งผ้ากาสาวะ ดังนี ้ ฯ
อ. เนื ้อความนี ้ (อันบัณฑิต) พึงแสดง แม้ ด้วยฉัททันตชาดก ฉทฺทนฺตชาตเกนาปิ อยมตฺโถ ทีเปตพฺโพติ .
ดังนี ้ แล ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ชื่อว่าผู้เป็ นไปกับด้ วยกิเลสเพียงดังน� ้ำฝาด ตตฺถ “อนิกกฺ สาโวติ: กามราคาทีหิ กสาเวหิ
เพราะกิเลสเพียงดังน� ้ำฝาด ท. มีกามราคะเป็ นต้ น (ดังนี ้) ในบท ท. สกสาโว.
เหล่านันหนา ้ (แห่งบท) ว่า อนิกกฺ สาโว ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า ปริทเหสฺสตีต:ิ นิวาสนปารุปนตฺถรณวเสน
จักใช้สอย ด้วยอ�ำนาจแห่งการนุง่ และการห่มและการลาด (ดังนี ้ แห่งบท) ปริ ภ
ุ ฺชิสฺสติ. “ปริทหิสฺสตีตปิ ิ ปาโ€.
ว่า ปริทเหสฺสติ ดังนี ้ ฯ อ.พระบาลี ว่า ปริทหิสฺสติ ดังนี ้บ้ าง ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ผู้ไปปราศแล้ ว, อ.อธิบาย ว่า ผู้พรากแล้ ว ดังนี ้ อเปโต ทมสจฺเจนาติ: อินฺทฺริยทมเนน เจว
จากการฝึ กซึง่ อินทรี ย์ด้วยนัน่ เทียว (จากวจีสจั จะ) อันมีในฝ่ าย ปรมตฺถสจฺจปกฺขิเกน จ วจีสจฺเจน อเปโต.
แห่งปรมัตถสัจจะด้ วย (ดังนี ้ แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า “วิยตุ ฺโตติ อตฺโถ.
อเปโต ทมสจฺเจน ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า อ.บุคคลนัน้ คือว่า น โสติ: โส เอวรูโป ปุคฺคโล กาสาวํ ปริ ทหิตํุ
ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป ย่อมไม่ควร เพื่ออันนุง่ ห่ม ซึง่ ผ้ ากาสาวะ นารหติ.
(ดังนี ้ แห่งบท) ว่า น โส ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
(อ.อรรถ) ว่า เป็ นผู้มีกิเลสเพียงดังน� ้ำฝาดอันคายแล้ ว คือว่า วนฺตกสาวสฺสาติ: จตูหิ มคฺเคหิ วนฺตกสาโว
เป็ นผู้มีกิเลสเพียงดังน� ้ำฝาดอันทิ ้งแล้ ว คือว่า เป็ นผู้มีกิเลสเพียง ฉฑฺฑิตกสาโว ปหีนกสาโว อสฺส.
ดังน� ้ำฝาดอันละได้ แล้ ว ด้ วยมรรค ท. ๔ พึงเป็ น (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า
วนฺตกสาวสฺส ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า ในปาริ สทุ ธิศีล ท. ๔ สีเลสูต:ิ จตูสุ ปาริ สทุ ฺธิสีเลสุ.
(ดังนี ้ แห่งบท) ว่า สีเลสุ ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า เป็ นผู้ตงมั ั ้ น่ แล้ ว สุสมาหิโตติ: สุฏฺ€ุ สมาหิโต สุฏฺ€ุ €ิโต.
ด้ วยดี คือว่า เป็ นผู้ด�ำรงอยูแ่ ล้ ว ด้ วยดี (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า อุเปโตติ: อินฺทฺริยทมเนน เจว วุตฺตปฺปกาเรน
สุสมาหิโต ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า เป็ นผู้เข้ าถึงแล้ ว ด้ วยการฝึ ก จ วจีสจฺเจน อุเปโต.
ซึง่ อินทรียด์ ้วยนัน่ เทียว ด้วยวจีสจั จะ มีประการอันข้าพเจ้า กล่าวแล้ว ส เวติ: โส เอวรูโป ปุคฺคโล ตํ กาสาววตฺถํ
ด้วย (ดังนี ้ แห่งบท) ว่า อุเปโต ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า อ.บุคคลนัน้ อรหตีต.ิ
คือว่า ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป ย่อมควร (เพื่ออันนุง่ ห่ม) ซึง่ ผ้ ากาสาวะ
นัน้ ดังนี ้ (แห่งบท) ว่า ส เว ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ. ภิกษุ ผู้อยูใ่ นทิศโดยปกติ คาถาปริ โยสาเน โส ทิสาวาสิโก ภิกฺขุ โสตาปนฺโน
นัน้ เป็ นพระโสดาบัน เกิดแล้ ว ฯ อ. ชน ท. มาก แม้ เหล่าอื่น ชาโต. อฺเปิ พหู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ ปาปุณึส.ุ
บรรลุแล้ ว (ซึง่ อริ ยผล ท.) มีโสดาปั ตติผลเป็ นต้ น ฯ อ. เทศนา เทสนา มหาชนสฺส สาตฺถิกา อโหสีต.ิ
เป็ นเทศนา เป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ ได้ มีแล้ ว แก่มหาชน
ดังนี ้แล ฯ

อ.เรื่ องแห่ งพระเทวทัต (จบแล้ ว) ฯ เทวทตฺตวตฺถุ.

74 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


๘.อ. เรื่ องแห่ งปริพาชกชื่อว่ าสญชัย ๘. สญฺชยวตฺถุ. (๘)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมือ่ ประทับอยู่ ในพระเวฬุวนั ทรงปรารภ “อสาเร สารมติโนติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
ซึง่ การไม่มาแห่งปริ พาชกชื่อว่าสญชัย อันอันพระอัครสาวก ท. เวฬุวเน วิหรนฺโต ทฺวีหิ อคฺคสาวเกหิ นิเวทิตํ
สอง กราบทูลให้ ทรงทราบแล้ ว ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า สฺชยสฺส อนาคมนํ อารพฺภ กเถสิ.
อสาเร สารมติโน ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

อ.วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวโดยล�ำดับ ในเรื่ องนัน้ นี ้ : ตตฺรายํ อนุปพุ ฺพีกถา: อมฺหากํ หิ สตฺถา อิโต
ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ. พระศาสดา ของเรา ท. เป็ นกุมารของ กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ มตฺถเก
พราหมณ์ ชือ่ ว่าสุเมธ ในเมืองชือ่ ว่าอมรวดี ในทีส่ ดุ แห่งอสงไขย ท. อมรวตีนคเร สุเมโธ นาม พฺราหฺมณกุมาโร หุตฺวา
๔ อันยิง่ ด้วยแสนแห่งกัปป์ แต่ภทั ทกัปป์นี ้ เป็ น ถึงแล้ว ซึง่ ความส�ำเร็จ สพฺพสิปปฺ านํ นิปผฺ ตฺตึ ปตฺโต มาตาปิ ตูนํ อจฺจเยน
แห่งศิลปะทังปวง ้ ท. บริ จาคแล้ ว ซึง่ ทรัพย์ อันบุคคลพึงนับพร้ อม อเนกโกฏิสงฺขฺยํ ธนํ ปริ จฺจชิตฺวา อิสปิ พฺพชฺชํ
ด้ วยโกฏิมิใช่หนึง่ โดยอันล่วงไป แห่งมารดาและบิดา ท. บวชแล้ ว ปพฺพชิตฺวา หิมวนฺเต วสนฺโต ฌานาภิฺาโย
บวชโดยความเป็ นฤาษี อยูอ่ ยู่ ในป่ าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญา นิพฺพตฺเตตฺวา อากาเสน คจฺฉนฺโต ทีปงฺกรทสพลสฺส
ท. ให้ บงั เกิดแล้ ว ไปอยู่ โดยอากาศ เห็นแล้ ว ซึง่ หนทาง สุทสฺสนวิหารโต อมรวตีนครํ ปวิสนตฺถาย มคฺคํ
อันอันบุคคลช�ำระอยู่ เพื่อประโยชน์แก่การเสด็จเข้ าไป สูเ่ มือง โสธิยมานํ ทิสฺวา สยํปิ เอกํ ปเทสํ คเหตฺวา, ตสฺมึ
ชื่อว่าอมรวดี จากวิหารชื่อว่าสุทศั น์ แห่งพระทศพลพระนามว่า อนิฏฺ€ิเตเยว อาคตสฺส สตฺถโุ น อตฺตานํ เสตุํ กตฺวา
ทีปังกร ถือเอาแล้ ว ซึง่ ประเทศ แห่งหนึง่ แม้ เอง, ครัน้ เมื่อ อชินิจมฺมํ กลเล อตฺถริ ตฺวา “สตฺถา สสาวกสงฺโฆ
ประเทศนัน้ ไม่สำ� เร็จแล้วนัน่ เทียว กระท�ำแล้ว ซึง่ ตน ให้เป็ นสะพาน กลลํ อนกฺกมิตฺวา มํ อกฺกมนฺโต คจฺฉตูติ นิปนฺโน,
เพือ่ พระศาสดา ผู้เสด็จมาแล้ว ลาดแล้ว ซึง่ แผ่นหนังของเสือเหลือง สตฺถารา ทิสฺวาว “พุทฺธงฺกโุ ร เอส อนาคเต กปฺปสต-
บนเปื อกตม นอนแล้ ว ด้ วยความประสงค์ ว่า สหสฺสาธิกานํ จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ ปริ โยสาเน
อ.พระศาสดาผู้เป็ นไปกับด้ วยหมูแ่ ห่งพระสาวก ไม่ทรงเหยียบแล้ ว โคตโม นาม พุทฺโธ ภวิสฺสตีติ พฺยากโต,
ซึง่ เปื อกตม ขอจงทรงเหยียบอยู่ ซึง่ เรา เสด็จไป ดังนี ้,
ผู้อนั พระศาสดา ทรงเห็นแล้ วเทียว ทรงพยากรณ์แล้ ว ว่า
อ.บุรุษนัน่ ผู้เป็ นหน่อเนื ้อของพระพุทธเจ้ า เป็ นพระพุทธเจ้ า
พระนามว่าโคดม จักเป็ น ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบ แห่งอสงไขย ท.
สี่ อันยิ่งด้ วยแสนแห่งกัปป์ ในกาลอันไม่มาแล้ ว ดังนี ้,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 75


ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก แห่งพระศาสดา พระองค์นนั ้ ตสฺส สตฺถโุ น อปรภาเค “โกณฺฑฺโ สุมงฺคโล
ผู้มีพยากรณ์อนั ได้ แล้ ว ในส�ำนัก ของพระพุทธเจ้ า ท. ๒๓ พระองค์ สุมโน เรวโต โสภิโต อโนมทสฺสี ปทุโม นารโท
แม้เหล่านี ้ ผู้เสด็จอุบตั ยิ งั โลกให้สว่างแล้ว คือ อ. พระโกณฑัญญะด้วย ปทุมตุ ฺตโร สุเมโธ สุชาโต ปิ ยทสฺสี อตฺถทสฺสี
อ. พระสุมงั คละด้ วย อ. พระสุมนะด้ วย อ. พระเรวตะด้ วย ธมฺมทสฺสี สิทฺธตฺโถ ติสฺโส ปุสฺโส วิปสฺสี สิขี
อ. พระโสภิตะด้ วย อ. พระอโนมทัสสีด้วย อ. พระปทุมะด้ วย เวสฺสภู กกุสนฺโธ โกนาคมโน กสฺสโป จาติ โลกํ
อ. พระนารทะด้ วย อ. พระปทุมตุ ตระด้ วย อ. พระสุเมธะด้ วย โอภาเสตฺวา อุปปฺ นฺนานํ อิเมสํปิ เตวีสติยา พุทฺธานํ
อ. พระสุชาตะด้ วย อ. พระปิ ยทัสสีด้วย อ. พระอัตถทัสสีด้วย สนฺตเิ ก ลทฺธพฺยากรโณ “ทส ปารมิโย ทส อุปปารมิโย
อ. พระธรรมทัสสีด้วย อ. พระสิทธัตถะด้ วย อ. พระติสสะด้ วย ทส ปรมตฺถปารมิโยติ สมตึสปารมิโย ปูเรตฺวา
อ.พระปุสสะด้ วย อ.พระวิปัสสีด้วย อ.พระสิขีด้วย เวสฺสนฺตรตฺตภาเว €ิโต สตฺตกฺขตฺตํุ ป€วีกมฺปนานิ
อ. พระเวสสภูด้วย อ. พระกกุสนั ธะด้ วย อ. พระโกนาคมนะด้ วย มหาทานานิ ทตฺวา ปุตฺตทารํ ปริ จฺจชิตฺวา
อ. พระกัสสปะด้ วย ทรงยังบารมี ๓๐ อันเสมอ ท. คือ อ. บารมี ท. อายุปริ โยสาเน ตุสติ ปุเร นิพฺพตฺตติ ฺวา ตตฺถ
๑๐ อ. อุปบารมี ท. ๑๐ อ. ปรมัตถบารมี ท. ๑๐ ให้ เต็มแล้ ว ยาวตายุกํ €ตฺวา, ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตาหิ
ด�ำรงอยูแ่ ล้ ว ในอัตภาพแห่งพระเวสสันดร ทรงถวายแล้ ว ซึง่ ทาน สนฺนิปติตฺวา
อันใหญ่ ท. อันเป็ นเหตุหวัน่ ไหวแห่งแผ่นดิน เจ็ดครัง้ ทรงบริจาคแล้ ว
ซึง่ พระโอรสและพระชายา ทรงบังเกิดแล้ ว ในบุรีชื่อว่าดุสติ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งอายุ ทรงด�ำรงอยูแ่ ล้ ว สิ ้นกาลก�ำหนด
เพียงใดแห่งอายุ ในบุรีชื่อว่าดุสติ นัน,้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า

ข้าแต่พระมหาวีระ อ. กาลนี ้ เป็ นกาล ของพระองค์ “กาโลยนฺเต มหาวีร, อุปปฺ ชฺช มาตุกจุ ฺฉิยํ,
(ย่อมเป็ น), (อ. พระองค์) เสด็จอุบตั ิ แล้ว ในพระครรภ์
ของพระมารดา (ทรงยังโลก) อันเป็ นไปกับด้วยเทวโลก สเทวกํ ตารยนฺโต พุชฺฌสฺสุ อมตํ ปทนฺติ
ให้ขา้ มอยู่ ขอจงตรัสรู้ ซึ่งความไม่ประมาทเป็ นเครื ่องถึง
ซึ่งอมตะ ดังนี ้

อันเทวดาในจักรวาลหมื่นหนึง่ ท. ประชุมกันแล้ ว กราบทูลแล้ ว, วุตฺเต, ปฺจ มหาวิโลกนานิ วิโลเกตฺวา ตโต จุโต


ทรงเลือกแล้ ว ซึง่ ฐานะอันบุคคลพึงเลือกใหญ่ ท. ห้ า ทรงเคลือ่ นแล้ ว สกฺยราชกุเล ปฏิสนฺธึ คเหตฺวา ตตฺถ มหาสมฺปตฺตยิ า
จากบุรีชื่อว่าดุสติ นัน้ ทรงถือเอาแล้ ว ซึง่ ปฏิสนธิ ในราชตระกูล ปริ จาริ ยมาโน อนุกฺกเมน ภทฺรโยพฺพนํ ปตฺวา
แห่งเจ้ าศากยะ ผู้ (อันพระญาติ ท.) ทรงบ�ำเรออยู่ ด้ วยสมบัตใิ หญ่ ติณฺณํ อุตนู ํ อนุจฺฉวิเกสุ ตีสุ ปาสาเทสุ เทวโลกสิรึ
ในราชตระกูลนัน้ ทรงถึงแล้ ว ซึง่ ความเป็ นแห่งหนุม่ อันเจริ ญ วิย รชฺชสิรึ อนุภวนฺโต อุยฺยานกีฬาย คมนสมเย
ตามล�ำดับ ทรงเสวยอยู่ ซึง่ สิริในความเป็ นแห่งพระราชา อนุกฺกเมน ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาเต ตโย เทวทูเต
อันราวกะว่าสิริในเทวโลก ในปราสาท ท. ๓ อันสมควร แก่ฤดู ท. ๓ ทิสฺวา
ทรงเห็นแล้ ว ซึง่ เทวทูต ท. ๓ อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ วว่าชนผู้แก่แล้ ว
และชนผู้เจ็บและชนผู้ตายแล้ ว ตามล�ำดับ ในสมัยเป็ นที่เสด็จไป
เพื่อทรงกรี ฑาในพระอุทยาน

76 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ผู้มีความสังเวชอันเกิดพร้ อมแล้ ว เสด็จกลับแล้ ว ทรงเห็นแล้ ว สฺชาตสํเวโค นิวตฺตติ ฺวา จตุตฺถวาเร ปพฺพชิตํ
ซึง่ บรรพชิต ในวาระที่ ๔ ทรงยังความพอใจ ในการบวช ว่า ทิสวฺ า “สาธุ ปพฺพชฺชาติ ปพฺพชฺชาย รุจึ อุปปฺ าเทตฺวา
อ. การบวช เป็ นคุณชาติยงั ประโยชน์ให้ ส�ำเร็จ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ อุยฺยานํ คนฺตฺวา ตตฺถ ทิวสํ เขเปตฺวา มงฺคล-
ให้ เกิดขึ ้นแล้ ว เสด็จไปแล้ ว สูพ่ ระอุทยาน ทรงยังวันให้ สิ ้นไปแล้ ว โปกฺขรณีตีเร นิสนิ ฺโน กปฺปกเวสํ คเหตฺวา อาคเตน
ในพระอุทยานนัน้ ประทับนัง่ แล้ว ทีฝ่ ั่งแห่งสระโบกขรณีอนั เป็ นมงคล วิสฺสกุ มฺมนุ า เทวปุตฺเตน อลงฺกตปฏิยตฺโต
ผู้ อันเทพบุตร ชื่อว่าวิษณุกรรม ผู้ถือเอาแล้ ว ซึง่ เพศแห่งช่างกัลบก ราหุลกุมารสฺส ชาตสาสนํ สุตฺวา ปุตฺตสิเนหสฺส
มาแล้ว กระท�ำให้พอแล้วและตกแต่งแล้ว ทรงสดับแล้ว ซึง่ ข่าวสาส์น พลวภาวํ ตฺวา “ยาว อิทํ พนฺธนํ น พนฺธติ,
แห่งพระกุมารพระนามว่าราหุลประสูตแิ ล้ ว ทรงทราบแล้ ว ตาวเทว ฉินฺทิสสฺ ามีติ จินฺเตตฺวา สายํ นครํ ปวิสนฺโต
ซึง่ ความที่แห่งความรักในพระโอรสเป็ นสภาพมีก�ำลัง ทรงด�ำริ แล้ ว
ว่า อ. วัตถุเป็ นเครื่ องผูกนี ้ จะไม่ผกู เพียงใด, (อ. เรา) จักตัด
(ซึง่ วัตถุเป็ นเครื่ องผูกนี ้) เพียงนันนั
้ น่ เทียว ดังนี ้ เสด็จเข้ าไปอยู่
สูเ่ มือง ในเวลาเย็น ทรงสดับแล้ ว ซึง่ คาถานี ้ อันอันพระธิดา
ของพระเจ้ าอา พระนามว่ากิสาโคตมี ตรัสแล้ ว ว่า

(อ. พระสิ ทธัตถะนี ้ ผูเ้ ช่นนี ้ เป็ นพระโอรส ของพระมารดาใด “นิ พพฺ ตุ า นูน สา มาตา, นิ พพฺ โุ ต นูน โส ปิ ตา,
ย่อมเป็ น) อ.พระมารดานัน้ ทรงดับแล้ว แน่, (อ. พระสิ ทธัตถะ
นี ้ ผูเ้ ช่นนี ้ เป็ นพระโอรส ของพระบิ ดาใด ย่อมเป็ น) นิ พพฺ ตุ า นูน สา นารี , ยสฺสายํ อีทิโส ปตีติ
อ. พระบิ ดานัน้ ทรงดับแล้ว แน่, อ. พระสิ ทธัตถะนี ้ ผูเ้ ช่นนี ้
เป็ นพระสวามี ของพระนางใด (ย่อมเป็ น) อ. พระนางนัน้
ทรงดับแล้ว แน่ ดังนี ้

(ทรงด�ำริ แล้ ว) ว่า อ. เรา เป็ นผู้อนั พระนางกิสาโคตมีนี ้ กิสาโคตมิยา นาม ปิ ตุจฺฉาธีตาย ภาสิตํ อิมํ
ให้ ฟังแล้ ว ซึง่ บทว่าทุกข์ดบั แล้ ว (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ทรงเปลื ้องแล้ ว คาถํ สุตฺวา “อหํ อิมาย นิพฺพตุ ปทํ สาวิโตติ
ซึง่ แก้ วมุกดาหาร จากพระศอ ทรงส่งไปแล้ ว แก่พระนางกิสาโคตมี คีวโต มุตฺตาหารํ โอมุฺจิตฺวา ตสฺสา เปเสตฺวา
นัน้ เสด็จเข้ าไปแล้ ว สูภ่ พ ของพระองค์ ประทับนัง่ แล้ ว บนที่เป็ นที่- อตฺตโน ภวนํ ปวิสติ ฺวา สิริสยเน นิสนิ ฺโน,
บรรทมอันเป็ นสิริ, ทรงเห็นแล้ว ซึง่ ประการอันแปลก ของหญิงนักฟ้อน นิทฺทปู คตานํ นาฏกิตฺถีนํ วิปปฺ การํ ทิสฺวา
ท. ผู้เข้ าถึงแล้ วซึง่ ความหลับ ผู้มีพระทัยอันเบื่อหน่ายแล้ ว นิพฺพินฺนหทโย ฉนฺนํ อุฏฺ€าเปตฺวา กนฺถกํ
ทรงยังนายฉันนะ ให้ลกุ ขึ ้นแล้ว ทรงให้นำ� มาแล้ว ซึง่ ม้าชือ่ ว่ากันถกะ อาหราเปตฺวา กนฺถกํ อารุยฺห ฉนฺนสหาโย
เสด็จขึ ้นแล้ ว สูม่ ้ าชื่อว่ากันถกะ ผู้มีนายฉันนะเป็ นสหาย ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตาหิ ปริ วโุ ต มหาภินิกฺขมนํ
ผู้อนั เทวดาในจักรวาฬหมืน่ หนึง่ ท. แวดล้ อมแล้ ว เสด็จออกไปแล้ ว นิกฺขมิตฺวา อโนมานทีตีเร ปพฺพชิตฺวา อนุกฺกเมน
เสด็จออกเพือ่ คุณอันยิง่ ใหญ่ ผนวชแล้ ว ทีฝ่ ั่ งแห่งแม่นำ� ช้ อื่ ว่าอโนมา ราชคหํ คนฺตฺวา ตตฺถ ปิ ณฺฑาย จริ ตฺวา
เสด็จไปแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าราชคฤห์ โดยล�ำดับ เสด็จเที่ยวไปแล้ ว ปณฺฑวปพฺพตปพฺภาเร นิสนิ ฺโน มคธรฺา รชฺเชน
ในเมืองชื่อว่าราชคฤห์นนั ้ เพื่อก้ อนข้ าว ประทับนัง่ แล้ ว ที่เงื ้อม นิมนฺตยิ มาโน ตํ ปฏิกฺขิปิตฺวา สพฺพฺุตํ ปตฺวา
แห่งภูเขาชื่อว่าปั ณฑวะ ผู้อนั พระราชาผู้เป็ นใหญ่ในแว่นแคว้ น อตฺตโน วิชิตํ อาคมนตฺถาย เตน คหิตปฏิฺโ
ชือ่ ว่ามคธทรงเชื ้อเชิญอยู่ ด้วยความเป็ นแห่งพระราชา ทรงห้ามแล้ว อาฬารฺจ อุทฺทกฺจ อุปสงฺกมิตฺวา เตสํ สนฺตเิ ก
ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชานัน้ ผู้มีปฏิญญาอันพระราชานัน้ อธิคตวิเสสํ อนลงฺกริ ตฺวา ฉพฺพสฺสานิ มหาปธานํ
ทรงรับแล้ ว เพื่อประโยชน์แก่การ บรรลุแล้ ว ซึง่ ความเป็ น- ปทหิตฺวา วิสาขปุณฺณมีทิวเส ปาโตว สุชาตาย
แห่งพระสัพพัญญู เสด็จมา สูแ่ ว่นแคว้ น ของพระองค์ ทินฺนํ ปายาสํ ปริ ภ ุ ฺชิตฺวา
เสด็จเข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ ดาบสชื่อว่าอาฬาระด้ วย ซึง่ ดาบส
ชื่อว่าอุทกะด้ วย ไม่ทรงกระท�ำให้ พอแล้ ว ซึง่ คุณวิเศษอันพระองค์
ทรงถึงทับแล้ ว ในส�ำนัก ของดาบส ท. เหล่านัน้ ทรงเริ่ มตังแล้ ้ ว
ซึง่ ความเพียรใหญ่ สิ ้นปี หก ท. เสวยแล้ ว ซึง่ ข้ าวปายาส
อันอันนางสุชาดาถวายแล้ ว ในเวลาเช้ าเทียว ในวันคือดิถี
มีพระจันทร์ อนั เต็มแล้ วด้ วยวิสาขฤกษ์

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 77


ทรงลอยแล้ว ซึง่ ถาดอันเป็ นวิการแห่งทอง ในแม่นำ� ้ ชือ่ ว่าเนรัญชรา เนรฺชราย นทิยา สุวณฺณปาตึ ปวาเหตฺวา เนรฺชราย
ทรงยังส่วนแห่งวัน ให้ น้อมไปล่วงวิเศษแล้ ว ด้ วยสมาบัติตา่ ง ๆ ท. นทิยา ตีเร มหาวนสณฺเฑ นานาสมาปตฺตหี ิ ทิวสภาคํ
ในชัฏแห่งป่ าใหญ่ ที่ฝั่ง แห่งแม่น�ำ้ ชื่อว่าเนรัญชรา ทรงรับแล้ ว วีตนิ าเมตฺวา สายณฺหสมเย โสตฺถิเยน ทินฺนํ ติณํ
ซึง่ หญ้ า อันอันพราหมณ์ชื่อว่าโสตถิยะถวายแล้ ว ในสมัยเป็ นที่ คเหตฺวา กาเฬน นาคราเชน อภิตถฺ ตุ คุโณ โพธิมณฺฑํ
สิ ้นไปแห่งวัน ผู้มีพระคุณอันอันนาคผู้ราชาชื่อว่ากาฬะชมเชยแล้ ว อารุยฺห ติณานิ สนฺถริ ตฺวา “น ตาวิมํ ปลฺลงฺกํ
เสด็จขึ ้นแล้ว สูค่ วงแห่งไม้โพธิ์ ทรงลาดแล้ว ซึง่ หญ้ า ท. ทรงกระท�ำแล้ว ภินฺทิสฺสามิ, ยาว เม อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ
ซึง่ การปฏิญญา ว่า อ. จิต ของเรา จักไม่พ้นวิเศษ จากอาสวะ ท. น วิมจุ ฺจิสฺสตีติ ปฏิฺํ กตฺวา ปุรตฺถาภิมโุ ข
เพราะอันไม่เข้ าไปยึดมัน่ เพียงใด (อ. เรา) จักไม่ท�ำลาย ซึง่ บัลลังก์ นิสีทิตฺวา, สุริเย อนตฺถงฺคมิเตเยว, มารพลํ วิธมิตฺวา
ป€มยาเม ปุพฺเพนิวาสาณํ มชฺฌิมยาเม
นี ้ เพียงนัน้ ดังนี ้ ผู้มีพระพักตร์ เฉพาะต่อทิศอันตังอยู ้ ใ่ นเบื ้องหน้ า จุตปู ปาตาณํ ปตฺวา ปจฺฉมิ ยามาวสาเน ปจฺจยากาเร
ประทับนัง่ แล้ ว, ครัน้ เมื่อพระอาทิตย์ เป็ นสภาพถึงแล้ วซึง่ อันตังอยู ้ ่ าณํ โอตาเรตฺวา อรุณคุ คฺ มเน ทสพลจตุเวสารชฺชาทิ-
ไม่ได้ นนั่ เทียว (มีอยู)่ , ทรงก�ำจัดแล้ ว ซึง่ มารและพลของมาร สพฺพคุณปฏิมณฺฑิตํ สพฺพฺุตาณํ ปฏิวิชฺฌิตฺวา
ทรงบรรลุแล้ว ซึง่ ปุพเพนิวาสญาณ ในปฐมยาม ซึง่ จุตปู ปาตญาณ สตฺตสตฺตาหํ โพธิมณฺเฑ วีตินาเมตฺวา อฏฺ€เม
ในมัชฌิมยาม ทรงยังญาณ ให้ ข้ามลงแล้ ว ในปั จจยาการ สตฺตาเห อชปาลนิโคฺรธมูเล นิสนิ ฺโน ธมฺมคมฺภีรตา-
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงแห่งปั จฉิมยาม ทรงรู้ตลอดแล้ ว ปจฺจเวกฺขเณน อปฺโปสฺสกุ กฺ ตํ อาปชฺชมาโน ทสสหสฺส-
ซึง่ พระสัพพัญญุตญาณ อันประดับเฉพาะแล้ วด้ วยคุณทังปวง ้ มหาพฺรหฺมปริ วาเรน สหมฺปติพฺรหฺมนุ า อายาจิต-
มีทศพลญาณและเวสารัชชญาน ๔ เป็ นต้ น ในกาลเป็ นที่ขึ ้นไป ธมฺมเทสโน พุทฺธจกฺขนุ า โลกํ โอโลเกตฺวา พฺรหฺมโุ น
แห่งอรุณ ทรงยังสัปดาห์เจ็ด ให้ น้อมไปล่วงวิเศษแล้ ว ที่ควง อชฺเฌสนํ อธิวาเสตฺวา “กสฺส นุ โข อหํ ป€มํ ธมฺมํ
เทเสยฺยนฺติ โอโลเกนฺโต อาฬารุทฺทกานํ กาลกตภาวํ
แห่งไม้ โพธิ์ ประทับนัง่ แล้ ว ที่โคนแห่งต้ นอชปาลนิโครธ ตฺวา ปฺจวคฺคยิ านํ ภิกขฺ นู ํ พหุปการตํ อนุสสฺ ริตวฺ า
ในสัปดาห์ ที่แปด ทรงถึงทัว่ อยู่ ซึง่ ความเป็ นแห่งบุคคลผู้มี อุฏฺ€ายาสนา กาสีปรุ ํ คจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค
ความขวนขวายน้อย ด้วยการพิจารณาซึง่ ความทีแ่ ห่งธรรมเป็ นสภาพลึกซึ ้ง อุปเกน อาชีวเกน สทฺธึ มนฺเตตฺวา อาสาฬฺหปุณณ ฺ มี-
ผู้มีการแสดงซึง่ ธรรม อันพรหมชื่อว่าสหัมบดีผ้ มู ีท้าวมหาพรหม ทิวเส อิสปิ ตเน มิคทาเย ปฺจวคฺคยิ านํ ภิกฺขนู ํ
หมื่นหนึง่ เป็ นบริ วาร ทูลวิงวอนแล้ ว ทรงตรวจดูแล้ ว ซึง่ โลก วสนฏฺ€านํ ปตฺวา เต อนนุจฺฉวิเกน สมุทาจาเรน
ด้ วยจักษุของพระพุทธเจ้ า ทรงยังค�ำเป็ นเครื่ องเชื ้อเชิญ ของพรหม สมุทาจรนฺเต สฺาเปตฺวา อฺาโกณฺฑฺปฺปมุเข
ให้ อยูท่ บั แล้ ว ทรงตรวจดูอยู่ ว่า อ. เรา พึงแสดง ซึง่ ธรรม อฏฺ€ารสพฺรหฺมโกฏิโย อมตปานํ ปาเยนฺโต
ครัง้ ที่หนึง่ แก่ใครหนอแล ดังนี ้ ทรงทราบแล้ ว ซึง่ ความที่
แห่งดาบสชื่อว่าอาฬาระและดาบสชื่อว่าอุทกะ ท. เป็ นผู้มีกาละ
อันกระท�ำแล้ ว ทรงอนุสรณ์ถงึ แล้ ว ซึง่ ความที่แห่งภิกษุ ท.
ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวก ๕ เป็ นผู้มีอปุ การะมาก เสด็จลุกขึ ้นแล้ ว
จากอาสนะ เสด็จไปอยู่ สูเ่ มืองชื่อว่ากาสี ทรงสนทนาแล้ ว
กับ ด้ วยอาชีวก ชื่อว่าอุปกะ ในระหว่างแห่งหนทาง เสด็จถึงแล้ ว
ซึง่ ที่เป็ นที่อยู่ ของภิกษุ ท. ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวก ๕ ในป่ าเป็ นที่ให้
ซึง่ อภัยแก่เนื ้อ ชื่อว่าอิสปิ ตนะ ในวันคือดิถีมีพระจันทร์
อัน เต็ ม แล้ ว ด้ วยอาสาฬหฤกษ์ ทรงยั ง ภิ ก ษุ ท. เหล่ า นั น้
ผู้ ประพฤติ ร้ องเรี ย กอยู่ ด้ วยความประพฤติ ร้ องเรี ย ก
อันไม่สมควร ให้ ร้ ูพร้ อมแล้ ว ทรงยังโกฏิแห่งพรหม ๑๘ ท.
มีพระอัญญาโกณฑัญญะ เป็ นประมุข ให้ ดื่มอยู่ ซึง่ น� ้ำอันบุคคล
พึงดื่มชื่อว่าอมฤต

78 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ทรงยังจักรคือธรรม ให้ เป็ นไปทัว่ แล้ ว ผู้มีจกั รคือธรรมอันประเสริ ฐ ธมฺมจกฺกํ ปวตฺเตตฺวา ปวตฺตติ ปวรธมฺมจกฺโก
อันทรงให้ เป็ นไปทัว่ แล้ ว ทรงยังภิกษุ ท. เหล่านัน้ แม้ ทงปวง ั้ ปฺจมิยํ ปกฺขสฺส สพฺเพปิ เต ภิกฺขู อรหตฺเต
ให้ ตงอยู
ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในพระอรหัต ในดิถีที่ ๕ แห่งปั กษ์ ทรงเห็นแล้ ว ปติฏฺ€าเปตฺวา ตํทิวสเมว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส
ซึง่ ความถึงพร้ อมแห่งอุปนิสยั แห่งกุลบุตร ชื่อว่ายสะ ในวันนัน้ อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา ตํ รตฺตภิ าเค นิพฺพินฺทิตฺวา
นัน่ เทียว ทรงร้ องเรี ยกแล้ ว ซึง่ ยสะนัน้ ผู้เบื่อหน่ายแล้ ว ละแล้ ว เคหํ ปหาย นิกฺขมนฺตํ “เอหิ ยสาติ ปกฺโกสิตฺวา
ซึง่ เรือน ออกไปอยู่ ในส่วนแห่งราตรี (ด้วยพระด�ำรัส) ว่า ดูกอ่ นยสะ ตสฺมเึ ยว รตฺตภิ าเค โสตาปตฺตผิ ลํ ปาเปตฺวา
ปุนทิวเส อรหตฺตํ ปาเปตฺวา อปเรปิ ตสฺส สหายเก
(อ. ท่าน) จงมา ดังนี ้ ทรงยังยสะนัน้ ให้ บรรลุแล้ ว ซึง่ โสดาปั ตติผล จตุปฺาสชเน เอหิภิกฺขปุ พฺพชฺชาย ปพฺพาเชตฺวา
ในส่วนแห่งราตรี นันนั ้ น่ เทียว ให้บรรลุแล้ว ซึง่ พระอรหัต ในวันรุ่งขึ ้น อรหตฺตํ ปาเปสิ.
ทรงยังชน ๕๔ ท. ผู้เป็ นสหาย ของพระยสะนัน้ แม้ เหล่าอื่นอีก
ให้ บวชแล้ ว ด้ วยเอหิภิกขุบรรพชา ให้ บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต ฯ
ครัน้ เมื่อพระอรหันต์ ท. ๖๑ เกิดแล้ ว ในโลก อย่างนี ้, เอวํ โลเก เอกสฏฺ€ิยา อรหนฺเตสุ ชาเตสุ,
(อ. พระศาสดา) ผู้มีกาลฝนอันประทับอยูแ่ ล้ ว ทรงปวารณาแล้ ว วุตฺถวสฺโส ปวาเรตฺวา “จรถ ภิกฺขเว จาริ กนฺติ
ทรงส่งไปแล้ วซึง่ ภิกษุ ๖๐ ท. ในทิศ ท. (ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า สฏฺ€ิภิกฺขู ทิสาสุ เปเสตฺวา สยํ อุรุเวลํ
ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. เธอ ท.) จงเที่ยวไป สูท่ ี่จาริ ก ดังนี ้เป็ นต้ น คจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค กปฺปาสิกวนสณฺเฑ ตึสชเน
เสด็จไปอยู่ สูป่ ระเทศชื่อว่าอุรุเวลา เอง ทรงแนะน�ำแล้ ว ซึง่ กุมาร ภทฺทวคฺคิยกุมาเร วิเนสิ.
ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวกอันเจริ ญ ท. ผู้เป็ นชน ๓๐ ในชัฏแห่งป่ าฝ้าย
ในระหว่างแห่งหนทาง ฯ
ในกุมาร ท. เหล่านันหนา ้ (อ. กุมาร) ผู้เกิดแล้ วในภายหลัง เตสุ สพฺพปจฺฉิมโก โสตาปนฺโน, สพฺพตุ ฺตโม
แห่งกุมารทังปวง ้ เป็ นพระโสดาบัน (ได้ เป็ นแล้ ว) , (อ. กุมาร) อนาคามี อโหสิ.
ผู้สงู สุดแห่งกุมารทังปวง ้ เป็ นพระอนาคามี ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

(อ. พระศาสดา) ทรงยังกุมาร ท. ทังปวงแม้ ้ เหล่านัน้ ให้บวชแล้ว เตปิ สพฺเพ เอหิภิกฺขภุ าเวเนว ปพฺพาเชตฺวา
ด้ วยความเป็ นแห่งเอหิภิกขุนนั่ เทียว ทรงส่งไปแล้ ว ในทิศ ท. ทิสาสุ เปเสตฺวา สยํ อุรุเวลํ คนฺตฺวา อฑฺฒฑุ ฺฒานิ
เสด็จไปแล้ ว สูป่ ระเทศชื่อว่าอุรุเวลา เอง ทรงแสดงแล้ ว ซึง่ พัน ปาฏิหาริ ยสหสฺสานิ ทสฺเสตฺวา อุรุเวลกสฺสปาทโย
แห่งปาฏิหาริย์ ท. ที่ ๔ ด้วยทังกึ ้ ง่ ทรงแนะน�ำแล้ว ซึง่ ชฎิลพีน่ ้ องชาย สหสฺสชฏิลปริ วาเร เตภาติกชฏิเล วิเนตฺวา เอหิภิกฺขุ
๓ คน ท. มีชฎิลพันหนึง่ เป็ นบริ วาร มีชฎิลชื่อว่าอุรุเวลากัสสปะ ภาเวเนว ปพฺพาเชตฺวา คยาสีเส นิสีทาเปตฺวา
เป็ นต้ น ให้ บวชแล้ ว ด้ วยความเป็ นแห่งเอหิภิกขุนนั่ เทียว ให้ นงั่ แล้ ว อาทิตฺตปริ ยายเทสนาย อรหตฺเต ปติฏฺ€าเปตฺวา
ณ ประเทศชื่อว่าคยาสีสะ ให้ ตงอยู ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในพระอรหัต เตน อรหนฺตสหสฺเสน ปริ วโุ ต “พิมพฺ ิสารรฺโ
ทินฺนํ ปฏิฺํ โมเจสฺสามีติ ราชคหนครุปจาเร
ด้ วยเทศนาคืออาทิตตปริ ยายสูตร ผู้อนั พันแห่งพระอรหันต์ นัน้
ลฏฺ€ิวนุยฺยานํ คนฺตฺวา “สตฺถา กิร อาคโตติ
แวดล้ อมแล้ ว (ทรงด�ำริ แล้ ว) ว่า (อ. เรา) จักเปลื ้อง ซึง่ ปฏิญญา สุตฺวา ทฺวาทสนหุเตหิ พฺราหฺมณคหปติเกหิ สทฺธึ
อันอันเราให้แล้ว แก่พระราชาพระนามว่าพิมพิสาร ดังนี ้ เสด็จไปแล้ว อาคตสฺส รฺโ มธุรธมฺมกถํ กเถนฺโต ราชานํ
สูส่ วนชื่อว่าลัฏฐิ วนั ใกล้ อปุ จารแห่งเมืองชื่อว่าราชคฤห์ ตรัสอยู่ เอกาทสหิ นหุเตหิ สทฺธึ โสตาปตฺตผิ เล
ซึง่ วาจาเป็ นเครื่องกล่าวซึง่ ธรรมอันไพเราะ แก่พระราชาผู้ทรงสดับแล้ว ปติฏฺ€าเปตฺวา เอกํ นหุตํ สรเณสุ ปติฏฺ€าเปตฺวา
ว่า ได้ ยินว่า อ.พระศาสดา เสด็จมาแล้ ว ดังนี ้ เสด็จมาแล้ ว
กับ ด้ วยพราหมณ์และคฤหบดี ท. มีหมื่นสิบสองเป็ นประมาณ
ทรงยังพระราชา กับ ด้ วยนหุต ท. ๑๑ ให้ ตงอยู ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว
ในโสดาปั ตติผล ทรงยังนหุตหนึง่ ให้ ตงอยู ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในสรณะ ท.

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 79


ผู้มีพระคุณอันท้ าวสักกะ ผู้พระราชาแห่งเทพ ทรงถือเอาแล้ ว ปุนทิวเส สกฺเกน เทวรฺา มาณวกวณฺณํ
ซึง่ เพศแห่งมาณพ ทรงชมเชยแล้ ว เสด็จเข้ าไปแล้ ว สูเ่ มือง คเหตฺวา อภิตฺถตุ คุโณ ราชคหนครํ ปวิสติ ฺวา
ชื่อว่าราชคฤห์ ในวันรุ่งขึ ้น ผู้มีกิจด้ วยภัตรอันทรงกระท�ำแล้ ว ราชนิเวสเน กตภตฺตกิจฺโจ เวฬุวนารามํ ปฏิคฺคเหตฺวา
ในพระราชนิเวศน์ ทรงรับเฉพาะแล้ ว ซึง่ อารามชื่อว่าเวฬุวนั ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ.
ทรงส�ำเร็ จแล้ ว ซึง่ การประทับอยู่ ในอารามนันนั ้ น่ เทียว ฯ
อ.พระสารี บตุ รและพระโมคคัลลานะ ท. เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ตตฺถ นํ สารี ปตุ ฺตโมคฺคลฺลานา อุปสงฺกมึส.ุ
ซึง่ พระศาสดานัน้ ในอาราม นัน้ ฯ อ. วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ตตฺรายํ อนุปพุ ฺพีกถา:
โดยล�ำดับ ในเรื่ องนัน้ นี ้ :
ก็ ครัน้ เมื่อพระพุทธเจ้ า ไม่เสด็จอุบตั แิ ล้ วนัน่ เทียว , อ. บ้ าน อนุปปฺ นฺเนเยว หิ พุทฺเธ, ราชคหโต อวิทเู ร
แห่งพราหมณ์ ท. ๒ คือ อ. อุปติสสคามด้ วย อ. โกลิตคามด้ วย “อุปติสสฺ คาโม จ โกลิตคาโม จาติ เทฺว พฺราหฺมณคามา
ได้ มีแล้ ว ในที่ไม่ไกล จากเมืองชื่อว่าราชคฤห์ ฯ อเหสุํ.
ในบ้ านแห่งพราหมณ์ ท. ๒ เหล่านัน้ หนา อ. ครรภ์ เตสุ อุปติสฺสคาเม สาริ ยา นาม พฺราหฺมณิยา
แม้ ของพราหมณี ชื่อว่าโมคคัลลี ในโกลิตคาม ตังอยู ้ ่ คพฺภสฺส ปติฏฺ€ิตทิวเสเยว โกลิตคาเม โมคฺคลฺลยิ า
เฉพาะแล้ ว ในวันแห่งครรภ์ของพราหมณีชอื่ ว่าสารี ในอุปติสสคาม นาม พฺราหฺมณิยาปิ คพฺโภ ปติฏฺ€หิ.
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ วนัน่ เทียว ฯ
ได้ ยินว่า อ. ตระกูล ท. แม้ สอง เหล่านัน้ เป็ นสหายเนื่องกัน ตานิ กิร เทฺวปิ กุลานิ ยาว สตฺตมา
ทัว่ แล้ วและเนื่องเฉพาะแล้ วนัน่ เทียว เพียงใดแต่อนั เวียนรอบ กุลปริ วฏฺฏา อาพทฺธปฏิพทฺธสหายกาเนว. ตาสํ
แห่งตระกูล ที่เจ็ด (ได้ เป็ นแล้ ว) ฯ (อ. ญาติ ท.) ได้ ให้ แล้ ว ทฺวนิ นฺ ปํ ิ เอกทิวสเมว คพฺภปริหารํ อทํส.ุ ตา อุโภปิ
ซึง่ วัตถุเป็ นเครื่ องบริ หารซึง่ ครรภ์ แก่พราหมณี ท. แม้ สอง เหล่านัน้ ทสมาสจฺจเยน ปุตฺเต วิชายึส.ุ
ในวันเดียวกันนัน่ เทียว ฯ อ. พราหมณี ท. แม้ ทงสอง ั้ เหล่านัน้
คลอดแล้ ว ซึง่ บุตร ท. โดยอันล่วงไปแห่งเดือน ๑๐ ฯ
ในวันเป็ นที่ถือเอาซึง่ ชื่อ (อ. ญาติ ท.) ได้ กระท�ำแล้ ว (ซึง่ ค�ำ) นามคฺคหณทิวเส สาริ ยา พฺราหฺมณิยา ปุตฺตสฺส
ว่า อ. อุปติสสะ ดังนี ้ ให้ เป็ นชื่อ ของบุตร ของพราหมณีชื่อว่าสารี อุปติสฺสคามเก เชฏฺ€กุลสฺส ปุตฺตตฺตา “อุปติสฺโสติ
เพราะความที่ (แห่งเด็กนัน) ้ เป็ นบุตร ของตระกูลเจริ ญที่สดุ นามํ อกํส.ุ
ในอุปติสสคาม ฯ
(อ. ญาติ ท.) ได้ กระท�ำแล้ ว (ซึง่ ค�ำ) ว่า อ. โกลิตะ ดังนี ้ อิตรสฺส โกลิตคาเม เชฏฺฐกุลสฺส ปุตฺตตฺตา
ให้ เป็ นชื่อ (ของบุตร ของพราหมณี ชื่อว่าโมคคัลลี) นอกนี ้ “โกลิโตติ นามํ อกํส.ุ
เพราะความที่ (แห่งเด็กนัน) ้ เป็ นบุตร ของตระกูลเจริ ญที่สดุ
ในโกลิตคาม ฯ
อ. บุตร ท. แม้ ทงสอง ั้ เหล่านัน้ อาศัยแล้ ว ซึง่ ความเจริ ญ เต อุโภปิ วุฑฺฒิมนฺวาย สพฺพสิปปฺ านํ ปารํ
ได้ ถงึ แล้ ว ซึง่ ฝั่ ง แห่งศิลปะทังปวง
้ ท. ฯ อคมํส.ุ
ในกาลเป็ นที่ไป สูแ่ ม่น� ้ำหรื อ หรื อว่า สูส่ วน เพื่อประโยชน์ อุปติสฺสมาณวสฺส กีฬนตฺถาย นทึ วา อุยฺยานํ
แก่การเล่น ของมาณพชื่อว่าอุปติสสะ อ. ร้ อยแห่งวออันเป็ นวิการ วา คมนกาเล ปฃฺจ สุวณฺณสิวิกาสตานิ ปริ วารานิ
แห่งทอง ท. ๕ เป็ นบริ วาร ย่อมเป็ น, (ในกาลเป็ นที่ไป สูแ่ ม่น� ้ำหรื อ โหนฺต,ิ โกลิตมาณวสฺส ปฃฺจ อาชญฺญรถสตานิ.
หรื อว่าสูส่ วน เพื่อประโยชน์แก่การเล่น) ของมาณพชื่อว่าโกลิตะ
อ. ร้ อยแห่งรถอันเทียมแล้ วด้ วยม้ าอาชาไนย ท. ๕ (เป็ นบริ วาร)
(ย่อมเป็ น) ฯ
อ. ชน ท. แม้ ๒ เป็ นผู้มีร้อยแห่งมาณพห้ าห้ าเป็ นบริ วาร เทฺวปิ ชนา ปญฺจปญฺจมาณวสตปริวารา โหนฺต.ิ
ย่อมเป็ น ฯ
ก็ ชือ่ อ. มหรสพอันบุคคลพึงเล่นบนยอดแห่งภูเขา ในปี ตามล�ำดับ ราชคเห จ อนุสํวจฺฉเร คิรคฺคสมชฺโช นาม
ย่อมมี ในเมืองชื่อว่าราชคฤห์ ฯ โหติ.
(อ. บริ วาร ท.) ย่อมผูก ซึง่ เตียงและเตียงเกิน ในที่แห่งเดียวกัน เตสํ ทฺวินฺนํปิ เอกฏฺฐาเนเยว มญฺจาติมญฺจํ
นัน่ เทียว เพื่อชน ท. แม้ ๒ เหล่านัน้ ฯ พนฺธนฺต.ิ
(อ. ชน ท.) แม้ ๒ นัง่ ดูอยู่ ซึง่ มหรสพ โดยความเป็ นอันเดียวกัน เทฺวปิ เอกโตว นิสที ติ วฺ า สมชฺชํ ปสฺสนฺตา
เทียว ย่อมหัวเราะ ในทีอ่ นั ตนควรหัวเราะ, ย่อมถึงทัว่ ซึง่ ความสลด หสิตพฺพฏฺฐาเน หสนฺต,ิ สํเวคฏฺฐาเน สํเวคํ อาปชฺชนฺต,ิ
ในที่เป็ นที่ตงแห่
ั ้ งความสลด,

80 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ย่อมให้ ซึง่ รางวัล ในที่อนั ควรแล้ ว เพื่ออันให้ ซึง่ รางวัล ฯ ทายํ ทาตุํ ยุตฺตฏฺฐาเน ทายํ เทนฺติ.
เมื่อชน ท. ๒ เหล่านัน้ ดูอยู่ ซึง่ มหรสพ ในวันหนึง่ โดยท�ำนอง นี ้ เตสํ อิมนิ า นิยาเมน เอกทิวสํ สมชฺชํ ปสฺสนฺตานํ
อ. การหัวเราะ ในที่อนั ตนควรหัวเราะหรื อ หรื อว่า อ. ความสลด ปริปากคตตฺตา ญาณสฺส ปุริมทิวเสสุ วิย หสิตพฺพฏฺฐาเน
ในที่เป็ นที่ตงแห่
ั ้ งความสลด หรื อว่า อ. รางวัล ในที่อนั ควรแล้ ว หาโส วา สํเวคฏฺฐาเน สํเวโค วา ทายํ ทาตุํ
เพื่ออันให้ ซึง่ รางวัล ราวกะ (อ. การหัวเราะ ในที่อนั ตนควรหัวเราะ ยุตฺตฏฺฐาเน ทายํ วา นาโหสิ.
หรื อ หรื อว่า อ. ความสลด ในที่เป็ นที่ตงแห่ ั ้ งความสลด หรื อว่า
อ. รางวัล ในทีอ่ นั ควรแล้ ว เพือ่ อันให้ ซงึ่ รางวัล) ในวันอันมีในก่อน ท.
ไม่ได้ มีแล้ ว เพราะความที่แห่งญาณ เป็ นคุณชาตถึงแล้ ว
ซึง่ ความแก่รอบ ฯ

ก็ อ. ชน ท. ๒ คิดแล้ ว อย่างนี ้ ว่า อ. วัตถุอะไรอัน (อันเรา ท.) เทฺว ปน ชนา เอวํ จินฺตยึสุ “ กึ เอตฺถ
พึงแลดู ในมหรสพนี ้ มีอยู,่ อ. ชน ท. เหล่านี ้ แม้ ทงปวง ั้ โอโลเกตพฺพํ อตฺถิ, สพฺเพปิ เม อปฺปตฺเต วสฺสสเต
ครัน้ เมื่อร้ อยแห่งปี ไม่ถงึ แล้ ว จักถึง ซึง่ ความเป็ นแห่งบุคคล อปณฺณตฺตกิ ภาวํ คมิสฺสนฺต,ิ อมฺเหหิ ปน เอกํ
ผู้ไม่มีบญ ั ญัต,ิ ก็ อ. อัน อันเรา ท. แสวงหาซึง่ ธรรมเป็ นเหตุพ้น โมกฺขธมฺมํ ปริ เยสิตํุ วฏฺฏตีติ อารมฺมณํ คเหตฺวา
อย่างหนึง่ ย่อมควร ดังนี ้ นัง่ ถือเอาแล้ ว (กระท�ำ) ให้ เป็ นอารมณ์ ฯ นิสีทสึ .ุ

ในล�ำดับนัน้ อ. โกลิตะ กล่าวแล้ ว กะอุปติสสะ ว่า แน่ะอุปติสสะ ตโต โกลิโต อุปติสฺสํ อาห “สมฺม อุปติสฺส
ผู้สหาย อ.ท่าน เป็ นผู้ร่าเริ งแล้ วและร่าเริ งทัว่ แล้ ว ราวกะว่า ตฺวํ น อชฺเชสุ ทิวเสสุ วิย หฏฺฐปหฏฺโฐ, อิทานิ
(ผู้ร่าเริ งแล้ วและร่าเริ งทัว่ แล้ ว) ในวัน ท. เหล่าอื่น (ย่อมเป็ น) อนตฺตมนธาตุโกสิ, กินฺเต สลฺลกฺขิตนฺต.ิ
หามิได้ , ในกาลนี ้ (อ. ท่าน) เป็ นผู้มีธาตุของบุคคลผู้มีใจมิใช่-
เป็ นของมีอยูแ่ ห่งตน ย่อมเป็ น, อ. อะไร อันท่าน ก�ำหนดได้ แล้ ว
ดังนี ้ ฯ

อ. อุปติสสะนัน้ กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะโกลิตะ ผู้สหาย (อ. เรา) โส อาห “สมฺม โกลิต `เอเตสํ โอโลกเน สาโร
เป็ นผู้นงั่ คิดอยูแ่ ล้ ว ซึง่ เหตุนี ้ ว่า อ. สาระ ในการแลดู ซึง่ ชน ท. นตฺถิ, นิรตฺถกเมตํ, อตฺตโน โมกฺขธมฺมํ คเวสิตํุ
เหล่านัน่ ย่อมไม่ม,ี อ. การดูแลนัน่ เป็ นของไม่มปี ระโยชน์ (ย่อมเป็ น), วฏฺฏตีติ อิทํ จินฺตยนฺโต นิสนิ ฺโนมฺหิ, ตฺวํ ปน
อ. อัน (อันเรา ท.) แสวงหา ซึง่ ธรรมเป็ นเครื่ องหลุดพ้ น เพื่อตน ย่อม กสฺมา อนตฺตมโนสีต.ิ โสปิ ตเถวาห.
ควร ดังนี ้ ย่อมเป็ น, ก็ อ. ท่าน เป็ นผู้มีใจมิใช่เป็ นของมีอยูแ่ ห่งตน
ย่อมเป็ น เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ อ. โกลิตะแม้ นนั ้ กล่าวแล้ ว
อย่างนันนั ้ น่ เทียว ฯ

ครัง้ นัน้ อ. อุปติสสะ รู้แล้ ว ซึง่ ความที่แห่งโกลิตะนันเป็้ น- อถสฺส อตฺตนา สทฺธึ เอกชฺฌาสยตํ ญตฺวา
ผู้มีอธั ยาศัยเป็ นอันเดียวกัน กับ ด้ วยตน กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะสหาย อุปติสฺโส อาห “สมฺม อมฺหากํ อุภินฺนํปิ สุจินฺติตํ,
(อ. เหตุ) อันเรา ท. แม้ ทงสองคิ
ั้ ดกันดีแล้ ว, ก็ อ. อัน (อันเรา ท.) โมกฺขธมฺมํ ปน คเวสิตํุ วฏฺฏติ, คเวสนฺเตหิ
แสวงหา ซึง่ ธรรมเป็ นเหตุพ้น ย่อมควร, อ. อัน (อันชน ท.) ชื่อว่า นาม เอกํ ปพฺพชฺชํ ลทฺธํุ วฏฺฏติ, กสฺส สนฺตเิ ก
ผู้แสวงหาอยู่ ได้ ซึง่ การบวช อย่างหนึง่ ย่อมควร, (อ. เรา ท.) ปพฺพชามาติ.
จะบวช ในส�ำนัก ของใคร ดังนี ้ ฯ
ก็ โดยสมัยนันแล ้ อ. ปริ พาชก ชื่อว่าสญชัย ย่อมอยูเ่ ฉพาะ เตน โข ปน สมเยน สฃฺชโย ปริ พฺพาชโก
ในเมืองชื่อว่าราชคฤห์ กับ ด้ วยบริ ษัทคือปริ พาชก หมูใ่ หญ่ ฯ ราชคเห ปฏิวสติ มหติยา ปริ พฺพาชกปริ สาย สทฺธึ.
อ. ชน ท. เหล่านัน้ (ปรึกษากันแล้ ว) ว่า (อ. เรา ท.) จักบวช เต “ ตสฺส สนฺตเิ ก ปพฺพชิสฺสามาติ
ในส�ำนัก ของปริ พาชกนัน้ ดังนี ้ ส่งไปแล้ ว ซึง่ ร้ อยแห่งมาณพห้ า ท. ปญฺจมาณวกสตานิ “สิวิกาโย จ รเถ จ คเหตฺวา
(ด้ วยค�ำ) ว่า (อ. ท่าน ท.) ถือเอา ซึง่ วอ ท. ด้ วย ซึง่ รถ ท. ด้ วย คจฺฉถาติ อุยฺโยเชตฺวา ปญฺจหิ มาณวกสเตหิ
จงไปเถิด ดังนี ้ บวชแล้ ว ในส�ำนัก ของปริ พาชกชื่อว่าสญชัย สทฺธึ สญฺชยสฺส สนฺตเิ ก ปพฺพชึส.ุ
กับ ด้ วยร้ อยแห่งมาณพ ท. ๕ ฯ
อ. ปริ พาชกชื่อว่าสญชัย เป็ นผู้ถงึ แล้ วซึง่ ลาภอันเลิศและยศ เตสํ ปพฺพชิตกาลโต ปฏฺฐาย สญฺ ชโย
อันเลิศยิ่งเกิน ได้ เป็ นแล้ ว จ�ำเดิม แต่กาล แห่งชน ท. ๒ เหล่านัน้ อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต อโหสิ.
บวชแล้ ว ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 81


อ. ชน ท. ๒ เหล่านัน้ เรียนเอาแล้ว ซึง่ ลัทธิเป็ นเหตุร้ ู ของปริพาชก เต กติปาเหเนว สพฺพํ สฃฺชยสฺส สมยํ
ชื่อว่าสญชัย ทังปวง้ โดยวันเล็กน้ อยนัน่ เทียว ถามแล้ ว ว่า ปริคคฺ ณฺหติ วฺ า “อาจริย ตุมหฺ ากํ ชานนสมโย เอตฺตโกว
ข้ าแต่อาจารย์ อ. ลัทธิเป็ นเหตุร้ ู ของท่าน ท. เป็ นลัทธิมีประมาณ อุทาหุ อุตฺตรึปิ อตฺถีติ ปุจฺฉึส.ุ
เท่านี ้เทียว (ย่อมเป็ นหรื อ) หรื อว่ามีอยู่ แม้ ยิ่ง ดังนี ้ ฯ

(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. ลัทธิเป็ นเหตุร้ ู ของเรา) มีประมาณ “เอตฺตโกว, สพฺพํ ตุมเฺ หหิ ฃาตนฺติ วุตฺเต, เต
เท่านี ้เทียว, (ชานนํ อ. ความรู้) ทังปวง ้ อันท่าน ท. รู้แล้ ว ดังนี ้ จินตฺ ยึสุ “เอวํ สติ, อิมสฺส สนฺตเิ ก พฺรหฺมจริยวาโส
(อันปริพาชกชือ่ ว่าสญชัย) กล่าวแล้ว, อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ คิดแล้ว นิรตฺถโก, มยํ โมกฺขธมฺมํ คเวสิตํุ นิกฺขนฺตา, โส
ว่า ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ , อ. การอยู่ เพื่อพรหมจรรย์ อิมสฺส สนฺติเก อุปปฺ าเทตุํ น สกฺกา, มหา โข
ในส�ำนัก ของอาจารย์นี ้ เป็ นสภาพไม่มีประโยชน์ (ย่อมเป็ น), ปน ชมฺพทุ โี ป, คามนิคมชนปทราชธานิโย จรนฺตา
อ. เรา ท. เป็ นผู้ออกไป แล้ ว เพื่ออันแสวงหา ซึง่ ธรรมเป็ นเหตุพ้น อทฺธา โมกฺขธมฺมเทสกํ กญฺจิ อาจริยํ ลภิสสฺ ามาติ.
(ย่อมเป็ น), อ. ธรรมเป็ นเหตุพ้นนัน้ (อันเรา ท.) ไม่อาจ เพือ่ อันให้เกิดขึ ้น
ในส�ำนัก ของอาจารย์นี ้ , ก็ อ.ชมพูทวีป เป็ นทวีปใหญ่แล
(ย่อมเป็ น), อ. เรา ท. เที่ยวไปอยู่ สูบ่ ้ านและนิคมและชนบทและ
ราชธานี ท. จักได้ ซึง่ อาจารย์ บางคน ผู้แสดงซึง่ ธรรมเป็ นเหตุพ้น
แน่แท้ ดังนี ้ ฯ

(อ. ชน ท.) ย่อมกล่าว ว่า อ. สมณะและพราหมณ์ ท. ผู้ฉลาด ตโต ปฏฺ ฐาย “ยตฺ ถ ยตฺ ถ ปณฺ ฑิ ต า
มีอยู่ ในที่ใด ๆ ดังนี ้; (อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน)้ ไปแล้ ว ในที่นนั ้ ๆ สมณพฺราหฺมณา สนฺตีติ วทนฺติ; ตตฺถ ตตฺถ
ย่อมกระท�ำ ซึง่ การสนทนา จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ ฯ คนฺตฺวา สากจฺฉํ กโรนฺต.ิ
อ. ชน ท. เหล่าอื่น ย่อมไม่อาจ เพื่ออันกล่าว ซึง่ ปั ญหา เตหิ ปุฏฺฐปญฺหํ อญฺเญ กเถตุํ น สกฺโกนฺต,ิ เต
อันอันสหาย ท. ๒ เหล่านันถามแล้้ ว, แต่วา่ อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ ปน เตสํ ปฃฺหํ วิสฺสชฺเชนฺต.ิ
ย่อมแก้ ซึง่ ปั ญหา ของชน ท. เหล่านัน้ ฯ

(อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน) ้ สอบสวนแล้ ว ซึง่ ชมพูทวีป เอวํ สกลชมฺพทุ ีปํ ปริ คฺคณฺหิตฺวา นิวตฺตติ ฺวา
ทังสิ้ ้น อย่างนี ้ กลับแล้ ว มาแล้ ว สูท่ ี่อนั เป็ นของตนนัน่ เทียว สกฏฺฐานเมว อาคนฺตฺวา “สมฺม โกลิต อมฺเหสุ โย
ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กติกา ว่า แน่ะโกลิตะ ผู้สหาย ในเรา ท. หนา ปฐมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส อาโรเจตูติ กติกํ อกํส.ุ
อ. บุคคลใด ย่อมถึงทับซึง่ ธรรมอัน ไม่ตายแล้ ว ก่อน, อ. บุคคลนัน้
จงบอก (แก่สหายนอกนี ้) ดังนี ้ ฯ

ครัน้ เมื่อสหาย ท. ๒ เหล่านัน้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กติกา อยูอ่ ยู่ เอวํ เตสุ กติกํ กตฺวา วิหรนฺเตสุ, สตฺถา
อย่างนี ้, อ. พระศาสดา เสด็จถึงแล้ ว ซึง่ เมืองชื่อว่าราชคฤห์ วุตตฺ านุกกฺ เมน ราชคหํ ปตฺวา เวฬุวนํ ปฏิคคฺ เหตฺวา
ตามล�ำดับแห่งค�ำอันข้ าพเจ้ ากล่าวแล้ ว ทรงรั บเฉพาะแล้ ว เวฬุวเน วิหรติ.
ซึง่ พระเวฬุวนั ประทับอยูอ่ ยู่ ในพระเวฬุวนั ฯ

ในกาลนัน้ อ. พระเถระชื่อว่าอัสสชิ ในภายใน แห่งภิกษุ ท. ตทา “จรถ ภิกฺขเว จาริ กํ พหุชนหิตายาติ


ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวก ๕ ในระหว่าง แห่งพระอรหันต์ ท. ๖๑ รตนตฺตยคุณปฺปกาสนตฺถํ อุยฺโยชิตานํ เอกสฏฺฐิยา
ผู้ (อันพระศาสดา) ทรงส่งไปแล้ ว เพื่ออันประกาศซึง่ พระคุณ- อรหนฺตานํ อนฺตเร ปฃฺจวคฺคยิ านํ อพฺภนฺตเร
แห่งหมวดสามแห่งรัตนะ (ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อสฺสชิตฺเถโร ปฏินิวตฺติตฺวา ราชคหํ อาคโต
อ. เธอ ท. จงเที่ยวไป สูท่ ี่จาริ ก เพื่อความเกื ้อกูลแก่ชนมาก ดังนี ้ ปุนทิวเส ปาโตว ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ
เป็ นต้ น กลับเฉพาะแล้ ว มาแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าราชคฤห์ ถือเอาแล้ ว ปิ ณฺฑาย ปาวิส.ิ
ซึง่ บาตรและจีวร ได้ เข้ าไปแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าราชคฤห์ เพื่อก้ อนข้ าว
ในเวลาเช้ าเทียว ในวันรุ่งขึ ้น ฯ

ในสมัยนัน้ อ. ปริพาชกชือ่ ว่าอุปติสสะ กระท�ำแล้ว ซึง่ กิจด้วยภัตร ตสฺมึ สมเย อุปติสสฺ ปริพพฺ าชโก ปาโตว ภตฺตกิจจฺ ํ
ในเวลาเช้ าเทียว ไปอยู่ สูอ่ ารามของปริ พาชก เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ กตฺวา ปริ พฺพาชการามํ คจฺฉนฺโต เถรํ ทิสฺวา

82 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


คิดแล้ ว ว่า อ.บรรพชิต ชื่อมีอย่างนี ้เป็ นรูป เป็ นผู้อนั เรา จิ นฺ เ ตสิ “มยา เอวรู โ ป นาม ปพฺ พ ชิ โ ต
ไม่เคยเห็นแล้ วนัน่ เทียว (ย่อมเป็ น), อ. พระอรหันต์ ท. หรื อ หรื อว่า น ทิฏฺฐปุพโฺ พเยว, เย โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ
(อ. บุคคล ท.) ผู้บรรลุแล้ ว ซึง่ อรหัตตมรรค เหล่าใด (มีอยู)่ ในโลก, วา สมาปนฺนา, อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร;
อ. ภิกษุนี ้ เป็ น (แห่งพระอรหันต์ ท. หรื อ หรื อว่า แห่งบุคคล ท. ยนฺนนู าหํ อิมํ ภิกฺขํุ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺเฉยฺยํ
ผู้บรรลุแล้ วซึง่ อรหัตตมรรค) เหล่านันหนา-รู
้ ปใด รูปหนึง่ (ย่อมเป็ น); `กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสสฺ ปพฺพชิโต, โก วา เต
กระไรหนอ อ. เรา เข้าไปหาแล้ว ซึง่ ภิกษุนี ้ พึงถาม ว่า ข้าแต่ทา่ นผู้มอี ายุ สตฺถา, กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสีต.ิ
อ. ท่าน เป็ นผู้บวชแล้ ว เจาะจง ซึง่ ใคร ย่อมเป็ น, อ. ใคร เป็ นครู
ของท่าน (ย่อมเป็ น) หรื อ, หรื อว่า อ. ท่าน ย่อมชอบใจ ซึง่ ธรรม
ของใคร (ดังนี ้) ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. ความปริวติ กนัน่ ว่า (อ. กาลนี ้) เป็ นสมัยมิใช่กาลแล อถสฺส เอตทโหสิ “อกาโล โข อิมํ ภิกฺขํุ
เพื่ออันถาม ซึง่ ปั ญหา กะภิกษุนี ้ (ย่อมเป็ น), (อ. ภิกษุนี ้) เข้ าไปแล้ ว ปญฺหํ ปุจฺฉิตํ,ุ อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโฐ ปิ ณฺฑาย จรติ;
สูร่ ะหว่างแห่งเรื อน ย่อมเที่ยวไป เพื่อบิณฑะ; กระไรหนอ อ. เรา ยนฺนนู าหํ อิมํ ภิกฺขํุ ปิ ฏฺฐิโต ปิ ฏฺฐิโต อนุพนฺเธยฺยํ,
แสวงหาอยู่ (ซึง่ ธรรมเป็ นเหตุพ้น) อันอันชน ท. ผู้มีความต้ องการ อตฺถิเกหิ อุปญาตํ มคฺคนฺต.ิ
เข้ าไปรู้แล้ ว พึงติดตาม ซึง่ ภิกษุนี ้ ข้ างหลัง ข้ างหลัง ดังนี ้ ได้ มีแล้ ว
แก่ปริ พาชกชื่อว่าอุปติสสะนัน้ ฯ

อ.ปริ พาชกชื่อว่าอุปติสสะ นัน้ เห็นแล้ ว ซึง่ พระเถระ โส เถรํ ลทฺธปิ ณฺฑปาตํ อญฺญตรํ โอกาสํ
ผู้มีบณ ิ ฑบาตอันได้ แล้ ว ผู้ไปอยู่ สูโ่ อกาส โอกาสใดโอกาสหนึง่ ด้ วย คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา นิสีทิตกุ ามตญฺจสฺส ญตฺวา อตฺตโน
ทราบแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งพระเถระนัน้ เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันนัง่ ด้ วย ปริ พฺพาชกปี ฐกํ ปญฺญาเปตฺวา อทาสิ.
ได้ ตงั ้ ซึง่ ตัง่ แห่งปริ พาชก ของตน ถวายแล้ ว ฯ
(อ.ปริ พาชกชื่อว่าอุปติสสะนัน)้ ได้ ถวายแล้ ว ซึง่ น� ้ำ ในลักจัน่ ภตฺตกิจฺจปริ โยสาเนปิ สฺส อตฺตโน กุณฺฑิกาย-
ของตน แก่พระเถระนัน้ แม้ ในกาลเป็ นที่สุดลงรอบแห่งกิ จ อุทกํ อทาสิ.
ด้ วยภัตร ฯ

(อ. ปริ พาชกชื่อว่าอุปติสสะนัน) ้ ครัน้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ วัตร- เอวํ อาจริ ยวตฺตํ กตฺวา กตภตฺตกิจฺเจน เถเรน
เพื่ออาจารย์ อย่างนี ้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ การต้ อนรับอันมีรสหวาน กับ สทฺธึ มธุรปฏิสนฺถารํ กตฺวา เอวมาห “วิปปฺ สนฺนานิ
ด้ วยพระเถระ ผู้มีกิจด้ วยภัตรอันกระท�ำแล้ ว กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ โข เต อาวุโส อินฺทฺริยานิ, ปริ สทุ ฺโธ ฉวิวณฺโณ
ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้มีอายุ อ. อินทรี ย์ ท. ของท่าน ผ่องใสแล้ ว ปริ โยทาโต; กํสิ ตฺวํ อาวุโส อุทฺทิสฺส ปพฺพชิโต,
แล, อ. สีแห่งผิว หมดจดรอบแล้ว ผุดผ่องรอบแล้ว; ข้าแต่ทา่ นผู้มอี ายุ โก วา เต สตฺถา, กสฺส วา ตฺวํ ธมฺมํ โรเจสีติ ปุจฺฉิ.
อ. ท่าน เป็ นผู้บวชแล้ ว เจาะจง ซึง่ ใคร ย่อมเป็ น, อ. ใคร เป็ นครู
ของท่าน (ย่อมเป็ น) หรื อ, หรื อว่า อ. ท่าน ย่อมชอบใจ ซึง่ ธรรม
ของใคร ดังนี ้ ฯ

อ. พระเถระ คิดแล้ ว ว่า ชื่อ อ. ปริ พาชก ท. เหล่านี ้ เถโร จินฺเตสิ “ อิเม ปริ พฺพาชกา นาม
เป็ นปฏิปักข์ตอ่ พระศาสนาเป็ นแล้ ว (ย่อมเป็ น), อ. เรา จักแสดง สาสนสฺส ปฏิปกฺขภูตา, อิมสฺส สาสเน คมฺภีรตํ
ซึง่ ความที่แห่งธรรมในพระศาสนา เป็ นสภาพลึกซึ ้ง แก่ปริ พาชกนี ้ ทสฺเสสฺสามีติ อตฺตโน นวกภาวํ ทสฺเสนฺโต อาห
ดังนี ้ เมื่อแสดง ซึง่ ความที่แห่งตนเป็ นผู้ใหม่ กล่าวแล้ ว ว่า “อหํ โข อาวุโส นโว อจิรปพฺพชิโต อธุนาคโต อิมํ
ดูกอ่ นท่านผู้มอี ายุ อ. เราแล เป็ นผู้ใหม่ เป็ นผู้บวชแล้วสิ ้นกาลไม่นาน ธมฺมวินยํ, น ตาว สกฺขิสฺสามิ วิตฺถาเรน ธมฺมํ
เป็ นผู้มาแล้ ว สูพ่ ระธรรมและพระวินยั นี ้ โดยกาลไม่นาน เทเสตุนฺต.ิ
(ย่อมเป็ น), อ. เรา จักไม่อาจ เพือ่ อันแสดง ซึง่ ธรรม โดยพิสดาร ก่อน
ดังนี ้ ฯ
อ.ปริ พาชก กล่าวแล้ ว ว่า อ. เรา เป็ นผู้ชื่อว่าอุปติสสะ ปริพพฺ าชโก “อหํ อุปติสโฺ ส นาม, ตฺวํ ยถาสตฺตยิ า
(ย่อมเป็ น), อ. ท่าน จงกล่าว (ซึง่ ธรรม) อันน้ อยหรื อ หรื อว่าอันมาก อปฺปํ วา พหุํ วา วท, เอตํ นยสเตน นยสหสฺเสน
ตามความสามารถอย่างไร, อ. อันรู้ตลอด ซึง่ ธรรมนัน่ ด้วยร้ อยแห่งนัย ปฏิวิชฺฌิตํุ มยฺหํ ภาโรติ วตฺวา อาห
ด้ วยพันแห่งนัย เป็ นภาระ ของเรา (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ว่า

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 83


(อ. ท่าน) จงกล่าว (ซึ่งธรรม) อันน้อยหรื อ หรื อว่าอันมาก, “อปฺปํ วา พหุํ วา ภาสสฺส,ุ อตฺถฺเว เม พฺรูหิ,
(อ. ท่าน) จงกล่าว ซึ่งเนือ้ ความนัน่ เทียว แก่เรา,
อ. ความต้องการ ด้วยเนือ้ ความนัน่ เทียว (ย่อมมี ) แก่เรา อตฺเถเนว เม อตฺโถ กึ กาหสิ พฺยฺชนํ พหุนตฺ ิ.
(อ. ท่าน) จักกระท�ำ ซึ่งพยัญชนะ ให้เป็ นค�ำมาก ท�ำไม ดังนี ้ ฯ

(ครัน้ เมื่อค�ำ) อย่างนี ้ (อันปริ พาชกนัน)


้ กล่าวแล้ ว, อ. พระเถระ เอวํ วุตฺเต, เถโร
กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ว่า

อ. พระตถาคตเจ้า (ตรัสแล้ว) ซึ่งเหตุ แห่ง-อ. ธรรม ท. “เย ธมฺมา เหตุปปฺ ภวา, เตสํ เหตุํ ตถาคโต,
เหล่าใด เป็ นสภาพมี เหตุเป็ นแดนเกิ ดก่อน (ย่อมเป็ น),
-ธรรม ท. เหล่านัน้ (ด้วย), (ซึ่งเหตุ แห่ง-อ. ความดับใด เตสฺจ โย นิ โรโธ จ; เอวํวาที มหาสมโณติ
แห่งธรรม ท. เหล่านัน้ -ความดับนัน้ ) ด้วย, อ. พระมหาสมณะ
เป็ นผูม้ ี อนั ตรัสอย่างนีเ้ ป็ นปกติ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

คาถมาห.

อ.ปริ พาชก ฟั งแล้ ว ซึง่ หมวดสองแห่งบทที่หนึง่ นัน่ เทียว ปริ พฺพาชโก ป€มปททฺวยเมว สุตฺวา สหสฺสนย-
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ว ในโสดาปัตติผล อันถึงพร้ อมแล้วด้วยนัยพันหนึง่ ฯ สมฺปนฺเน โสตาปตฺตผิ เล ปติฏฺ€หิ. อิตรํ ปททฺวยํ
(อ. พระเถระ) ยังหมวดสองแห่งบท นอกนี ้ ให้ จบแล้ ว ในกาล โสตาปนฺนกาเล นิฏฺ€าเปสิ.
(แห่งปริ พาชก) เป็ นพระโสดาบัน ฯ
อ. ปริ พาชกนัน้ เป็ นพระโสดาบัน เป็ น ครัน้ เมื่อคุณวิเศษ โส โสตาปนฺโน หุตวฺ า อุปริวเิ สเส อปฺปวตฺตนฺเต
ในเบื ้องบน ไม่เป็ นไปข้ างหน้ าอยู่ ก�ำหนดแล้ ว ว่า อ.เหตุ “ภวิสฺสติ เอตฺถ การณนฺติ สลฺลกฺเขตฺวา เถรํ อาห
ในเรื่ องนี ้ จักมี ดังนี ้ กล่าวแล้ ว กะพระเถระ ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ “ภนฺเต มา อุปริ ธมฺมเทสนํ วฑฺฒยิตฺถ, เอตฺตกเมว
(อ. ท่าน ท.) อย่ายังธรรมเทศนา ให้ เจริ ญแล้ ว ในเบื ้องบน, อ. ค�ำ โหตุ, กุหึ อมฺหากํ สตฺถา วสตีต.ิ
มีประมาณเท่านี ้นัน่ เทียว จงมีเถิด, อ. พระศาสดา ของเรา ท.
ย่อมประทับอยู่ ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูกอ่ นท่านผู้มอี ายุ (อ.พระศาสดา “เวฬุวเน อาวุโสติ.
ย่อมประทับอยู)่ ในพระเวฬุวนั ดังนี ้ ฯ
(อ. ปริ พาชก กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ ถ้ าอย่างนัน้ “เตนหิ ภนฺเต ตุมเฺ ห ปุรโต ยาถ; มยฺหํ เอโก
อ. ท่าน ท. ขอจงไป ข้ างหน้ า; อ. สหาย คนหนึง่ ของกระผม มีอยู,่ สหายโก อตฺถิ, อมฺเหหิ จ อฺมฺํ กติกา
อนึง่ อ. ความนัดหมาย ซึง่ กันและกัน อันเรา ท. กระท�ำแล้ ว ว่า กตา `โย ป€มํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส อาโรเจตูติ
อ. บุคคลใด ย่อมถึงทับ ซึง่ ธรรมอันไม่ตายแล้ ว ก่อน, อ. บุคคล อหนฺตํ ปฏิฺํ โมเจตฺวา สหายกํ คเหตฺวา
นัน้ จงบอก ดังนี ้ อ. กระผม เปลื ้องแล้ ว ซึง่ ปฏิญญานัน้ พาเอา ตุมหฺ ากํ คตมคฺเคเนว สตฺถุ สนฺตกิ ํ อาคมิสฺสามีติ
ซึง่ สหาย จักมา สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา ตามหนทางแห่งท่าน ท. ปฺจปฺปติฏฺ€ิเตน เถรสฺส ปาเทสุ นิปติตฺวา
ไปแล้ วนัน่ เทียว ดังนี ้ หมอบลงแล้ ว ใกล้ เท้ า ท. ของพระเถระ ติกฺขตฺตํุ ปทกฺขิณํ กตฺวา เถรํ อุยฺโยเชตฺวา
ด้ วยอันตังไว้
้ เฉพาะแห่งองค์ห้า กระท�ำแล้ ว ซึง่ การเวียนรอบ ๓ ปริ พฺพาชการามาภิมโุ ข อคมาสิ.
ครัง้ ส่งไปแล้ ว ซึง่ พระเถระ ผู้มีหน้ าเฉพาะต่ออารามของปริ พาชก
ได้ ไปแล้ ว ฯ
อ. ปริ พาชกชื่อว่าโกลิตะ เห็นแล้ ว ซึง่ ปริ พาชกนัน้ ผู้มาอยู่ แต่ โกลิตปริพพฺ าชโก ตํ ทูรโต ว อาคจฺฉนฺตํ ทิสวฺ า
ไกลเทียว (คิดแล้ ว) ว่า ในวันนี ้ อ. สีแห่งหน้ า ของสหาย ของเรา “ อชฺช มยฺหํ สหายกสฺส มุขวณฺโณ น
เป็ นราวกะว่า (สีแห่งหน้ า) ในวันอื่น ท. (ย่อมเป็ น) หามิได้ , อฺ  ทิ ว เสสุ วิ ย , อทฺ ธ าเนน อมตํ อธิ ค ตํ
อ.อมตะ เป็ นคุณ อันสหายนี ้ ถึงทับแล้ ว จักเป็ น แน่แท้ ดังนี ้ ภวิสฺสตีติ อมตาธิคมํ ปุจฺฉิ.
ถามแล้ ว ซึง่ การบรรลุซงึ่ อมตะ ฯ
อ.ปริ พาชกชื่ อว่าอุปติสสะ แม้ นัน้ ปฏิญญาแล้ ว ว่า โสปิ สฺส “อามาวุโส อมตํ อธิคตนฺติ ปฏิชานิตฺวา
แน่ะท่านผู้มอี ายุ เออ อ. อมตะ (อันเรา) ถึงทับแล้ว ดังนี ้ได้กล่าวแล้ว ตเมว คาถํ อภาสิ.
ซึง่ คาถา นันนั้ น่ เทียว แก่ปริ พาชกชื่อว่าโกลิตะนัน้ ฯ

84 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งคาถา อ. ปริ พาชกชื่อว่าโกลิตะ คาถาปริ โยสาเน โกลิโต โสตาปตฺติผเล
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในโสดาปั ตติผล กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะสหาย ปติฏฺ€หิตฺวา อาห “กุหึ กิร สมฺม อมฺหากํ
ได้ ยินว่า อ. พระศาสดา ของเรา ท. ย่อมประทับอยู่ ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ สตฺถา วสตีต.ิ
(อ. ปริพาชกชือ่ ว่าอุปติสสะ กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะสหาย ได้ยนิ ว่า “เวฬุวเน กิร สมฺม, เอวํ โน อาจริ เยน
(อ. พระศาสดา ของเรา ท. ย่อมประทับอยู)่ ในพระเวฬุวนั , อสฺสชิตฺเถเรน กถิตนฺต.ิ
(อ. ค�ำ) อย่างนี ้ อันพระเถระชือ่ ว่าอัสสชิ ผู้เป็ นอาจารย์ ของเรา ท.
บอกแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. ปริ พาชกชื่อว่าโกลิตะ กล่าวแล้ ว) ว่า “เตนหิ สมฺม อายาม, สตฺถารํ ปสฺสสิ ฺสามาติ.
แน่ะสหาย ถ้ าอย่างนัน้ อ. เรา ท. จงมาเถิด, (อ. เรา ท.) จักเฝ้า
ซึง่ พระศาสดา ดังนี ้ ฯ
ก็ ชื่อ อ. พระเถระชื่อว่าสารี บตุ ร นัน่ เป็ นผู้บชู าซึง่ อาจารย์ สารีปตุ ตฺ ตฺเถโร จ นาเมส สทาปิ อาจริยปูชโก ว;
เทียว (ย่อมเป็ น) แม้ ในกาลทุกเมื่อ; เพราะเหตุนนั ้ (อ.ปริ พาชก ตสฺมา สหายกํ เอวมาห “สมฺม อมฺเหหิ อธิคตํ
ชื่อว่าอุปติสสะนัน) ้ กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ กะสหาย ว่า แน่ะสหาย อมตํ อมฺหากํ อาจริ ยสฺส สฺชยปริ พฺพาชกสฺสาปิ
(อ. เรา ท.) จักบอก ซึง่ อมตะ อันอันเรา ท. ถึงทับแล้ว แม้แก่ปริพาชก กเถสฺ ส าม , พุ ชฺ ฌ มาโน ปฏิ วิ ชฺ ฌิ สฺ ส ติ ,
ชือ่ ว่าสญชัย ผู้เป็ นอาจารย์ ของเรา ท., (อ. อาจารย์) รู้อยู่ จักรู้ตลอด, อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต อมฺหากํ สทฺทหิตฺวา สตฺถุ สนฺตกิ ํ
เมื่อไม่ร้ ูตลอด เชื่อแล้ ว ต่อเรา ท. จักไป สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา, คมิสฺสติ, พุทฺธานํ เทสนํ สุตฺวา มคฺคผลปฏิเวธํ
ฟั งแล้ ว ซึง่ เทศนา ของพระพุทธเจ้ า ท. จักกระท�ำ ซึง่ การรู้ตลอด กริ สฺสตีต.ิ
ซึง่ มรรคและผล ดังนี ้ ฯ
ในล�ำดับนัน้ อ. ชน ท. แม้ สอง ได้ ไปแล้ ว สูส่ ำ� นัก ของปริพาชก ตโต เทฺวปิ ชนา สฺชยสฺส สนฺตกิ ํ อคมํส.ุ
ชือ่ ว่าสญชัย ฯ อ. ปริพาชกชือ่ ว่าสญชัย เห็นแล้ ว ซึง่ สหาย ท. ๒ สฺชโย เต ทิสวฺ า “ กึ ตาตา โกจิ โว
เหล่านัน้ ถามแล้ ว ว่า ดูก่อนพ่อ ท. อ. ใคร ๆ ผู้แสดงซึง่ ทาง- อมตมคฺคเทสโก ลทฺโธติ ปุจฺฉิ.
แห่งอมตะ อันท่าน ท. ได้ แล้ ว หรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ. สหาย ท.๒ เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่อาจารย์ ขอรับ “อาม อาจริ ย ลทฺโธ; พุทฺโธ โลเก อุปปฺ นฺโน,
(อ. อาจารย์ อันกระผม ท.) ได้ แล้ ว; อ. พระพุทธเจ้ า เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ธมฺโม อุปปฺ นฺโน, สงฺโฆ อุปปฺ นฺโน; ตุมเฺ ห ตุจฺเฉ
ในโลก, อ. พระธรรม เกิดขึ ้นแล้ ว, อ. พระสงฆ์ เกิดขึ ้นแล้ ว; อสาเร วิจรถ, เอถ, สตฺถุ สนฺตกิ ํ คมิสฺสามาติ.
อ. ท่าน ท. ย่อมประพฤติ (ซึง่ ธรรม ท.) อันไม่มีสาระ อันเปล่า,
(อ. ท่าน ท.) จงมา, (อ. เรา ท.) จักไป สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา
ดังนี ้ ฯ
(อ. ปริ พาชกชื่อว่าสญชัย กล่าวแล้ ว) ว่า อ. ท่าน ท. จงไป, “คจฺฉถ ตุมเฺ ห, อหํ น สกฺขิสฺสามีต.ิ
อ. เรา จักไม่อาจ ดังนี ้ ฯ (อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ ถามแล้ ว) ว่า “กึการณาติ.
(อ. ท่าน ท. จักไม่อาจ) เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. ปริ พาชกชื่อว่าสญชัย กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา เป็ นอาจารย์ “อหํ มหาชนสฺส อาจริโย หุตวฺ า วิจรึ, ตสฺส เม
ของมหาชน เป็ น เที่ยวไปแล้ ว, อ. การอยูโ่ ดยความเป็ นอันเตวาสิก อนฺเตวาสิกวาโส จาฏิยา อุทกจลนภาวุปปฺ ตฺตสิ ทิโส,
แห่งเรานัน้ เป็ นเช่นกับด้วยการเกิดขึ ้นแห่งความเป็ นคืออันไหวแห่งน� ้ำ น สกฺขิสฺสามหํ อนฺเตวาสิกวาสํ วสิตนุ ฺต.ิ
ในตุม่ (ย่อมเป็ น), อ. เรา จักไม่อาจ เพื่ออันอยู่ อยูโ่ ดยความเป็ น
อันเตวาสิก ดังนี ้ ฯ
(อ.สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่อาจารย์ “มา เอวํ กริ ตฺถ อาจริ ยาติ.
อ. ท่าน ท. อย่ากระท�ำแล้ ว อย่างนี ดั้ งนี ้ ฯ (อ. ปริ พาชกชื่อว่าสญชัย “โหตุ ตาตา, คจฺฉถ ตุมเฺ ห, นาหํ สกฺขิสฺสามีติ.
กล่าวแล้ ว) ว่า แน่ะพ่อ ท. (อ. เรื่ องนัน)้ จงมีเถิด, อ. ท่าน ท. จงไป,
อ. เรา จักไม่อาจ ดังนี ้ ฯ
(อ.สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่อาจารย์ “อาจริ ย โลเก พุทฺธสฺส อุปปฺ นฺนกาลโต
อ.มหาชน มีวตั ถุมีของหอมและระเบียบเป็ นต้ นในมือ ไปแล้ ว ปฏฺ€าย มหาชโน คนฺธมาลาทิหตฺโถ คนฺตฺวา
จักบูชา ซึง่ พระพุทธเจ้านัน้ นัน่ เทียว จ�ำเดิม แต่กาลแห่งพระพุทธเจ้า ตเมว ปูเชสฺสติ, มยํปิ ตตฺเถว คมิสฺสาม, ตุมเฺ ห
เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ในโลก, แม้ อ.เรา ท. จักไป ในที่นนนั ั ้ น่ เทียว, กึ กริ สฺสถาติ.
อ. ท่าน ท. จักกระท�ำ อย่างไร ดังนี ้ ฯ
(อ.ปริ พาชกชื่อว่าสญชัย กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนพ่อ ท. “ตาตา กินฺนุ โข อิมสฺมึ โลเก ทนฺธา พหู,
อ. คนโง่ ท. ในโลกนี ้ เป็ นผู้มาก (ย่อมเป็ น) หรื อหนอแล, หรื อว่า อุทาหุ ปณฺฑิตาติ.
อ. คนฉลาด ท. (เป็ นผู้มาก ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 85


(อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่อาจารย์ อ. คนโง่ ท. “ทนฺธา อาจริ ย พหู, ปณฺฑิตา นาม กติปยาเอว
เป็ นผู้มาก (ย่อมเป็ น), ชื่อ อ. คนฉลาด ท. เป็ นผู้เล็กน้ อยนัน่ เทียว โหนฺตีต.ิ
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ.ปริพาชกชือ่ ว่าสญชัย กล่าวแล้ว) ว่า ดูกอ่ นพ่อ ท. ถ้ าอย่างนัน้ “เตนหิ ตาตา ปณฺฑิตา ปณฺฑิตา สมณสฺส
อ. คนฉลาด ท. อ. คนฉลาด ท. จักไป สูส่ �ำนัก ของพระสมณะ โคตมสฺส สนฺตกิ ํ คมิสฺสนฺต,ิ ทนฺธา ทนฺธา มม
ผู้โคดม, อ. คนโง่ ท. อ. คนโง่ ท. จักมา สูส่ �ำนัก ของเรา; อ. ท่าน ท. สนฺตกิ ํ อาคมิสฺสนฺต;ิ คจฺฉถ ตุมเฺ ห, นาหํ คมิสฺสามีติ.
จงไป, อ. เรา จักไม่ไป ดังนี ้ ฯ
อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ (กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่อาจารย์ เต “ปฺายิสสฺ ถ ตุมเฺ ห อาจริยาติ ปกฺกมึส.ุ
อ. ท่าน ท. จักปรากฏ ดังนี ้ หลีกไปแล้ ว ฯ
ครัน้ เมื่อสหาย ท. ๒ เหล่านัน้ ไปอยู,่ อ. บริ ษัท ของปริ พาชก เตสุ คจฺฉนฺเตสุ, สฺชยสฺส ปริ สา ภิชฺชิ.
ชื่อว่าสญชัย แตกกันแล้ ว ฯ ในขณะนัน้ อ. อาราม เป็ นสภาพ ตสฺมึ ขเณ อาราโม ตุจฺโฉ อโหสิ.
เปล่า ได้ เป็ นแล้ ว ฯ อ. ปริ พาชกชื่อว่าสญชัย นัน้ เห็นแล้ ว โส ตุจฺฉํ อารามํ ทิสฺวา อุณหํ โลหิตํ ฉฑฺเฑสิ.
ซึง่ อาราม อันเปล่า ส�ำรอกแล้ ว ซึง่ เลือด อันร้ อน ฯ
ในร้ อยแห่งปริ พาชก ท. ๕ ผู้ไปอยู่ กับ ด้ วยสหาย ท. ๒ แม้ เตหิปิ สทฺธึ คจฺฉนฺเตสุ ปฺจสุ ปริพพฺ าชกสเตสุ,
เหล่านันหนา ้ อ. ร้ อยที่สามด้ วยทังกึ ้ ง่ ท. แห่งบริ ษัท ของปริ พาชก สฺชยสฺส ปริ สาย อฑฺฒเตยฺยสตานิ นิวตฺตสึ .ุ
ชื่อว่าสญชัย กลับแล้ ว ฯ (อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน) ้ ได้ ไปแล้ ว อตฺตโน อนฺเตวาสิเกหิ อฑฺฒเตยฺเยหิ ปริพพฺ าชกสเตหิ
สูพ่ ระเวฬุวนั กับ ด้ วยร้ อยแห่งปริ พาชก ท. ที่สามด้ วยทังกึ ้ ง่ สทฺธึ เวฬุวนํ อคมํส.ุ
ผู้เป็ นอันเตวาสิก ของตน ฯ
อ.พระศาสดา ประทับนัง่ แล้ว ในท่ามกลางแห่งบริษทั ๔ เมื่อ สตฺถา จตุปริ สมชฺเฌ นิสนิ ฺโน ธมฺมํ เทเสนฺโต
ทรงแสดง ซึง่ ธรรม ทรงเห็นแล้ ว ซึง่ สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ เต ทูรโต ว ทิสฺวา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “เอเต ภิกฺขเว
แต่ที่ไกลเทียว ตรัสเรี ยกมาแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. (ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า เทฺว สหายกา อาคจฺฉนฺติ โกลิโต จ อุปติสฺโส
ดูก่อนภิกษุ ท. อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน่ คือ อ. โกลิตะ ด้ วย คือ จ, เอตํ เม สาวกยุคํ ภวิสฺสติ อคฺคํ ภทฺทยุคนฺติ.
อ. อุปติสสะ ด้ วย ย่อมมา, (อ. คูแ่ ห่งสหาย) นัน่ เป็ นคูแ่ ห่งสาวก
เป็ นคูอ่ นั เลิศ เป็ นคูอ่ นั เจริ ญ ของเรา จักเป็ น ดังนี ้ ฯ
อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา เต สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทสึ .ุ
นัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ฯ อ. สหาย ท. ๒ เหล่านัน้ ได้ กราบทูลแล้ ว เต ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต
ซึง่ ค�ำนัน่ กะพระผู้มีพระภาคเจ้ า ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ สนฺตเิ ก ปพฺพชฺชํ; ลเภยฺยาม อุปสมฺปทนฺต.ิ
อ. ข้าพระองค์ ท. พึงได้ ซึง่ การบวช ในส�ำนัก ของพระผู้มพี ระภาคเจ้า;
(อ.ข้ าพระองค์ ท.) พึ ง ได้ ซึ่ ง การอุ ป สมบท (ในส� ำ นั ก
ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า) ดังนี ้ ฯ
อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ได้ ตรัสแล้ ว ว่า (อ. ท่าน ท.) เป็ นภิกษุ “เอถ ภิกฺขโวติ ภควา อโวจ, “สฺวากฺขาโต
(เป็ น) จงมา ดังนี ้, (ตรัสแล้ ว) ว่า อ. ธรรม อันเรา กล่าวดีแล้ ว, ธมฺโม, จรถ พฺรหฺมจริยํ สมฺมา ทุกขฺ สฺส อนฺตกิริยายาติ.
อ.ท่าน ท. จงประพฤติ ซึง่ พรหมจรรย์ เพื่ออันกระท�ำซึง่ ที่สดุ
แห่งทุกข์ โดยชอบ ดังนี ้ ฯ
อ. ชน ท. แม้ทงปวง ั้ เป็ นผู้ทรงไว้ซงึ่ บาตรและจีวรอันส�ำเร็จแล้ว สพฺเพปิ อิทฺธิมยปตฺตจีวรธรา วสฺสสติกตฺเถรา
ด้วยฤทธิ์ เป็ นราวกะว่าพระเถระผู้ประกอบแล้วด้วยร้ อยแห่งกาลฝน วิย อเหสุํ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ทรงยังธรรมเทศนา ให้ เจริ ญแล้ ว อถ เนสํ ปริ สาย จริ ยาวเสน สตฺถา ธมฺมเทสนํ
ด้วยอ�ำนาจแห่งความประพฤติ แห่งบริษทั ของสหาย ท. ๒ เหล่านัน้ ฯ วฑฺเฒสิ.
อ. ปริ พาชก ท. ผู้เหลือลง เว้ น ซึง่ พระอัครสาวก ท. สอง €เปตฺวา เทฺว อคฺคสาวเก อวเสสา อรหตฺตํ
บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต ฯ ก็ อ. กิจด้ วยมรรคในเบื ้องบน ปาปุณึส.ุ อคฺคสาวกานํ ปน อุปริ มคฺคกิจฺจํ
ของพระอัครสาวก ท. ไม่ส�ำเร็ จแล้ วฯ น นิฏฺ€าสิ.
(อ.อันถาม) ว่า (อ.กิจด้วยมรรคในเบื ้องบน ของพระอัครสาวก ท. กึการณา? สาวกปารมีาณสฺส มหนฺตตาย.
ไม่ส�ำเร็ จแล้ ว) เพราะเหตุอะไร ? (ดังนี ้) (อ. อันแก้ ) ว่า
(อ. กิจ ด้ วยมรรคในเบื ้องบน ของพระอัครสาวก ท. ไม่ส�ำเร็ จแล้ ว)
เพราะความที่ แห่งสาวกบารมีญาณ เป็ นคุณใหญ่ (ดังนี ้) ฯ

86 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ครัง้ นัน้ อ.พระมหาโมคคัลลานะ ผู้มีอายุ เข้ าไปอาศัย อถายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน ปพฺพชิตทิวสโต
ซึง่ บ้ านชื่อว่ากัลลวาล ในแว่นแคว้ นชื่อว่ามคธ อยูอ่ ยู่ ในวันที่เจ็ด สตฺตเม ทิวเส มคธรฏฺเ€ กลฺลวาลคามกํ อุปนิสสฺ าย
แต่วันแห่งตนบวชแล้ ว, ครั น้ เมื่อความท้ อแท้ และความง่วง วิหรนฺโต, ถีนมิทเฺ ธ โอกฺกมนฺเต, สตฺถารา สํเวชิโต
ครอบง�ำอยู,่ ผู้อนั พระศาสดาทรงให้ สลดแล้ ว บรรเทาแล้ ว ถีนมิทธฺ ํ วิโนเทตฺวา ตถาคเตน ทินนฺ ํ ธาตุกมฺมฏฺ€านํ
ซึง่ ความท้อแท้และความง่วง ฟังอยู่ ซึง่ กัมมัฏฐานมีธาตุเป็ นอารมณ์ สุ ณ นฺ โ ตว อุ ป ริ ม คฺ ค ตฺ ต ยกิ จฺ จํ นิ ฏฺ €าเปตฺ ว า
อันอันพระตถาคตเจ้าประทานแล้วเทียว ยังกิจในหมวดสามแห่งมรรค สาวกปารมีาณสฺส มตฺถกํ ปตฺโต,
ในเบื ้องบน ให้ ส�ำเร็จแล้ ว ถึงแล้ ว ซึง่ ที่สดุ แห่งสาวกบารมีญาณ,
แม้ อ. พระเถระชื่อว่าสารี บตุ ร เข้ าไปอาศัย ซึง่ เมืองชื่อว่า สารี ปตุ ฺตตฺเถโรปิ ปพฺพชิตทิวสโต อฑฺฒมาสํ
ราชคฤห์ นันนั ้ น่ เทียว อยูอ่ ยู่ ในถ� ้ำชือ่ ว่าสุกรขาตา กับ ด้วยพระศาสดา อติกฺกมิตฺวา สตฺถารา สทฺธึ ตเมว ราชคหํ
ก้ าวล่วง ซึง่ เดือนด้ วยทังกึ ้ ง่ แต่วนั แห่งตนบวชแล้ ว, ครัน้ เมื่อ อุปนิสฺสาย สูกรขาตเลเณ วิหรนฺโต, อตฺตโน
เวทนาปริ คคหสูตร (อันพระศาสดา) ทรงแสดงอยู่ แก่ปริ พาชก ภาคิเนยฺยสฺส ทีฆนขปริ พฺพาชกสฺส เวทนาปริ คฺคห-
ชื่ อว่าทีฆนขะ ผู้เป็ นหลาน ของตน, ส่งไปแล้ ว ซึ่งญาณ สุตตฺ นฺเต เทสิยมาเน, สุตตฺ านุสาเรน าณํ เปเสตฺวา
ตามแนวแห่งพระสูตร ถึงแล้ ว ซึง่ ที่สดุ แห่งสาวกบารมีญาณ ปรสฺส วฑฺฒติ ํ ภตฺตํ ภุชฺ นฺโต วิย สาวกปารมีาณสฺส
ราวกะ (อ. บุคคล) ผู้บริโภคอยู่ ซึง่ ข้าวสวย อันอันบุคคลให้เจริญแล้ว มตฺถกํ ปตฺโต.
แก่บคุ คลอื่น ฯ

(อ. อันถาม) ว่า ก็ (อ. พระสารีบตุ ร) ผู้มอี ายุ เป็ นผู้มปี ั ญญามาก “นนุ จายสฺมา มหาปฺโ, อถ กสฺมา
(ย่อมเป็ น) มิใช่หรื อ, ครั น้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู่) มหาโมคฺคลฺลานโต จิรตเรน สาวกปารมีาณํ
(อ. พระสารี บตุ ร) ถึงแล้ ว ซึง่ สาวกบารมีญาณ โดยกาลนานกว่า ปาปุณีต.ิ
กว่าพระมหาโมคคัลลานะ เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ

(อ. อันแก้ ) ว่า (อ. พระสารี บตุ ร ถึงแล้ ว ซึง่ สาวกบารมีญาณ ปริ กมฺมมหนฺตตาย.
โดยกาลนานกว่า กว่าพระมหาโมคคัลลานะ) เพราะความที่
แห่งตนเป็ นผู้มีบริ กรรมใหญ่ (ดังนี ้) ฯ

เหมือนอย่างว่า อ.มนุษย์ผ้ ถู งึ แล้ ว ซึง่ ยาก ท. ผู้ใคร่เพื่ออันไป ยถา หิ ทุคฺคตมนุสฺสา กตฺถจิ คนฺตกุ ามา
ในทีไ่ หน ๆ ย่อมออกไป พลันนัน่ เทียว, ส่วนว่า อ. อัน อันพระราชา ท. ขิปปฺ เมว นิกขฺ มนฺต,ิ ราชูนํ ปน หตฺถวิ าหนกปฺปนาทึ
ทรงได้ ซึง่ บริ กรรมใหญ่ มีความส�ำเร็ จแห่งพาหนะคือช้ างเป็ นต้ น มหนฺตํ ปริ กมฺมํ ลทฺธํุ วฏฺฏติ; เอวํ สมฺปทมิทํ
ย่อมควร ฉันใด ; อ. ค�ำเป็ นเครื่ องยังอุปไมยให้ ถงึ พร้ อม นี ้ เวทิตพฺพํ.
(อันบัณฑิต) พึงทราบ ฉันนัน้ ฯ

ก็ ในวันนัน้ นั่นเทียว อ. พระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ ว ตํทิวสเมว ปน สตฺถา วฑฺฒมานกจฺฉายาย


ซึง่ การประชุมแห่งสาวก ในพระเวฬุวนั ในเวลามีเงาอันเจริ ญอยู่ เวฬุวเน สาวกสนฺนิปาตํ กตฺวา ทฺวินฺนํ เถรานํ
ประทานแล้ ว ซึง่ ต�ำแหน่งแห่งพระอัครสาวก แก่พระเถระ ท. สอง อคฺคสาวกฏฺ€านํ ทตฺวา ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิส.ิ
ทรงสวดแล้ ว ซึง่ พระปาฏิโมกข์ ฯ

อ.ภิกษุ ท. ยกโทษแล้ วกล่าวแล้ วว่า อ.พระศาสดา ย่อมประทาน ภิกฺขู อุชฺฌายึสุ “สตฺถา มุโขโลกเนน ภิกฺขนู ํ
แก่ภิกษุ ท. ด้ วยการทรงแลดูซงึ่ หน้ า, อ. อัน (อันพระศาสดา) เทติ, อคฺคสาวกฏฺ€านํ เทนฺเตน นาม ป€มํ
ชื่ อผู้เมื่อประทาน ซึ่งต�ำแหน่งแห่งพระอัครสาวก ประทาน ปพฺพชิตานํ ปฺจวคฺคยิ านํ ทาตุํ วฏฺฏติ, เอเต
(แก่ภิกษุ ท.) ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวกห้ า ผู้บวชแล้ ว ก่อน ย่อมควร, อโนโลเกนฺเตน ยสตฺเถรปฺปมุขานํ ปฺจปฺาสาย
อ. อัน (อันพระศาสดา) ผู้ไม่ทรงแลดูอยู่ (ซึง่ ภิกษุ ท.) เหล่านัน่ ภิ กฺ ขู นํ ทาตุํ วฏฺ ฏติ , เอเต อโนโลเกนฺ เ ตน
ประทาน แก่ภิกษุ ท. ๕๕ มีพระเถระชื่อว่ายสะเป็ นประมุข ภทฺทวคฺคยิ านํ, เอเต อโนโลเกนฺเตน อุรุเวลกสฺสปาทีนํ
ย่อมควร, (อ. อัน อันพระศาสดา) ผู้ไม่ทรงแลดูอยู่ (ซึง่ ภิกษุ ท.) เตภาติกานํ;
เหล่านัน่ (ประทาน แก่ภิกษุ ท.) ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวกอันเจริ ญ
(ย่อมควร), (อ. อัน อันพระศาสดา) ผู้ไม่ทรงแลดูอยู่ (ซึง่ ภิกษุ ท.)
เหล่ า นั่ น (ประทาน) (แก่ ภิ ก ษุ ท.) ผู้ พี่ น้ องชาย ๓ รู ป
มีพระอุรุเวลากัสสปะเป็ นต้ น (ย่อมควร);

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 87


แต่วา่ (อ. ต�ำแหน่งแห่งพระอัครสาวก) (อันพระศาสดา) ผู้เมื่อ เอเต ปน เอตฺตเก ปหาย สพฺพปจฺฉา ปพฺพชิตานํ
ทรงละแล้ ว (ซึง่ ภิกษุ ท.) เหล่านัน่ มีประมาณเท่านี ้ ประทาน อคฺคสาวกฏฺ€านํ เทนฺเตน มุขํ โอโลเกตฺวา ทินฺนนฺติ
ซึง่ ต�ำแหน่งแห่งพระอัครสาวก (แก่ภิกษุ ท.) ผู้บวชแล้ วในภายหลัง วทึส.ุ
แห่งภิกษุทงปวง ั ้ ประทานแล้ ว เพราะทรงแลดู ซึง่ หน้ า ดังนี ้ ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. เธอ ท.) สตฺถา “ กึ กเถถ ภิกขฺ เวติ ปุจฉฺ ติ วฺ า, “ อิทํ นามาติ
ย่อมกล่าว (ซึง่ เรื่ อง) อะไร ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. ข้ าพระองค์ ท. วุตฺเต, “นาหํ ภิกฺขเว มุขํ โอโลเกตฺวา ภิกฺขนู ํ เทมิ,
ย่อมกล่าว ซึง่ เรื่ อง) ชื่อนี ้ ดังนี ้ (อันภิกษุ ท. เหล่านัน)
้ กราบทูลแล้ ว, เอเตสํ ปน อตฺตนา อตฺตนา ปตฺถิตปตฺถิตเมว
(ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เรา ย่อมให้ แก่ภิกษุ ท. เพราะแลดู เทมิ;
ซึง่ หน้ า หามิได้ , แต่วา่ (อ. เรา) ย่อมให้ ( ซึง่ ต�ำแหน่ง) อันตน ๆ
ปรารถนาแล้ วและปรารถนาแล้ วนัน่ เทียว แก่ภิกษุ ท. เหล่านัน่ ;
ก็ อ. อัญญาโกณฑัญญะ เมื่อถวาย ซึง่ ทานในเพราะข้ าวกล้ า อฺาโกณฺฑฺโ หิ เอกสฺมึ สสฺเส นว
อันเลิศ ท. ๙ ในเพราะข้ าวกล้ า ครั ง้ หนึ่ง ปรารถนาแล้ ว อคฺคสสฺสทานานิ เทนฺโต น อคฺคสาวกฏฺ€านํ
ซึ่งต�ำแหน่งแห่งอัครสาวก ได้ ถวายแล้ ว หามิได้ , แต่ว่า ปตฺเถตฺวา อทาสิ, อคฺคธมฺมํ ปน อรหตฺตํ สพฺพป€มํ
(อ.อัญญาโกณฑัญญะ) ปรารถนาแล้ว เพือ่ อันรู้ตลอด ซึง่ พระอรหัต ปฏิวิชฺฌิตํุ ปตฺเถตฺวา อทาสีต.ิ
อันเป็ นธรรมอันเลิศ ก่อนกว่าชนทังปวง ้ ได้ ถวายแล้ ว ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้ า
(อ. พระอัญญาโกณฑัญญะ ปรารถนาแล้ว เพือ่ อันรู้ตลอด ซึง่ พระอรหัต “กทา ภควาติ.
อันเป็ นธรรมอันเลิศ ก่อนกว่าชนทังปวง ้ ได้ ถวายแล้ ว) ในกาลไร
ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. เธอ ท.) “สุณิสฺสถ ภิกฺขเวติ.
จักฟั งหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์
ผู้เจริ ญ พระเจ้ าข้ า (อ. ข้ าพระองค์ ท. จักฟั ง) ดังนี ้ ฯ “อาม ภนฺเตติ.
(อ.พระศาสดา ทรงน�ำมาแล้ ว ซึง่ เรื่ องอันล่วงไปแล้ ว) ว่า
ดูก่อนภิกษุ ท. อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า พระนามว่าวิปัสสี “ภิกขฺ เว อิโต เอกนวุตกิ ปฺเป วิปสฺสี ภควา โลเก
ได้ เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ในโลก ในกัปป์ ๙๑ แต่ภทั ทกัปป์นี ้ ฯ อุทปาทิ.
ในกาลนัน้ อ. กุฎมพีุ ท. ผู้เป็ นพี่น้องกัน ๒ คน คือ อ. มหากาล ตทา “มหากาโล จุลฺลกาโลติ เทฺว ภาติกา
อ. จุลกาล (ยังบุคคล) ให้ หว่านแล้ ว ซึง่ นาแห่งข้ าวสาลี ใหญ่ ฯ กุ ฏุ มฺ พิ ก า มหนฺ ตํ สาลิ กฺ เ ขตฺ ตํ วปาเปสุํ .
ครัง้ นัน้ ในวันหนึง่ อ. จุลกาล ไปแล้ ว สูน่ าแห่งข้ าวสาลี ฉีกแล้ ว อเถกทิวสํ จุลฺลกาโล สาลิกฺเขตฺตํ คนฺตฺวา เอกํ
ซึง่ ท้ องแห่งข้ าวสาลีหนึง่ เคี ้ยวกินแล้ ว ฯ (อ. อาหารวัตถุนน) ั้ สาลิคพฺภํ ผาเลตฺวา ขาทิ. อติมธุรํ อโหสิ.
เป็ นของมีรสอันอร่อยยิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ.จุลกาลนัน้ เป็ นผู้ใคร่เพือ่ อันถวาย ถวายซึง่ ท้ องแห่งข้ าวสาลี โส พุทฺธปฺปมุขสฺส สงฺฆสฺส สาลิคพฺภทานํ
แก่พระสงฆ์ มีพระพุทธเจ้ าเป็ นประมุข เป็ น เข้ าไปหาแล้ ว ทาตุกาโม หุตวฺ า เชฏฺ€ภาติกํ อุปสงฺกมิตวฺ า “ภาติก
ซึง่ พี่ชายผู้เจริ ญที่สดุ กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่พี่ (อ. เรา ท.) ฉีกแล้ ว สาลิคพฺภํ ผาเลตฺวา พุทฺธานํ อนุจฺฉวิกํ กตฺวา
ซึง่ ท้องแห่งข้าวสาลี (ยังบุคคล) ให้ต้มแล้ว กระท�ำ ให้เป็ นของสมควร ปจาเปตฺวา ทานํ เทมาติ อาห.
แก่พระพุทธเจ้ า ท. จะถวาย ซึง่ ทาน ดังนี ้ ฯ
อ. พี่ชายผู้เจริ ญที่สดุ กล่าวแล้ ว ว่า (อ. ท่าน) กล่าวแล้ ว “กึ วเทสิ, สาลิคพฺภํ ผาเลตฺวา ทานํ นาม
(ซึง่ ค�ำ) อะไร, ชื่อ อ. การ ฉีกแล้ ว ซึง่ ท้ องแห่งข้ าวสาลี ถวาย เนว อตีเต ภูตปุพฺพํ, นานาคเต ภวิสฺสติ, มา สสฺสํ
เป็ นของไม่เคยมีแล้ ว ในกาลอันล่วงไปแล้ วนัน่ เทียว (ย่อมเป็ น), นาสยีต.ิ โส ปุนปฺปนุ ํ ยาจิเยว.
จักไม่มี ในกาลอันไม่มาแล้ ว , (อ. ท่าน) อย่ายังข้ าวกล้ า
ให้ ฉิบหายแล้ ว ดังนี ้ ฯ
อ.จุ ล กาลนั น้ อ้ อนวอนแล้ ว บ่ อ ย ๆ นั่ น เที ย ว ฯ อถ นํ ภาตา “เตนหิ เขตฺตํ เทฺว โกฏฺ€าเส
ครัง้ นัน้ อ. พี่ชาย กล่าวแล้ ว กะจุลกาลนัน้ ว่า ถ้ าอย่างนัน้ กตฺวา มม โกฏฺ€าสํ อนามสิตฺวา อตฺตโน
อ.เจ้ า กระท�ำแล้ ว ซึง่ นา ให้ เป็ นส่วนสอง ไม่แตะต้ องแล้ ว เขตฺตโกฏฺ€าเส, ยํ อิจฺฉสิ, ตํ กโรหีติ อาห.
ซึง่ ส่วนของเรา, (อ. เจ้ า) ย่อมปรารถนา ซึง่ กรรมใด, จงกระท�ำ โส “สาธูติ เขตฺตํ วิภชิตฺวา พหู มนุสฺเส หตฺถกมฺมํ
ซึง่ กรรมนัน้ ในส่วนแห่งนา ของตน ดังนี ้ ฯ อ. จุลกาลนัน้ ยาจิตฺวา สาลิคพฺภํ ผาเลตฺวา
(รับพร้ อมแล้ ว) ว่า อ. ดีละ ดังนี ้ แบ่งแล้ ว ซึง่ นา ขอแล้ ว
ซึง่ หัตถกรรม กะมนุษย์ ท. มาก ฉีกแล้ ว ซึง่ ท้ องแห่งข้ าวสาลี

88 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ยังบุคคลให้ ต้มแล้ ว ในน� ้ำนม อันไม่มีน�ำ้ ปรุงแล้ วด้ วยเนยใสและ นิรุทเก ขีเร ปจาเปตฺวา สปฺปิมธุสกฺขราหิ โยเชตฺวา
น� ้ำผึ ้งและน� ้ำตาลกรวด ท. ถวายแล้ ว ซึง่ ทาน แก่หมูแ่ ห่งภิกษุ พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขุสงฺ ฆสฺส ทานํ ทตฺวา
มีพระพุทธเจ้ าเป็ นประมุข กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ภตฺตกิจฺจปริ โยสาเน “อิทํ ภนฺเต มม อคฺคทานํ
อ. ทานอันเลิศ ของข้ าพระองค์ นี ้ จงเป็ นไปพร้ อมเพื่ออันรู้ตลอด อคฺคธมฺมสฺส สพฺพป€มํ ปฏิเวธาย สํวตฺตตูติ อาห.
ซึง่ ธรรมอันเลิศ ก่อนกว่าชนทังปวง
้ ดังนี ้ ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบ
แห่งกิจด้ วยภัตร ฯ

อ.พระศาสดา ได้ ทรงกระท� ำ แล้ ว ซึ่ ง อนุ โ มทนา ว่ า สตฺถา “เอวํ โหตูติ อนุโมทนํ อกาสิ.
(อ. ความปรารถนาอันอันท่านปรารถนาแล้ ว) อย่างนี ้ จงมีเถิด
ดังนี ้ ฯ

อ.จุลกาลนัน้ ไปแล้ว สูน่ า แลดูอยู่ เห็นแล้ว (ซึง่ นา) อันดาดาษแล้ว โส เขตฺตํ คนฺตฺวา โอโลเกนฺโต สกลเขตฺเต
ด้วยรวงแห่งข้าวสาลี ท. อันราวกะว่าเนือ่ งกันแล้วโดยความเป็ นช่อ กณฺณิกาพทฺเธหิ วิย สาลิสีเสหิ สฺฉนฺนํ ทิสฺวา
ในนาทังสิ ้ ้น ได้ เฉพาะแล้ ว ซึง่ ปี ติ มีอย่าง ๕ คิดแล้ ว ว่า อ. ลาภ ท. ปฺจวิธํ ปี ตึ ปฏิลภิตวฺ า “ลาภา วต เมติ จินเฺ ตตฺวา
หนอ ของเรา ดังนี ้ ได้ถวายแล้ว ชือ่ ซึง่ ทานอันเลิศในเพราะข้าวเม่า ปุถกุ กาเล ปุถกุ คฺคํ นาม อทาสิ, คามวาสีหิ สทฺธึ
ในกาลแห่งข้าวเม่า, ได้ถวายแล้ว ชือ่ ซึง่ ทานในเพราะข้าวกล้าอันเลิศ อคฺคสสฺสทานํ นาม อทาสิ; ลายเน ลายนคฺคํ,
กับ ด้ วยชน ท. ผู้อยูใ่ นบ้ านโดยปกติ; (ได้ ถวายแล้ ว) ซึง่ ทาน เวณิกรเณ เวณิคฺคํ, กลาปาทีสุ กลาปคฺคํ ขลคฺคํ
อันเลิศในการเกี่ยว ในกาลเป็ นที่เกี่ยว, (ได้ ถวายแล้ ว) ซึง่ ทาน ภณฺฑคฺคํ โกฏฺ€คฺคนฺติ เอวํ เอกสสฺเส นว วาเร
อันเลิศในการกระท�ำซึง่ ขะเน็ด ในกาลเป็ นที่กระท�ำซึง่ ขะเน็ด, อคฺคทานํ อทาสิ.
(ได้ ถวายแล้ ว) (ซึง่ ทาน) อันเลิศในฟ่ อน (ซึง่ ทาน) อันเลิศในลาน
(ซึง่ ทาน) อันเลิศในลอม (ซึง่ ทาน) อันเลิศในฉาง ในกาล ท.
มีกาลเป็ นที่กระท�ำซึง่ ฟ่ อนเป็ นต้ น ได้ ถวายแล้ ว ซึง่ ทานอันเลิศ
สิ ้นวาระ ท. ๙ ในเพราะข้าวกล้า ครังหนึ ้ ง่ อย่างนี ้ ด้วยประการฉะนี ้ ฯ

อ. ที่ (แห่งข้ าวกล้ า) อันจุลกาลนันถื ้ อเอาแล้ วและถือเอาแล้ ว ตสฺส สพฺเพสุ วาเรสุ คหิตคหิตฏฺ€านํ ปริ ปรู ิ .
ในวาระ ท. ทังปวง ้ เต็มรอบแล้ ว ฯ
อ. ข้าวกล้า เป็ นข้าวเหลือเฟื อ เป็ นข้าวถึงพร้ อมแล้วด้วยอันตังขึ
้ ้น สสฺสํ อติเรกํ อุฏฺ€านสมฺปนฺนํ อโหสิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ชื่อ อ. ธรรม นัน่ ย่อมรักษา (ซึง่ บุคคล) ผู้รักษาอยู่ ซึง่ ตน ฯ ธมฺโม นาเมส อตฺตานํ รกฺขนฺตํ รกฺขติ.
(เพราะเหตุนนั ้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสแล้ ว ว่า)

อ. ธรรมแล ย่อมรักษา ซึ่งบุคคลผูป้ ระพฤติ ซึ่งธรรมโดยปกติ ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ


อ. ธรรม อันบุคคลประพฤติ ดีแล้ว ย่อมน�ำมา ซึ่งความสุข ธมฺโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ
อ. อานิ สงส์ นัน่ เป็ นอานิ สงส์ ในธรรม อันบุคคลประพฤติ ดีแล้ว เอสานิ สํโส ธมฺเม สุจิณฺเณ
(ย่อมเป็ น) อ.บุคคลผูป้ ระพฤติ ซึ่งธรรมโดยปกติ ย่อมไม่ไป น ทุคฺคตึ คจฺฉติ ธมฺมจารี ติ.
สู่ทคุ ติ ดังนี ้ ฯ

(อ. อัญญาโกณฑัญญะ) ปรารถนาอยู่ เพื่ออันรู้ตลอด ซึง่ ธรรม เอวเมว วิปสฺสสิ มฺมาสมฺพทุ ฺธกาเล อคฺคธมฺมํ
อันเลิศ ก่อน ได้ ถวายแล้ วซึง่ ทานอันเลิศ ท. เก้ า ในกาล ป€มํ ปฏิวิชฺฌิตํุ ปตฺเถนฺโต นว อคฺคทานานิ
แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าพระนามว่าวิปัสสี อย่างนี ้นัน่ เทียว ฯ อทาสิ.

อนึง่ (อ. อัญญาโกณฑัญญะ) ถวายแล้ว ซึง่ ทานใหญ่ สิ ้นวันเจ็ด อิโต สตสหสฺสกปฺปมตฺถเก ปน หํสวตีนคเร
หมอบลงแล้ ว ณ ที่ใกล้ แห่งพระบาท ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า ปทุมตุ ฺตรพุทฺธกาเลปิ สตฺตาหํ มหาทานํ ทตฺวา ตสฺส
นัน้ ตังไว้
้ แล้ ว ซึง่ ความปรารถนา เพื่ออันรู้ตลอด ซึง่ ธรรมอันเลิศ ภควโต ปาทมูเล นิปชฺชิตฺวา อคฺคธมฺมสฺส ป€มํ
ก่อนนัน่ เทียว แม้ ในกาลแห่งพระพุทธเจ้ าพระนามว่าปทุมตุ ตระ ปฏิวชิ ฺฌนตฺถเมว ปตฺถนํ €เปสิ.
ในเมืองชื่อว่าหงสวดี ในที่สดุ แห่งกัปป์แสนหนึง่ แต่ภทั ทกัปป์นี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 89


(อ. ต�ำแหน่ง) อันอัญญาโกณฑัญญะนี ้ปรารถนาแล้ วนัน่ เทียว อิติ อิมินา ปตฺถิตเมว มยา ทินฺนํ, นาหํ มุขํ
อันเรา ให้ แล้ ว ด้ วยประการฉะนี ้, อ. เรา ย่อมให้ เพราะแลดู โอโลเกตฺวา เทมีต.ิ
ซึง่ หน้ า หามิได้ ดังนี ้ ฯ *จบ ก. ๑๗*

(อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ อ. ชน ท. “ยสกุลปุตฺตปฺปมุขา ปฺจปฺาส ชนา กึ


ห้ าสิบห้ า มีกลุ บุตรชื่อว่ายสะเป็ นประมุข กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรม กมฺมํ กรึสุ ภนฺเตติ.
อะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า อ. ชน ท. แม้ เหล่านัน่ ปรารถนาอยู่ “เอเตปิ เอกสฺส พุทฺธสฺส สนฺตเิ ก อรหตฺตํ
ซึง่ พระอรหัต ในส�ำนัก ของพระพุทธเจ้ า พระองค์หนึง่ กระท�ำแล้ ว ปตฺเถนฺตา พหุํ ปุฺกมฺมํ กตฺวา, อปรภาเค
ซึง่ กรรมคือบุญ มาก, ในกาลอันเป็ นส่วนอืน่ อีก ครันเมื ้ อ่ พระพุทธเจ้า อนุปปฺ นฺเน พุทฺเธ, สหายกา หุตฺวา วคฺคพนฺเธน
ไม่เสด็จอุบตั แิ ล้ ว, เป็ นสหายกัน เป็ น กระท�ำอยู่ ซึง่ บุญ ท. ปุฺานิ กโรนฺตา อนาถสรี รานิ ปฏิชคฺคนฺตา
ด้วยการผูกกันเป็ นพวก เทีย่ วปฏิบตั อิ ยูแ่ ล้ว ซึง่ สรีระอันไม่มที พี่ งึ่ ท. ฯ วิจรึส.ุ

ในวันหนึง่ อ. ชน ท. เหล่านัน้ เห็นแล้ ว ซึง่ หญิง ผู้เป็ นไป เต เอกทิวสํ สคพฺภํ อิตฺถึ กาลกตํ ทิสฺวา
กับด้ วยครรภ์ ผู้มีกาละอันกระท�ำแล้ ว (ปรึกษากันแล้ ว) ว่า “ฌาเปสฺสามาติ สุสานํ หรึส.ุ
(อ. เรา ท. ยังสรี ระ) จักให้ ไหม้ ดังนี ้ น�ำไปแล้ ว สูป่ ่ าช้ า ฯ
ในชน ท. เหล่านันหนา ้ อ. ชน ท. ผู้เหลือ เว้ น ซึง่ ชน ท. ๕ เตสุ ปฺจ ชเน “ตุมเฺ ห ฌาเปถาติ สุสาเน
ในป่ าช้ า (ด้ วยค�ำ) ว่า อ. ท่าน ท. (ยังสรี ระ) จงให้ ไหม้ ดังนี ้ €เปตฺวา เสสา คามํ ปวิฏฺ€า.
เข้ าไปแล้ ว สูบ่ ้ าน ฯ
อ. ทารกชื่อว่ายสะ แทงแล้ ว ซึง่ สรี ระนัน้ ด้ วยหลาว ท. ยสทารโก ตํ สรีรํ สูเลหิ วิชฌ
ฺ ติ วฺ า ปริวตฺเตตฺวา
(ยังสรี ระ) ให้ เป็ นไปรอบแล้ วๆ ให้ ไหม้ อยู่ ได้ เฉพาะแล้ ว ปริ วตฺเตตฺวา ฌาเปนฺโต อสุภสฺํ ปฏิลภิ.
ซึง่ อสุภสัญญา ฯ
(อ. ยสะ) แสดงแล้ ว แก่ชน ท. ๔ แม้ เหล่านอกนี ้ (ด้ วยค�ำ) ว่า อิตเรสํปิ จตุนฺนํ ชนานํ “ปสฺสถ โภ อิมํ สรี รํ
ดูก่อนท่านผู้เจริ ญ ท. (อ. ท่าน ท. ) จงเห็น ซึง่ สรี ระ นี ้ มีหนังอันไฟ ตตฺถ ตตฺถ วิทฺธสฺตจมฺมํ กพรโครูปํ วิย อสุจึ
ขจัดแล้ ว ในที่นนั ้ ๆ ราวกะว่าแม่โคด่าง อันไม่สะอาด มีกลิน่ ชัว่ ทุคฺคนฺธํ ปฏิกลู นฺติ ทสฺเสสิ.
อันสกปรก ดังนี ้ ฯ
อ.ชน ท. แม้เหล่านัน้ ได้เฉพาะแล้ว ซึง่ อสุภสัญญา ในสรีระ นัน้ ฯ เตปิ ตตฺถ อสุภสฺํ ปฏิลภึส.ุ เต ปฺจ
อ.ชน ท. ห้า เหล่านัน้ ไปแล้ว สูบ่ ้าน บอกแล้ว แก่สหายผู้เหลือ ท. ฯ ชนา คามํ คนฺตฺวา เสสสหายกานํ กถยึส.ุ
ส่วนว่า อ.ทารก ชื่ อว่ายสะ ไปแล้ ว สู่เรื อน บอกแล้ ว ยโส ปน ทารโก เคหํ คนฺตฺวา มาตาปิ ตูนฺจ
แก่มารดาและบิดา ท. ด้ วย แก่ภรรยา ด้ วย ฯ ภริ ยาย จ กเถสิ.
อ.ชน ท. เหล่านัน้ แม้ ทงปวง ั้ ยังอสุภกรรมฐาน ให้ เจริญแล้ ว ฯ เต สพฺเพปิ อสุภํ ภาวยึส.ุ
อ.กรรมนี ้ เป็ นกรรมในกาลก่อน ของชน ท. เหล่านั่น อิทเมเตสํ ปุพฺพกมฺมํ.
(ย่อมเป็ น) ฯ
เพราะเหตุนนนั ั ้ น่ เทียว อ.ความส�ำคัญว่าป่ าช้ า ในเรื อน เตเนว ยสสฺส อิตฺถาคาเร สุสานสฺา
อันเต็มแล้ วด้ วยหญิง เกิดขึ ้นแล้ ว แก่ยสะ ฯ อุปปฺ ชฺชิ.
ก็ อ. การถึงทับซึง่ คุณวิเศษ บังเกิดแล้ ว แก่ชน ท. ทังปวง ้ ตาย จ อุ ป นิ สฺ ส ยสมฺ ป ตฺ ติ ย า สพฺ เ พสํ
เพราะความถึงพร้ อมแห่งอุปนิสยั นัน้ ฯ วิเสสาธิคโม นิพฺพตฺต.ิ
อ. ชน ท. เหล่านี ้ ได้ แล้ ว (ซึง่ ต�ำแหน่ง) อันอันตนปรารถนาแล้ ว เอวํ อิเม อตฺตนา ปตฺถิตเมว ลภึส.ุ
นัน่ เทียว อย่างนี ้ ฯ
อ. เรา ย่อมให้ เพราะแลดู ซึง่ หน้ า หามิได้ ดังนี ้ ฯ นาหํ มุขํ โอโลเกตฺวา ทมฺมีต.ิ
(อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ก็ อ. สหาย “ภทฺทวคฺคยิ า สหายกา ปน กึ กรึสุ ภนฺเตติ.
ท. ผู้นบั เนื่องแล้ วในพวกอันเจริ ญ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กรรมอะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. สหาย ท. “เอเตปิ ภิกฺขเว ปุพฺพพุทฺธานํ สนฺตเิ ก อรหตฺตํ
แม้ เหล่านัน่ ปรารถนาแล้ ว ซึง่ พระอรหัต ในส�ำนัก ของพระพุทธเจ้ า ปตฺเถตฺวา ปุฺานิ กตฺวา,
ในกาลก่อน ท. กระท�ำแล้ ว ซึง่ บุญ ท.,

90 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ในกาลอันเป็ นส่วนอืน่ อีก ครันเมื
้ อ่ พระพุทธเจ้า ไม่เสด็จอุบตั แิ ล้ว, อปรภาเค อนุปปฺ นฺเน พุทฺเธ, ตึสธุตฺตา หุตฺวา
เป็ นนักเลง ๓๐ คน เป็ น ฟั งแล้ ว ซึง่ โอวาทแห่งสุกรผู้เป็ นบัณฑิต ตุณฺฑิโลวาทํ สุตฺวา สฏฺ€ิวสฺสสหสฺสานิ ปฺจ สีลานิ
ชื่อว่าตุณฑิละ รักษาแล้ ว ซึง่ ศีล ท. ๕ สิ ้นพันแห่งปี ๖๐ ท. ฯ รกฺขสึ .ุ
(อ. สหาย ท.)แม้ เหล่านี ้ ได้ แล้ ว ซึง่ ต�ำแหน่ง อันอันตน เอวํ อิเมปิ อตฺตนา ปตฺถิตปตฺถิตเมว ลภึส,ุ
ปรารถนาแล้ วและปรารถนาแล้ ว นัน่ เทียว อย่างนี ้, อ. เรา ย่อมให้ นาหํ มุขํ โอโลเกตฺวา ภิกฺขนู ํ ทมฺมีต.ิ
แก่ภิกษุ ท. เพราะแลดู ซึง่ หน้ า หามิได้ ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ก็ “อุรุเวลกสฺสปาทโย ปน ภนฺเต กึ กรึสตู .ิ
(อ. ภิกษุ ท.)มีพระอุรุเวลากัสสปะเป็ นต้ น กระท�ำแล้ ว (ซึง่ กรรม)
อะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า (อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน)้ ปรารถนาแล้ว “อรหตฺตเมว ปตฺเถตฺวา ปุฺานิ กรึส.ุ
ซึง่ พระอรหัตนัน่ เทียว กระท�ำแล้ ว ซึง่ บุญ ท. ฯ

ดังจะกล่าวโดยย่อ อ. พระพุทธเจ้ า ท. สอง คือ อิโต หิ เทฺวนวุตกิ ปฺเป `ติสฺโส ผุสฺโสติ เทฺว
อ.พระพุทธเจ้ าพระนามว่าติสสะ อ.พระพุทธเจ้ าพระนามว่าผุสสะ พุทฺธา อุปปฺ ชฺชสึ .ุ
เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ในกัปป์ ๙๒ แต่ภทั ทกัปป์นี ้ ฯ
อ. พระราชา พระนามว่ามหินท์ เป็ นพระบิดา ของพระพุทธเจ้ า ผุสฺสพุทฺธสฺส มหินฺโท นาม ราชา ปิ ตา อโหสิ.
พระนามว่าผุสสะ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ก็ ครั น้ เมื่อพระพุทธเจ้ านัน้ ทรงบรรลุแล้ ว ซึ่งพระญาณ ตสฺมึ ปน สมฺโพธึ ปตฺเต, รฺโ กนิฏฺ€ปุตฺโต
เป็ นเครื่ องตรัสรู้พร้ อม, อ. พระโอรสผู้น้อยที่สดุ ของพระราชา อคฺคสาวโก, ปุโรหิตปุตฺโต ทุตยิ สาวโก อโหสิ.
เป็ นสาวกผู้เลิศ (ได้ เป็ นแล้ ว), อ. บุตรของปุโรหิต เป็ นสาวกที่สอง
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

อ. พระราชา เสด็จไปแล้ว สูส่ ำ� นัก ของพระศาสดา ทรงแลดูแล้ว ราชา สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา “เชฏฺ€ปุตฺโต
ซึง่ ชน ท. เหล่านัน้ (ด้ วยอันทรงด�ำริ) ว่า อ. บุตรผู้เจริญทีส่ ดุ ของเรา เม พุทฺโธ, กนิฏฺ€ปุตฺโต อคฺคสาวโก, ปุโรหิตปุตฺโต
เป็ นพระพุทธเจ้ า (ได้ เป็ นแล้ ว), อ. บุตรผู้น้อยที่สดุ เป็ นสาวกผู้เลิศ ทุตยิ สาวโกติ เต โอโลเกตฺวา “มเมว พุทฺโธ,
(ได้ เป็ นแล้ ว), อ. บุตรของปุโรหิต เป็ นสาวกทีส่ อง (ได้ เป็ นแล้ ว) ดังนี ้ มเมว ธมฺโม, มเมว สงฺโฆ; นโม ตสฺส ภควโต
ทรงเปล่งแล้ ว ซึง่ อุทาน ๓ ครัง้ ว่า อ. พระพุทธเจ้ า ของเรานัน่ เทียว, อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ฺธสฺสาติ ติกฺขตฺตํุ อุทานํ
อ.พระธรรม ของเรานัน่ เทียว, อ. พระสงฆ์ ของเรา นัน่ เทียว; อุทาเนตฺวา สตฺถุ ปาทมูเล นิปชฺชิตฺวา “ภนฺเต
อ.ความนอบน้ อม (จงมี) แก่พระผู้มีภาคเจ้ า พระองค์ นัน้ อิทานิ เม นวุตวิ สฺสสหสฺสปริ มาณสฺส อายุโน
ผู้เป็ นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้ดีโดยชอบแล้ ว ดังนี ้ ทรงหมอบลงแล้ ว โกฏิยํ นิสีทิตฺวา นิทฺทายนกาโล วิย, อฺเสํ
ณ ที่ใกล้ แห่งพระบาท ของพระศาสดา ทรงรับแล้ ว ซึง่ ปฏิญญา เคหทฺวารํ อคนฺตฺวา, ยาวาหํ ชีวามิ, ตาว เม
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. กาลนี ้ เป็ นราวกะว่ากาลเป็ นที่นงั่ - จตฺตาโร ปจฺจเย อธิวาเสถาติ ปฏิฺํ คเหตฺวา
ประพฤติหลับ ในที่สดุ แห่งอายุ มีพนั แห่งปี เก้ าสิบเป็ นประมาณ นิพทฺธํ พุทฺธปุ ฏฺ€านํ กโรติ.
ของหม่อมฉัน (ย่อมเป็ น), (อ. พระองค์) ไม่เสด็จไปแล้ ว สูป่ ระตู
แห่งเรื อน ของชน ท. เหล่าอื่น, อ. หม่อมฉัน ย่อมเป็ นอยู่ เพียงใด,
ทรงยังปั จจัย ท. สี่ ของหม่อมฉัน จงให้ อยูท่ บั เพียงนัน้ ดังนี ้
ย่อมทรงกระท�ำ ซึง่ การบ�ำรุงซึง่ พระพุทธเจ้ า เนืองนิตย์ ฯ

ก็ อ. พระโอรส ท. สาม แม้ เหล่าอืน่ อีก ของพระราชา ได้ มแี ล้ ว ฯ รฺโ ปน อปเรปิ ตโย ปุตฺตา อเหสุํ.
ในพระโอรส ท. ๓ เหล่านันหนา
้ อ. ร้ อยแห่งทหาร ท. ๕ เป็ นบริวาร เตสุ เชฏฺ€สฺส ปฺจ โยธสตานิ ปริ วาโร,
ของพระโอรสผู้เจริ ญที่สดุ (ได้ เป็ นแล้ ว),( อ. ร้ อยแห่งทหาร ท.) ๓ มชฺฌิมสฺส ตีณิ, กนิฏฺ€สฺส เทฺว.
(เป็ นบริ วาร) ของพระโอรสผู้มีในท่ามกลาง (ได้ เป็ นแล้ ว),
(อ. ร้ อยแห่งทหาร ท.) ๒ (เป็ นบริ วาร) ของพระโอรสผู้น้อยที่สดุ
(ได้ เป็ นแล้ ว) ฯ
อ. พระโอรส ท. ๓ เหล่านัน้ (ทรงปรึกษากันแล้ ว) ว่า แม้ เต “มยมฺปิ ภาติกํ โภเชสฺสามาติ ปิ ตรํ
อ. เรา ท. ยังพระเจ้ าพี่ จักให้ เสวย ดังนี ้ ทรงขอแล้ ว ซึง่ โอกาส โอกาสํ ยาจิตฺวา
กะพระบิดา

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 91


แม้ทรงขออยู่ บ่อย ๆ ไม่ทรงได้แล้ว, ครันเมื ้ อ่ ประเทศอันเป็ นทีส่ ดุ เฉพาะ ปุนปฺปนุ ํ ยาจนฺตาปิ อลภิตฺวา, ปจฺจนฺเต กุปิเต,
(อันโจร ท.) ให้กำ� เริบแล้ว, ผู้อนั พระบิดา ทรงส่งไปแล้ว เพือ่ ประโยชน์ ตสฺส วูปสมนตฺถาย เปสิตา ปจฺจนฺตํ วูปสเมตฺวา
แก่ความเข้ าไปสงบวิเศษ แห่งประเทศอันเป็ นที่สดุ เฉพาะนัน้ ปิ ตุ สนฺตกิ ํ อาคมึส.ุ
ครัน้ ทรงยังประเทศอันเป็ นที่สดุ เฉพาะ ให้ เข้ าไปสงบวิเศษแล้ ว
เสด็จมาแล้ ว สูส่ �ำนัก ของพระบิดา ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระบิดา ทรงสวมกอดแล้ ว ซึง่ พระโอรส ท. เหล่านัน้ อถ เน ปิ ตา อาลิงฺคติ ฺวา สีเส จุมพฺ ิตฺวา
ทรงจุมพิตแล้ ว ที่พระเศียร ตรัสแล้ ว ว่า แน่ะพ่อ ท. (อ. เรา) จะให้ “วรํ โว ตาตา ทมฺมีติ อาห.
ซึง่ พร แก่เจ้ า ท. ดังนี ้ ฯ
อ.พระโอรส ท. เหล่านัน้ (ทรงรับพร้ อมแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ เต “สาธุ เทวาติ วรํ คหิตกํ กตฺวา ปุน
ผู้สมมติเทพ อ. ดีละ ดังนี ้ ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ พร ให้ เป็ นพร กติปาหจฺจเยน ปิ ตรา “คณฺหถ ตาตา วรนฺติ
อันพระองค์ทรงรับเอาแล้ ว ผู้อนั พระบิดาตรัสแล้ วว่า แน่ะพ่อ ท. วุตฺตา “เทว อมฺหากํ อฺเน เกนจิ อตฺโถ
(อ. เจ้ า ท.) จงรับ ซึง่ พร ดังนี ้ โดยอันล่วงไปแห่งวันเล็กน้ อย อีก นตฺถิ, อิโต ปฏฺ€าย มยํ ภาติกํ โภเชสฺสาม, อิมํ
กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ สู มมติเทพ อ.ความต้ องการ โน วรํ เทหีติ อาหํส.ุ
ด้ วยวัตถุอะไร ๆ อื่น ย่อมไม่มี แก่ข้าพระพุทธเจ้ า ท.,
อ. ข้ าพระพุทธเจ้ า ท. ยังพระเจ้ าพี่ จักให้ เสวย จ�ำเดิม แต่กาลนี ้,
อ.พระองค์ ขอจงพระราชทาน ซึง่ พรนี ้ แก่ข้าพระพุทธเจ้ า ท. ดังนี ้ ฯ
(อ. พระราชา ตรัสแล้ ว)ว่า แน่ะพ่อ ท. อ. เรา ย่อมไม่ให้ ดังนี ้ ฯ “น เทมิ ตาตาติ.
(อ.พระโอรส ท. กราบทูลแล้ว) ว่า (อ. พระองค์ ท.) เมือ่ ไม่พระราชทาน “นิจฺจกาลํ อเทนฺตา สตฺต สํวจฺฉรานิ เทถาติ.
ตลอดกาลเนืองนิตย์ ขอจงพระราชทาน สิ ้นปี ท. เจ็ด ดังนี ้ ฯ
(อ. พระราชา ตรัสแล้ ว) ว่า แน่ะพ่อ ท. อ. เรา ย่อมไม่ให้ ดังนี ้ ฯ “น เทมิ ตาตาติ.
(อ. พระโอรส ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ (อ. พระองค์ ท.) “เตนหิ ฉ ปฺจ จตฺตาริ ตีณิ เทฺว เอกํ สํวจฺฉรํ
ขอจงพระราชทาน (สิ ้นปี ท.) ๖ (สิ ้นปี ท.) ๕ (สิ ้นปี ท.) ๔ สตฺต มาเส ฉ มาเส ปฺจ มาเส จตฺตาโร มาเส
(สิ ้นปี ท.) ๓ (สิ ้นปี ท.) ๒ สิ ้นปี หนึง่ สิ ้นเดือน ท. ๗ สิ ้นเดือน ท. ๖ ตโย มาเส เทถาติ.
สิ ้นเดือน ท. ๕ สิ ้นเดือน ท. ๔ สิ ้นเดือน ท. ๓ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระราชา ตรัสแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ ท. อ. เรา ย่อมไม่ให้ ดังนี ้ ฯ “น เทมิ ตาตาติ.
(อ. พระโอรส ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ พระองค์ผ้ สู มมติเทพ “โหตุ เทว, เอเกกสฺส โน เอเกกํ มาสํ กตฺวา
(อ.ข้อนัน่ ) จงมีเถิด, อ. พระองค์ ท. ขอจงพระราชทาน สิ ้นเดือน ตโย มาเส เทถาติ.
ท. ๓ แก่ข้าพระพุทธเจ้ า ท. กระท�ำ ให้ เป็ นเดือน ๆ หนึง่ ๆ
แก่ข้าพระพุทธเจ้ าคนหนึง่ ๆ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระราชา ตรัสแล้ ว) ว่า แน่ะพ่อ ท. อ. ดีละ, ถ้ าอย่างนัน้ “สาธุ ตาตา, เตนหิ ตโย มาเส โภเชถาติ.
อ. เจ้ า ท. (ยังพระเจ้ าพี่) จงให้ เสวย สิ ้นเดือน ท. ๓ ดังนี ้ ฯ เตสํ ปน ติณฺณมฺปิ เอโก ว โกฏฺ€าคาริ โก,
ก็ อ.บุคคลผู้ประกอบแล้ วในเรื อนคลัง ของพระโอรส ท. แม้ สาม เอโก ว อายุตฺตโก.
เหล่านัน้ คนเดียวกันเทียว, อ. นายเสมียน คนเดียวกันเทียว ฯ
อ. พระโอรส ท. ๓ เหล่านัน้ เป็ นผู้มีบรุ ุษมีนหุต ๑๒ เป็ นประมาณ เต ทฺวาทสนหุตปุริสปริ วารา.
เป็ นบริ วาร (ย่อมเป็ น) ฯ
(อ. พระโอรส ท. ๓) ทรงยังบุคคลให้ ร้องเรี ยกแล้ ว ซึง่ บุรุษ ท. เต ปกฺโกสาเปตฺวา “มยํ อิมํ เตมาสํ ทส
เหล่านัน้ (ตรัสแล้ ว) ว่า อ. เรา ท. รับแล้ ว ซึง่ ศีล ท. ๑๐ นุง่ แล้ ว สีลานิ คเหตฺวา เทฺว กาสายานิ นิวาเสตฺวา
ซึง่ ผ้ ากาสายะ ท. ๒ จักอยู่ อยูก่ บั ด้ วยพระศาสดา ตลอดประชุม สตฺถารา สหวาสํ วสิสฺสาม, ตุมเฺ ห เอตฺตกํ นาม
แห่งเดือนสาม นี ้, อ. ท่าน ท. รับแล้ ว ซึง่ ค่าใช้ จา่ ยในทาน ทานวฏฺฏํ คเหตฺวา เทวสิกํ นวุตสิ หสฺสานํ ภิกฺขนู ํ
ชื่อมีประมาณเท่านี ้ ยังของอันบุคคลพึงเคี ้ยวและของอันบุคคล โยธสหสฺสสฺส จ โน สพฺพํ ขาทนียโภชนียํ
พึงบริ โภค ทังปวง ้ พึงให้ เป็ นไปพร้ อม แก่ภิกษุ ท. เก้ าหมื่นรูปด้ วย สํวตฺเตยฺยาถ, มยํ หิ อิโต ปฏฺ€าย น กิฺจิ
แก่พนั แห่งทหาร ของเรา ท. ด้ วย ทุก ๆ วัน, เพราะว่า อ. เรา ท. วกฺขามาติ วทึส.ุ
จักไม่กล่าว ซึง่ ค�ำอะไร ๆ จ�ำเดิม แต่กาลนี ้ ดังนี ้ ฯ
อ. พระโอรส ท. แม้ สาม เหล่านัน้ ทรงพาเอาแล้ ว ซึง่ พันแห่ง เต ตโยปิ ปริ วารกปุริสสหสฺสํ คเหตฺวา ทส
บุรุษผู้เป็ นบริ วาร ทรงสมาทานแล้ ว ซึง่ ศีล ท. ๑๐ ทรงนุง่ แล้ ว สีลานิ สมาทาย กาสายวตฺถานิ นิวาเสตฺวา
ซึง่ ผ้ ากาสายะ ท. ประทับอยูแ่ ล้ ว ในวิหารนัน่ เทียว ฯ วิหาเรเยว วสึส.ุ

92 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. บุคคลผู้ประกอบแล้ วในเรื อนคลังด้ วย อ. นายเสมียนด้ วย โกฏฺ€าคาริ โก จ อายุตฺตโก จ เอกโต หุตฺวา
เป็ น โดยความเป็ นอันเดียวกัน รับแล้ ว ซึง่ ค่าใช้ จา่ ย ตามวาระ ๆ ติณฺณํ ภาติกานํ โกฏฺ€าคาเรหิ วาเรน วาเรน
จากเรื อนคลัง ท. ของพระโอรสผู้พี่น้องชาย ท. ๓ ย่อมถวาย วฏฺฏํ คเหตฺวา ทานํ เทนฺติ.
ซึง่ ทาน ฯ

ก็ อ. บุตร ท. (ของชน ท.) ผู้กระท�ำซึง่ การงาน ย่อมร้ องไห้ กมฺมกรานํ ปน ปุตฺตา ยาคุภตฺตาทีนํ อตฺถาย
เพื่อประโยชน์ (แก่อาหารวัตถุ ท.) มีข้าวต้ มและข้ าวสวยเป็ นต้ น ฯ โรทนฺติ.
อ. ชน ท. เหล่านัน,้ ครัน้ เมื่อหมูแ่ ห่งภิกษุ ไม่มาแล้ วนัน่ เทียว, เต เตสํ, ภิกฺขสุ งฺเฆ อนาคเตเยว, ยาคุภตฺตาทีนิ
ย่อมให้ (ซึง่ อาหารวัตถุ ท.) มีข้าวต้ มและข้ าวสวยเป็ นต้ น แก่บตุ ร ท. เทนฺต.ิ
เหล่านัน้ ฯ
(อ. อาหารวัตถุ) อันยิ่งเกิน ไร ๆ เป็ นของไม่เคยมีแล้ ว ภิกฺขสุ งฺฆสฺส ภตฺตกิจฺจาวสาเน กิฺจิ อติเรกํ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงแห่งกิจด้ วยภัตร แห่งหมูแ่ ห่งภิกษุ (ย่อมเป็ น) ฯ น ภูตปุพฺพํ.
ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก อ. ชน ท. เหล่านัน้ (กล่าวแล้ ว) ว่า เต อปรภาเค “ทารกานํ เทมาติ อตฺตนาปิ
อ. เรา ท. จะให้ แก่เด็ก ท. ดังนี ้ ถือเอาแล้ว แม้ด้วยตน เคี ้ยวกินแล้ว, คเหตฺวา ขาทึส,ุ มนุฺํปิ อาหารํ ทิสฺวา
เห็นแล้ ว ซึง่ อาหาร แม้ อนั เป็ นที่ฟแู ห่งใจ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออัน อธิวาเสตุํ นาสกฺขสึ .ุ
(ยังความฟูแห่งใจ) ให้ อยูท่ บั ฯ
ก็ อ.ชน ท. เหล่านัน้ เป็ นผู้มีพนั แปดสิบสี่เป็ นประมาณ เต ปน จตุราสีตสิ หสฺสา อเหสุํ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ. ชน ท. เหล่านัน้ เคี ้ยวกินแล้ ว, ซึง่ ค่าใช้ จา่ ย อันอันบุคคล เต สงฺฆสฺส ทินฺนํ วฏฺฏํ ขาทิตฺวา กายสฺส
ถวายแล้ ว แก่สงฆ์ บังเกิดแล้ ว ในวิสยั แห่งเปรต เพราะความแตกไป เภทา เปตฺตวิ ิสเย นิพฺพตฺตสึ .ุ
แห่งกาย ฯ
ส่วนว่า อ.พระโอรส ท. ผู้เป็ นพี่น้องกัน เหล่านัน้ กับ เต ภาติกา ปน ปุริสสหสฺเสน สทฺธึ กาลํ
ด้ วยพันแห่งบุรุษ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ บังเกิดแล้ ว ในเทวโลก กตฺวา เทวโลเก นิพฺพตฺตติ ฺวา เทวโลกา เทวโลกํ
ท่องเทีย่ วไปอยู่ สูเ่ ทวโลก จากเทวโลก ยังกัปป์ ๙๒ ท. ให้สิ ้นไปแล้ว ฯ สํสรนฺตา เทฺวนวุตกิ ปฺเป เขเปสุํ.
อ.พระโอรส ท. ผู้เป็ นพี่น้องกัน ๓ เหล่านัน้ ปรารถนาอยู่ เอวํ เต ตโย ภาตโร อรหตฺตํ ปตฺเถนฺตา
ซึ่ ง พระอรหัต กระท� ำ แล้ ว ซึ่ ง กรรมอัน งาม ในกาลนั น้ ตทา กลฺยาณกมฺมํ กรึส.ุ
ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ

อ. ชฎิล ท. ผู้เป็ นพี่น้องกัน ๓ เหล่านัน้ ได้ แล้ ว (ซึง่ ต�ำแหน่ง) เต อตฺตนา ปตฺถิตเมว ลภึส.ุ
อันอันตนปรารถนาแล้ วนัน่ เทียว ฯ

อ. เรา ย่อมให้ เพราะแลดูซงึ่ หน้ า หามิได้ ดังนี ้ ฯ นาหํ มุขํ โอโลเกตฺวา ทมฺมีต.ิ ”

ก็ อ. นายเสมียน ของพระโอรส ท. ผู้เป็ นพี่น้องกัน ๓ เหล่านัน้ ตทา ปน เตสํ อายุตฺตโก พิมพฺ ิสาโร อโหสิ,
ในกาลนัน้ เป็ นพระเจ้ าพิมพิสาร ได้ เป็ นแล้ ว (ในกาลนี ้), อ. บุคคล โกฏฺ€าคาริ โก วิสาโข อุปาสโก.
ผู้ประกอบแล้ วในเรื อนคลัง (ในกาลนัน) ้ เป็ นอุบาสก ชื่อว่าวิสาขะ
(ได้ เป็ นแล้ ว ในกาลนี ้) ฯ
อ. ชน ท. ผู้กระท�ำซึง่ การงาน ของพระโอรส ท. ๓ เหล่านัน้ เตสํ กมฺมกรา ตทา เปเตสุ นิพฺพตฺตติ ฺวา
บังเกิดแล้ ว ในเปรต ท. ในกาลนัน้ ท่องเที่ยวไปอยู่ ด้ วยอ�ำนาจ สุคติทคุ ฺคติวเสน สํสรนฺตา อิมสฺมึ กปฺเป จตฺตาริ
แห่งสุคติและทุคติ บังเกิ ดแล้ ว ในโลกแห่งเปรตนั่นเทียว พุทฺธนฺตรานิ เปตโลเกเยว นิพฺพตฺตสึ .ุ
สิ ้นพุทธันดร ท. ๔ ในกัปป์นี ้ ฯ

อ. เปรต ท. เหล่านัน้ เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า เต อิ ม สฺ มึ กปฺ เ ป สพฺ พ ป€มํ อุ ปฺ ป นฺ นํ


พระนามว่ากกุสนั ธะ ผู้ทรงมีอายุมีพนั แห่งปี ๔๐ เป็ นประมาณ จตฺตาฬสี วสฺสสหสฺสายุกํ กกุสนฺธํ ภควนฺตํ อุปสงฺกมิตวฺ า
ผู้เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ก่อนกว่าพระพุทธเจ้ าทังปวง
้ ในกัปป์นี ้ ทูลถามแล้ ว “อมฺหากํ อาหารํ ลภนกาลํ อาจิกฺขถาติ ปุจฺฉึส.ุ
ว่า อ. พระองค์ ท. ขอจงตรัสบอก ซึง่ กาลเป็ นที่ได้ ซึง่ อาหาร
แก่ข้าพระองค์ ท. ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 93


(อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ าพระนามว่ากกุสนั ธะ) ตรัสแล้ ว ว่า “มม ตาว กาเล น ลภิสฺสถ, มม ปจฺฉโต
อ. ท่าน ท. จักไม่ได้ ในกาล ของเรา ก่อน, ครัน้ เมื่อแผ่นดินใหญ่ มหาป€วิยา โยชนมตฺตํ อภิรุฬหฺ าย โกนาคมนพุทโฺ ธ
งอกขึ ้นยิ่งแล้ ว (สิ ้นที่) มีโยชน์เป็ นประมาณ อ.พระพุทธเจ้ า อุปปฺ ชฺชิสฺสติ, ตํ ปุจฺเฉยฺยาถาติ อาห.
พระนามว่า โกนาคมน์ จักเสด็จอุบตั ิ ข้ างหลัง ของเรา, อ. ท่าน ท.
พึงทูลถาม ซึง่ พระพุทธเจ้ า พระองค์นนั ้ ดังนี ้ ฯ
อ. เปรต ท. เหล่านัน้ ยังกาล มีประมาณเท่านัน้ ให้ สิ ้นไปแล้ ว, เต ตตฺตกํ กาลํ เขเปตฺวา, ตสฺมึ อุปปฺ นฺเน,
ครัน้ เมื่อพระพุทธเจ้ าพระองค์นนั ้ เสด็จอุบตั แิ ล้ ว, ทูลถามแล้ ว ตํ ปุจฺฉึส.ุ
ซึง่ พระพุทธเจ้ าพระองค์นนั ้ ฯ
อ. พระพุทธเจ้ า แม้ นนั ้ ตรัสแล้ ว ว่า อ. ท่าน ท. จักไม่ได้ โสปิ “มม กาเล น ลภิสฺสถ, มม ปจฺฉโต
ในกาล ของเรา, ครัน้ เมื่อแผ่นดินใหญ่งอกขึ ้นยิ่งแล้ ว สิ ้นที่มีโยชน์ มหาป€วิยา โยชนมตฺตํ อภิรุฬฺหาย กสฺสปพุทฺโธ
เป็ นประมาณ อ. พระพุทธเจ้ าพระนามว่ากัสสปะ จักเสด็จอุบตั ิ อุปปฺ ชฺชิสฺสติ, ตํ ปุจฺเฉยฺยาถาติ อาห.
ข้ างหลัง ของเรา, อ. ท่าน ท. พึงทูลถาม ซึง่ พระพุทธเจ้ าพระองค์
นัน้ ดังนี ้ ฯ
อ.เปรต ท. เหล่านัน้ ยังกาล มีประมาณเท่านัน้ ให้ สิ ้นไปแล้ ว, เต ตตฺตกํ กาลํ เขเปตฺวา, ตสฺมึ อุปปฺ นฺเน,
ครัน้ เมื่อพระพุทธเจ้ า พระองค์นนั ้ เสด็จอุบตั แิ ล้ ว, ทูลถามแล้ ว ตํ ปุจฺฉึส.ุ
ซึง่ พระพุทธเจ้ าพระองค์นนั ้ ฯ
อ. พระพุทธเจ้ า แม้ นนั ้ ตรัสแล้ ว ว่า อ. ท่าน ท. จักไม่ได้ โสปิ “มม กาเล น ลภิสฺสถ, มม ปจฺฉโต
ในกาล ของเรา, ครัน้ เมื่อแผ่นดินใหญ่ งอกขึ ้นยิ่งแล้ ว สิ ้นที่มีโยชน์ มหาป€วิยา โยชนมตฺตํ อภิรุฬฺหาย โคตมพุทฺโธ
เป็ นประมาณ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้ าพระนามว่าโคดม จักเสด็จอุบตั ิ นาม อุปปฺ ชฺชสิ สฺ ติ, ตทา ตุมหฺ ากํ าตโก พิมพฺ สิ าโร
ข้ างหลัง ของเรา , ในกาลนั น้ อ. ญาติ ของท่ า น ท. นาม ราชา ภวิสฺสติ, โส สตฺถุ ทานํ ทตฺวา
เป็ นพระราชาพระนามว่าพิมพิสาร จักเป็ น, อ.พระราชา นัน้ ตุมหฺ ากํ ปาเปสฺสติ, ตทา ลภิสฺสถาติ อาห.
ถวายแล้ ว ซึง่ ทาน แก่พระศาสดา (ทรงยังทาน) จักให้ ถงึ แก่ทา่ น
ท., อ. ท่าน ท. จักได้ ในกาลนัน้ ดังนี ้ ฯ
อ. พุทธันดรหนึง่ เป็ นราวกะว่าวันพรุ่ง ได้ มีแล้ ว แก่เปรต ท. เตสํ เอกํ พุทฺธนฺตรํ เสฺวทิวสํ วิย อโหสิ.
เหล่านัน้ ฯ
อ. เปรต ท. เหล่านัน,้ ครัน้ เมื่อพระตถาคตเจ้ า เสด็จอุบตั แิ ล้ ว, เต, ตถาคเต อุปปฺ นฺเน, พิมพฺ ิสารรฺา
ครัน้ เมื่อทาน อันพระราชาพระนามว่าพิมพิสาร ทรงถวายแล้ ว ป€มทิวสํ ทาเน ทินฺเน, รตฺตภิ าเค เภรวสทฺทํ
ในวันที่หนึง่ , กระท�ำแล้ ว ซึง่ เสียงอันเป็ นที่ตงแห่ั ้ งความกลัว กตฺวา รฺโ อตฺตานํ ทสฺสยึส.ุ
แสดงแล้ ว ซึง่ ตน แก่พระราชา ในส่วนแห่งราตรี ฯ
ในวันรุ่งขึ ้น อ. พระราชานัน้ เสด็จมาแล้ ว สูพ่ ระเวฬุวนั โส ปุนทิวเส เวฬุวนํ อาคนฺตฺวา ตถาคตสฺส
กราบทูลแล้ ว ซึง่ ความเป็ นไปทัว่ นัน้ แก่พระตถาคตเจ้ า ฯ ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสิ.

อ. พระศาสดา (ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ. ญาติ ท. สตฺถา “มหาราช อิโต เทฺวนวุติกปฺปมตฺถเก


ของพระองค์ เหล่านัน้ เคี ้ยวกินแล้ ว ซึง่ ค่าใช้ จา่ ย อันอันบุคคล ผุสฺสพุทฺธกาเล เอเต ตว าตกา ภิกฺขสุ งฺฆสฺส
ถวายแล้ว แก่หมูแ่ ห่งภิกษุ ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าพระนามว่าผุสสะ ทินฺนํ วฏฺฏํ ขาทิตฺวา เปตโลเก นิพฺพตฺตติ ฺวา
ในที่สดุ แห่งกัปป์ ๙๒ แต่ภทั ทกัปป์นี ้ บังเกิดแล้ ว ในโลกแห่งเปรต สํสรนฺตา กกุสนฺธาทโย พุทเฺ ธ อุปปฺ นฺเน ปุจฉฺ ิตวฺ า
ท่องเที่ยวไปอยู่ ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระพุทธเจ้ า ท. มีพระกกุสนั ธะ เตหิ อิทฺจิทฺจ วุตฺตา เอตฺตกํ กาลํ ตว ทานํ
เป็ นต้ น ผู้เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ผู้อนั พระพุทธเจ้ า ท. เหล่านัน้ ตรัสแล้ ว ปจฺจาสึสมานา, หิยฺโย ตยา ทาเน ทินฺเน, ปตฺตึ
ซึง่ เรื่ องนี ้ด้ วย ๆ หวังเฉพาะอยู่ ซึง่ ทาน ของพระองค์ สิ ้นกาล อลภมานา เอวมกํสตู .ิ
มีประมาณเท่านี ้, ครัน้ เมื่อทานอันพระองค์ ทรงถวายแล้ ว
ในวันวาน, ไม่ได้ อยูซ่ งึ่ ส่วนบุญ ได้ กระท�ำแล้ ว อย่างนี ้ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระราชา ตรัสถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ก็ “กึ ปน ภนฺเต อิทานิปิ ทินฺเน ลภิสฺสนฺตีต.ิ
(ครัน้ เมื่อทาน อันหม่อมฉัน) ถวายแล้ ว แม้ ในกาลนี ้ (อ. เปรต ท.)
จักได้ หรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า ดูกอ่ นมหาบพิตร ขอถวายพระพร “อาม มหาราชาติ.
(อ. อย่างนัน) ้ ดังนี ้ ฯ

94 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระราชา ทรงนิมนต์แล้ ว ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้ า ราชา พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขสุ งฺฆํ นิมนฺเตตฺวา
เป็ นประมุข ถวายแล้ ว ซึง่ ทานใหญ่ ในวันรุ่งขึ ้น ได้ พระราชทานแล้ ว ปุนทิวเส มหาทานํ ทตฺวา “ภนฺเต อิโต เตสํ
ซึง่ ส่วนบุญ ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ.ข้ าวและน� ้ำอันบุคคล เปตานํ ทิพฺพนฺนปานํ สมฺปชฺชตูติ ปตฺตึ อทาสิ.
พึงดื่มอันเป็ นทิพย์ จงถึงพร้ อม แก่เปรต ท. เหล่านัน้ แต่มหาทาน
นี ้ ดังนี ้ ฯ
(อ.ข้ าวและน� ำ้ อันบุคคลพึงดื่มอันเป็ นทิพย์ ) บังเกิ ดแล้ ว เตสํ ตเถว นิพฺพตฺต.ิ
แก่เปรต ท. เหล่านัน้ อย่างนันนั ้ น่ เทียว ฯ
ในวันรุ่งขึ ้น (อ. เปรต ท.) เป็ นผู้เปลือย เป็ น แสดงแล้ว ซึง่ ตน ฯ ปุนทิวเส นคฺคา หุตฺวา อตฺตานํ ทสฺเสสุํ.
อ.พระราชา ทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ในวันนี ้ ราชา “อชฺช ภนฺเต นคฺคา หุตฺวา อตฺตานํ
(อ. เปรต ท.) เป็ นผู้เปลือย เป็ น แสดงแล้ ว ซึง่ ตน ดังนี ้ ฯ ทสฺเสสุนฺติ อาโรเจสิ.
(อ. พระศาสดา ตรัส แล้ ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร อ. ผ้ า ท. “วตฺถานิ เต น ทินฺนานิ มหาราชาติ.
อันพระองค์ ไม่ทรงถวายแล้ ว ดังนี ้ ฯ
ในวัน รุ่ ง ขึ น้ (อ.พระราชา) ทรงถวายแล้ ว ซึ่ ง จี ว ร ท. ปุนทิวเส พุทฺธปฺปมุขสฺส ภิกฺขสุ งฺฆสฺส จีวรานิ
แก่หมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้ าเป็ นประมุข (ทรงยังส่วนบุญ) ทตฺวา “อิโต เตสํ ทิพฺพวตฺถานิ โหนฺตตู ิ ปาเปสิ.
ให้ ถงึ แล้ ว (แก่เปรต ท. ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า อ. ผ้ าอันเป็ นทิพย์ ท.
จงมี แก่เปรต ท. เหล่านัน้ แต่ทานนี ้ ดังนี ้ ฯ
อ. ผ้ าอันเป็ นทิพย์ ท. เกิดขึ ้นแล้ ว แก่เปรต ท. เหล่านัน้ ตํขณฺเว เตสํ ทิพฺพวตฺถานิ อุปปฺ ชฺชสึ .ุ
ในขณะนัน้ นัน่ เทียว ฯ
อ. เปรต ท. เหล่านัน,้ ละแล้ว ซึง่ อัตภาพแห่งเปรต ตังอยู ้ พ่ ร้ อมแล้ว เต เปตตฺตภาวํ วิชหิตฺวา ทิพฺพตฺตภาเวน
โดยอัตภาพ อันเป็ นทิพย์ ฯ สณฺ€หึส.ุ
อ.พระศาสดา เมือ่ ทรงกระท�ำ ซึง่ อนุโมทนา ได้ ทรงกระท�ำแล้ ว สตฺถา อนุโมทนํ กโรนฺโต “ติโรกุฑเฺ ฑสุ ติฏฺฐนฺตตี ิ
ซึง่ การอนุโมทนา ด้ วยติโรกุฑฑสูตร ว่า ติโรกุฑเฺ ฑสุ ติฏฺฐนฺติ ติโรกุฑฺฑานุโมทนํ อกาสิ.
ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
อ.อันรู้เฉพาะซึง่ ธรรม ได้ มแี ล้ ว แก่พนั แห่งสัตว์ผ้ มู ลี มปราณ ท. อนุโมทนาวสาเน จตุราสีติยา ปาณสหสฺสานํ
๘๔ ในกาลเป็ นที่สดุ ลงแห่งการอนุโมทนา ฯ ธมฺมาภิสมโย อโหสิ.
อ. พระศาสดา ครัน้ ตรัสแล้ ว ซึง่ เรื่ อง แห่งชฎิลผู้เป็ นพี่น้องกัน อิติ สตฺถา เตภาติกชฏิลานํ วตฺถํุ กเถตฺวา อิมมฺปิ
๓ คน ท. ทรงน�ำมาแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา แม้ นี ้ด้ วยประการฉะนี ้ฯ ธมฺมเทสนํ อาหริ .
(อ.ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ก็
อ. พระอัครสาวก ท. กระท�ำแล้ ว (ซึง่ ความปรารถนา) อย่างไร ดังนี ้ ฯ “อคฺคสาวกา ปน ภนฺเต กึ กรึสตู .ิ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า (อ. อัครสาวก ท.) กระท�ำแล้ ว “อคฺคสาวกภาวาย ปตฺถนํ กรึส.ุ
ซึง่ ความปรารถนา เพื่อความเป็ นแห่งสาวกผู้เลิศ ฯ
ดังจะกล่าวโดยย่อ อ.สารี บุตร บังเกิ ดแล้ ว ในตระกูล อิโต กปฺปสตสหสฺสาธิกสฺส หิ กปฺปานํ อสงฺเขยฺยสฺส
แห่งพราหมณ์ผ้ มู หาศาล ในที่สดุ แห่งอสงไขย แห่งกัปป์ ท. มตฺถเก สารีปตุ โฺ ต พฺราหฺมณมหาสาลกุเล นิพพฺ ตฺต,ิ
อันยิ่งด้ วยแสนแห่งกัปป์ แต่ภทั ทกัปป์นี ้, เป็ นผู้ชื่อว่าสรทมาณพ นาเมน สรทมาณโว นาม อโหสิ.
โดยชื่อ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ.โมคคัล ลานะ บัง เกิ ด แล้ ว ในตระกู ล แห่ ง คฤหบดี โมคฺคลฺลาโน คหปติมหาสาลกุเล นิพฺพตฺต,ิ
ผู้มหาศาล, เป็ นผู้ชื่อว่าสิริวฑั ฒกุฎมพี ุ โดยชื่อ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ นาเมน สิริวฑฺฒกุฏมฺุ พิโก นาม อโหสิ.
อ. ชน ท. แม้ ทงสองเหล่
ั้ านัน้ เป็ นเพื่อน ผู้เล่นซึง่ ฝุ่ นพร้ อมกัน เต อุโภปิ สหปํ สุกีฬกา สหายกา อเหสุํ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ.มาณพชื่ อว่าสรทะ ครอบครองแล้ วซึ่งทรั พย์ ใหญ่ สรทมาณโว ปิ ตุอจฺจเยน กุลสนฺตกํ มหาธนํ
อันเป็ นของมีอยูแ่ ห่งตระกูล โดยอันล่วงไปแห่งบิดา ผู้ไปแล้ ว ปฏิปชฺชิตฺวา เอกทิวสํ รโหคโต จินฺเตสิ “อหํ
ในที่ลบั ในวันหนึง่ คิดแล้ ว ว่า อ. เรา ย่อมรู้ ซึง่ อัตภาพ ในโลกนี ้ อิธโลกตฺตภาวเมว ชานามิ, โน ปรโลกตฺตภาวํ;
นัน่ เทียว, ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ อัตภาพในโลกอื่น, ก็ ชื่อ อ. ความตาย ชาตสตฺตานฺจ มรณํ นาม ธุวํ, มยา เอกํ ปพฺพชฺชํ
แห่งสัตว์ผ้ เู กิดแล้ ว ท. เป็ นธรรมชาตยัง่ ยืน (ย่อมเป็ น), อ.อัน ปพฺพชิตฺวา โมกฺขธมฺมคเวสนํ กาตุํ วฏฺฏตีต.ิ
(อันเรา) บวชแล้ ว บวช อย่างหนึง่ กระท�ำ ซึง่ การแสวงหาซึง่ ธรรม-
เป็ นเหตุพ้น ย่อมควร ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 95


อ. มาณพชื่อว่าสรทะนัน้ เข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ สหาย กล่าวแล้ ว โส สหายกํ อุปสงฺกมิตฺวา อาห “สมฺม
ว่า แน่ะสิริวฑั ฒ์ ผู้มีธรุ ะเสมอ อ. เรา บวชแล้ ว จักแสวงหา สิริวฑฺฒ อหํ ปพฺพชิตฺวา โมกฺขธมฺมํ คเวสิสฺสามิ,
ซึง่ ธรรมเป็ นเหตุพ้น, อ. ท่าน จักอาจ เพื่ออันบวช กับ ด้ วยเรา (หรื อ), ตฺวํ มยา สทฺธึ ปพฺพชิตํุ สกฺขิสสฺ สิ, น สกฺขิสสฺ สีต.ิ
(หรื อว่า อ. ท่าน) จักไม่อาจ ดังนี ้ ฯ

(อ. กุฎมพีุ ชื่อว่าสิริวฑั ฒ์ กล่าวแล้ ว) ว่า แน่ะสหาย อ. เรา “น สกฺขิสฺสามิ สมฺม, ตฺวํเยว ปพฺพชาหีต.ิ
จักไม่อาจ, อ. ท่านนัน่ เทียว จงบวช ดังนี ้ ฯ
อ.มาณพชื่อว่าสรทะ นัน้ คิดแล้ ว ว่า อ. บุคคล ผู้ไปอยู่ โส จินฺเตสิ “ปรโลกํ คจฺฉนฺโต สหายํ วา
สูโ่ ลกอื่น ชื่อว่าผู้ พาเอา ซึง่ สหายหรื อ หรื อว่า ซึง่ ญาติและมิตร ท. าติมิตฺเต วา คเหตฺวา คโต นาม นตฺถิ, อตฺตนา
ไปแล้ ว ย่อมไม่มี, อ. กรรม อันอันตนกระท�ำแล้ ว ย่อมมี แก่ตนเทียว กตํ อตฺตโนว โหตีต.ิ
ดังนี ้ ฯ

ในล�ำดับนัน้ (อ. มาณพชื่อว่าสรทะ) (ยังบุคคล) ให้ เปิ ดแล้ ว ตโต รตนโกฏฺ€าคารํ วิวราเปตฺวา กปณทฺธิก-
ซึง่ เรื อนคลังแห่งรัตนะ ให้ แล้ ว ซึง่ ทานใหญ่ แก่คนก�ำพร้ าและ วณิพฺพกยาจกานํ มหาทานํ ทตฺวา ปพฺพตปาทํ
คนผู้ ไปสู่ ท างไกลและคนมี แ ผลและคนขอ ท. เข้ าไปแล้ ว ปวิสติ ฺวา อิสปิ พฺพชฺชํ ปพฺพชิ.
สูเ่ ชิงแห่งภูเขา บวชแล้ ว บวชโดยความเป็ นฤาษี ฯ

(อ. ชน ท.) บวชแล้ ว บวชตาม ซึง่ มาณพนัน้ อย่างนี ้ คือ ตสฺส เอโก เทฺว ตโยติ เอวํ อนุปพฺพชฺชํ
(อ. ชน) คนหนึง่ (อ. ชน ท.) สอง (อ. ชน ท.) สาม เป็ นชฎิล ปพฺพชิตฺวา จตุสตฺตติสหสฺสมตฺตา ชฏิลา อเหสุํ.
มีพนั ๗๔ เป็ นประมาณ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

อ. ชฎิลนัน้ ยังอภิญญา ท. ห้ าด้ วย ยังสมาบัติ ท. แปด ด้ วย โส ปฺจ อภิฺา อฏฺ€ จ สมาปตฺตโิ ย


ให้ บงั เกิดแล้ ว บอกแล้ ว ซึง่ การบริ กรรมซึง่ กสิณ แก่ชฎิล ท. นิพฺพตฺเตตฺวา เตสํ ชฏิลานํ กสิณปริ กมฺมํ อาจิกฺขิ.
เหล่านัน้ ฯ

อ. ชฎิล ท. ทังปวง
้ แม้ เหล่านัน้ ยังอภิญญา ท. ห้ าด้ วย เตปิ สพฺเพ ปฺจ อภิฺา อฏฺ€ จ
ยังสมาบัติ ท. แปดด้ วย ให้ บงั เกิดแล้ ว ฯ สมาปตฺติโย นิพฺพตฺเตสุํ.

โดยสมั ย นั น้ อ.พระพุ ท ธเจ้ า พระนามว่ า อโนมทัส สี เตน สมเยน อโนมทสฺสี นาม พุทฺโธ โลเก
ได้ เสด็จอุบตั แิ ล้ ว ในโลก ฯ อ. เมือง เป็ นเมืองชื่อว่าจันทวดี อุทปาทิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

อ. พระบิดา เป็ นกษัตริ ย์ พระนามว่ายัสวันต์ ได้ เป็ นแล้ ว, นครํ จนฺทวตี นาม อโหสิ. ปิ ตา ยสวนฺโต
อ. พระมารดา เป็ นพระเทวี พระนามว่ายโสธรา (ได้ เป็ นแล้ ว), นาม ขตฺตโิ ย, มาตา ยโสธรา นาม เทวี, โพธิ
อ. ต้ นรกฟ้า เป็ นต้ นไม้ เป็ นที่ตรัสรู้ (ได้ เป็ นแล้ ว), อ. อัครสาวก ท. ๒ อชฺชนุ รุกฺโข, นิสโภ จ อโนโม จ เทฺว อคฺคสาวกา,
คือ อ. พระนิสภะด้ วย คือ อ. พระอโนมะด้ วย (ได้ มีแล้ ว), อ. ภิกษุ วรุโณ นาม อุปฏฺ€าโก, สุนฺทรา จ สุมนา จ
ผู้อปุ ั ฏฐาก เป็ นผู้ชื่อว่า วรุณะ (ได้ เป็ นแล้ ว), อ. อัครสาวิกา ท. ๒ เทฺว อคฺคสาวิกา; อายุ วสฺสสตสหสฺสํ อโหสิ, สรี รํ
คือ อ. นางสุนทราด้ วย คือ อ. นางสุมนาด้ วย (ได้ มีแล้ ว) ; อ. แสน อฏฺ€ปฺาสหตฺถพุ ฺเพธํ, สรี รปฺปภา ทฺวาทสโยชนํ
แห่งปี เป็ นอายุ ได้ เป็ นแล้ ว, อ. พระสรี ระ เป็ นสรี ระอันสูง ผริ , ภิกฺขสุ ตสหสฺสํ ปริ วาโร อโหสิ.
โดยศอก ๕๘ (ได้ เป็ นแล้ ว), อ. แสงสว่างแห่งพระสรี ระ แผ่ไปแล้ ว
ตลอดโยชน์ ๑๒, อ. แสนแห่งภิกษุ เป็ นบริ วาร ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

ในวันหนึง่ อ.พระพุทธเจ้ า พระองค์นนั ้ เสด็จออกแล้ ว โส เอกทิวสํ ปจฺจสู กาเล มหากรุณาสมาปตฺตโิ ต


จากสมาบัตอิ นั ประกอบแล้ วด้ วยพระกรุณาใหญ่ ในกาล- วุฏฺ€าย โลกํ โวโลเกนฺโต สรทตาปสํ ทิสฺวา
อันขจัดเฉพาะซึ่งมืด ทรงตรวจดูอยู่ ซึ่งโลก ทรงเห็นแล้ ว
ซึง่ ดาบสชื่อว่าสรทะ

96 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(ทรงด�ำริแล้ว) ว่า ในวันนี ้ อ.การแสดงซึง่ ธรรม เป็ นคุณใหญ่ จักเป็ น “อชฺช มยฺหํ สรทตาปสสฺส สนฺตกิ ํ คตปจฺจเยน
เพราะปั จจัยแห่งเราผู้ไปแล้ วสูส่ �ำนัก ของดาบสชื่อว่าสรทะด้ วย, ธมฺมเทสนา จ มหตี ภวิสสฺ ติ, โส จ อคฺคสาวกฏฺ€านํ
อ. ดาบสชื่อว่าสรทะนัน้ จักปรารถนา ซึง่ ต�ำแหน่งแห่งอัครสาวก ปตฺเถสฺสติ, ตสฺส สหายโก สิริวฑฺฒกุฏมฺุ พิโก
ด้ วย, อ. กุฎมพี ุ ชื่อว่าสิริวฑั ฒ์ ผู้เป็ นสหาย ของดาบสชื่อว่าสรทะ ทุตยิ สาวกฏฺ€านํ ปตฺเถสฺสติ,
นัน้ จักปรารถนา ซึง่ ต�ำแหน่งแห่งสาวกที่สองด้ วย,
อ.ชฎิ ล มี พัน ๗๔ เป็ นประมาณ ท. ผู้ เป็ นบริ ว าร เทสนาปริ โยสาเน จสฺส ปริ วารา จตุสตฺตติ-
ของดาบสชื่อว่าสรทะนัน้ จักบรรลุซงึ่ พระอรหัต ในกาลเป็ นที่สดุ - สหสฺสชฏิลา อรหตฺตํ ปาปุณิสฺสนฺต;ิ มยา ตตฺถ
ลงรอบแห่งเทศนาด้ วย, อ. อันอันเราไป ที่นนั ้ ย่อมควร ดังนี ้ คนฺตํุ วฏฺฏตีติ อตฺตโน ปตฺตจีวรมาทาย อฺํ
ทรงถือเอาแล้ ว ซึง่ บาตรและจีวร ของพระองค์ ไม่ตรัสเรี ยกมาแล้ ว กฺจิ อนามนฺเตตฺวา สีโห วิย เอกจโร หุตฺวา,
ซึง่ ใคร ๆ อื่น เป็ นผู้เสด็จเที่ยวไปพระองค์เดียว ราวกะ อ. สีหะ สรทตาปสสฺส อนฺเตวาสิเกสุ ผลาผลตฺถาย คเตสุ,
เป็ น, ครัน้ เมื่ออันเตวาสิก ท. ของดาบสชื่อว่าสรทะ ไปแล้ ว “พุทธฺ ภาวํ เม ชานาตูต,ิ ปสฺสนฺตสฺเสว สรทตาปสสฺส,
เพื่อประโยชน์แก่ผลและผลอันเจริ ญ, (ทรงอธิษฐานแล้ ว) ว่า อากาสโต โอตริ ตฺวา ป€วิยํ ปติฏฺ€าสิ.
(อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ) จงรู้ ซึง่ ความที่แห่งเราเป็ นพระพุทธเจ้ า
ดังนี ้, เมื่อดาบสชื่อว่าสรทะ เห็นอยู่ นัน่ เทียว, เสด็จข้ ามลงแล้ ว
จากอากาศ ประทับยืนแล้ ว บนแผ่นดิน,
อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ เห็นแล้ ว ซึง่ อานุภาพแห่งพระพุทธเจ้ า สรทตาปโส พุทฺธานุภาวฺเจว สรี รนิปผฺ ตฺต ิ ฺจ
ด้ วยนัน่ เทียว ซึง่ ความส�ำเร็ จแห่งพระสรี ระด้ วยพิจารณาแล้ ว ทิสฺวา ลกฺขณมนฺเต สมฺมสิตฺวา “อิเมหิ ลกฺขเณหิ
ซึง่ มนต์เป็ นเครื่ องท�ำนายซึง่ ลักษณะ ท. รู้แล้ ว ว่า อ. บุคคลชื่อว่า สมนฺนาคโต นาม อคารมชฺเฌ วสนฺโต ราชา
ผู้มาตามพร้ อมแล้ ว ด้ วยลักษณะ ท. เหล่านี ้ อยูอ่ ยู่ ในท่ามกลาง โหติ จกฺกวตฺตี, ปพฺพชนฺโต โลเก วิวฏจฺฉโท
แห่งเรื อน เป็ นพระราชาผู้จักรพรรดิ์ ย่อมเป็ น , เมื่อบวช สพฺพฺุพทุ ฺโธ โหติ; อยํ ปุริโส นิสฺสํสยํ พุทฺโธติ
เป็ นพระพุทธเจ้ าผู้ตรัสรู้ซงึ่ เรื่องทังปวง
้ ผู้มกี เิ ลสเพียงดังเครื่องมุงบัง ชานิตวฺ า ปจฺจคุ คฺ มนํ กตฺวา ปฺจปติฏฺ€ิเตน วนฺทติ วฺ า
อันเปิ ดแล้ ว ในโลก ย่อมเป็ น ; อ. บุรุษนี ้ เป็ นพระพุทธเจ้ า อาสนํ ปฺาเปตฺวา อทาสิ.
(ย่อมเป็ น) โดยความไม่มีแห่งความสงสัย ดังนี ้ กระท�ำแล้ ว
ซึง่ การต้ อนรับ ถวายบังคมแล้ ว ด้ วยการตังไว้ ้ เฉพาะแห่งองค์ ๕
ได้ ปลู าด ซึง่ อาสนะ ถวายแล้ ว ฯ

อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ประทับนัง่ แล้ ว บนอาสนะอันดาบส นิสีทิ ภควา ปฺตฺตาสเน.


ปูลาดแล้ ว ฯ
แม้ อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ ถือเอาแล้ ว ซึง่ อาสนะ อันสมควร สรทตาปโสปิ อตฺตโน อนุจฉฺ วิกํ อาสนํ คเหตฺวา
แก่ตน นัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ฯ เอกมนฺตํ นิสีทิ.

ในสมัยนัน้ อ. ชฎิล ท. มีพนั ๗๔ เป็ นประมาณ ถือเอาแล้ ว ตสฺมึ สมเย จตุสตฺตติสหสฺสา ชฏิลา ปณีตปณีตานิ
ซึง่ ผลและผลอันเจริ ญ ท. ทังประณี
้ ต ๆ อันมีโอชะ ถึงพร้ อมแล้ ว โอชวนฺตานิ ผลาผลานิ คเหตฺวา อาจริ ยสฺส สนฺตกิ ํ
ซึง่ ส�ำนัก ของอาจารย์, แลดูแล้ ว ซึง่ อาสนะ แห่งพระพุทธเจ้ า ท. สมฺปตฺตา, พุทฺธานฺเจว อาจริ ยสฺส จ นิสนิ ฺนาสนํ
ด้วยนัน่ เทียว แห่งอาจารย์ด้วย นัง่ แล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่อาจารย์ โอโลเกตฺวา อาหํสุ “อาจริ ย มยํ `อิมสฺมึ โลเก
อ. เรา ท. ย่อมเที่ยวไป (ด้ วยความคิด) ว่า (อ. บุคคล) ผู้ใหญ่กว่า ตุมเฺ หหิ มหนฺตตโร นตฺถีติ วิจราม, อยํ ปน
กว่าท่าน ท. ย่อมไม่มี ในโลกนี ้ ดังนี ้, ก็ อ. บุรุษ นี ้ เห็นจะ ปุริโส ตุมฺเหหิ มหนฺตตโร มฺเติ.
เป็ นผู้ใหญ่กว่า กว่าท่าน ท. (จักเป็ น) ดังนี ้ ฯ

(อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ กล่าวแล้ ว) ว่า แน่ะพ่อ ท. อ. เจ้ า ท. “ ตาตา กึ วเทถ , สาสเปน สทฺ ธึ
ย่อมกล่าว (ซึง่ ค�ำ) อะไร, อ. เจ้ า ท. ย่อมปรารถนา เพื่ออันกระท�ำ อฏฺ€สฏฺ€ิโยชนสตสหสฺสพุ ฺเพธํ สิเนรุํ สมํ กาตุํ อิจฺฉถ,
ซึง่ ภูเขาชื่อว่าสิเนรุ อันสูงโดยแสนแห่งโยชน์ ๖๘ ให้ เสมอ กับ สพฺพฺุพทุ ฺเธน สทฺธึ มม อุปมํ มา กริ ตฺถ ปุตฺตกาติ.
ด้ วยเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหรื อ, แน่ะลูก ท. อ. เจ้ า ท. อย่ากระท�ำแล้ ว
ซึง่ การเปรี ยบ ซึง่ เรา กับ ด้ วยพระสัพพัญญูพทุ ธเจ้ า ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 97


* ก. ๑๙ * ครัง้ นัน้ อ. ดาบส ท. เหล่านัน้ (คิดแล้ ว) ว่า ถ้ าว่า อถ เต ตาปสา “สจายํ ปุริโส อิตฺตรสตฺโต
อ. บุรษุ นี ้ เป็ นสัตว์เล็กน้อย จักได้เป็ นแล้วไซร้ , อ.อาจารย์ ของเรา ท. อภวิสฺส, น อมฺหากํ อาจริ โย เอวรูปํ อุปมํ
จักไม่น�ำมา ซึง่ การเปรี ยบ มีอย่างนี ้เป็ นรูป อ. บุรุษนี ้ เป็ นผู้ใหญ่ อาหริ สฺสติ, ยาว มหา วตายํ ปุริโสติ สพฺเพว
เพียงใดหนอ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ทัง้ ปวงเทียว หมอบแล้ ว ปาเทสุ ปติตฺวา สิรสา วนฺทสึ .ุ
ใกล้ พระบาท ท. ถวายบังคมแล้ ว ด้ วยศีรษะ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. อาจารย์ กล่าวแล้ ว กะดาบส ท. เหล่านัน้ ว่า อถ เน อาจริ โย อาห “ตาตา อมฺหากํ
แน่ะพ่อ ท. อ. ไทยธรรม อันสมควร แก่พระพุทธเจ้ า ท. ของเรา ท. พุทฺธานํ อนุจฺฉวิโก เทยฺยธมฺโม นตฺถิ, สตฺถา จ
ย่อมไม่ มี, อนึง่ อ. พระศาสดา เสด็จมาแล้ ว ในที่นี ้ ในเวลาเป็ นที่ ภิกฺขาจารเวลายํ อิธาคโต, มยํ ยถาสตฺติ ยถาพลํ
เทีย่ วไปเพือ่ ภิกษา, อ. เรา ท. จักถวาย ซึง่ ไทยธรรม ตามความสามารถ เทยฺยธมฺมํ ทสฺสาม; ตุมเฺ ห ยํ ยํ ปณีตํ ผลาผลํ,
ตามก�ำลัง ; อ. ผลและผลอันเจริ ญ อันประณีต ใด ๆ (มีอยู)่ , ตํ ตํ อาหรถาติ อาหราเปตฺวา หตฺเถ โธวิตฺวา สยํ
อ. เจ้ า ท. จงน�ำมา ซึง่ ผลและผลอันเจริ ญนัน้ ๆ ดังนี ้ (ยังดาบส ท. ตถาคตสฺส ปตฺเต ปติฏฺ€าเปสิ.
เหล่านัน) ้ ให้ น�ำมาแล้ ว ล้ างแล้ ว ซึง่ มือ ท. (ยังผลและผลอันเจริ ญ)
ให้ ตงอยู
ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในบาตร ของพระตถาคตเจ้ า เอง ฯ

ครัน้ เมื่อผลและผลอันเจริ ญ เป็ นผลไม้ สกั ว่าอันพระศาสดา สตฺถารา ผลาผเล ปฏิคฺคหิตมตฺเต, เทวตา
ทรงรับเฉพาะแล้ ว (มีอยู)่ , อ. เทวดา ท. ใส่เข้ าแล้ ว ซึง่ โอชะ ทิพฺโพชํ ปกฺขิปึส.ุ
อันเป็ นทิพย์ ฯ

อ. ดาบสนัน้ กรองแล้ ว แม้ ซงึ่ น� ้ำ ได้ ถวายแล้ ว เองนัน่ เทียว ฯ โส ตาปโส อุทกํปิ สยเมว ปริสสฺ าเวตฺวา อทาสิ.
ในล�ำดับนัน้ ครัน้ เมื่อพระศาสดา ประทับนัง่ แล้ ว ทรงกระท�ำ ตโต ภตฺตกิจฺจํ กตฺวา นิสนิ ฺเน สตฺถริ , สพฺเพ
ซึง่ กิจด้วยภัตร, อ. ดาบสชือ่ ว่าสรทะ ร้ องเรียกแล้ว ซึง่ อันเตวาสิก ท. อนฺเตวาสิเก ปกฺโกสิตฺวา สตฺถุ สนฺตเิ ก สาราณียกถํ
ทังปวงนั
้ ง่ กล่าวอยูแ่ ล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวเป็ นที่ตงั ้ กเถนฺโต นิสีทิ.
แห่งความระลึกถึง ในส�ำนัก ของพระศาสดา ฯ

อ. พระศาสดา ทรงด�ำริ แล้ ว ว่า อ. อัครสาวก ท. สอง จงมา สตฺถา “เทฺว อคฺคสาวกา ภิกฺขสุ งฺเฆน สทฺธึ
กับ ด้ วยหมูแ่ ห่งภิกษุ ดังนี ้ ฯ อาคจฺฉนฺตตู ิ จินฺเตสิ.
อ. พระอัครสาวก ท. เหล่านัน้ ทราบแล้ว ซึง่ พระด�ำริ แห่งพระศาสดา เต สตฺถุ จิตฺตํ ตฺวา สตสหสฺสขีณาสวปริ วารา
ผู้มีพระขีณาสพแสนหนึ่งเป็ นบริ วารมาแล้ ว ถวายบังคมแล้ ว อาคนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ อฏฺ€ํส.ุ
ซึง่ พระศาสดา ได้ ยืนแล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ฯ

ในล�ำดับนัน้ อ. ดาบสชือ่ ว่าสรทะ เรียกมาแล้ ว ซึง่ อันเตวาสิก ท. ตโต สรทตาปโส อนฺเตวาสิเก อามนฺเตสิ “ตาตา
(ด้ วยค�ำ) ว่า แน่ะพ่อ ท. แม้ อ. อาสนะแห่งพระพุทธเจ้ า ท. พุทฺธานํ นิสนิ ฺนาสนมฺปิ นีจํ, สมณสตสหสฺสสฺสาปิ
ประทับนัง่ แล้ ว เป็ นที่ต�่ำ (ย่อมเป็ น) , อ. อาสนะ ย่อมไม่มี อาสนํ นตฺถิ, ตุมฺเหหิ อชฺช อุฬารํ พุทฺธสกฺการํ กาตุํ
แม้ เพื่อแสนแห่งสมณะ, อ. อัน อันเจ้ า ท. กระท�ำ ซึง่ สักการะ วฏฺฏติ, ปพฺพตปาทโต วณฺณคนฺธสมฺปนฺนานิ ปุปผฺ านิ
แก่พระพุทธเจ้ า อันโอฬาร ในวันนี ้ ย่อมควร, อ. เจ้ า ท. จงน�ำมา อาหรถาติ.
ซึง่ ดอกไม้ ท. อันถึงพร้ อมแล้ วด้ วยสีและกลิน่ จากเชิงแห่งภูเขา
ดังนี ้ ฯ
อ.กาลเป็ นที่กล่าว เป็ นราวกะว่าเนิ่นช้ า ย่อมเป็ น, แต่วา่ กถนกาโล ปปฺโจ วิย โหติ, อิทฺธิมโต ปน
อ. วิสยั แห่งฤทธิ์ ของบุคคลผู้มีฤทธิ์ เป็ นสภาพอันใคร ๆ ไม่ควรคิด อิทฺธิวิสโย อจินฺเตยฺโยติ.
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้แล ฯ

อ. ดาบส ท. เหล่านัน้ น�ำมาแล้ ว ซึง่ ดอกไม้ ท. อันถึงพร้ อมแล้ ว มุหตุ ตฺ มตฺเตเนว เต ตาปสา วณฺณคนฺธสมฺปนฺนานิ
ด้ วยสีและกลิ่น โดยกาลสักว่าครู่ เดียวนั่นเทียว ปูลาดแล้ ว ปุปผฺ านิ อาหริตวฺ า พุทธฺ านํ โยชนปฺปมาณํ ปุปผฺ าสนํ
ซึ่งอาสนะอันเป็ นวิการแห่งดอกไม้ มีโยชน์ เป็ นประมาณ ปฺาเปสุํ.
เพื่อพระพุทธเจ้ า ท. ฯ

98 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. อาสนะ) มีคาวุต ๓ เป็ นประมาณ (ได้มแี ล้ว) เพือ่ พระอัครสาวก อุภินฺนํ อคฺคสาวกานํ ติคาวุตํ, เสสานํ ภิกฺขนู ํ
ท. ทังสอง,
้ (อ. อาสนะ) อันต่างด้ วยอาสนะมีอาสนะประกอบแล้ ว อฑฺฒโยชนิกาทิเภทํ, สงฺฆนวกสฺส อุสภมตฺตํ อโหสิ.
ด้ วยโยชน์ด้วยทังกึ ้ ง่ เป็ นต้ น (ได้ มีแล้ ว) เพื่อภิกษุ ท. ผู้เหลือ, “กถํ เอกสฺมึ อสฺสมปเท ตาวมหนฺตานิ อาสนานิ
(อ. อาสนะ) มีอสุ ภะเป็ นประมาณ ได้ มแี ล้ ว เพือ่ ภิกษุผ้ ใู หม่ในสงฆ์ ฯ ปฺตฺตานีติ น จินฺเตตพฺพํ . อิทฺธิวิสโย เหส.
(อันใคร ๆ) ไม่ควรคิด ว่า อ. อาสนะ ท. อันใหญ่เพียงนัน้ (อันดาบส ท.)
ปูลาดแล้ ว ในอาศรมบท แห่งหนึง่ อย่างไร ดังนี ้ ฯ เพราะว่า
อ. วิสยั นัน่ เป็ นวิสยั แห่งฤทธิ์ ย่อมเป็ น ฯ
ครั น้ เมื่ออาสนะ ท. อันดาบส ท. ปูลาดแล้ ว อย่างนี ,้ เอวํ ปฺตฺเตสุ อาสเนสุ, สรทตาปโส
อ.ดาบสชื่อว่าสรทะ ยืนประคองแล้ ว ซึง่ อัญชลี ข้ างพระพักตร์ ตถาคตสฺส ปุรโต อฺชลึ ปคฺคยฺห €ิโต “ภนฺเต
ของพระตถาคตเจ้ า กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ ผ้ ูเจริ ญ มยฺหํ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขาย อิมํ ปุปผฺ าสนํ
(อ. พระองค์ ท.) ขอจงเสด็จขึ ้นเฉพาะ สูอ่ าสนะอันเป็ นวิการ อภิรุหถาติ อาห.
แห่งดอกไม้ นี ้ เพื่อความเกื ้อกูล เพื่อความสุข แก่ข้าพระองค์
สิ ้นกาลนานเถิด ดังนี ้ ฯ

เพราะเหตุนนั ้ (อ. ค�ำอันเป็ นคาถา) ว่า เตน วุตฺตํ

(อ. เรา) ยังดอกไม้ต่าง ๆ ด้วย ยังกลิ่ นด้วย ให้ประชุมกันแล้ว “นานาปุปผฺ ฺจ คนฺธฺจ สนฺนิปาเตตฺวาน เอกโต
โดยความเป็ นอันเดียวกัน ปูลาดแล้ว ซึ่งอาสนะอันเป็ นวิ การ- ปุปผฺ าสนํ ปฺาเปตฺวา อิ ทํ วจนมพฺรวิ
แห่งดอกไม้ ได้กราบทูลแล้ว ซึ่งค�ำนี ้ ว่า ข้าแต่พระวีระ อิ ทํ เม อาสนํ วีร ปฺตฺตํ ตวนุจฺฉวึ,
อ.อาสนะนี ้ อันข้าพระองค์ ปูลาดแล้ว (กระท�ำ) ให้เป็ นทีส่ มควร มม จิ ตฺตํ ปสาเทนฺโต นิ สีท ปุปผฺ มาสเน.
แก่พระองค์, (อ. พระองค์) เมื อ่ ทรงยังจิ ต ของข้าพระองค์ สตฺตรตฺตินทฺ ิ วํ พุทฺโธ นิ สีทิ ปุปผฺ มาสเน
ให้เลือ่ มใส ขอจงเสด็จประทับนัง่ บนอาสนะอันเป็ นวิ การ- มม จิ ตฺตํ ปสาเทตฺวา หาสยิ ตฺวา สเทวเกติ .
แห่งดอกไม้เถิ ด ฯ อ. พระพุทธเจ้า ทรงยังจิ ต ของข้าพระองค์
ให้เลือ่ มใส แล้ว (ทรงยังมนุษยโลก ท.) อันเป็ นไปกับด้วยเทวโลก
ให้ร่าเริ งแล้ว ประทับนัง่ แล้ว บนอาสนะอันเป็ นวิการแห่งดอกไม้
ตลอดคืนและวัน ๗ (ดังนี)้ ดังนี ้ ฯ

(อันดาบสชื่อว่าสรทะ) กล่าวแล้ ว ฯ
ครัน้ เมื่อพระศาสดา ประทับนัง่ แล้ ว อย่างนี ้, อ. พระอัครสาวก เอวํ นิสนิ ฺเน สตฺถริ , เทฺว อคฺคสาวกา เสสภิกฺขู
ท. ๒ ด้ วย อ. ภิกษุผ้ เู หลือ ท. ด้ วย นัง่ แล้ ว บนอาสนะอันถึงแล้ ว จ อตฺตโน อตฺตโน ปตฺตาสเน นิสีทสึ .ุ
แก่ตน ๆ ฯ
อ.ดาบสชือ่ ว่าสรทะ ถือเอาแล้ว ซึง่ ฉัตรอันเป็ นวิการแห่งดอกไม้ สรทตาปโส มหนฺตํ ปุปผฺ จฺฉตฺตํ คเหตฺวา
อันใหญ่ ได้ ยืนกันอยู
้ แ่ ล้ ว เหนือพระเศียร ของพระตถาคตเจ้ า ฯ ตถาคตสฺส มตฺถเก ธาเรนฺโต อฏฺ€าสิ.
อ.พระศาสดา (ทรงอธิษฐานแล้ว) ว่า อ. สักการะนี ้ ของชฎิล ท. สตฺถา “ชฏิลานํ อยํ สกฺกาโร มหปฺผโล โหตูติ
เป็ นสภาพมีผลใหญ่ จงเป็ น ดังนี ้ ทรงเข้าแล้ว ซึง่ สมาบัตชิ อื่ ว่านิโรธ ฯ นิโรธสมาปตฺตึ สมาปชฺชิ.
อ. พระอัครสาวก ท. ๒ ก็ดี อ. ภิกษุผ้ เู หลือ ท. ก็ดี รู้แล้ ว ซึง่ ความที่ สตฺถุ สมาปตฺตึ สมาปนฺนภาวํ ตฺวา เทฺว
แห่งพระศาสดาเป็ นผู้ทรงเข้ าแล้ ว ซึง่ สมาบัติ เข้ าแล้ ว ซึง่ สมาบัติ ฯ อคฺคสาวกาปิ เสสภิกฺขปู ิ สมาปตฺตึ สมาปชฺชสึ .ุ

ครันเมื
้ อ่ พระตถาคตเจ้า ประทับนัง่ เข้าแล้ว ซึง่ สมาบัตชิ อื่ ว่านิโรธ ตถาคเต สตฺตาหํ นิโรธสมาปตฺตึ สมาปชฺชิตฺวา
ตลอดวันเจ็ด, อ.อันเตวาสิก ท., ครัน้ เมื่อกาลเป็ นที่เที่ยวไป นิสนิ ฺเน, อนฺเตวาสิกา, ภิกฺขาจารกาเล สมฺปตฺเต,
เพือ่ ภิกษา ถึงพร้ อมแล้ว, บริโภคแล้ว ซึง่ รากไม้และผลและผลอันเจริญ วนมูลผลาผลํ ปริ ภ ุ ฺชิตฺวา เสสกาลํ พุทฺธานํ
ในป่ า ย่อมยืนประคอง ซึง่ อัญชลี ต่อพระพุทธเจ้ า ท. สิ ้นกาล อฺชลึ ปคฺคยฺห ติฏฺ€นฺต.ิ
อันเหลือ ฯ
ส่วนว่า อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ ไม่ไปแล้ ว แม้ สทู่ ี่เป็ นที่เที่ยวไป สรทตาปโส ปน ภิกฺขาจารมฺปิ อคนฺตฺวา
เพื่อภิกษา กันอยู
้ ่ ซึง่ ฉัตรอันเป็ นวิการแห่งดอกไม้ เทียว ปุปผฺ จฺฉตฺตํ ธารยมาโนว

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 99


(ยังกาล) ให้ น้อมไปล่วงวิเศษแล้ ว ด้ วยสุขอันเกิดแล้ วจากปี ติ สตฺตาหํ ปี ติสเุ ขน วีตนิ าเมสิ.
ตลอดวันเจ็ด ฯ
อ.พระศาสดา เสด็จออกแล้ ว จากนิโรธ ตรัสเรี ยกมาแล้ ว สตฺถา นิโรธโต วุฏฺ€าย ทกฺขิณปสฺเส นิสนิ ฺนํ
ซึง่ พระเถระชื่อว่านิสภะ ผู้เป็ นอัครสาวก ผู้นงั่ แล้ ว ณ ข้ างเบื ้องขวา อคฺ ค สาวกํ นิ ส ภตฺ เ ถรํ อามนฺ เ ตสิ “นิ ส ภ
(ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า ดูก่อนนิสภะ อ. เธอ จงกระท�ำ ซึง่ การอนุโมทนา สกฺ การการกานํ ตาปสาฃนํ ปุปฺผาสนานุโมทนํ
ในเพราะอาสนะอันเป็ นวิการแห่งดอกไม้ แก่ดาบส ท. ผู้กระท�ำ กโรหีต.ิ
ซึง่ สักการะ ดังนี ้ ฯ
อ.พระเถระ ผู้มีใจยินดีแล้ ว ราวกะ อ. นักรบใหญ่ ผู้มีลาภใหญ่ เถโร จกฺกวตฺตริ ฺโ สนฺตกิ า ปฏิลทฺธมหาลาโภ
อันได้ เฉพาะแล้ ว จากส�ำนัก ของพระเจ้ าจักรพรรดิ์ ตังอยู ้ แ่ ล้ ว มหาโยโธ วิย ตุฏฺ€มานโส สาวกปารมีาเณ €ตฺวา
ในสาวกบารมีญาณ เริ่ มแล้ ว ซึง่ การอนุโมทนาในเพราะอาสนะ ปุปผฺ าสนานุโมทนํ อารภิ.
อันเป็ นวิการแห่งดอกไม้ ฯ
(อ.พระศาสดา) ตรั สเรี ยกมาแล้ ว ซึ่งพระสาวกที่สอง ตสฺส เทสนาวสาเน ทุติยสาวกํ อามนฺเตสิ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงแห่งเทศนา ของพระนิสภะนัน้ (ด้ วยพระด�ำรัส) “ตฺวํปิ ภิกฺขุ ธมฺมํ เทเสหีต.ิ
ว่า ดูก่อนภิกษุ แม้ อ. เธอ จงแสดง ซึง่ ธรรม ดังนี ้ ฯ
อ.พระเถระชื่ อว่าอโนมะ พิจารณาแล้ ว ซึ่งพระพุทธพจน์ อโนมตฺเถโร เตปิ ฏกํ พุทฺธวจนํ สมฺมสิตฺวา
คือประชุมแห่งปิ ฎกสาม กล่าวแล้ ว ซึง่ ธรรม ฯ อ. อันรู้เฉพาะ ธมฺมํ กเถสิ . ทฺวินฺนํ อคฺคสาวกานํ เทสนาย
ไม่ได้มแี ล้ว แก่ดาบสแม้รปู หนึง่ ด้วยเทศนา ของพระอัครสาวก ท. ๒ ฯ เอกสฺสาปิ อภิสมโย นาโหสิ.

ครังนั
้ น้ อ.พระศาสดา ทรงตังอยู ้ แ่ ล้ว ในวิสยั ของพระพุทธเจ้า อถ สตฺถา อปริมาเณ พุทธฺ วิสเย €ตฺวา ธมฺมเทสนํ
อันไม่มีประมาณ ทรงเริ่ มแล้ ว ซึง่ การแสดงซึง่ ธรรม ฯ อารภิ.
ในกาลเป็ นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา อ.ชฎิล มีพัน ๗๔ เทสนาปริ โยสาเน €เปตฺวา สรทตาปสํ สพฺเพปิ
เป็ นประมาณ ท. แม้ ทงปวง
ั้ เว้ น ซึง่ ดาบสชื่อว่าสรทะ บรรลุแล้ ว จตุสตฺตติสหสฺสชฏิลา อรหตฺตํ ปาปุณึส.ุ
ซึง่ พระอรหัต ฯ
อ.พระศาสดา (ตรัสแล้ว) ว่า (อ. เธอ ท.) เป็ นภิกษุ (เป็ น) จงมา สตฺถา “ เอถ ภิกฺขโวติ หตฺถํ ปสาเรสิ.
ดังนี ้ ทรงเหยียดออกแล้ วซึง่ พระหัตถ์ ฯ อ. ผมและหนวด ท. เตสํ ตาวเทว เกสมสฺ สู นิ อนฺ ต รธายึ สุ .
ของดาบส ท. เหล่านัน้ หายไปแล้ ว ในขณะนันนั ้ น่ เทียว ฯ อฏฺ € ปริ กฺ ข ารา กาเย ปฏิ มุ กฺ ก าว อเหสุํ .
อ. บริ ขาร ท. ๘ เป็ นของสวมเข้ าแล้ ว ที่กายเทียว ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

(อ. อันถาม) ว่า อ. ดาบสชือ่ ว่าสรทะ ไม่บรรลุแล้ว ซึง่ พระอรหัต “สรทตาปโส กสฺมา อรหตฺตํ น ปตฺโตติ .
เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ (อ. อันแก้ ว่า อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ วิกฺขิตฺตจิตฺตตฺตา.
ไม่บรรลุแล้ว ซึง่ พระอรหัต) เพราะความทีแ่ ห่งตนเป็ นผู้มจี ติ ฟุ้งซ่านแล้ว
(ดังนี ้) ฯ
ได้ ยินว่า (อ. ดาบสชื่อว่าสรทะนัน)้ ยังความคิด ให้ เกิดขึ ้นแล้ ว ตสฺส กิร พุทฺธานํ ทุติยาสเน นิสีทิตฺวา
ว่า โอ ! หนอ แม้ อ. เรา พึงได้ ซึง่ ธุระ อันอันพระสาวกนี ้ ได้เฉพาะแล้ว สาวกปารมีาเณ €ตฺวา ธมฺมํ เทสยโต อคฺคสาวกสฺส
ในศาสนา ของพระพุทธเจ้ า ผู้เสด็จอุบตั ิ ในกาลอันไม่มาแล้ ว ธมฺ ม เทสนํ โสตุํ อารทฺ ธ กาลโต ปฏฺ €าย
ดังนี ้ จ�ำเดิม แต่กาลแห่งดาบสชื่อว่าสรทะนัน้ เริ่ มแล้ ว เพื่ออันฟั ง “อโห วตาหํปิ อนาคเต อุปปฺ ชฺชนกสฺส พุทฺธสฺส
ซึง่ ธรรมเทศนา ของพระอัครสาวก ผู้นงั่ แล้ ว บนอาสนะที่สอง สาสเน อิมินา สาวเกน ปฏิลทฺธํ ธุรํ ลเภยฺยนฺติ
ของพระพุทธเจ้ า ท. ตังอยู ้ แ่ ล้ ว ในสาวกบารมีญาณ แสดงอยู่ จิตฺตํ อุปปฺ าเทสิ.
ซึง่ ธรรม ฯ
อ.ดาบสชื่ อว่าสรทะนัน้ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออันกระท�ำ โส เตน ปริ วิตกฺเกน มคฺคผลปฺปฏิเวธํ กาตุํ
ซึง่ การรู้ตลอดซึง่ มรรคและผล เพราะความปริ วิตกนัน้ ฯ ก็ นาสกฺขิ. ตถาคตํ ปน วนฺทิตฺวา สมฺมเุ ข €ตฺวา อาห
(อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ) ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระตถาคตเจ้ า ยืนแล้ ว “ภนฺเต ตุมหฺ ากํ อนนฺตราสเน นิสนิ ฺโน ภิกฺขุ ตุมหฺ ากํ
ในที่พร้ อมหน้ า กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ภิกษุ สาสเน โก นาม โหตีต.ิ
ผู้นงั่ แล้ ว บนอาสนะอันเป็ นล�ำดับ แห่งพระองค์ ท. เป็ นผู้ชื่อ อะไร
ในศาสนา ของพระองค์ ท. ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ

100 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า (อ. ภิกษุ) ผู้ยงั จักรคือธรรม “ มยา ปวตฺติตํ ธมฺมจกฺกํ อนุปวตฺเตนฺโต
อันอันเราให้ เป็ นไปทัว่ แล้ ว ให้ เป็ นไปทัว่ ตามอยู่ บรรลุแล้ วซึง่ ที่สดุ สาวกปารมีาณสฺส โกฏิปปฺ ตฺโต โสฬส ปญฺญา
แห่งสาวกบารมีญาณ รู้ตลอดแล้ว ซึง่ ปัญญา ท. ๑๖ ด�ำรงอยูแ่ ล้ว, ปฏิวิชฺฌิตฺวา ฐิโต มยฺหํ สาสเน อคฺคสาวโก นาม
อ. ภิกษุนนั่ ชื่อว่าสาวกผู้เลิศ ในศาสนา ของเรา ดังนี ้ ฯ เอโสติ .

(อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ) ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ความปรารถนา ว่า “ภนฺเต ยฺวายํ มยา สตฺตาหํ ปุปผฺ จฺฉตฺตํ ธาเรนฺเตน
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. สักการะ นี ้ใด อันข้ าพระองค์ ผู้กนอยู
ั้ ่ สกฺกาโร กโต อหํ อิมศฺส ผเลน อญฺญํ สกฺกตฺต วา
ซึ่งฉัตรอันเป็ นวิการแห่งดอกไม้ ตลอดวันเจ็ด กระท�ำแล้ ว , พฺรหมตฺตํ วา น ปตฺเถมิ, อนาคเต ปน อยํ นิสภตฺเถโร
อ.ข้ าพระองค์ ย่อมไม่ปรารถนา ซึง่ ความเป็ นแห่งท้ าวสักกะหรื อ วิย เอกสฺส พุทฺธสฺส อคฺคสาวโก ภเวยฺยนฺติ ปตฺถนํ
หรื อว่าซึ่งความเป็ นแห่งพรหม อื่น ด้ วยผล แห่งสักการะนี ,้ อกาสิ.
แต่วา่ (อ. ข้าพระองค์) เป็ นสาวกผู้เลิศ ของพระพุทธเจ้า พระองค์หนึง่
พึงเป็ น ในการอันไม่มาแล้ ว ราวกะ อ. พระเถระชื่อว่านิสภะ นี ้
ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ทรงส่งไปแล้ ว ซึง่ ญาณอันเป็ นส่วนแห่งกาล สตฺภา “สมิชฺฌิสฺสติ นุ โข อิมสฺส ปุริสสฺส


อันไม่มาแล้ ว ทรงตรวจดูอยู่ ว่า อ. ความปรารถนา แห่งบุรุษนี ้ ปตฺถนาติ อนาคตํสญาณํ เปเสตฺวา โอโลเกนฺโต
จักส�ำเร็ จ หรื อหนอแล ดังนี ้ ได้ ทรงเห็นแล้ ว ซึง่ ความเป็ นคือ กปฺปสตสหสฺสาธิกํ เอกํ อสงเชยฺยํ อติกฺกมิตวา
อันก้ าวล่วงแล้ ว ซึง่ อสงไขย หนึง่ อันยิ่งด้ วยแสนแห่งกัปป์ ส�ำเร็ จ, สมิชฺฌนภาวํ อทฺทส , ทิสฺวา สรทตาปสํ อาห
(อ. พระศาสดา) ครัน้ ทรงเห็นแล้ ว ตรัสแล้ ว กะดาบสชื่อว่าสรทะ น เต อยํ ปตฺถนา โมฆา ภวิสฺสติ, อนาคเต ปน
ว่า อ. ความปรารถนา นี ้ แห่งท่าน เป็ นธรรมชาติเปล่า จักเป็ น กปฺปสตสหสฺสาธิกํ เอกํ อสงเขยฺยํ อติกกมิตฺวา
หามิได้ , ก็ อ. พระพุทธเจ้ า พระนามว่าโคดม จักเสด็จอุบตั ิ ในโลก โคตโม นาม พุทฺโธ โลเก อุปปฺ ชฺชิสฺสติ, ตสฺส มาตา
ก้ าวล่วง ซึง่ อสงไขยหนึง่ อันยิง่ ด้วยแสนแห่งกัปป์ ในกาลอันไม่มาแล้ว, มหามายาเทวี นาม ภวิสฺสติ, ปิ ตา สุทฺโธทโน นาม
อ.พระมารดา ของพระพุทธเจ้านัน้ เป็ นผู้ทรงพระนามว่ามหามายาเทวี มหาราชา, ปุตฺโต ราหุโล นาม, อุปฏฺ€าโก
จักเป็ น, อ. พระบิดา เป็ นพระราชาผู้ใหญ่ พระนามว่าสุทโธทนะ อานนฺโท นาม, ทุตยิ สาวโก โมคฺคลฺลาโน นาม,
(จักเป็ น), อ. พระโอรส เป็ นผู้ทรงพระนามว่าราหุล (จักเป็ น), ตฺวํ ปนสฺส อคฺคสาวโก ธมฺมเสนาปติ สารี ปตุ ฺโต
อ. ภิกษุผ้ อู ปุ ั ฏฐาก เป็ นผู้ชื่อว่าอานนท์ (จักเป็ น), อ. สาวกที่สอง นาม ภวิสฺสสีต.ิ
เป็ นผู้ชื่อว่า โมคคัลลานะ (จักเป็ น), ส่วนว่า อ. ท่าน เป็ นผู้ชื่อว่า
สารี บตุ ร ผู้ธรรมเสนาบดี ผู้เป็ นสาวกผู้เลิศ ของพระพุทธเจ้ านัน้
จักเป็ น ดังนี ้ ฯ

(อ. พระศาสดา) ครันทรงพยากรณ์


้ แล้ว ซึง่ ดาบส อย่างนี ้ ตรัสแล้ว เอวํ ตาปสํ พฺยากริ ตฺวา ธมฺมกถํ กเถตฺวา
ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวซึง่ ธรรม ผู้อนั หมูแ่ ห่งภิกษุแวดล้ อมแล้ ว ภิกฺขสุ งฺฆปริ วโุ ต อากาสํ ปกฺขนฺทิ.
เสด็จไปแล้ ว สูอ่ ากาศ ฯ

แม้ อ.ดาบสชื่ อว่าสรทะ ไปแล้ ว สู่ส�ำนัก ของพระเถระ สรทตาปโสปิ อนฺเตวาสิกตฺเถรานํ สนฺตกิ ํ คนฺตวฺ า
ผู้เป็ นอันเตวาสิก ท. ส่งไปแล้ ว ซึง่ ข่าวสาส์น แก่กฎุ มพี ุ ชื่อว่า สหายกสฺส สิริวฑฺฒกุฏมฺุ พิกสฺส สาสนํ เปเสสิ
สิริวฑั ฒ์ ผู้เป็ นสหาย ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ท่าน ท. จงบอก “ภนฺเต มม สหายกสฺส วเทถ `สหายเกน เต
แก่สหาย ของเรา ว่า อ. ต�ำแหน่งแห่งสาวกผู้เลิศ ในศาสนา สรทตาปเสน อโนมทสฺสสิ ฺส พุทฺธสฺส ปาทมูเล
ของพระพุทธเจ้ าพระนามว่าโคดม ผู้เสด็จอุบตั ิ ในกาลอันไม่มาแล้ ว อนาคเต อุปปฺ ชฺชนกสฺส โคตมพุทฺธสฺส สาสเน
อันดาบสชื่อว่าสรทะ ผู้เป็ นสหาย ของท่าน ปรารถนาแล้ ว อคฺคสาวกฏฺ€านํ ปตฺถิตํ, ตฺวํ ทุตยิ สาวกฏฺ€านํ
ณ ที่ใกล้ แห่งพระบาท ของพระพุทธเจ้ า พระนามว่าอโนมทัสสี, ปตฺเถหีต.ิ
อ.ท่าน จงปรารถนา ซึง่ ต�ำแหน่งแห่งสาวกทีส่ อง ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 101


ก็แล (อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ) ครัน้ กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ ไปแล้ ว เอวฺจ ปน วตฺวา เถเรหิ ปุเรตรเมว เอกปสฺเสน
โดยข้ างข้ างหนึง่ ก่อนกว่า กว่าพระเถระ ท. นัน่ เทียว ได้ ยืนแล้ ว คนฺตฺวา สิริวฑฺฒสฺส นิเวสนทฺวาเร อฏฺ€าสิ.
ใกล้ ประตูแห่งนิเวศน์ ของกุฎมพี
ุ ชื่อว่าสิริวฑั ฒ์ ฯ
อ. สิริวฑั ฒ์ (กล่าวแล้ ว) ว่า อ. พระผู้เป็ นเจ้ า ของเรา มาแล้ ว สิริวฑฺโฒ “จิรสฺสํ วต เม อยฺโย อาคโตติ
สิ ้นกาลนานหนอ ดังนี ้ (ยังดาบสชื่อว่าสรทะ) ให้ นงั่ แล้ ว บนอาสนะ อาสเน นิสีทาเปตฺวา อตฺตนา นีจตเร อาสเน
นัง่ แล้ ว บนอาสนะ อันต�ำ่ กว่า ด้ วยตน ถามแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริญ นิสนิ ฺโน “อนฺเตวาสิกปริ สา ปน โว ภนฺเต น
ก็ อ. บริ ษัทคืออันเตวาสิก ท. ของท่าน ท. ย่อมไม่ปรากฏ ดังนี ้ ฯ ปฺายนฺตีติ ปุจฺฉิ,

(อ.ดาบสชื่ อว่าสรทะ กล่าวแล้ ว) ว่าดูก่อนสหาย เออ “อาม สมฺม, อมฺหากํ อสฺสมํ อโนมทสฺสี พุทฺโธ
(อ. อย่างนัน),้ อ. พระพุทธเจ้ า พระนามว่าอโนมทัสสี เสด็จมาแล้ ว อาคโต, มยํ ตสฺส อตฺตโน พเลน สกฺการํ กริ มหฺ า,
สูอ่ าศรม ของเรา ท., อ. เรา ท. กระท�ำแล้ว ซึง่ สักการะ แก่พระพุทธเจ้า สตฺถา สพฺเพสํ ธมฺมํ เทเสสิ, เทสนาปริ โยสาเน
นัน้ ตามก�ำลัง ของตน, อ. พระศาสดา ทรงแสดงแล้ ว ซึง่ ธรรม €เปตฺวา มํ เสสา อรหตฺตํ ปตฺตา ปพฺพชึส,ุ
แก่เรา ท. ทังปวง,
้ ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งเทศนา อ. ดาบส ท. อหํ สตฺถุ อคฺคสาวกํ นิสภตฺเถรํ ทิสฺวา อนาคเต
ผู้เหลือ เว้ น ซึง่ เรา บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต บวชแล้ ว, อ. เรา เห็นแล้ ว อุปฺปชฺ ชนกสฺส โคตมพุทฺธสฺส นาม สาสเน
ซึ่งพระเถระชื่ อว่านิสภะ ผู้เป็ นอัครสาวก ของพระศาสดา อคฺคสาวกฏฺ€านํ ปตฺเถสึ, ตฺวํปิ ตสฺส สาสเน
ปรารถนาแล้ ว ซึ่ ง ต� ำ แหน่ ง แห่ ง อั ค รสาวก ในศาสนา ทุตยิ สาวกฏฺ€านํ ปตฺเถหีต.ิ
ชือ่ ของพระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดม ผ้เู สด็จอุบตั ิ ในกาลอันไม่มาแล้ว,
แม้ อ. ท่าน จงปรารถนา ซึง่ ต�ำแหน่งแห่งสาวกที่สอง ในศาสนา
ของพระพุทธเจ้ าพระนามว่าโคดมนัน้ ดังนี ้ ฯ

(อ. สิริวฑั ฒ์ กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. ความคุ้นเคย “มยฺหํ พุทฺเธหิ สทฺธึ ปริ จโย นตฺถิ ภนฺเตติ.
กับ ด้ วยพระพุทธเจ้ า ท. แห่งข้ าพเจ้ า ย่อมไม่มี ดังนี ้ ฯ

(อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ กล่าวแล้ ว) ว่า อ. การกราบทูล กับ “พุทฺเธหิ สทฺธึ กถนํ มยฺหํ ภาโร โหตุ, ตฺวํ
ด้ วยพระพุทธเจ้ า ท. เป็ นภาระ ของเรา จงเป็ น, อ. ท่าน จงจัดแจง มหนฺตํ อภิสกฺการํ สชฺเชหีต.ิ
ซึง่ สักการะอันยิ่งใหญ่เถิด ดังนี ้ ฯ

อ. สิริวฑั ฒ์ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำ ของดาบสชื่อว่าสรทะนัน้ ยังบุคคล สิริวฑฺโฒ ตสฺส วจนํ สุตวฺ า อตฺตโน นิเวสนทฺวาเร
ให้กระท�ำแล้ว ซึง่ ทีม่ กี รีสแปดเป็ นประมาณ โดยเครื่องวัดของพระราชา ราชมาเนน อฏฺ€กรี สมตฺตํ €านํ สมตลํ กาเรตฺวา
ใกล้ ประตูแห่งนิเวศน์ ของตน ให้ เป็ นที่มีพื ้นเสมอ เกลี่ยลงแล้ ว วาลิกํ โอกิริตฺวา ลาชปฺจมานิ ปุปผฺ านิ วิกฺกิริตฺวา
ซึง่ ทราย เรี่ ยรายแล้ ว ซึง่ ดอกไม้ ท. มีข้าวตอกเป็ นที่ห้า ยังบุคคล นีลปุ ปฺ ลจฺฉทนํ มณฺฑปํ การาเปตฺวา พุทฺธาสนํ
ให้ กระท�ำแล้ วซึง่ ปะร� ำ มีดอกอุบลเขียวเป็ นเครื่ องมุง ยังบุคคล ปฺาเปตฺวา เสสภิกฺขนู ํปิ อาสนานิ ปฏิยาเทตฺวา
ให้ ปลู าดแล้ ว ซึง่ อาสนะของพระพุทธเจ้ า ตกแต่งแล้ ว ซึง่ อาสนะ ท. มหนฺตํ สกฺ การสมฺมานํ สชฺ เชตฺวา พุทฺธานํ
แม้ แก่ภกิ ษุผ้ เู หลือ ท. จัดแจงแล้ ว ซึง่ สักการะและสัมมานะ อันใหญ่ นิมนฺตนตฺถาย สรทตาปสสฺส สฺํ อทาสิ.
ได้ ให้ แล้ ว ซึ่งสัญญา แก่ดาบสชื่ อว่าสรทะ เพื่อประโยชน์
แก่การทูลนิมนต์ ซึง่ พระพุทธเจ้ า ท. ฯ

อ. ดาบส พาเอา ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้ าเป็ นประมุข ตาปโส พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขสุ งฺฆํ คเหตฺวา ตสฺส
ได้ ไปแล้ ว สูน่ ิเวศน์ ของสิริวฑั ฒ์นนั ้ ฯ นิเวสนํ อคมาสิ.

แม้ อ. สิริวฑั ฒ์ กระท�ำแล้ ว ซึง่ การต้ อนรับ รับแล้ ว ซึง่ บาตร สิริวฑฺโฒปิ ปจฺจคุ ฺคมนํ กตฺวา ตถาคตสฺส
จากพระหัตถ์ ของพระตถาคตเจ้า (ยังพระศาสดา) ให้เสด็จเข้าไปแล้ว หตฺถโต ปตฺตํ คเหตฺวา มณฺ ฑปํ ปเวเสตฺวา
สูป่ ะร� ำ

102 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ถวายแล้ ว ซึง่ น� ้ำเพื่อทักษิณา แก่หมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้ า- ปฺตฺตาสเน นิสนิ ฺนสฺส พุทฺธปฺปมุขสฺส
เป็ นประมุข ผู้นงั่ แล้ ว บนอาสนะอันบุคคลปูลาดแล้ ว อังคาสแล้ ว ภิกฺขสุ งฺฆสฺส ทกฺขิโณทกํ ทตฺวา ปณีตโภชเนน
ด้ วยโภชนะอันประณีต ยังหมูแ่ ห่งภิกษุ มีพระพุทธเจ้ าเป็ นประมุข ปริวสิ ติ วฺ า ภตฺตกิจจฺ ปริโยสาเน พุทธฺ ปฺปมุขํ ภิกขฺ สุ งฺฆํ
ให้ หม่ แล้ ว ด้ วยผ้ า ท. อันควรแก่คา่ มาก ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบ มหารเหหิ วตฺเถหิ อจฺฉาเทตฺวา “ภนฺเต นายํ อารมฺโภ
แห่งกิจด้ วยภัตร กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อปฺปมตฺตกฏฺ€านตฺถาย, อิมินาว นิยาเมน สตฺตาหํ
อ. ความริเริ่ม นี (ย่
้ อมเป็ นไป) เพือ่ ประโยชน์แก่ตำ� แหน่งมีประมาณน้ อย อนุกมฺปํ กโรถาติ อาห.
หามิได้ , อ. พระองค์ ท. ขอจงทรงกระท�ำ ซึง่ ความอนุเคราะห์
ตลอดวันเจ็ด โดยท�ำนอง นี ้เทียว ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา (ทรงยังค�ำนิมนต์) ให้ อยูท่ บั แล้ ว ฯ สตฺถา อธิวาเสสิ.

อ. สิริวฑั ฒ์ นัน้ ยังทานใหญ่ ให้ เป็ นไปทัว่ แล้ ว ตลอดวันเจ็ด โส เตเนว นิยาเมน สตฺตาหํ มหาทานํ
โดยท�ำนองนันนั ้ น่ เทียว ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า ปวตฺเตตฺวา ภควนฺตํ วนฺทิตฺวา อฺชลึ ปคฺคยฺห
ยืนประคองแล้ ว ซึง่ อัญชลี กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ €ิโต อาห “ภนฺเต มม สหาโย สรทตาปโส `ยสฺส
อ. ดาบสชื่อว่าสรทะ ผู้เป็ นสหาย ของข้ าพระองค์ ปรารถนาแล้ ว ว่า สตฺถุ อคฺคสาวโก ภเวยฺยนฺติ ปตฺเถสิ, อหํ ตสฺเสว
อ. เรา เป็ นสาวกผู้เลิศ ของพระศาสดา พระองค์ใด พึงเป็ น ดังนี ้, ทุตยิ สาวโก ภเวยฺยนฺต.ิ
อ. ข้ าพระองค์ เป็ นสาวกทีส่ อง ของพระศาสดา พระองค์นนนั ั ้ น่ เทียว
พึงเป็ น ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ทรงแลดูแล้ ว ซึง่ กาลอันไม่มาแล้ ว ทรงเห็นแล้ ว สตฺถา อนาคตํ โอโลเกตฺวา ตสฺส ปตฺถนาย
ซึง่ ความเป็ นคืออันส�ำเร็จ แห่งความปรารถนา แห่งสิริวฑั ฒ์นนั ้ สมิชฺฌนภาวํ ทิสฺวา พฺยากาสิ “ตฺวํปิ อิโต
ทรงพยากรณ์แล้ ว ว่า แม้ อ. ท่าน เป็ นสาวกที่สอง ของพระพุทธเจ้ า กปฺปสตสหสฺสาธิกํ อสงฺเขยฺยํ อติกกฺ มิตวฺ า โคตมพุทธฺ สฺส
พระนามว่าโคดม จักเป็ น ก้ าวล่วง ซึง่ อสงไชย อันยิง่ ด้วยแสนแห่งกัปป์ ทุตยิ สาวโก ภวิสฺสสีต.ิ
แต่ภทั ทกัปป์นี ้ ดังนี ้ ฯ

อ. สิริวฑั ฒ์ ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำพยากรณ์ ของพระพุทธเจ้ า ท. พุ ทฺ ธ านํ พฺ ย ากรณํ สุ ตฺ ว า สิ ริ ว ฑฺ โ ฒ


เป็ นผู้ร่าเริ งแล้ วและร่าเริ งทัว่ แล้ ว ได้ เป็ นแล้ ว ฯ หฏฺ€ปหฏฺโ€ อโหสิ.
แม้ อ. พระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ว ซึง่ การอนุโมทนาในเพราะภัตร สตฺถาปิ ภตฺตานุโมทนํ กตฺวา สปริ วาโร
ผู้เป็ นไปกับด้ วยบริ วาร เสด็จไปแล้ ว สูว่ ิหารนัน่ เทียว ฯ วิหารเมว คโต.
ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. ความปรารถนา) นี ้ เป็ นความปรารถนาอัน อยํ ภิกฺขเว มม ปุตฺเตหิ ตทา ปตฺถิตปตฺถนา,
บุตร ท. ของเรา ปรารถนาแล้ ว ในกาลนัน้ (ย่อมเป็ น), (อ. บุตร ท. เต ยถาปตฺถิตเมว ลภึส,ุ นาหํ มุขํ โอโลเกตฺวา
ของเรา) เหล่านัน้ ได้ แล้ ว ตามความปรารถนานัน่ เทียว, อ. เรา เทมีต.ิ
ย่อมให้ เพราะแลดู ซึง่ หน้ า หามิได้ ดังนี ้ ฯ

ครัน้ เมื่อพระด�ำรัสอย่างนี ้ (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ ว, อ. เอวํ วุตเฺ ต, เทฺว อคฺคสาวกา ภควนฺตํ วนฺทติ วฺ า
พระอัครสาวก ท. สอง ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า “ภนฺเต มยํ อคาริ ยภูตา สมานา คิรคฺคสมชฺชํ
กราบทูลแล้ ว ซึง่ เรื่ องอันเกิดขึ ้นเฉพาะแล้ ว ทังปวง ้ เพียงใด ทสฺสนาย คตาติ ยาว อสฺสชิตฺเถรสฺส สนฺติกา
แต่การรู้ตลอดซึง่ โสดาปั ตติผล จากส�ำนัก ของพระเถระชือ่ ว่าอัสสชิ โสตาปตฺตผิ ลปฏิเวธา สพฺพํ ปจฺจปุ ปฺ นฺนวตฺถํุ กเถตฺวา
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ข้ าพระองค์ ท. เป็ นผู้มีเรื อนเป็ นแล้ ว “เต มยํ ภนฺเต สฺชยสฺส อาจริ ยสฺส สนฺตกิ ํ
มีอยู่ เป็ นผู้ไปแล้ ว เพื่ออันเห็น ซึง่ มหรสพอันบุคคลพึงเล่นบนยอด คนฺตฺวา ตํ ตุมหฺ ากํ ปาทมูลํ อาเนตุกามา, ตสฺส
แห่งภูเขา (ย่อมเป็ น) ดังนี ้เป็ นต้ น (กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ ลทฺธิยา นิสฺสารภาวํ กเถตฺวา
ผู้เจริ ญ อ. ข้ าพระองค์ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของอาจารย์
ชื่อว่าสญชัย เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันน�ำมา ซึง่ อาจารย์นนั ้ สูท่ ี่ใกล้
แห่งพระบาท ของพระองค์ ท. (เป็ น), บอกแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งลัทธิ
ของอาจารย์นนั ้ เป็ นลัทธิไม่มีสาระ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 103


บอกแล้ ว ซึง่ อานิสงส์ ในการมา ในที่นี ้, ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อิธาคมเน อานิสํสํ กถยิมหฺ า, โส `อิทานิ มยฺหํ
อ. อาจารย์นนั ้ กล่าวแล้ ว ว่า ในกาลนี ้ ชื่อ อ. การอยูโ่ ดย- อนฺเตวาสิวาโส นาม จาฏิยา อุทกจลนภาวปฺปตฺตสิ ทิโส,
ความเป็ นอันเตวาสิก แห่งเรา เป็ นเช่นกับด้ วยการถึงซึง่ ความเป็ น- น สกฺขิสฺสามิ อนฺเตวาสิวาสํ วสิตนุ ฺติ วตฺวา;
คืออันไหวแห่งน� ้ำ ในตุม่ (ย่อมเป็ น), อ. เรา จักไม่อาจ เพื่ออันอยู่ `อาจริ ย อิทานิ มหาชโน คนฺธมาลาทิหตฺโถ คนฺตฺวา
อยูโ่ ดยความเป็ นอันเตวาสิก ดังนี ้ ; (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่อาจารย์ สตฺถารํเยว ปูเชสฺสติ, ตุมเฺ ห กถํ ภวิสสฺ ถาติ วุตเฺ ต,
ในกาลนี ้ อ. มหาชน ผู้มีวตั ถุมีของหอมและระเบียบเป็ นต้ นในมือ `กึ ปน อิมสฺมึ โลเก ปณฺฑิตา พหู อุทาหุ ทนฺธาติ,
ไปแล้ ว จักบูชา ซึง่ พระศาสดา นัน่ เทียว, อ. ท่าน ท. จักเป็ น `ทนฺธาติ กถิเต, `เตนหิ ปณฺฑิตา ปณฺฑิตา
อย่างไร ดังนี ้ (อันข้ าพระองค์ ท.) กล่าวแล้ ว, (กล่าวแล้ ว) ว่า ก็ สมณสฺส โคตมสฺส สนฺตกิ ํ คมิสฺสนฺต,ิ ทนฺธา
อ. คนฉลาด ท. ในโลกนี ้ เป็ นผู้มาก (ย่อมเป็ น) หรื อ หรื อว่า ทนฺธา มม สนฺตกิ ํ อาคมิสฺสนฺต,ิ คจฺฉถ ตุมเฺ หติ
อ. คนโง่ ท. (เป็ นผู้มาก) (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, (ครัน้ เมือ่ ค�ำ) ว่า อ. คนโง่ ท. วตฺวา อาคนฺตํุ น อิจฺฉิ ภนฺเตติ.
(เป็ นผู้มาก) (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันข้ าพระองค์ ท.) กล่าวแล้ ว,
กล่าวแล้ ว ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. คนฉลาด ท. ๆ จักไป สูส่ �ำนัก
ของพระสมณะ ผู้โคดม, อ. คนโง่ ท. ๆ จักมา สูส่ �ำนัก ของเรา,
อ. ท่าน ท. จงไป ดังนี ้ ไม่ปรารถนาแล้ ว เพื่ออันมา ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึง่ ค�ำนัน้ ตรัสแล้ว ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. ตํ สุตฺวา สตฺถา “ภิกฺขเว สฺชโย อตฺตโน
อ. สญชัย ถือเอาแล้ว ซึง่ ธรรมอันไม่เป็ นสาระ ว่า อ. ธรรมอันเป็ นสาระ มิจฺฉาทิฏฺ€ิตาย อสารํ `สาโรติ สารฺจ `อสาโรติ
ดังนี ้ ด้ วย ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระ ว่า อ. ธรรมอันไม่เป็ นสาระ ดังนี ้ คณฺหิ, ตุมเฺ ห ปน อตฺตโน ปณฺฑิตตาย สารํ
ด้ วย เพราะความที่แห่งตนเป็ นผู้มีความเห็นผิด, ส่วนว่า อ. เธอ ท. สารโต อสารฺจ อสารโต ตฺวา อสารํ ปหาย
รู้แล้ ว ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระ โดยความเป็ นธรรมอันเป็ นสาระด้ วย สารเมว คณฺหิตฺถาติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
ซึง่ ธรรมอันไม่เป็ นสาระ โดยความเป็ นธรรมอันไม่เป็ นสาระด้ วย
ละแล้ ว ซึง่ ธรรมอันไม่เป็ นสาระ ถือเอาแล้ ว ซึง่ ธรรม อันเป็ นสาระ
นัน่ เทียว เพราะความที่แห่งตนเป็ นคนฉลาด ดังนี ้ ได้ ตรัสแล้ ว
ซึง่ พระคาถา ท. เหล่านี ้ ว่า

(อ. ชน ท. เหล่าใด) เป็ นผูม้ ี ความรู้ซึ่งธรรมอันเป็ นสาระ “อสาเร สารมติ โน สาเร จาสารทสฺสิโน
ในธรรมอันไม่เป็ นสาระด้วย เป็ นผูเ้ ห็นซึ่งธรรมอันไม่เป็ นสาระ
โดยปกติ ในธรรมอันเป็ นสาระด้วย (ย่อมเป็ น) อ. ชน ท. เต สารํ นาธิ คจฺฉนฺติ มิ จฺฉาสงฺกปฺปโคจรา
เหล่านัน้ เป็ นผูม้ ี ความด�ำริ ผิดเป็ นอารมณ์ (เป็ น)
ย่อมไม่ถึงทับ ซึ่งธรรมอันเป็ นสาระ (อ. ชน ท. เหล่าใด) สารฺจ สารโต ตฺวา อสารฺจ อสารโต
รู้แล้ว ซึ่งธรรมอันเป็ นสาระ โดยความเป็ นธรรมอันเป็ นสาระ
ด้วย ซึ่งธรรมอันไม่เป็ นสาระ โดยความเป็ นธรรมอันไม่เป็ น- เต สารํ อธิ คจฺฉนฺติ สมฺมาสงฺกปฺปโคจราติ .
สาระด้วย อ. ชน ท. เหล่านัน้ เป็ นผูม้ ี ความด�ำริ ชอบ-
เป็ นอารมณ์ (เป็ น) ย่อมถึงทับ ซึ่งธรรมอันเป็ นสาระ ดังนี ้ ฯ

อ.อรรถ ว่า อ.ธรรมนี ้ คือ อ.ปั จจัย ท. ๔, อ.ความเห็นผิด ตตฺถ “อสาเร สารมติโนติ: จตฺตาโร ปจฺจยา,
อันมีวตั ถุ ๑๐ , อ.ธรรมเทศนา อันเป็ นอุปนิสยั แห่งความเห็นผิด ทสวตฺถกุ า มิจฺฉาทิฏฺ€ิ, ตสฺสา อุปนิสฺสยภูตา
นัน้ เป็ นแล้ ว ชื่อว่าธรรมอันไม่เป็ นสาระ, เป็ นผู้มีความเห็นซึง่ ธรรม ธมฺมเทสนาติ อยํ อสาโร นาม, ตสฺมึ สารทิฏฺ€ิโนติ
อันเป็ นสาระ ในธรรมอันไม่เป็ นสาระนัน้ ดังนี ้ ในบท ท. เหล่านัน้ อตฺโถ.
หนา (แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า อสาเร สารมติโน ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า อ.ธรรมนี ้ คือ อ.ความเห็นชอบ อันมีวตั ถุ ๑๐, สาเร จาสารทสฺสิโนติ: ทสวตฺถกุ า สมฺมาทิฏฺ€ิ,
อ.ธรรมเทศนา อันเป็ นอุปนิสยั แห่งความเห็นชอบนัน้ เป็ นแล้ ว ตสฺสา อุปนิสฺสยภูตา ธมฺมเทสนาติ อยํ สาโร นาม,
ชื่อว่าธรรมอันเป็ นสาระ เป็ นผู้เห็นซึง่ ธรรมอันไม่เป็ นสาระโดยปกติ ตสฺมึ “นายํ สาโรติ อสารทสฺสโิ น.
ว่า อ.ธรรมนี ้ เป็ นสาระ (ย่อมเป็ น) หามิได้ ดังนี ้ ในธรรมอันเป็ นสาระ
นัน้ (ดังนี ้) (แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า สาเร จาสารทสฺสโิ น ดังนี ้ฯ

104 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ.อรรถ) ว่า อ.ชน ท. เหล่านัน้ คือว่า ผู้ถอื เอา ถือเอาซึง่ ความเห็นผิด เต สารนฺต:ิ เต ตํ มิจฺฉาทิฏฺ€ิคหณํ คเหตฺวา
นัน้ ตังอยู้ แ่ ล้ ว เป็ นผู้มีความด�ำริ ผิดเป็ นอารมณ์ เป็ น ด้ วยอ�ำนาจ €ิตา กามวิตกฺกาทีนํ วเสน มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจรา
แห่งวิตก ท. มีกามวิตกเป็ นต้ น ย่อมไม่ถงึ ทับ ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระ หุตฺวา สีลสารํ สมาธิสารํ ปฺาสารํ วิมตุ ฺตสิ ารํ
คือศีลด้ วย ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระคือสมาธิด้วย ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระ วิมตุ ฺต
ิ าณทสฺสนสารํ ปรมตฺถสารํ นิพฺพานฺจ
คือปั ญญาด้ วย ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระคือวิมตุ ติด้วย ซึง่ ธรรม นาธิคจฺฉนฺต.ิ
อันเป็ นสาระคือวิมตุ ติญาณทัสสนะด้วย ซึง่ พระนิพพาน อันเป็ นสาระ
คือประโยชน์อย่างยิ่งด้ วย (ดังนี ้) (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า
เต สารํ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
(อ.อรรถ) ว่า รู้แล้ ว ซึง่ ธรรมอันเป็ นสาระมีธรรมอันเป็ นสาระ สารญฺจาติ: ตเมว สีลสาราทิสารํ “สาโร
คือศีลเป็ นต้ น นันนั้ น่ เทียว ว่า อ.ธรรมนี ้ ชื่อว่าเป็ นสาระ (ย่อมเป็ น) นาม อยนฺติ วุตฺตปฺปการฺจ อสารํ “อสาโร
ดังนี ้ด้ วย ซึง่ ธรรมอันไม่เป็ นสาระ มีประการอันข้ าพเจ้ ากล่าวแล้ ว อยนฺติ ตฺวา.
ว่า อ.ธรรมนี ้ เป็ นธรรมไม่เป็ นสาระ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ด้ วย (ดังนี ้)
(แห่งบท) ว่า สารญฺจ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า (อ.ชน ท.) เหล่านัน้ คือว่า ผู้ฉลาด คือว่า เต สารนฺต:ิ เต ปณฺฑิตา เอวํ สมฺมาทสฺสนํ
ผู้ถอื เอา ซึง่ ความเห็นชอบ อย่างนี ้ ตังอยู ้ แ่ ล้ว เป็ นผู้มคี วามด�ำริชอบ คเหตฺ ว า €ิ ต า เนกฺ ข มฺ ม สงฺ ก ปฺ ป าที นํ วเสน
เป็ นอารมณ์ เป็ น ด้ วยอ�ำนาจ (แห่งความด�ำริ ท.) มีความด�ำริ สมฺมาสงฺกปฺปโคจรา หุตฺวา ตํ วุตฺตปฺปการํ สารํ
ในเนกขัมมะเป็ นต้ น เป็ น ย่อมถึงทับ ซึ่งธรรมอันเป็ นสาระ อธิคจฺฉนฺตีต.ิ
มีประการอันข้ าพเจ้ ากล่าวแล้ ว นัน้ ดังนี ้ (แห่งหมวดสองแห่งบท)
ว่า เต สารํ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งพระคาถา อ. ชน ท. มาก บรรลุแล้ว คาถาปริโยสาเน พหู โสตาปตฺตผิ ลาทีนิ ปาปุณสึ .ุ
(ซึง่ อริ ยผล ท.) มีโสดาบัตติผลเป็ นต้ น ฯ
อ.เทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ ได้ มีแล้ ว สนฺ นิ ป ติ ต านํ สาตฺ ถิ ก า เทสนา อโหสี ติ .
(แก่ชน ท.) ผู้ประชุมกันแล้ ว ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ องแห่ งปริพาชกชื่อว่ าสญชัย (จบแล้ ว) ฯ สญฺชยวตฺถุ.

๙. อ. เรื่ องแห่ งพระเถระชื่อว่ านันทะ ๙. นนฺทตฺเถรวตฺถุ. (๙)


(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “ยถา อคารํ ทุจฉฺ นฺนนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ
ซึ่งพระนันทะ ผู้มีอายุ ตรั สแล้ ว ซึ่งพระธรรมเทศนานี ้ ว่า สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต อายสฺมนฺตํ นนฺทํ อารพฺภ
ยถา อคารํ ทุจฉฺ นฺนํ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ กเถสิ.

ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ. พระศาสดา ผู้มีจักรคือธรรม สตฺถา หิ ปวตฺตติ ปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตวฺ า


อันประเสริ ฐอันทรงให้ เป็ นไปทัว่ แล้ ว เสด็จไปแล้ ว สู่เมืองชื่อว่า เวฬุวเน วิหรนฺโต, “ปุตฺตํ เม อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ
ราชคฤห์ ประทับอยูอ่ ยู่ ในพระเวฬุวนั , ผู้อนั - แห่งทูต ท. สิบ ผู้มบี รุ ุษ สุทโฺ ธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ
มีพนั หนึ่ง ๆ เป็ นประมาณเป็ นบริ วาร ผู้อนั พระเจ้ าสุทโธทนะ ทสนฺนํ ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ
มหาราช ทรงไปแล้ ว ด้ วยพระด�ำรัส ว่า อ.ท่าน ท. จงน�ำมาแล้ ว ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ ญตฺวา
ซึง่ บุตรของเรา แสดงแก่เรา ดังนี ้ หนา พระเถระชื่อว่ากาฬุทายี สฏฺฐิมตฺตาย คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา
ผู้ไปแต่ภายหลังแห่งทูตทังปวง้ แล้ วจึงบรรลุแล้ วซึง่ ความเป็ น วีสติสหสฺสขีณาสวปริ วโุ ต กปิ ลวตฺถปุ รุ ํ นีโต,
แห่งพระอรหันต์ ทราบกาลเป็ นที่เสด็จมาแล้ ว จึงพรรณนาแล้ ว
พรรณนาซึ่งหนทาง ด้ วยคาถา มีคาถาหกสิบเป็ นประมาณ
ผู้อนั พระขีณาสพมีพนั ยี่สิบเป็ นประมาณแวดล้ อมแล้ วน�ำไปแล้ ว
สูบ่ รุ ี ชื่อว่ากบิลพัสดุ,
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 105
ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ ฝนโบกขรพัส ให้ เป็ นเหตุเป็ นเป็ นแดนเกิดขึ ้น ญาติสมาคเม โปกฺขรวสฺสํ อตฺถปุ ปฺ ตฺตึ กตฺวา
แห่งเนี ้อความ ตรัสแล้ ว ซึง่ มหาเวสสันดรชาดก ในสมาคม มหาเวสฺสนฺตรชาตกํ กเถตฺวา, ปุนทิวเส ปิ ณฺฑาย
แห่งพระญาติ เสด็จเข้ าไปแล้ ว เพื่อบิณฑะ ในวันรุ่งขึ ้น ยังพระบิดา ปวิฏฺโฐ “อุตฺตฏิ ฺ เฐ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย ปิ ตรํ
ให้ ตงอยู
ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในโสดาปั ตติผล ด้ วยพระคาถาว่า อุตตุ ฎิ ฺ เฐ โสตาปตฺตผิ เล ปติฏฺฐาเปตฺวา “ธมฺมญฺจเร สุจริ ตนฺติ
นปฺปมชฺเชยฺย (บุคคลไม่พงึ ประมาทในก้อนข้าวอันตนพึงลุกขึ ้นยืนรับ) คาถาย มหาปชาปตึ โคตมึ โสตาปตฺติผเล
ดังนี ้ เป็ นต้ น ยังพระนางมหาปชาบดี ผู้โคตมี ให้ ตัง้ อยู่ ราชานญฺจ สกทาคามิผเล ปติฏฺฐาเปสิ.
เฉพาะแล้ ว ในโสดาปั ตติผลด้ วย ยังพระราชา ให้ ตงอยู ั ้ เ่ ฉพาะแล้ ว
ในสกทาคามิผลด้ วย ด้ วยพระคาถา ว่า ธมฺมญฺจเร สุจริ ตํ
(บุคคลพึงประพฤติซงึ่ ธรรมให้ เป็ น สุจริ ต) ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

ก็ อ.พระศาสดา ทรงอาศัย ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าวซึง่ คุณ ภตฺตกิจฺจปริ โยสาเน ปน ราหุลมาตุคณ ุ กถํ
แห่งพระมารดาของพระราหุล ตรั สแล้ ว ซึ่งจันทกิ นนรี ชาดก นิสฺสาย จนฺทกินฺนรี ชาตกํ กเถตฺวา, ตโต ตติยทิวเส
ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งกิจด้ วยภัต ครันเมื
้ อ่ มงคลคือการอภิเษก นนฺทกุมารสฺส อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคเลสุ
และมงคลคืออันเข้าไปสูเ่ รือนและมงคลคือวิวาหะ ท. แห่งพระกุมาร วตฺตมาเนสุ, ปิ ณฺฑาย ปวิสติ ฺวา นนฺทกุมารสฺส
พระนามว่านันทะ เป็ นไปอยู่ เสด็จเข้าไปแล้วเพือ่ บิณฑะ ในวันที่ ๓ หตฺเถ ปตฺตํ ทตฺวา มงฺคลํ วตฺวา อุฏฺฐายาสนา
แต่วนั นัน้ ประทานแล้ ว ซึง่ บาตร บนพระหัตถ์ ของพระกุมาร ปกฺกมนฺโต นนฺทกุมารสฺส หตฺถโต ปตฺตํ น คณฺหิ.
พระนามว่านันทะ ตร้ สแล้ วซึง่ มงคล เสด็จลุกขึ ้นแล้ วจากอาสนะ
หลีกไปอยู่ ไม่ทรงรับแล้ ว ซึง่ บาตร จากพระหัตถ์ ของพระกุมาร
พระนามว่านันทะ ฯ

อ. พระนันทกุมารแม้ นนั ้ ไม่ได้ ทรงอาจแล้ ว เพื่ออันกราบทูล โสปิ ตถาคตคารเวน “ปตฺตํ โว ภนฺเต


ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. พระองค์ ท. ขอจงทรงรับ ซึง่ บาตร คณฺหถาติ วตฺตํุ นาสกฺขิ.
ของพระองค์ ท. ดังนี ้ ด้ วยความเคารพในพระตถาคตเจ้ า ฯ

แต่ ว่ า (อ.พระนั น ทกุ ม าร) ทรงด� ำ ริ แ ล้ ว อย่ า งนี ้ ว่ า เอวํ ปน จิ นฺ เ ตสิ “ โสปาณสี เ ส ปตฺ ตํ
(อ. พระศาสดา) จักทรงรับ ซึง่ บาตร ที่หวั แห่งบันได ดังนี ้ ฯ คณฺหิสฺสตีต.ิ

อ. พระศาสดา ไม่ทรงรับแล้ ว ในที่แม้ นนั ้ ฯ สตฺถา ตสฺมปึ ิ ฐาเน น คณฺหิ.


อ. พระนันทกุมารนอกนี ้ ทรงด�ำริ แล้ ว ว่า (อ. พระศาสดา) อิตโร “โสปาณปาทมูเล คณฺหิสฺสตีติ จินฺเตสิ.
จักทรงรับ ณ โคนแห่งเชิงของบันได ดังนี ้ ฯ

(อ. พระศาสดา) ไม่ทรงรับแล้ ว ในที่แม้ นนั ้ ฯ สตฺถา ตตฺถาปิ น คณฺหิ.

อ. พระนันทกุมารนอกนี ้ ทรงด�ำริ แล้ ว ว่า (อ. พระศาสดา) อิ ต โร “ราชงฺ ค เณ คณฺ หิ สฺ ส ตี ติ จิ นฺ เ ตสิ .


จักทรงรับ ที่เนินของพระราชา ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ไม่ทรงรับแล้ ว ในที่แม้ นนั ้ ฯ สตฺถา ตตฺถาปิ น คณฺหิ.

อ. พระกุมาร เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเสด็จกลับ (เป็ น) เสด็จไปอยู่ กุมาโร นิวตฺติตกุ าโม อรุจิยา คจฺฉนฺโต
ด้ วยความไม่ชอบพระทัย ย่อมไม่ทรงอาจ เพื่ออันกราบทูล ว่า ตถาคตคารเวน “ปตฺตํ คณฺหถาติ วตฺตํุ น
อ. พระองค์ ท. ขอจงทรงรับ ซึง่ บาตร ดังนี ้ ด้ วยความเคารพ สกฺโกติ, “อิธ คณฺหิสฺสติ, เอตฺถ คณฺหิสฺสตีติ
ในพระตถาคตเจ้ า, ย่อมเสด็จด�ำริ ไปอยู่ ว่า (อ.พระศาสดา) จินฺเตนฺโต คจฺฉติ.
จักทรงรับเอา ในที่นี ้, จักทรงรับเอา ในที่นนั่ ดังนี ้ ฯ

ในขณะนัน้ อ.หญิงอยู่ ท. เหล่าอื่น เห็นแล้ ว ซึง่ เหตุนนั ้ ตสฺมึ ขเณ อญฺญา อิตฺถิโย ตํ ทิสฺวา
บอกแล้ ว แก่พระนางชนบทกัลยาณี ว่า ข้ าแต่พระแม่เจ้ า ชนปทกลฺยาณิยา อาจิกฺขสึ ุ “ อยฺเย

106 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงพาเอา ซึง่ พระนันทกุมาร เสด็จไปแล้ ว, ภควา นนฺทกุมารํ คเหตฺวา คโต, ตุมเฺ หหิ ตํ วินา
จักทรงกระท�ำ ซึง่ พระนันทกุมารนัน้ เว้ น จากพระองค์ ท. ดังนี ้ ฯ กริ สฺสตีต.ิ
อ.พระนางชนบทกัลยาณีแม้ นนั ้ ทรงสดับแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ สาปิ ตํ สุตฺวา อุทกพินฺทหู ิ ปคฺฆรนฺเตเหว
ด้ วยทังหยาดแห่
้ งน� ้ำ ท. อันไหลออกอยูน่ นั่ เทียว ด้ วยทังผม
้ ท. อฑฺฒลุ ฺลขิ ิเตหิ เกเสหิ เวเคน คนฺตฺวา “ตุวฏํ โข
อันตนสยายแล้ วด้ วยทังกึ ้ ง่ เสด็จไปแล้ ว โดยเร็ ว ทูลแล้ ว ว่า อยฺยปุตฺต อาคจฺเฉยฺยาสีติ อาห.
ข้ าแต่พระลูกเจ้ า (อ. พระองค์) พึงเสด็จมา ด่วนแล ดังนี ้ ฯ
อ.พระด�ำรัส ของพระนางชนบทกัลยาณีนนั ้ นัน้ ราวกะว่า ตํ ตสฺสา วจนํ ตสฺส หทเย ติริยํ ปติตฺวา
ตกไป ขวาง ตังอยู
้ แ่ ล้ว ในพระทัย ของพระนันทกุมารนัน้ ฯ วิย €ิตํ.

แม้ อ. พระศาสดา ไม่ทรงรับแล้ ว ซึง่ บาตร จากพระหัตถ์ สตฺถาปิ สฺส หตฺถโต ปตฺตํ อคฺคณฺหิตฺวาว ตํ
ของพระนันทกุมารนันเที ้ ยว ทรงน�ำไปแล้ ว ซึง่ พระนันทกุมารนัน้ วิหารํ เนตฺวา “ปพฺพชิสฺสสิ นนฺทาติ อาห.
สูว่ ิหาร ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนนันทะ อ. เธอ จักบวชหรื อ ดังนี ้ ฯ
อ. พระนันทกุมารนัน้ ไม่ทลู แล้ ว ว่า อ. ข้ าพระองค์ จักไม่บวช โส พุทฺธคารเวน “น ปพฺพชิสฺสามีติ อวตฺวา
ดังนี ้ กราบทูลแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ พระเจ้าข้า อ. ข้าพระองค์ “อาม ภนฺเต ปพฺพชิสฺสามีติ อาห.
จักบวช ดังนี ้ ด้ วยความเคารพในพระพุทธเจ้ า ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ถ้ าอย่างนัน้ สตฺถา “เตนหิ ภิกฺขเว นนฺทํ ปพฺพาเชถาติ
(อ. เธอ ท.) ยังนันทะ จงให้ บวชเถิด ดังนี ้ ฯ อาห.
อ.พระศาสดา เสด็ จ ไปแล้ ว สู่ บุ รี ชื่ อ ว่ า กบิ ล พัส ดุ์ สตฺถา กปิ ลวตฺถปุ รุ ํ คนฺตฺวา ตติยทิวเส นนฺทํ
ทรงยังพระนันทะ ให้ ผนวชแล้ ว ในวันที่สาม ฯ ปพฺพาเชสิ.
ในวันที่เจ็ด อ.พระมารดาของพระราหุล ทรงประดับแล้ ว สตฺตเม ทิวเส ราหุลมาตา กุมารํ อลงฺกริ ตฺวา
ซึง่ พระกุมาร ทรงส่งไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า ภควโต สนฺตกิ ํ เปเสสิ “ปสฺส ตาต เอตํ
(ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า แน่ะพ่อ อ. เจ้ า จงเห็น ซึง่ สมณะ ผู้มีวรรณะ วีสติสหสฺสสมณปริ วตุ ํ สุวณฺณวณฺณํ พฺรหฺมรูปวณฺณํ
แห่ ง รู ป เพี ย งดัง พรหม ผู้ มี ว รรณะเพี ย งดัง วรรณะแห่ ง ทอง สมณํ, อยนฺเต ปิ ตา, เอตสฺส ตว ปิ ตุโน
ผู้อนั สมณะมีพนั ยี่สบิ เป็ นประมาณแวดล้ อมแล้ ว นัน่ , อ. สมณะนี ้ ชาตกาเล มหนฺตา นิธิกมุ ภฺ ิโย อเหสุํ, ตสฺส
เป็ นพระบิดา ของเจ้ า (ย่อมเป็ น), อ. หม้ อแห่งขุมทรัพย์ ท. ใหญ่ นิกฺขมนกาลโต ปฏฺ€าย น ปสฺสามิ, คจฺฉ นํ
ได้ มีแล้ ว ในกาลแห่งพระบิดาของเจ้ านัน่ ประสูตแิ ล้ ว, อ. เรา ทายชฺชํ ยาจาหิ `อหํ ตาต กุมาโร, อภิเสกํ ปตฺวา
ย่อมไม่เห็น จ�ำเดิม แต่กาลเป็ นที่เสด็จออกไป แห่งพระบิดานัน,้ จกฺกวตฺตี ภวิสฺสามิ, ธเนน เม อตฺโถ, ธนํ เม เทหิ,
อ.เจ้ า จงไป จงทูลขอ ซึง่ ทรัพย์มรดก กะพระบิดานัน้ ว่า สามิโก หิ ปุตฺโต ปิ ตุ สนฺตกสฺสาติ.
ข้ าแต่เสด็จพ่อ อ. หม่อมฉัน เป็ นกุมาร (ย่อมเป็ น), อ. หม่อมฉัน
ถึงแล้ ว ซึ่งการอภิเษก เป็ นพระเจ้ าจักรพรรดิ์ จักเป็ น,
อ. ความต้ องการ ด้ วยทรัพย์ แห่งหม่อมฉัน (มีอยู)่ , อ. พระองค์
ขอจงประทาน ซึง่ ทัพย์ แก่หม่อมฉัน , เพราะว่า อ. บุตร
เป็ นเจ้ าของ แห่งทรัพย์อนั เป็ นของมีอยู่ แห่งบิดา (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
อ. พระกุมาร เสด็จไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า กุมาโร ภควโต สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา วนฺทิตฺวา
ถวายบังคมแล้ ว กลับได้ แล้ ว ซึง่ ความรักในพระบิดา ผู้ร่าเริ งแล้ ว ปิ ตุสเิ นหํ ปฏิลภิตฺวา หฏฺ€ตุฏฺโ€ “สุขา เต สมณ
และยินดีแล้ ว กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่สมณะ อ. เงา ของพระองค์ ฉายาติ วตฺวา อฺํปิ พหุํ อตฺตโน อนุรูปํ
สบาย ดังนี ้ ได้ ประทับยืนตรัสอยูแ่ ล้ ว ซึง่ ค�ำอันสมควร แก่ตน วทนฺโต อฏฺ€าสิ.
อันมาก แม้ อื่น ฯ
อ.พระผู้มีพระภาคเจ้ า ผู้มีกิจด้ วยภัตรอันทรงกระท�ำแล้ ว ภควา กตภตฺตกิจโฺ จ อนุโมทนํ กตฺวา อุฏฺ€ายาสนา
ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ การอนุโมทนา เสด็จลุกขึ ้นแล้ ว จากอาสนะ ปกฺกามิ.
เสด็จหลีกไปแล้ ว ฯ
แม้ อ. พระกุมาร (กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่สมณะ อ. พระองค์ กุมาโรปิ “ทายชฺชํ เม สมณ เทหิ, ทายชฺชํ
ขอจงประทาน ซึง่ ทรัพย์มรดก แก่หม่อมฉัน , ข้ าแต่สมณะ เม สมณ เทหีติ ภควนฺตํ อนุพนฺธิ.
อ.พระองค์ ขอจงประทาน ซึง่ ทรัพย์มรดก แก่หม่อมฉัน ดังนี ้
เสด็จติดตามไปแล้ ว ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 107


แม้ อ.พระผู้มีพระภาคเจ้ า ไม่ทรงยังพระกุมารให้ เสด็จ ภควาปิ กุ ม ารํ น นิ ว ตฺ ต าเปสิ .
กลับแล้ ว ฯ แม้ อ. ชนผู้เป็ นบริ วาร ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออัน ปริ ชโนปิ ภควตา สทฺธึ คจฺฉนฺตํ นิวตฺเตตุํ นาสกฺขิ.
(ยังพระกุมาร) ผู้เสด็จไปอยู่ กับ ด้ วยพระผู้มีพระภาคเจ้ า อิติ โส ภควตา สทฺธึ อารามเมว อคมาสิ.
ให้ เสด็จกลับ ฯ อ. พระกุมาร นัน้ ได้ เสด็จไปแล้ ว สู่อาราม
กับ ด้วยพระผู้มพี ระภาคเจ้านัน่ เทียว ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ

*ก.๒๓* ในล�ำดับนัน้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงพระด�ำริ แล้ ว ตโต ภควา จินฺเตสิ “ยํ อยํ ปิ ตุ สนฺตกํ ธนํ
ว่า อ. กุมาร นี ้ย่อมปรารถนา ซึง่ ทรัพย์ อันเป็ นของมีอยู่ แห่งบิดา ใด, อิจฺฉติ, ตํ วฏฺฏานุคตํ สวิฆาตํ; หนฺทสฺส โพธิมเู ล
อ. ทรัพย์นนั ้ เป็ นของไปตามแล้ วซึง่ วัฏฏะ เป็ นของเป็ นไปกับ มยา ปฏิลทฺธํ สตฺตวิธํ อริยธนํ เทมิ, โลกุตตฺ รทายชฺชสฺส
ด้ วยความคับแคบ (ย่อมเป็ น) ; เอาเถิด (อ. เรา) จะให้ ซึง่ ทรัพย์ นํ สามิกํ กโรมีต.ิ
อันประเสริ ฐ อันมีอย่าง ๗ อันอันเราได้ เฉพาะแล้ ว ที่โคนแห่งต้ นไม้
เป็ นทีต่ รัสรู้ แก่กมุ าร นัน,้ อ. เรา จะกระท�ำ ซึง่ กุมารนัน้ ให้เป็ นเจ้าของ
แห่งทรัพย์มรดกอันเป็ นโลกุตระ ดังนี ้ ฯ

ครังนั
้ นแล้ อ. พระผู้มพี ระภาคเจ้า ตรัสเรียกมาแล้ว ซึง่ พระสารีบตุ ร อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ สารี ปตุ ฺตํ อามนฺเตสิ
ผู้มีอายุ (ด้ วยพระด�ำรัส) ว่า ดูก่อนสารี บตุ ร ถ้ าอย่างนัน้ อ. เธอ “เตนหิ ตฺวํ สารี ปตุ ฺต ราหุลกุมารํ ปพฺพาเชหีติ.
ยังกุมารชื่อว่าราหุล จงให้ บวชเถิด ดังนี ้ฯ อ. พระเถระยังพระกุมาร เถโร ตํ ปพฺพาเชสิ.
นัน้ ให้ ผนวชแล้ ว ฯ
ก็ ครัน้ เมื่อพระกุมาร ผนวชแล้ ว, อ. ความทุกข์ มีประมาณยิ่ง ปพฺพชิเต ปน กุมาเร, รฺโ ตํ สุตฺวา
เกิดขึ ้นแล้ ว แก่พระราชา เพราะทรงสดับ ซึง่ ข่าวสาส์นนัน้ ฯ อธิมตฺตํ ทุกฺขํ อุปปฺ ชฺชิ.
(อ. พระราชา) ไม่ทรงอาจอยู่ เพื่ออันทรงยังความทุกข์นนั ้ ตํ อธิวาเสตุํ อสกฺโกนฺโต ภควโต สนฺตกิ ํ
ให้ อยู่ทับ เสด็จไปแล้ ว สู่ส�ำนัก ของพระผู้มีพระภาคเจ้ า คนฺตฺวา ปฏินิเวเทตฺวา “ สาธุ ภนฺเต อยฺยา
(ทรงยังพระผู้มีพระภาคเจ้ า) ให้ ทรงทราบเฉพาะแล้ ว ทูลขอแล้ ว มาตาปิ ตูหิ อนนุฺาตํ ปุตฺตํ น ปพฺพาเชยฺยนุ ฺติ
ซึง่ พร ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ดังหม่อมฉันทูลขอวโรกาส วรํ ยาจิ.
อ.พระผู้เป็ นเจ้ า ท. ไม่พึงยังบุตร ผู้อันมารดาและบิดา ท.
ไม่อนุญาตแล้ ว ให้ บวช ดังนี ้ ฯ

อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ประทานแล้ ว ซึง่ พรนัน้ แก่พระราชา ภควา ตสฺส ตํ วรํ ทตฺวา, ปุเนกทิวสํ ราชนิเวสเน
นัน้ , ในวันหนึ่งอีก ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิ นในเวลาเช้ า กตปาตราโส, เอกมนฺตํ นิสนิ ฺเนน รฺา “ภนฺเต
อันทรงกระท�ำแล้ ว ในพระราชนิเวศน์, (ครัน้ เมื่อพระด�ำรัส) ว่า ตุมหฺ ากํ ทุกฺกรการิ กกาเล เอกา เทวตา มํ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ในกาลแห่งพระองค์ ท. ทรงประกอบแล้ ว อุปสงฺกมิตฺวา `ปุตฺโต เต กาลกโตติ อาห, อหํ
ด้ วยการกระท�ำซึง่ กรรมอันบุคคลกระท�ำได้ โดยยาก อ. เทวดา ตสฺสา วจนํ อสทฺทหนฺโต `น มยฺหํ ปุตฺโต โพธึ
ตนหนึง่ เข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ หม่อมฉัน กล่าวแล้ ว ว่า อ. ลูกชาย อปฺปตฺวา กาลํ กโรตีติ ตํ ปฏิกฺขิปินฺติ วุตฺเต,
ของท่าน เป็ นผู้มีกาละอันกระท�ำแล้ ว (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, อ. หม่อมฉัน “อิทานิ มหาราช กึ สทฺทหิสฺสถ; ปุพฺเพปิ ,
ไม่เชื่ออยู่ ซึง่ ค�ำ ของเทวดานัน้ ห้ ามแล้ ว ซึง่ เทวดานัน้ ว่า อ. ลูกชาย อฏฺ€ิกานิ ตุยฺหํ ทสฺเสตฺวา `ปุตฺโต เต มโตติ
ของข้ าพเจ้ า ไม่บรรลุแล้ ว ซึง่ ญาณเป็ นเครื่ องตรัสรู้ จะกระท�ำ วุตฺเต, น สทฺทหิตฺถาติ, อิมิสฺสา อตฺถปุ ปฺ ตฺติยา
ซึง่ กาละ หามิได้ ดังนี ้ ดังนี ้ (อันพระราชา) ผู้ประทับนัง่ แล้ ว มหาธมฺมปาลชาตกํ กเถสิ.
ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ ทูลแล้ ว, (ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนมหาบพิตร
ในกาลนี ้ อ. พระองค์ ท. จักทรงเชื่อ อย่างไร ; แม้ ในกาลก่อน,
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ. ลูกชาย ของท่าน ตายแล้ ว ดังนี ้ (อันพราหมณ์)
แสดงแล้ ว ซึง่ กระดูก ท. แก่พระองค์ กราบทูลแล้ ว, (อ. พระองค์ ท.)
ไม่ทรงเชื่ อแล้ ว ดังนี ,้ ตรั สแล้ ว ซึ่งมหาธรรมบาลชาดก
ในเพราะความเกิดขึ ้นแห่งเรื่ อง นี ้ ฯ

ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งกถา อ. พระราชา ทรงตังอยู


้ เ่ ฉพาะแล้ว กถาปริ โยสาเน ราชา อนาคามิผเล ปติฏฺ€หิ.
ในอนาคามิผล ฯ

108 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงยังพระบิดา ให้ ตงอยู ั ้ เ่ พาะแล้ ว อิติ ภควา ปิ ตรํ ตีสุ ผเลสุ ปติฏฺ€าเปตฺวา
ในผล ท. สาม ด้ วยประการฉะนี ้ ผู้อนั หมูแ่ ห่งภิกษุแวดล้ อมแล้ ว ภิกฺขสุ งฺฆปริ วโุ ต ปุนเทว ราชคหํ คนฺตฺวา ตโต
เสด็จไปแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าราชคฤห์ อีกนัน่ เทียว ผู้มีปฏิญญา อนาถปิ ณฑฺ เิ กน สาวตฺถึ อาคมนตฺถาย คหิตปฏิโฺ ,
อันเศรษฐี ชอื่ ว่าอนาถบิณฑิกะรับแล้ ว เพือ่ ประโยชน์แก่การเสด็จมา นิฏฺ€ิเต เชตวนมหาวิหาเร, ตตฺถ คนฺตฺวา วาสํ
สูเ่ มืองชือ่ ว่าสาวัตถี (จากเมืองชือ่ ว่าราชคฤห์) นัน,้ ครันเมื
้ อ่ มหาวิหาร กปฺเปสิ.
ชื่ อว่าเชตวัน ส�ำเร็ จแล้ ว , เสด็จไปแล้ ว ทรงส�ำเร็ จแล้ ว
ซึง่ การประทับอยู่ ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวันนัน้ ฯ

ครัน้ เมื่อพระศาสดา ประทับอยูอ่ ยู่ ในพระเชตวัน อย่างนี ้ เอวํ สตฺถริ เชตวเน วิหรนฺเตเยว, อายสฺมา
นัน่ เทียว, อ. พระนันทะ ผู้มอี ายุ กระสันขึ ้นแล้ว บอกแล้ว ซึง่ เนื ้อความ นนฺโท อุกฺกณฺ€ิตฺวา ภิกฺขนู ํ เอตมตฺถํ อาโรเจสิ
นัน่ แก่ภิกษุ ท. ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ข้ าพเจ้ า ไม่ยินดียิ่งแล้ ว “ อนภิ ร โต อหํ อาวุ โ ส พฺ ร หฺ ม จริ ยํ จรามิ ,
ย่ อ มประพฤติ ซึ่ ง พรหมจรรย์ , อ.ข้ าพเจ้ า ย่ อ มไม่ อ าจ น สกฺโกมิ พฺรหฺมจริ ยํ สนฺธาเรตุํ, สิกฺขํ ปจฺจกฺขาย
เพื่ออันทรงไว้ พร้ อม ซึง่ พรหมจรรย์, (อ. ข้ าพเจ้ า) บอกคืนแล้ ว หีนายาวตฺตสิ ฺสามีต.ิ
ซึง่ สิกขา จักเวียนมา เพื่อความเป็ นคนเลว ดังนี ้ ฯ

อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงสดับแล้ ว ซึง่ ความเป็ นไปทัว่ นัน้ ภควา ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา อายสฺมนฺตํ นนฺทํ
(ทรงยังบุคคล) ให้ ร้องเรี ยกแล้ ว ซึง่ พระนันทะ ผู้มีอายุ ได้ ตรัสแล้ ว ปกฺโกสาเปตฺวา เอตทโวจ “สจฺจํ กิร ตฺวํ นนฺท
ซึง่ ค�ำนัน่ ว่า ดูก่อนนันทะ ได้ ยินว่า อ. เธอ บอกแล้ ว อย่างนี ้ ว่า สมฺพหุลานํ ภิกฺขนู ํ เอวมาโรเจสิ `อนภิรโต อหํ
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ข้ าพเจ้ า ไม่ยินดียิ่งแล้ ว ย่อมประพฤติ อาวุโส พฺรหฺมจริ ยํ จรามิ, น สกฺโกมิ พฺรหฺมจริ ยํ
ซึง่ พรหมจรรย์, อ.ข้ าพเจ้ า ย่อมไม่อาจ เพื่ออันทรงไว้ พร้ อม สนฺธาเรตุํ, สิกฺขํ ปจฺจกฺขาย หีนายาวตฺตสิ ฺสามีติ.
ซึง่ พรหมจรรย์, อ. ข้ าพเจ้ า บอกคืนแล้ ว ซึง่ สิกขา จักเวียนมา
เพือ่ ความเป็ นคนเลว ดังนี ้ แก่ภกิ ษุ ท. ผู้มากพร้ อม จริงหรือ (ดังนี ้) ฯ

(อ. พระนันทะ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “เอวํ ภนฺเตติ.


อ. อย่างนัน้ ดังนี ้ ฯ

(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนนันทะ ก็ อ. เธอ “กิสฺส ปน ตฺวํ นนฺท อนภิรโต พฺรหฺมจริ ยํ
ผู้ไม่ยินดียิ่งแล้ ว ย่อมประพฤติ ซึง่ พรหมจรรย์, อ. เธอ ย่อมไม่อาจ จรสิ, น สกฺโกสิ พฺรหฺมจริยํ สนฺธาเรตุ,ํ สิกขฺ ํ ปจฺจกฺขาย
เพื่ออันทรงไว้ พร้ อม ซึง่ พรหมจรรย์, อ. เธอ บอกคืนแล้ ว ซึง่ สิกขา หีนายาวตฺตสิ ฺสสีต.ิ
จักเวียนมา เพื่อความเป็ นคนเลว เพื่ออะไร ดังนี ้ ฯ

(อ.พระนันทะ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “สากิยานี เม ภนฺเต ชนปทกลฺยาณี ฆรา


เมื่อข้ าพระองค์ ออกไปอยู่ จากเรื อน อ. พระนางชนบทกัลยาณี นิกฺขมนฺตสฺส อฑฺฒลุ ฺลขิ ิเตหิ เกเสหิ อปโลเกตฺวา
ผู้ศากิยะ ด้ วยทังผม ้ ท. อันตนเกล้ าแล้ วด้ วยทังกึ้ ง่ เหลียวแลแล้ ว มํ เอตทโวจ “ตุวฏํ โข อยฺยปุตฺต อาคจฺเฉยฺยาสีติ;
ได้ กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน่ กะข้ าพระองค์ ว่า ข้ าแต่พระลูกเจ้ า โส โข อหํ ภนฺเต ตํ อนุสฺสรมาโน อนภิรโต
อ. พระองค์ พึงเสด็จมา ด่วนแล ดังนี ้, ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ พฺรหฺมจริยํ จรามิ, น สกฺโกมิ พฺรหฺมจริยํ สนฺธาเรตุ,ํ
อ.ข้ าพระองค์นนแล ั้ ระลึกตามอยู่ ซึง่ ค�ำนัน้ ไม่ยินดียิ่งแล้ ว สิกฺขํ ปจฺจกฺขาย หีนายาวตฺตสิ ฺสามีต.ิ
ย่อมประพฤติ ซึ่งพรหมจรรย์ , อ.ข้ าพระองค์ ย่อมไม่อาจ
เพื่ออันทรงไว้ พร้ อม ซึง่ พรหมจรรย์, อ. ข้ าพระองค์ บอกคืนแล้ ว
ซึง่ สิกขา จักเวียนมา เพื่อความเป็ นคนเลว ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นันแล
้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงจับแล้ ว อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ นนฺทํ พาหาย
ซึง่ พระนันทะ ผู้มีอายุ ที่แขน ทรงน�ำไปอยู่ สูเ่ ทวโลกชื่อว่าดาวดึงส์ คเหตฺวา อิทฺธิพเลน ตาวตึสเทวโลกํ เนนฺโต,
ด้ วยก�ำลังแห่งพระฤทธิ์,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 109


ทรงแสดงแล้ ว ซึง่ นางลิงรุ่น ตัวหนึง่ ตัวมีหแู ละจมูกและหาง อนฺตรามคฺเค เอกสฺมึ ฌามกฺเขตฺเต ฌามขานุมตฺถเก
อันขาดแล้ ว ตัวนัง่ แล้ ว บนที่สดุ แห่งตออันไฟไหม้ แล้ ว ในนา นิสนิ ฺนํ ฉินฺนกณฺณนาสนงฺคฏุ ฺ €ํ เอกํ ปลุฏฺ€มกฺกฏึ
อันไฟไหม้ แล้ ว แห่งหนึง่ ในระหว่างแห่งหนทาง, ทรงแสดงแล้ ว ทสฺเสตฺวา, ตาวตึสภวเน สกฺกสฺส เทวรฺโ
ซึง่ ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มีเท้ าเพียงดังเท้ าแห่งนกพิราบ อุปฏฺ€านํ อาคตานิ กกุฏปาทานิ ปฺจ อจฺฉราสตานิ
ผู้มาแล้ ว สูท่ ี่เป็ นที่บ�ำรุง ซึง่ ท้ าวสักกะ ผู้พระราชาแห่งเทพ ทสฺเสสิ.
ในภพชื่อว่าดาวดึงส์ ฯ

ก็แล (อ. พระศาสดา) ครัน้ ทรงแสดงแล้ ว ตรัสแล้ ว อย่าง ทสฺเสตฺวา จ ปน เอวมาห “ตํ กึ มฺสิ
นี ้ว่า ดูก่อนนันทะ อ. เธอ จะส�ำคัญ ซึง่ ข้ อนัน้ อย่างไร, อ. นนฺท, กตมา นุโข อภิรูปตรา จ ทสฺสนียตรา จ
หญิง ท. เหล่าไหนหนอแล คือ อ. นางชนบทกัลยาณี ผู้ศากิยะ ปาสาทิกตรา จ, สากิยานี วา ชนปทกลฺยาณี
หรื อ หรื อว่า คือ อ. ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มีเท้ าเพียงดังเท้ า อิมานิ วา ปฺจ อจฺฉราสตานิ กกุฏปาทานีติ.
แห่งนกพิราบ เหล่านี ้ เป็ นผู้มีรูปงามกว่าด้ วย เป็ นผู้ควรแก่การเห็น
กว่าด้ วย เป็ นผู้ยงั ความเลื่อมใสให้ เกิดกว่าด้ วย (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

(อ.พระนั น ทะ) ฟั ง แล้ ว ซึ่ ง ค� ำ นั น้ กราบทู ล แล้ ว ว่ า ตํ สุตวฺ า อาห “เสยฺยถาปิ สา ภนฺเต ฉินนฺ กณฺณ-
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. นางลิงลุน่ ตัวมีหแู ละจมูกและหาง นาสนงฺคฏุ ฺ €า ปลุฏฺ€มกฺกฏี; เอวเมว โข ภนฺเต
อันขาดแล้ ว นัน้ (ย่อมเป็ น) แม้ ฉนั ใด; ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ สากิยานี ชนปทกลฺยาณี, อิเมสํ ปฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ
อ. พระนางชนบทกัลยาณี ผู้ศากิยะ (ย่อมเป็ น) ฉันนัน้ นัน่ เทียวแล. อุปนิธาย สงฺขฺยํปิ น อุเปติ, กลํปิ น อุเปติ
(อ.นางชนบทกัลยาณี ผู้ศากิยะ) ย่อมไม่เข้าถึง แม้ซงึ่ การนับพร้ อม, ภาคํปิ น อุเปติ; อถโข อิมาเนว ปฺจ อจฺฉราสตานิ
ย่อมไม่เข้ าถึง แม้ ซงึ่ เสี ้ยว ย่อมไม่เข้ าถึง แม้ ซงึ่ ส่วน แห่งร้ อย อภิรูปตรานิ เจว ทสฺสนียตรานิ จ ปาสาทิกตรานิ
แห่งนางอัปสร ท. ๕ เหล่านี ้ เพราะอันเข้ าไปเทียบเคียง; โดยที่แท้ จาติ.
อ. ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ เหล่านี ้นัน่ เทียว เป็ นผู้มรี ูปงามกว่าด้ วย
เป็ นผู้ควรแก่การเห็นกว่าด้ วย เป็ นผู้ยงั ความเลือ่ มใสให้ เกิดกว่าด้ วย
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนนันทะ อ. เธอ จงยินดียิ่ง “อภิรม นนฺท, อภิรม นนฺท, อหนฺเต ปาฏิโภโค
ดูก่อนนันทะ อ. เธอ จงยินดียิ่ง, อ. เรา เป็ นผู้รับรอง เพื่ออันยังเธอ ปฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ ปฏิลาภาย กกุฏปาทานนฺต.ิ
ให้ได้เฉพาะ ซึง่ ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มเี ท้าเพียงดังเท้าแห่งนกพิราบ
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. พระนันทะ กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ถ้ าว่า “สเจ เม ภนฺเต ภควา ปาฏิโภโค ปฺจนฺนํ
อ.พระผู้มพี ระภาคเจ้ า เป็ นผู้ทรงรับรอง เพือ่ อันยังข้ าพระองค์ให้ ได้ อจฺฉราสตานํ ปฏิลาภาย กกุฏปาทานํ , อภิรมิสสฺ ามหํ
เฉพาะ ซึง่ ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มีเท้ าเพียงดังเท้ าแห่งนกพิราบ ภนฺเต ภควา พฺรหฺมจริ เยติ.
(ย่อมเป็ น) ไซร้ , ข้ าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้ า ผู้เจริ ญ อ. ข้ าพระองค์
จักยินดียิ่ง ในพรหมจรรย์ ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นันแล
้ อ. พระผู้มพี ระภาคเจ้ า ทรงพาเอาแล้ ว ซึง่ พระนันทะ อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ นนฺทํ คเหตฺวา ตตฺถ
ผู้มีอายุ ทรงหายไปแล้ ว ในที่นนั ้ ได้ มีปรากฏแล้ ว ในพระเชตวัน อนฺตรหิโต เชตวเนเยว ปาตุรโหสิ.
นัน่ เทียว ฯ

อ. ภิกษุ ท. ได้ ฟังแล้ ว แล ว่า ได้ ยินว่า อ. พระนันทะ ผู้มีอายุ อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู “อายสฺมา กิร นนฺโท ภควโต
ผู้เป็ นพระภาดา ของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ผู้เป็ นพระโอรสของพระแม่น้า ภาตา มาตุจฺฉาปุตฺโต อจฺฉรานํ เหตุ พฺรหฺมจริ ยํ
ย่อมประพฤติ ซึง่ พรหมจรรย์ เพราะเหตุ แห่งนางอัปสร ท., จรติ,

110 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ได้ ยินว่า อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า เป็ นผู้ทรงรับรอง เพื่ออัน ภควา กิรสฺส ปาฏิโภโค ปฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ
ยังพระนันทะนัน้ ให้ ได้ เฉพาะ ซึง่ ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มีเท้ า ปฏิลาภาย กกุฏปาทานนฺต.ิ
เพียงดังเท้ าแห่งนกพิราบ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นันแล
้ อ. ภิกษุ ท. ผู้เป็ นสหาย ของพระนันทะ ผู้มีอายุ อถโข อายสฺมโต นนฺทสฺส สหายกา ภิกฺขู
ย่อมประพฤติร้องเรี ยก ซึง่ พระนันทะ ผู้มีอายุ ด้ วยวาทะว่า อายสฺมนฺตํ นนฺทํ ภตกวาเทน จ อุปกฺกีตกวาเทน
พระนันทะผู้กระท�ำซึง่ การรับจ้ างด้ วย ด้ วยวาทะว่าพระนันทะ จ สมุทาจรนฺติ “ ภตโก กิรายสฺมา นนฺโท ,
ผู้อนั พระศาสดาทรงไถ่แล้ วด้ วย ว่า ได้ ยนิ ว่า อ. พระนันทะ ผู้มอี ายุ อุปกฺกตี โก กิรายสฺมา นนฺโท, ปฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ
เป็ นผู้กระท�ำซึง่ การรับจ้ าง (ย่อมเป็ น), ได้ ยินว่า อ. พระนันทะ เหตุ พฺรหฺมจริ ยํ จรติ, ภควา กิรสฺส ปาฏิโภโค
ผู้มอี ายุ เป็ นผู้อนั พระศาสดาทรงไถ่แล้ ว (ย่อมเป็ น), (อ. พระนันทะ) ปฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ ปฏิลาภาย กกุฏปาทานนฺต.ิ
ย่อมประพฤติ ซึง่ พรหมจรรย์ เพราะเหตุ แห่งร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕,
ได้ยนิ ว่า อ. พระผู้มพี ระภาคเจ้า เป็ นผู้ทรงรับรอง เพือ่ อันยังพระนันทะ
นันให้
้ ได้ เฉพาะ ซึง่ ร้ อยแห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มีเท้ าเทียงดังเท้ า
แห่งนกพิราบ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

ครังนั
้ นแล
้ อ. พระนันทะ ผู้มอี ายุ อึดอัดอยู่ ละอายอยู่ รังเกียจอยู่ อถโข อายสฺมา นนฺโท สหายกานํ ภิกฺขนู ํ
ด้ วยวาทะว่าพระนันทะผู้กระท�ำซึง่ การรับจ้ างด้ วย ด้ วยวาทะว่า ภตกวาเทน จ อุปกฺกีตกวาเทน จ อฏฺฏิยมาโน
พระนันทะผู้อนั พระศาสดาทรงไถ่แล้ วด้ วย ของภิกษุ ท. ผู้เป็ นสหาย หรายมาโน ชิคจุ ฺฉมาโน เอโก วูปกฏฺโ€ อปฺปมตฺโต
ผู้เดียว หลีกออกแล้ ว ผู้ไม่ประมาทแล้ ว ผู้มีความเพียรเป็ นเครื่ อง อาตาปี ปหิตตฺโต วิหรนฺโต, นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย
ยังกิเลสให้ ร้อนทัว่ ผู้มีตนอันส่งไปแล้ ว อยูอ่ ยู,่ อ. กุลบุตร ท. กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา อนคาริ ยํ
ย่อมบวช ไม่มีกรรมเกื ้อกูลแก่เรื อน จากเรื อน โดยชอบนัน่ เทียว ปพฺพชนฺติ, ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริ ยปริ โยสานํ ทิฏฺเ€ว
เพื่อประโยชน์แก่คณ ุ วิเศษใด, กระท�ำให้ แจ้ งแล้ ว ซึง่ คุณวิเศษนัน้ ธมฺเม สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช
อันยอดเยี่ยม อันมีพรหมจรรย์เป็ นที่สดุ ลงรอบ เพราะรู้ยิ่ง เอง วิหาสิ, “ขีณา ชาติ, วุสติ ํ พฺรหฺมจริ ยํ, กตํ กรณียํ
ต่อกาลไม่นานนัน่ เทียว เข้ าไปถึงพร้ อมแล้ ว อยูแ่ ล้ ว ในธรรม นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ อพฺภฺาสิ, อฺตโร
อันสัตว์เห็นแล้ วเทียว, (อ. พระนันทะ) ได้ ร้ ูยิ่งแล้ ว ว่า อ. ชาติ จ ปนายสฺมา นนฺโท อรหตํ อโหสิ.
สิ ้นแล้ ว อ. พรหมจรรย์ อันเรา อยูจ่ บแล้ ว, อ. กิจอันบุคคลพึงกระท�ำ
อันเรา กระท�ำแล้ ว, อ. กิจ อื่นอีก (ย่อมไม่มี) เพื่อความเป็ นอย่างนี ้
ดังนี ้, ก็แล อ. พระนันทะ ผู้มีอายุ เป็ น-แห่งพระอรหันต์ ท. หนา-
พระอรหันต์องค์ใดองค์หนึง่ ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
ครัง้ นัน้ อ.เทวดา ตนหนึง่ ยังพระเชตวัน ทังสิ ้ ้น ให้ สว่างแล้ ว อเถกา เทวตา รตฺติภาเค สกลํ เชตวนํ
ในส่วนแห่งราตรี เข้ าไปเฝ้าแล้ ว ซึง่ พระศาสดา ถวายบังคมแล้ ว โอภาเสตฺวา สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา
กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. พระนันทะผู้มีอายุ อาโรเจสิ “ อายสฺมา ภนฺเต นนฺโท ภควโต
ผู้เป็ นพระภาดา ของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ผู้เป็ นพระโอรสของพระแม่น้า ภาตา มาตุจฺฉาปุตฺโต อาสวานํ ขยา อนาสวํ
กระท�ำให้ แจ้ งแล้ ว ซึง่ เจโตวิมตุ ติ ซึง่ ปั ญญาวิมตุ ติ อันไม่มีอาสวะ เจโตวิมตุ ฺตึ ปฺาวิมตุ ฺตึ ทิฏฺเ€ว ธมฺเม สยํ
เพราะความสิ ้นไป แห่งอาสวะ ท. เพราะรู้ยงิ่ เอง เข้ าไปถึงพร้ อมแล้ ว อภิฺา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหรตีต.ิ
อยูอ่ ยู่ ในธรรม อันสัตว์เห็นแล้ วเทียว ดังนี ้ ฯ

อ. พระญาณ ได้ เกิดขึ ้นแล้ ว แม้ แก่พระผู้มีพระภาคเจ้ าแล ว่า ภควโตปิ โข าณํ อุทปาทิ “นนฺโท อาสวานํ
อ. นันทะ กระท�ำให้ แจ้ งแล้ ว ซึง่ เจโตวิมตุ ติ ซึง่ ปั ญญาวิมตุ ติ ขยา อนาสวํ เจโตวิมตุ ฺตึ ปฺาวิมตุ ฺตึ ทิฏฺเ€ว
อันไม่มีอาสวะ เพราะความสิ ้นไป แห่งอาสวะ ท. เพราะรู้ยิ่ง เอง ธมฺเม สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช
เข้ าไปถึงพร้ อมแล้ ว อยูอ่ ยู่ ในธรรม อันสัตว์เห็นแล้ วเทียว ดังนี ้ ฯ วิหรตีต.ิ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 111


อ. พระนันทะ ผู้มอี ายุ แม้นนั ้ เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึง่ พระผู้มพี ระภาคเจ้ า โสปายสฺมา ตสฺสา รตฺตยิ า อจฺจเยน ภควนฺตํ
โดยอันล่วงไป แห่งราตรี นัน้ ถวายบังคมแล้ ว ได้ กราบทูลแล้ ว อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา เอตทโวจ “ยํ เม ภนฺเต
ซึง่ ค�ำนัน่ ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ภควา ปาฏิโภโค ปฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ ปฏิลาภาย
เป็ นผู้ทรงรั บรอง เพื่ออันยังข้ าพระองค์ ให้ ได้ เฉพาะ ซึ่งร้ อย กกุฏปาทานํ, มุฺจามหํ ภนฺเต ภควนฺตํ เอตสฺมา
แห่งนางอัปสร ท. ๕ ผู้มเี ท้ าเพียงดังเท้ าแห่งนกพิราบ (ย่อมเป็ น) ใด, ปฏิสฺสวาติ.
ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ อ. ข้าพระองค์ ย่อมเปลื ้อง ซึง่ พระผู้มพี ระภาคเจ้า
จากการฟั งตอบ นัน่ ดังนี ้ ฯ

(อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนนันทะ อ. ใจ “มยาปิ โข เต นนฺท เจตสา เจโต ปริ จฺจ วิทิโต
ของเธอ แม้ อนั เราแล ก�ำหนด รู้แล้ ว ด้ วยใจ ว่า อ. นันทะ `นนฺโท อาสวานํ ขยา อนาสวํ เจโตวิมตุ ฺตึ
กระท�ำให้ แจ้ งแล้ ว ซึง่ เจโตวิมตุ ติ ซึง่ ปั ญญาวิมตุ ติ อันไม่มีอาสวะ ปฺาวิมตุ ตฺ ึ ทิฏฺเ€ว ธมฺเม สยํ อภิ
ฺ า สจฺฉิกตฺวา
เพราะความสิ ้นไป แห่งอาสวะ ท. เพราะรู้ยงิ่ เอง เข้ าไปถึงพร้ อมแล้ ว อุปสมฺปชฺช วิหรตีต,ิ เทวตาปิ เม เอตมตฺถํ
อยูอ่ ยู่ ในธรรม อันสัตว์เห็นแล้ วเทียว ดังนี ้, แม้ อ. เทวดา บอกแล้ ว อาโรเจสิ `อายสฺมา ภนฺเต นนฺโท อาสวานํ ขยา
ซึง่ เนื ้อความนัน่ แก่เรา ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. พระนันทะ อนาสวํ เจโตวิมตุ ฺตึ ปฺาวิมตุ ฺตึ ทิฏฺเ€ว ธมฺเม
ผู้มีอายุ กระท�ำให้ แจ้ งแล้ ว ซึง่ เจโตวิมตุ ติ ซึง่ ปั ญญาวิมตุ ติ สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหรตีติ,
อันไม่มีอาสวะ เพราะความสิ ้นไป แห่งอาสวะ ท. เพราะรู้ยิ่ง เอง ยเทว โข เต นนฺท อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ
เข้ าไปถึงพร้ อมแล้ ว อยูอ่ ยู่ ในธรรม อันสัตว์เห็นแล้ วเทียว ดังนี ้, มุตฺตํ, อถาหํ มุตฺโต เอตสฺมา ปฏิสฺสวาติ.
ดูก่อนนันทะ ในกาลใดนัน่ เทียวแล อ.จิต ของเธอ พ้ นแล้ ว
จากอาสวะ ท. เพราะไม่เข้าไปถือมัน่ , ในกาลนัน้ อ. เรา เป็ นผู้พ้นแล้ว
จากการฟั งตอบ นัน่ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นันแล
้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงทราบแล้ ว ซึง่ เนื ้อความ อถโข ภควา เอตมตฺถํ วิทิตฺวา ตายํ เวลายํ
นัน่ ทรงเปล่งแล้ ว ซึง่ พระอุทาน นี ้ ในเวลานัน้ ว่า อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ

อ. เปื อกตมคือกาม อันบุคคลใด ข้ามแล้ว อ. หนามคือกาม “ยสฺส ติ ณฺโณ กามปงฺโก มทฺทิโต กามกณฺฏโก
(อันบุคคล) ใด ย�่ำยีแล้ว (อ.บุคคลนัน้ ) ถึงโดยล�ำดับแล้ว
ซึ่งความสิ้ นไปแห่งโมหะ ย่อมไม่หวัน่ ไหว ในเพราะสุข โมหกฺขยมนุปปฺ ตฺโต สุขทุกฺเข น เวธตีติ.
และทุกข์ ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ ในวันหนึง่ อ. ภิกษุ ท. ถามแล้ ว ซึง่ พระนันทะ ผู้มีอายุ อเถกทิวสํ ภิกฺขู อายสฺมนฺตํ นนฺทํ ปุจฺฉึสุ
ว่า ดูก่อนนันทะ ผู้มีอายุ ในกาลก่อน อ. ท่าน กล่าวแล้ ว ว่า “อาวุโส นนฺท ปุพฺเพ ตฺวํ `อุกฺกณฺ€ิโตมฺหีติ วเทสิ,
อ. ข้ าพเจ้ า เป็ นผู้กระสันขึ ้นแล้ ว ย่อมเป็ น ดังนี ้, ในกาลนี ้ (อ. จิต) อิทานิ เต กถนฺต.ิ “นตฺถิ เม อาวุโส คิหิภาวาย
ของท่าน (ย่อมเป็ น) อย่างไร ดังนี ้ ฯ อาลโยติ.
(อ. พระนันทะ) (กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะท่านผู้มอี ายุ ท. อ. ความอาลัย
เพื่อความเป็ นแห่งคฤหัสถ์ ย่อมไม่มี แก่ข้าพเจ้ า ดังนี ้ ฯ

อ. ภิกษุ ท. ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ กล่าวแล้ ว ว่า อ. พระนันทะ ตํ สุตฺวา ภิกฺขู “อภูตํ อายสฺมา นนฺโท กเถติ,
ผู้มีอายุ ย่อมกล่าว ซึง่ ค�ำอันไม่มีแล้ ว , ย่อมกระท�ำให้ แจ้ ง อฺํ พฺยากโรติ, อตีตทิวเสสุ `อุกฺกณฺ€ิโตมฺหีติ
ซึง่ พระอรหัตตผลอันบุคคลพึงรู้ทวั่ , (อ. พระนันทะ) กล่าวแล้ ว ว่า วตฺวา, อิทานิ `นตฺถิ เม คิหิภาวาย อาลโยติ
(อ.ข้ าพเจ้ า) เป็ นผู้กระสันขึ ้นแล้ ว ย่อมเป็ น ดังนี ้ ในวันอันล่วงไปแล้ ว กเถตีติ วตฺวา คนฺตฺวา ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ.
ท. ย่อมกล่าว ว่า อ.ความอาลัย เพื่อความเป็ นแห่งคฤหัสถ์
ย่อมไม่มี แก่ข้าพเจ้ า ดังนี ้ ในกาลนี ้ ดังนี ้ ไปแล้ ว กราบทูลแล้ ว
ซึง่ เนื ้อความนัน่ แก่พระผู้มีพระภาคเจ้ า ฯ

112 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. อัตภาพ ภควา “ภิกฺขเว อตีตทิวเสสุ นนฺทสฺส อตฺตภาโว
ของนันทะ เป็ นเช่นกับด้ วยเรื อนอันบุคคลมุงชัว่ แล้ ว ได้ เป็ นแล้ ว ทุจฺฉนฺนเคหสทิโส อโหสิ, อิทานิ สุจฺฉนฺนเคหสทิโส
ในวันอันล่วงไปแล้ ว ท. , ในกาลนี ้ (อ.อัตภาพ ของนันทะ) ชาโต, อยํ หิ ทิพฺพจฺฉรานํ ทิฏฺ€กาลโต ปฏฺ€าย
เป็ นเช่นกับด้ วยเรื อนอันบุคคลมุงดีแล้ ว เกิดแล้ ว , เพราะว่า ปพฺพชิตกิจฺจสฺส มตฺถกํ ปาเปตุํ วายมนฺโต ตํ กิจฺจํ
อ.นันทะนี ้พยายามอยู่ เพือ่ อันยังตนให้ถงึ ซึง่ ทีส่ ดุ แห่งกิจของบรรพชิต ปตฺโตติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
จ�ำเดิม แต่กาลแห่งนางอัปสรผู้เป็ นทิพย์ ท. อันตนเห็นแล้ ว ถึงแล้ ว
ซึง่ กิจนัน้ ดังนี ้ ได้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา ท. เหล่านี ้ ว่า

อ.ฝน ย่อมรัว่ รด ซึ่งเรื อน อันบุคคลมุงชัว่ แล้ว ฉันใด, “ยถา อคารํ ทุจฺฉนฺนํ วุฏฺ€ิ สมติ วิชฺฌติ ;
อ. ราคะ ย่อมเสียดแทง ซึ่งจิ ต อันบุคคลไม่ให้เจริ ญแล้ว เอวํ อภาวิ ตํ จิ ตฺตํ ราโค สมติ วิชฺฌติ .
ฉันนัน้ ฯ อ.ฝน ย่อมไม่รวั่ รด ซึ่งเรื อน อันบุคคลมุงดีแล้ว ยถา อคารํ สุจฺฉนฺนํ วุฏฺ€ิ น สมติ วิชฺฌติ ;
ฉันใด, อ. ราคะ ย่อมไม่เสียดแทง ซึ่งจิ ตอันบุคคลให้เจริ ญ เอวํ สุภาวิ ตํ จิ ตฺตํ ราโค น สมติ วิชฺฌตีติ.
ดีแล้ว ฉันนัน้ ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า ซึง่ เรื อน อย่างใดอย่างหนึง่ (ดังนี ้) ในบท ท. ตตฺถ “อคารนฺต:ิ ยงฺกิฺจิ เคหํ.
เหล่านันหนา
้ (แห่งบท) ว่า อคารํ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า อันบุคคลมุงแล้ วห่าง คือว่า อันมีชอ่ งใหญ่และ ทุจฉฺ นฺนนฺต:ิ วิรลจฺฉนฺนํ ฉิทฺทาวฉิทฺทํ.
ช่องน้ อย (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า ทุจฉฺ นฺนํ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า อ.ฝนในฤดูฝน ย่อมรั่วรดได้ (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า สมติวชิ ฺฌตีต:ิ วสฺสวุฏฺ€ิ วินิวิชฺฌติ.
สมติวชิ ฺฌติ ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า อ.ราคะ ย่อมเสียดแทง ซึง่ จิต ชื่อว่าอันบุคคล อภาวิตนฺต:ิ ตํ อคารํ วุฏฺ€ิ วิย ภาวนารหิตตฺตา
ไม่ให้เจริญแล้ว เพราะความทีแ่ ห่งจิตเป็ นธรรมชาตเว้นแล้วจากภาวนา อภาวิตํ จิตฺตํ ราโค สมติวิชฺฌติ, น เกวลํ ราโคว,
ราวกะ อ.ฝน (รัว่ รดอยู)่ ซึง่ เรือนนัน,้ อ.ราคะเทียว (ย่อมเสียดแทง ซึง่ จิต) โทสโมหมานาทโย สพฺพกฺกิเลสา ตถารูปํ จิตฺตํ
อย่างเดียว หามิได้ , อ.กิเลสทังปวง ้ ท. มีโทสะและโมหะและมานะ อติวิชฺฌนฺตเิ ยว.
เป็ นต้ น ย่อมเสียดแทง ซึง่ จิต มีอย่างนันเป็ ้ นรูปนัน่ เทียว (ดังนี ้)
(แห่งบท) ว่า อภาวิตํ ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า อ.กิ เลส ท. มีราคะเป็ นต้ น ย่อมไม่อาจ สุภาวิตนฺต:ิ สมถวิปสฺสนาภาวนาหิ สุภาวิตํ,
เพื่ อ อัน เสี ย ดแทง ซึ่ ง จิ ต อัน บุ ค คล ให้ เจริ ญ ดี แ ล้ ว เอวรูปํ จิตฺตํ สุจฺฉนฺนํ เคหํ วุฏฺ€ิ วิย ราคาทโย กิเลสา
ด้ วยสมถะภาวนาและวิปัสสนาภาวนา ท. คือว่ามีอย่างนี ้เป็ นรูป อติวิชฺฌิตํุ น สกฺโกนฺตีติ.
ราวกะ อ.ฝน (ไม่รั่วรดอยู)่ ซึง่ เรื อน อันบุคคลมุงดีแล้ ว ดังนี ้
(แห่งบท) ว่า สุภาวิตํ ดังนี ้ ฯ

ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งพระคาถา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว คาถาปริ โ ยสาเน พหู โสตาปตฺ ติ ผ ลาที นิ
(ซึง่ อริ ยผล ท.) มีโสดาปั ตติผลเป็ นต้ น, อ. เทศนา เป็ นเทศนา ปาปุณึส,ุ มหาชนสฺส สาตฺถิกา เทสนา อโหสิ.
เป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ ได้ มีแล้ ว แก่มหาชน ฯ

ครัง้ นัน้ อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็ นเครื่องกล่าว ให้ ตงขึ


ั ้ ้นพร้ อมแล้ ว อถ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺ€าเปสุํ “อาวุโส
ในโรงเป็ นทีก่ ล่าวกับด้ วยการแสดงซึง่ ธรรม ว่า ดูกอ่ นท่านผู้มอี ายุ ท. พุทฺธา จ นาม อจฺฉริ ยา, ชนปทกลฺยาณึ นิสฺสาย
ก็ ชือ่ อ. พระพุทธเจ้ า ท. เป็ นผู้นา่ อัศจรรย์ (ย่อมเป็ น), อ. พระนันทะ อุกฺกณฺ€ิโต นามายสฺมา นนฺโท สตฺถารา เทวจฺฉรา
ผู้มอี ายุ ชือ่ ว่าผู้กระสันขึ ้นแล้ว เพราะอาศัย ซึง่ พระนางชนบทกัลยาณี อามิสํ กตฺวา วินีโตติ.
อันพระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ นางเทพอัปสร ท. ให้ เป็ นอามิส
ทรงแนะน�ำแล้ ว ดังนี ้ ฯ
อ. พระศาสดา เสด็จมาแล้ ว ตรัสถามแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. สตฺถา อาคนฺตฺวา, “กาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ
อ.เธอ ท. เป็ นผู้นั่งพร้ อมกันแล้ ว ด้ วยวาจาเป็ นเครื่ องกล่าว กถาย สนฺนิสนิ ฺนาติ ปุจฺฉิตฺวา,
อะไรหนอ ย่อมมี ในกาลนี ้ ดังนี ้,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 113


(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. ข้ าพระองค์ ท. เป็ นผู้นงั่ พร้ อมกันแล้ ว “อิมาย นามาติ วุตฺเต, “น ภิกฺขเว อิทาเนว,
ด้ วยวาจาเป็ นเครื่องกล่าว) ชือ่ นี ้ (ย่อมมี ในกาลนี ้) ดังนี ้ (อันภิกษุ ท. ปุพฺเพเปส มยา มาตุคาเมน ปโลเภตฺวา วินีโตเยวาติ
กราบทูลแล้ ว), ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. นันทะ อันเรา วตฺวา, เตหิ ยาจิโต อตีตํ อาหริ :
ล่อแล้ ว ด้ วยมาตุคาม แนะน�ำแล้ ว) ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ ,
อ. นันทะนัน่ อันเรา ล่อแล้ ว ด้ วยมาตุคาม แนะน�ำแล้ วนัน่ เทียว
แม้ ในกาลก่อน ดังนี ้, ผู้อนั ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ทูลวิงวอนแล้ ว
ทรงน�ำมาแล้ ว ซึง่ เรื่ องอันล่วงไปแล้ ว ว่า

ในกาลอันล่วงไปแล้ ว ครัน้ เมือ่ พระเจ้ าพรหมทัต (ทรงยังบุคคล) อตีเต พาราณสิยํ พฺรหฺมทตฺเต รชฺชํ กาเรนฺเต,
ให้ กระท�ำอยู่ ซึง่ ความเป็ นแห่งพระราชา ในเมืองชื่อว่าพาราณสี, พาราณสีวาสี กปฺปโก นาม วาณิโช อโหสิ.
อ.พ่อค้า ชือ่ ว่ากัปปกะ ผู้อยูใ่ นเมืองชือ่ ว่าพาราณสีโดยปกติ ได้มแี ล้ว ฯ ตสฺเสโก คทฺรโภ กุมภฺ ภารํ วหติ. ทิวเส ทิวเส
อ. ลา ตัวหนึง่ ของพ่อค้านัน้ ย่อมน�ำไป ซึง่ ภาระมีกมุ ภะเป็ นประมาณ ฯ สตฺต โยชนานิ คจฺฉติ.
(อ. ลา) ย่อมไป สิ ้นโยชน์ ท. ๗ ในวัน ๆ ฯ
ในสมัยหนึง่ อ. พ่อค้ านัน้ ไปแล้ ว สูเ่ มืองชื่อว่าตักกสิลา (กับ) โส เอกสฺมึ สมเย คทฺรภภารเกหิ ตกฺกสิลํ
ด้ วยภาระอันลาพึงน�ำไป ท. ปล่อยแล้ ว ซึง่ ลา เพื่ออันเที่ยวไป คนฺตฺวา ยาว ภณฺฑสฺส วิสฺสชฺชนา คทฺรภํ วิจริ ตํุ
เพียงใด แต่อนั จ�ำหน่าย ซึง่ สิง่ ของ ฯ วิสฺสชฺเชสิ.
ครัง้ นัน้ อ. ลา นัน้ ของพ่อค้ านัน้ เที่ยวไปอยู่ บนหลังแห่งคู อถสฺส โส คทฺรโภ ปริ ขาปิ ฏฺเ€ จรมาโน เอกํ
เห็นแล้ ว ซึง่ นางลาตัวหนึง่ เข้ าไปหาแล้ ว ฯ อ.นางลานัน้ คทฺรภึ ทิสฺวา อุปสงฺกมิ. สา เตน สทฺธึ ปฏิสนฺถารํ
กระท�ำอยู่ ซึง่ ปฏิสนั ถาร กับ ด้ วยลานัน้ กล่าวแล้ ว ว่า (อ. ท่าน) กโรนฺตี อาห “กุโต อาคโตสีต.ิ “พาราณสิโตติ.
เป็ นผู้มาแล้ ว จากเมืองไหน ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ (อ. ลา กล่าวแล้ ว) ว่า
(อ. เรา เป็ นผู้มาแล้ ว) จากเมืองชื่อว่าพาราณสี (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. นางลา ถามแล้ว ว่า อ. ท่าน ย่อมมา) ด้วยการงาน อะไร ดังนี ้ฯ “เกน กมฺเมนาติ.
(อ. ลา กล่าวแล้ ว ว่า อ. เรา ย่อมมา) ด้ วยการงานของพ่อค้ า ดังนี ้ ฯ “วาณิชกมฺเมนาติ.
(อ. นางลา ถามแล้ว) ว่า อ. ท่าน ย่อมน�ำไป ซึง่ ภาระ มีประมาณเท่าไร “กิตฺตกํ ภารํ วหสีต.ิ
ดัง นี ้ ฯ (อ. ลา กล่ า วแล้ ว ) ว่ า (อ. เรา ย่ อ มน� ำ ไป) “กุมภฺ ภารนฺติ.
ซึง่ ภาระมีกมุ ภะเป็ นประมาณ ดังนี ้ ฯ
(อ. นางลา ถามแล้ว) ว่า อ. ท่าน น�ำไปอยู่ ซึง่ ภาระ มีประมาณเท่านี ้ “เอตฺตกํ ภารํ วหนฺโต กติโยชนานิ คจฺฉสีต.ิ
ย่อมไป สิ ้นโยชน์เท่าไร ท. ดังนี ้ ฯ (อ. ลา กล่าวแล้ ว) ว่า (อ. เรา “สตฺตโยชนานีต.ิ
ย่อมไป) สิ ้นโยชน์ ๗ ท. ดังนี ้ ฯ (อ. นางลา ถามแล้ ว) ว่า
อ. นางลาบางตัว กระท�ำอยู่ ซึง่ การนวดซึง่ เท้ า หรื อ หรื อว่า “คตฏฺ€าเน เต กาจิ ปาทปริ กมฺมํ วา
ซึง่ การนวดซึง่ หลัง แก่ทา่ น ในที่แห่งท่านไปแล้ ว มีอยูห่ รื อ ดังนี ้ ฯ ปิ ฏฺ€ิปริ กมฺมํ วา กโรนฺตี อตฺถีต.ิ “นตฺถิ ภทฺเทติ.
(อ. ลา กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะนางผู้เจริญ (อ. นางลา ผู้มอี ย่างนี ้เป็ นรูป) “เอวํ สนฺเต มหาทุกฺขํ อนุโภสีต.ิ
ย่อมไม่มี ดังนี ้ ฯ (อ. นางลา กล่าวแล้ว) ว่า ครันเมื้ อ่ ความเป็ นอย่างนัน้
มีอยู่ (อ. ท่าน) ย่อมเสวย ซึง่ ทุกข์ใหญ่ ดังนี ้ ฯ กิจฺ าปิ หิ ติรจฺฉานคตานํ ปาทปริกมฺมาทิการโก
จริ งอยู่ ซื่อ อ. บุคคล ผู้กระท�ำซึง่ กรรมมีการนวดซึง่ เท้ าเป็ นต้ น นาม นตฺถิ , กามสฺโชนฆฏฺฏนตฺถํ เอวรู ปํ กเถสิ.
แก่สตั ว์ดริ ัจฉาน ท. ย่อมไม่มี แม้ โดยแท้ , (ถึงอย่างนัน) ้ (อ. นางลา)
กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำอันมีอย่างนี ้เป็ นรูป เพือ่ อันกระทบซึง่ กามสังโยชน์ ฯ
อ. ลานัน้ กระสันขึ ้นแล้ ว ด้ วยวาจาเป็ นเครื่องกล่าว ของนางลา โส ตสฺสา กถาย อุกฺกณฺ€ิโต. กปฺปโกปิ
นัน้ ฯ แม้ อ. นายกัปปกะ จ�ำหน่ายแล้ ว ซึง่ สิง่ ของ ไปแล้ ว ภณฺฑํ วิสฺสชฺเชตฺวา ตสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา “เอหิ
สูส่ �ำนัก ของลานัน้ กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะพ่อ อ. เจ้ า จงมาเถิด, ตาต, คมิสฺสามาติ อาห. “คจฺฉถ ตุมเฺ ห, นาหํ
อ. เรา ท. จักไป ดังนี ้ ฯ (อ. ลา กล่าวแล้ ว) ว่า อ. ท่าน ท. จงไปเถิด, คมิสฺสามีต.ิ
อ. ข้ าพเจ้ า จักไม่ไป ดังนี ้ ฯ
อถ นํ ปุนปฺปนุ ํ ยาจิตฺวา “อนิจฺฉนฺตํ นํ
ครัง้ นัน้ (อ. นายกัปปกะ) อ้ อนวอนแล้ ว ซึง่ ลานัน้ บ่อย ๆ คิด ภาเยตฺวา เนสฺสามีติ จินฺเตตฺวา อิมํ คาถมาห
แล้ ว ว่า อ. เรา ยังลานัน้ ตัวไม่ปรารถนาอยู่ ให้ กลัวแล้ ว จักน�ำไป
ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถานี ้ ว่า

114 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. เรา) จักกระท�ำ ซึ่งปฏัก มี หนามอันบันฑิ ตก�ำหนดแล้ว “ปโตทนฺเต กริ สฺสามิ โสฬสงฺคลุ ิ กณฺฏกํ,
ด้วยนิ้ วมื อ ๑๖ แก่เจ้า, จักทิ่ มแทง ซึ่งกาย ของเจ้า ,
แน่ะลา (อ. เจ้า) จงรู้ อย่างนี ้ ดังนี ้ ฯ สฺฉินทฺ ิ สฺสามิ เต กายํ; เอวํ ชานาหิ คทฺรภาติ .

อ. ลา ฟังแล้ว ซึง่ ค�ำนัน้ กล่าวแล้ว ว่า ครันเมื


้ อ่ ความเป็ นอย่างนัน้ ตํ สุตฺวา คทฺรโภ “เอวํ สนฺเต, อหํปิ เต กตฺตพฺพํ
มีอยู่ แม้ อ. ข้ าพเจ้ า จักรู้ ซึง่ กิจ อันข้ าพเจ้ า พึงกระท�ำ แก่ทา่ น ชานิสสฺ ามีติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถานี ้ ว่า

(อ. ท่าน) จักกระท�ำ ซึ่งปฏัก มี หนามอันบันฑิ ตก�ำหนดแล้ว “ปโตทมฺเม กริ สสฺ สิ โสฬสงฺคลุ ิ กณฺฏกํ,
ด้วยนิ้ วมื อ ๑๖ แก่ขา้ พเจ้า, (อ. ข้าพเจ้า) ยืนอยู่เฉพาะแล้ว ปุรโต ปติ ฏฺ€หิ ตฺวาน อุทฺธริ ตฺวาน ปจฺฉโต
ข้างหน้า ยกขึ้นแล้ว ข้างหลัง ยังสิ่งของ ของท่าน จักให้ตกไป, ภณฺฑํ เต ปาตยิ สฺสามิ ; เอวํ ชานาหิ กปฺปกาติ .
ข้าแต่ท่านกัปปกะ (อ. ท่าน) จงรู้ อย่างนี ้ ดังนี ้ ฯ

อ. พ่อค้ า ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ คิดแล้ ว ว่า อ. ลานัน่ ย่อมกล่าว ตํ สุตฺวา วาณิโช “เกน นุ โข การเณเนส
อย่างนี ้ กะเรา เพราะเหตุ อะไรหนอแล ดังนี ้ แลดูอยู่ ข้ างนี ้ด้ วย มํ เอวํ วทตีติ จินฺเตตฺวา อิโต จิโต จ โอโลเกนฺโต
ข้ างนี ้ด้ วย เห็นแล้ ว ซึง่ นางลานัน้ คิดแล้ ว ว่า อ. ลานัน่ เป็ นผู้ ตํ คทฺรภึ ทิสฺวา “อิมาย เอส เอวํ สิกฺขาปิ โต
อันนางลานี ้ให้ ส�ำเหนียกแล้ ว อย่างนี ้ จักเป็ น, อ. เรา ล่อแล้ ว ซึง่ ลา ภวิสฺสติ, `เอวรูปึ นาม เต คทฺรภึ อาเนสฺสามีติ
นัน้ ด้ วยมาตุคาม (ด้ วยค�ำ) ว่า (อ. เรา) จักน�ำมา ซึง่ นางลา มาตุคาเมน ตํ ปโลเภตฺวา เนสฺสามีติ จินฺเตตฺวา
ชื่อมีอย่างนี ้เป็ นรูป แก่เจ้ า ดังนี ้ จักน�ำไป ดังนี ้ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา อิมํ คาถมาห
นี ้ ว่า

(อ. เรา) จักน�ำมา ซึ่งนาง ผูม้ ี เท้า ๔ ผูม้ ี หน้าเพียงดังสังข์ “จตุปปฺ ทึ สงฺขมุขึ นารึ สพฺพงฺคโสภิ นึ
ผูม้ ี อวัยวะทัง้ ปวงงาม (กระท�ำ) ให้เป็ นภรรยา ของเจ้า, ภริ ยํ เต อานยิ สฺสามิ , เอวํ ชานาหิ คทฺรภาติ .
แน่ะลา (อ. เจ้า) จงรู้ อย่างนี ้ ดังนี ้ ฯ

อ. ลา ฟั งแล้ ว ซึง่ ค�ำนัน้ ผู้มีจิตยินดีแล้ ว กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ตํ สุตฺวา ตุฏฺ€จิตฺโต คทฺรโภ อิมํ คาถมาห
นี ้ ว่า

(อ. ท่าน) จักน�ำมา ซึ่งนาง ผูม้ ี เท้า ๔ ผูม้ ี หน้าเพียงดังสังข์ “จตุปปฺ ทึ สงฺขมุขึ นารึ สพฺพงฺคโสภิ นึ
ผูม้ ี อวัยวะทัง้ ปวงงาม (กระท�ำ) ให้เป็ นภรรยา ของข้าพเจ้า, ภริ ยํ เม อานยิ สสฺ สิ , เอวํ ชานาหิ กปฺปก
ข้าแต่ท่านกัปปกะ (อ. ท่าน) จงรู้ อย่างนี ้ ข้าแต่ท่านกัปปกะ กปฺปก ภิ ยฺโย คมิ สฺสามิ โยชนานิ จตุทฺทสาติ .
(อ. ข้าพเจ้า) จักไป สิ้ นโยชน์ ท. ๑๔ ยิ่ ง ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. นายกัปปกะ (กล่าวแล้ ว) กะลานัน้ ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อถ นํ กปฺปโก “ เตนหิ เอหีติ คเหตฺวา
(อ. เจ้ า) จงมา ดังนี ้ จูงเอาแล้ ว ได้ ไปแล้ ว สูท่ ี่อนั เป็ นของตน ฯ สกฏฺ€านํ อคมาสิ.

อ.ลานัน้ กล่าวแล้ ว กะนายกัปปกะนัน้ โดยอันล่วงไป โส กติปาหจฺจเยน ตํ อาห “นนุ มํ ตุมเฺ ห


แห่งวันเล็กน้ อย ว่า อ. ท่าน ท. ได้ กล่าวแล้ ว ว่า อ. เรา จักน�ำมา `ภริ ยนฺเต อานยิสฺสามีติ อโวจุตฺถาติ.
ซึง่ ภรรยา แก่เจ้ า ดังนี ้ กะข้ าพเจ้ า มิใช่หรื อ ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 115


(อ. นายกัปปกะ กล่าวแล้ว) ว่า เออ (อ. ค�ำนัน้ อันเรา) กล่าวแล้ว, “อาม วุตฺตํ, นาหํ อตฺตโน กถํ ภินฺทิสฺสามิ,
อ. เรา จักไม่ท�ำลาย ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ของตน, (อ. เรา) ภริ ยนฺเต อานยิสฺสามิ; วฏฺฏํ ปน ตุยฺหํ เอกกสฺเสว
จักน�ำมา ซึง่ ภรรยา แก่เจ้ า ; แต่วา่ อ. เรา จักให้ ซึง่ เสบียง แก่เจ้ า ทสฺสามิ, ตุยฺหํ อตฺตโน ทุติยสฺส ตํ ปโหตุ วา มา วา,
ผู้ผ้ เู ดียวนัน่ เทียว, อ. เสบียงนัน้ จงพอหรื อ หรื อว่า จงอย่าพอ ตฺวเมว ชาเนยฺยาสิ; อุภินฺนํ โว สํวาสมนฺวาย
แก่เจ้ า ผู้เป็ นที่สอง ของตน, อ. เจ้ านัน่ เทียว พึงรู้ ; แม้ อ. ลูก ท. ปุตฺตาปิ ชายิสฺสนฺต,ิ เตหิปิ พหูหิ สทฺธึ ตุยฺหํ ตํ
จักเกิด เพราะอาศัย ซึง่ การอยูพ่ ร้ อมกัน แห่งเจ้ า ท. ทังสอง, ้ ปโหตุ วา มา วา, ตฺวเมว ชาเนยฺยาสีติ. คทฺรโภ,
อ. เสบียงนัน้ จงพอหรือ หรือว่า จงอย่าพอ แก่เจ้ า กับ ( ด้ วยลูก ท.) ตสฺมึ กเถนฺเตเยว, อนเปกฺโข อโหสิ.
มาก แม้ เหล่านัน้ , อ. เจ้ านั่นเทียว พึงรู้ ดังนี ้ ฯ อ. ลา
ครัน้ เมื่อนายกัปปกะนัน้ กล่าวอยูน่ นั่ เทียว, เป็ นผู้ไม่มีความเยื่อใย
ได้ เป็ นแล้ ว (ดังนี ้) ฯ

อ.พระศาสดา ครั น้ ทรงน� ำมาแล้ ว ซึ่งพระธรรมเทศนานี ้ สตฺถา อิมํ ธมฺมเทสนํ อาหริ ตฺวา “ตทา
ทรงยังชาดก ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. นางลา ในกาลนัน้ ภิกฺขเว คทฺรภี ชนปทกลฺยาณี อโหสิ, คทฺรโภ
เป็ นนางชนบทกัลยาณี ได้ เป็ นแล้ ว (ในกาลนี ้), อ. ลา (ในกาลนัน) ้ นนฺโท, วาณิโช อหเมว, เอวํ ปุพฺเพเปส มยา
เป็ นนันทะ (ได้ เป็ นแล้ ว ในกาลนี ้), อ. พ่อค้ า (ในกาลนัน)
้ เป็ นเรา มาตุคาเมน ปโลเภตฺวา วินีโตติ ชาตกํ นิฏฺ€าเปสีต.ิ
นัน่ เทียว (ได้ เป็ นแล้ ว ในกาลนี ้), อ. นันทะนัน่ อันเรา ล่อแล้ ว
ด้ วยมาตุคาม แนะน�ำแล้ ว แม้ ในกาลก่อน ด้ วยประการฉะนี ้ ดังนี ้
ให้ จบแล้ ว ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ องแห่ งพระเถระชื่อว่ านันทะ (จบแล้ ว) ฯ นนฺทตฺเถรวตฺถุ.

๑๐. อ.เรื่ องแห่ งบุรุษผู้ฆ่าซึ่งสุกรชื่อว่ าจุนทะ ๑๐. จุนฺทสูกริกวตฺถุ. (๑๐)


(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมือ่ ประทับอยู่ ในพระเวฬุวนั ทรงปรารภ “อิธ โสจติ เปจฺจ โสจตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
ชื่อซึง่ บุรุษผู้ฆา่ ซึง่ สุกรชื่อว่าจุนทะ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนานี ้ เวฬุวเน วิหรนฺโต จุนฺทสูกริ กํ นาม อารพฺภ กเถสิ.
ว่า อิธ โสจติ เปจฺจ โสจติ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

ได้ ยนิ ว่า อ. นายจุนทะนัน้ ฆ่าแล้ ว ซึง่ สุกร ท. เคี ้ยวกินอยูด่ ้ วย โส กิร ปฺจปณฺณาส วสฺสานิ สูกเร วธิตฺวา
ขายอยูด่ ้ วย ส�ำเร็ จแล้ ว ซึง่ ชีวิต สิ ้นปี ท.๕๕ ฯ ขาทนฺโต จ วิกฺกีณนฺโต จ ชีวิตํ กปฺเปสิ.

(อ. นายจุนทะนัน)้ ถือเอา ซึง่ ข้ าวเปลือก ท. ด้ วยเกวียน ฉาตกกาเล สกเฏน วีหี อาทาย ชนปทํ
ไปแล้ ว สูช่ นบท ในกาลแห่งบุคคลผู้หิวแล้ ว ซื ้อแล้ ว ซึง่ สุกร คนฺตฺวา เอกนาฬิทฺวินาฬิมตฺเตน คามสูกรโปตเก
ตัวลูกน้ อยของชาวบ้ าน ท. (ด้ วยข้ าวเปลือก) มีทะนานหนึง่ หรื อ กีณิตฺวา สกฏํ ปูเรตฺวา อาคนฺตฺวา
ทะนานสองเป็ นประมาณ ยังเกวียน ให้ เต็มแล้ ว มาแล้ ว

116 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


มาแล้ ว ล้ อมแล้ ว ซึง่ ทีห่ นึง่ ราวกะว่าคอก ในภายหลังแห่งทีเ่ ป็ นทีอ่ ยู่ ปจฺฉานิเวสเน วชํ วิย เอกฏฺ€านํ ปริ กฺขิปิตฺวา
ปลูกแล้ ว ซึง่ ผัก ในที่นนนัั ้ น่ เทียว (เพื่อสุกรตัวลูกน้ อย ท.) เหล่านัน,้ ตตฺเถว เตสํ นิวาปํ โรเปตฺวา, เตสุ นานาคจฺเฉ จ
(ครัน้ เมือ่ สุกรตัวลูกน้ อย ท.) เหล่านัน้ เคี ้ยวกินแล้ ว ซึง่ กอผักต่าง ๆ ท. สรีรวลฺชฺจ ขาทิตวฺ า วฑฺฒเิ ตสุ, ยํ ยํ มาเรตุกาโม
ด้ วย ซึง่ คูถแห่งสรี ระด้ วย เติบโตแล้ ว, (อ. ตน) เป็ นผู้ใคร่เพื่ออัน โหติ, ตํ ตํ อาฬาหเน นิจฺจลํ พนฺธิตฺวา สรี รมํสสฺส
ยังสุกรตัวใด ๆ ให้ ตาย ย่อมเป็ น, ผูกแล้ ว ซึง่ สุกรตัวนัน้ ๆ ในที่เป็ นที่ อุทธฺ มุ ายิตวฺ า พหลภาวตฺถํ จตุรสฺสมุคคฺ เรน โปเถตฺวา
น�ำมาฆ่า (กระท�ำ) ให้ มีความไหวออกแล้ ว ทุบแล้ ว ด้ วยฆ้ อน “พหลมํโส ชาโตติ ตฺวา มุขํ วิวริ ตฺวา ทนฺตนฺตเร
อันมีเหลี่ยมสี่ เพื่อความที่แห่งเนื ้อแห่งสรี ระ เป็ นของพองหนาขึ ้น ทณฺฑกํ ทตฺวา โลหนาฬิยา ปกฺกฏุ ฺ €ิตํ อุณฺโหทกํ
ทราบแล้ ว ว่า (อ. สุกรนี ้) เป็ นสัตว์มเี นื ้อหนา เกิดแล้ ว ดังนี ้ เปิ ดแล้ ว มุเข อาสิฺจติ.
ซึง่ ปาก ให้แล้ว ซึง่ ท่อนไม้ ในระหว่างแห่งฟัน ย่อมกรอก ซึง่ น� ้ำอันร้ อน
อันเดือดพล่านแล้ ว ในปาก ด้ วยทะนานอันเป็ นวิการแห่งโลหะ ฯ

(อ. น� ้ำอันร้ อน) นัน้ เข้ าไปแล้ ว ในท้ อง เดือดพล่านแล้ ว พาเอา ตํ กุจฺฉิยํ ปวิสติ ฺวา ปกฺกฏุ ฺ €ิตํ กรี สํ อาทาย
ซึง่ กรี ส ออกไปแล้ ว โดยส่วนในเบื ้องต�่ำ, อ. กรี ส หน่อยหนึง่ มีอยู่ อโธภาเคน นิกฺขมิตฺวา, ยาว โถกํ กรี สํ อตฺถิ,
เพียงใด, เป็ นธรรมชาตขุน่ เป็ น ย่อมไหลออกไป เพียงนัน,้ ตาว อาวิลํ หุตฺวา นิกฺขมติ, สุทฺเธ อุทเร, อจฺฉํ
ครัน้ เมื่อท้ อง สะอาดแล้ ว, (อ. น� ้ำอันร้ อนนัน) ้ เป็ นธรรมชาตใส อนาวิลํ นิกฺขมติ.
เป็ นธรรมชาตไม่ขนุ่ (เป็ น) ย่อมไหลออกไป ฯ

ครัง้ นัน้ (อ. นายจุนทะนัน)


้ ย่อมราด ซึง่ น� ้ำ อันเหลือลง อถสฺส อวเสสํ อุทกํ ปิ ฏฺ€ิยํ อาสิฺจติ.
บนหลัง ของสุกรนัน้ ฯ (อ. น� ำ้ ) นัน้ ยังหนังอันด�ำ ให้ ลอกแล้ ว ตํ กาฬจมฺมํ อุปปฺ าเตตฺวา คจฺฉติ.
ย่อมไหลไป ฯ

ในล�ำดับนัน้ (อ. นายจุนทะนัน)้ ยังขน ท. ให้ไหม้แล้ว ด้วยคบเพลิง ตโต ติณกุ ฺกาย โลมานิ ฌาเปตฺวา ติณฺเหน
อันเป็ นวิการแห่งหญ้ า ย่อมตัด ซึง่ ศีรษะ ด้ วยดาบ อันคม ฯ อสินา สีสํ ฉินฺทติ.

(อ.นายจุนทะนัน) ้ ถือเอาเฉพาะแล้ ว ซึง่ เลือด อันไหลออกอยู่ ปคฺฆรนฺตํ โลหิตํ ภาชเนน ปฏิคฺคเหตฺวา มํสํ
ด้วยภาชนะ ขย�ำแล้ว ซึง่ เนื ้อ ด้วยเลือด ปิ ง้ แล้ว นัง่ แล้ว ในท่ามกลาง โลหิเตน มทฺทติ วฺ า ปจิตวฺ า ปุตตฺ ทารมชฺเฌ นิสนิ โฺ น
แห่งลูกและเมีย เคี ้ยวกินแล้ ว ย่อมขาย ซึง่ เนื ้อ อันเหลือ ฯ ขาทิตฺวา เสสํ วิกฺกีณาติ.
เมื่อนายจุนทะนัน้ ส�ำเร็จอยู่ ซึง่ ชีวิต โดยท�ำนอง นี ้นัน่ เทียว ตสฺส อิมินา นิยาเมเนว ชีวิตํ กปฺเปนฺตสฺส
อ. ปี ท. ๕๕ ก้ าวล่วงแล้ ว ฯ ปฺจปณฺณาส วสฺสานิ อติกฺกนฺตานิ.

ครัน้ เมื่อพระตถาคตเจ้ า ประทับอยูอ่ ยู่ ในวิหารอันใกล้ , ตถาคเต ธุรวิหาเร วสนฺเต , เอกทิวสํปิ


อ.การบู ช า (ด้ วยวัต ถุ ) สัก ว่ า ก� ำ แห่ ง ดอกไม้ หรื อ หรื อ ว่ า ปุปผฺ มุฏฺ€ิมตฺเตน ปูชา วา กฏจฺฉมุ ตฺตภิกฺขาทานํ วา
อ. การถวายซึง่ ภิกษามีทพั พีเป็ นประมาณ หรื อว่า ชื่อ อ.บุญ อฺํ วา กิฺจิ ปุฺํ นาม นาโหสิ. อถสฺส
อะไร ๆ อื่น ไม่ได้ มีแล้ ว แม้ ในวันหนึง่ ฯ ครัง้ นัน้ อ. โรค เกิดขึ ้นแล้ ว สรี เร โรโค อุปปฺ ชฺชิ.
ในสรี ระ ของนายจุนทะนัน้ ฯ

อ.ความร้ อนพร้ อมในนรกใหญ่ ชื่อว่าอเวจี ปรากฏแล้ ว ชีวนฺตสฺเสว อวีจิมหานิรยสนฺตาโป อุปฏฺ€หิ.


(แก่นายจุนทะนัน) ้ ผู้เป็ นอยูอ่ ยูน่ นั่ เทียว ฯ
ชื่อ อ. ความร้ อนพร้ อมในนรกชื่อว่าอเวจี เป็ นความเร่าร้ อน อวีจสิ นฺตาโป นาม โยชนสเต €ตฺวา โอโลเกนฺตสฺส
อันสามารถเพื่ออันท�ำลาย ซึง่ นัยน์ตา ท. (ของบุคคล) ผู้ยืนแลดูอยู่ อกฺขีนิ ภินฺทนสมตฺโถ ปริ ฬาโห โหติ.
ในร้ อยแห่งโยชน์ ย่อมเป็ น ฯ
จริ งอยู่ อ. ค�ำแม้ นนั่ ว่า (อ. ความร้ อนพร้ อมในอเวจี) วุตฺตมฺปิ เจตํ “สมนฺตา โยชนสตํ ผริ ตฺวา ติฏฺ€ติ
แผ่ไปแล้ ว ตลอดร้ อยแห่งโยชน์ โดยรอบ ย่อมตังอยู ้ ่ ในกาลทังปวง
้ สพฺพทาติ.
ดังนี ้เป็ นต้ น (อันพระผู้มีพระภาคเจ้ า) ตรัสแล้ ว ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 117


อนึง่ อ. ความเปรี ยบนี ้ ว่า ดูก่อนมหาบพิตร แม้ อ. แผ่นหิน นาคเสนตฺเถเรน ปนสฺส ปากติกอคฺคสิ นฺตาปโต
อันมีเรื อนยอดเป็ นประมาณ อันบุคคลใส่เข้ าแล้ ว ในไฟในนรก อธิมตฺตตาย อยมุปมา วุตฺตา “ยถา มหาราช
ย่อมถึง ซึง่ ความย่อยยับ โดยขณะ ฉันใด, ส่วนว่า อ. สัตว์ผ้บู งั เกิดแล้ว ท. กุฏาคารมตฺโต ปาสาโณปิ นิรยอคฺคมิ หฺ ิ ปกฺขิตฺโต
ในนรกนี ้ ย่อมไม่ยอ่ ยยับ ราวกะ (อ. สัตว์ ท.) ผู้ไปแล้ วในท้ อง ขเณน วิลยํ คจฺฉติ, นิพฺพตฺตสตฺตา ปเนตฺถ
ของมารดา (อวิลียนฺตา ไม่ยอ่ ยยับอยู)่ เพราะก�ำลังแห่งกรรม กมฺมพเลน มาตุกจุ ฺฉิคตา วิย น วิลียนฺตีต.ิ
(ฉันนัน)
้ ดังนี ้อันพระเถระชื่อว่านาคเสน กล่าวแล้ ว เพราะความที่ -
(แห่งความร้ อนพร้ อมในอเวจี) นัน้ เป็ นสภาพมีประมาณยิ่ง
กว่าความร้ อนพร้ อมแห่งไฟอันตังอยู้ ต่ ามปกติ ฯ

ครัน้ เมื่อความร้ อนพร้ อม นัน้ ปรากฏแล้ ว แก่นายจุนทะนัน,้ ตสฺส ตสฺมึ สนฺตาเป อุปฏฺ€ิเต, กมฺมสริ กฺขโก
อ. อาการ อันบุคคลพึงเห็นเสมอด้ วยกรรม เกิดขึ ้นแล้ ว ฯ อากาโร อุปปฺ ชฺชิ.

(อ. นายจุนทะ) ร้ องแล้ ว ร้ องเพียงดังสุกร คลานไปอยู่ เคหมชฺเฌเยว สูกรรวํ รวิตวฺ า ชนฺนเุ กหิ วิจรนฺโต
ด้ วยเข่า ท. ในท่ามกลางแห่งเรื อนนัน่ เทียว ย่อมไป สูท่ ี่เป็ นที่อยู่ ปุรตฺถิมวตฺถมุ ฺปิ ปจฺฉิมวตฺถมุ ปฺ ิ คจฺฉติ.
มีในเบื ้องหน้ าบ้ าง สูท่ ี่เป็ นที่อยูม่ ีในภายหลังบ้ าง ฯ

ครัง้ นัน้ อ. ประชุมแห่งมนุษย์ในเรื อน ท. ของนายจุนทะนัน้ อถสฺส เคหมานุสกา ตํ ทฬฺหํ คเหตฺวา


จับแล้ว ซึง่ นายจุนทะนัน้ มัน่ ย่อมปิ ด ซึง่ ปาก ฯ ชือ่ อ. วิบากแห่งกรรม มุขํ ปิ ทหนฺต.ิ กมฺมวิปาโก นาม น สกฺกา เกนจิ
อันใคร ๆ ไม่อาจ เพื่ออันห้ าม ฯ อ. นานจุนทะนัน้ ย่อมเที่ยวไป ปฏิพาหิตํ.ุ โส วิรวนฺโต อิโต จิโต จ วิจรติ.
ร้ องอยู่ ข้ างนี ้ด้ วย ๆ ฯ

อ. มนุษย์ ท. ในเรื อน ท. ๗ โดยรอบ ย่อมไม่ได้ ซึง่ ความหลับ ฯ สมนฺตา สตฺตสุ ฆเรสุ มนุสสฺ า นิททฺ ํ น ลภนฺต.ิ

อนึง่ อ. ชนในเรือน ทังปวง


้ ไม่อาจอยู่ เพือ่ อันห้ าม ซึง่ การออกไป มรณภเยน ตชฺชิตสฺส ปนสฺส พหิ นิกฺขมนํ
ในภายนอก แห่งนายจุนทะนัน้ ผู้อนั ภัยแต่ความตายคุกคามแล้ ว, นิวาเรตุํ อสกฺโกนฺโต สพฺโพ เคหชโน, ยถา อนฺโต
(อ. นายจุนทะ) ยืนแล้ ว ในภายใน ย่อมไม่อาจ เพื่ออันเที่ยวไป €ิโต พหิ วิจริ ตํุ น สกฺโกติ; ตถา เคหทฺวารานิ
ในภายนอก โดยประการใด ; ปิ ดแล้ ว ซึง่ ประตูแห่งเรื อน ท. ปิ ทหิตฺวา พหิเคหํ ปริ วาเรตฺวา รกฺขนฺโต อจฺฉติ.
แวดล้อมแล้ว ซึง่ ภายนอกแห่งเรือน รักษาอยู่ ย่อมอยู่ โดยประการนัน้ ฯ

(อ. นายจุนทะ) แม้ นอกนี ้ ย่อมเที่ยวไป ร้ องอยู่ ข้ างนี ้ด้ วย ๆ อิตโรปิ อนฺโตเคเหเยว นิรยสนฺตาเปน วิรวนฺโต
ในภายในแห่งเรื อนนัน่ เทียว เพราะความร้ อนพร้ อมในนรก ฯ อิโต จิโต จ วิจรติ.

(อ. นายจุนทะ) เที่ยวไปแล้ ว สิ ้นวัน ท. ๗ อย่างนี ้ กระท�ำแล้ ว เอวํ สตฺต ทิวสานิ วิจริ ตฺวา อฏฺ€เม ทิวเส
ซึง่ กาละ ในวันที่ ๘ บังเกิดแล้ ว ในนรกใหญ่ชื่อว่าอเวจี ฯ กาลํ กตฺวา อวีจิมหานิรเย นิพฺพตฺต.ิ อวีจิมหานิรโย
อ. นรกใหญ่ชอื่ ว่าอเวจี (อันบัณฑิต) พึงพรรณนา ด้ วยเทวทูตสูตร ฯ เทวทูตสุตฺตนฺเตน วณฺเณตพฺโพ.

อ. ภิกษุ ท. ไปอยู่ โดยประตูแห่งเรื อน ของนายจุนทะนัน้ ภิกฺขู ตสฺส ฆรทฺวาเรน คจฺฉนฺตา ตํ สทฺทํ


ฟั งแล้ ว ซึง่ เสียงนัน้ เป็ นผู้มีความส�ำคัญ ว่า อ.เสียงแห่งสุกร ดังนี ้ สุตฺวา “สูกรสทฺโทติ สฺิโน หุตฺวา วิหารํ คนฺตฺวา
เป็ น ไปแล้ ว สูว่ ิหาร นัง่ แล้ ว ในส�ำนัก ของพระศาสดา กราบทูลแล้ ว สตฺถุ สนฺติเก นิสนิ ฺนา เอวมาหํสุ
อย่างนี ้ ว่า

118 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ เมือ่ สุกร ท. อันบุรุษผู้ฆา่ ซึง่ สุกรชือ่ ว่าจุนทะ “ภนฺเต จุนฺทสูกริ กสฺส เคหทฺวารํ ปิ ทหิตฺวา
ปิ ดแล้ ว ซึง่ ประตูแห่งเรื อน ให้ ตายอยู,่ อ. วันนี ้ เป็ นวัน ที่เจ็ด สูกรานํ มาริ ยมานานํ, อชฺช สตฺตโม ทิวโส; เคเห
(ย่อมเป็ น) ; อ.การกระท�ำซึง่ มงคล บางอย่าง เห็นจะจักมี ในเรื อน, กาจิ มงฺคลกิริยา ภวิสฺสติ มฺเ, เอตฺตเก นาม
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. จิตมีเมตตาหรื อ หรื อว่า อ. ความเป็ น ภนฺเต สูกเร มาเรนฺตสฺส เอกมฺปิ เมตฺตจิตฺตํ วา
แห่งความกรุณา แม้อย่างหนึง่ ย่อมไม่มี (แก่นายจุนทะ) ผู้ยงั สุกร ท. การุฺํ วา นตฺถิ, น จ วต โน เอวรูโป กกฺขโฬ
ชื่อมีประมาณเท่านี ้ให้ ตายอยู,่ ก็ อ. สัตว์ ผู้หยาบช้ า ผู้กล้ าแข็ง ผรุโส สตฺโต ทิฏฺ€ปุพฺโพติ.
มีอย่างนี ้เป็ นรูป เป็ นผู้ อันข้ าพระองค์ ท. ไม่เคยเห็นแล้ วหนอ
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. นายจุนทะนัน้ สตฺถา “น ภิกฺขเว โส อิเม สตฺต ทิวเส สูกเร
ยังสุกร ท. ย่อมให้ ตาย สิ ้นวัน ท. ๗ เหล่านี ้ หามิได้ , ก็ (อ. ผล) มาเรติ, กมฺมสริ กฺขกํ ปนสฺส อุทปาทิ, ชีวนฺตสฺเสว
อันบุคคลพึงเห็นเสมอด้ วยกรรม ได้ เกิดขึ ้นแล้ ว แก่นายจุนทะนัน,้ อวีจิมหานิรยสนฺตาโป อุปฏฺ€าสิ, โส เตน สนฺตาเปน
อ. ความร้ อนพร้ อมในนรกใหญ่ชอื่ ว่าอเวจี ปรากฏแล้ว (แก่นายจุนทะ สตฺต ทิวสานิ สูกรรวํ รวนฺโต อนฺโตนิเวสเน
นัน)้ ผู้เป็ นอยูอ่ ยูน่ นั่ เทียว, อ. นายจุนทะนัน้ ร้ องอยู่ ร้ องเพียงดังสุกร วิจริ ตฺวา อชฺช กาลํ กตฺวา อวีจิมหฺ ิ นิพฺพตฺโตติ
เทีย่ วไปแล้ว ในภายในแห่งทีเ่ ป็ นทีอ่ ยู่ สิ ้นวัน ท. ๗ ด้วยความร้ อนพร้ อม วตฺวา, “ภนฺเต อิธ โลเก เอวํ โสจิตฺวา ปุน คนฺตฺวา
นัน้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ในวันนี ้ บังเกิดแล้ ว ในนรกชื่อว่าอเวจี โสจนฏฺ€าเนเยว นิพฺพตฺโตติ วุตฺเต, “อาม ภิกฺขเว,
ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. นายจุนทะนัน) ้ ปมตฺโต นาม คหฏฺโ€ วา โหตุ ปพฺพชิโต วา,
เศร้ าโศกแล้ว อย่างนี ้ ในโลกนี ้ ไปแล้ว บังเกิดแล้ว ในทีเ่ ป็ นทีเ่ ศร้ าโศก อุภยตฺถ โสจติเยวาติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
อีกนัน่ เทียวหรื อ ดังนี ้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ ว, ตรัสแล้ ว ว่า
ดูก่อนภิกษุ ท. เออ (อ. อย่างนัน), ้ ชื่อ อ. บุคคล ผู้ประมาทแล้ ว
เป็ นคฤหัสถ์หรื อ หรื อว่าเป็ นบรรพชิต จงเป็ น, ย่อมเศร้ าโศก ในโลก
ทังสองนั
้ น่ เทียว ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถานี ้ ว่า

(อ. บุคคล) ผูก้ ระท�ำซึ่งบาปโดยปกติ ย่อมเศร้าโศก ในโลกนี ้ “อิ ธ โสจติ เปจฺจ โสจติ
ละไปแล้ว ย่อมเศร้าโศก ย่อมเศร้าโศก ในโลกทัง้ สอง, ปาปการี อุภยตฺถ โสจติ ,
(อ. บุคคลผูก้ ระท�ำซึ่งบาปโดยปกติ ) นัน้ เห็นแล้ว ซึ่งกรรม โส โสจติ โส วิ หฺติ
อันเศร้าหมองแล้ว ของตน ย่อมเศร้าโศก (อ. บุคคล ผูก้ ระท�ำ ทิ สฺวา กมฺมกิ ลิฏฺ€มตฺตโนติ .
ซึ่งบาปโดยปกติ ) นัน้ ย่อมเดือดร้อน ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า อ.บุคคล ผู้กระท�ำ ซึง่ กรรมอันลามก มีประการต่างๆ ตตฺถ “ปาปการีต;ิ นานปฺปการสฺส ปาปกมฺมสฺส
ย่อมเศร้ าโศก ในโลกนี ้ ในสมัยเป็ นที่ตาย โดยส่วนเดียวนัน่ เทียว การโก ปุคฺคโล “อกตํ วต เม กลฺยาณํ, กตํ เม
(ด้ วยความคิด) ว่า อ.กรรมอันงาม อันเรา ไม่กระท�ำแล้ วหนอ, ปาปนฺติ เอกํเสเนว มรณสมเย อิธ โสจติ, อิทมสฺส
อ.กรรมอันลามก อันเรา กระท�ำแล้ ว ดังนี ้, (อ.ความเศร้ าโศก) กมฺมโสจนํ; วิปากํ อนุภวนฺโต ปน เปจฺจ โสจติ,
นี ้ เป็ นความเศร้ าโศกเพราะกรรม แห่งบุคคลนัน้ (ย่อมเป็ น); อิทมสฺส ปรโลเก วิปากโสจนํ; เอวํ โส อุภยตฺถ
อนึง่ (อ.บุคคลนัน) ้ เสวยอยู่ ซึง่ วิบาก ละไปแล้ ว ชือ่ ว่าย่อมเศร้ าโศก, โสจติเยว.
อ.ความเศร้ าโศก นี ้ เป็ นความเศร้ าโศกเพราะวิบาก ในโลกอื่น
แห่งบุคคลนัน้ (ย่อมเป็ น); อ.บุคคล นัน้ ย่อมเศร้ าโศก ในโลกทังสอง ้
อย่างนี ้นัน่ เทียว ฯ

แม้ อ.บุรุษผู้ฆา่ ซึง่ สุกรชื่อว่าจุนทะ นัน้ เป็ นอยูอ่ ยู่ ด้ วยเหตุนนั ้ เตเนว การเณน ชีวมาโนเยว โส จุนฺทสูกริ โกปิ
นัน่ เทียว ชื่อว่าย่อมเศร้ าโศก (ดังนี ้) ในบท ท. เหล่านัน้ หนา โสจติ.
(แห่งบท) ว่า ปาปการี ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 119


(อ.อรรถ) ว่า (อ.บุคคลนัน)
้ เห็นแล้ ว ซึง่ กรรมอันเศร้ าหมองแล้ ว ทิสวฺ า กมฺมกิลฏิ ฺ ฐมตฺตโนติ: อตฺตโน กิลฏิ ฺ €กมฺมํ
ของตน ย่อมเศร้ าโศก, บ่นเพ้ ออยู่ มีประการต่างๆ ชื่อว่า ปสฺสติ ฺวา โสจติ, นานปฺปการํ วิลปนฺโต วิหฺติ
ย่อมเดือนร้ อน คือว่า ย่อมล�ำบาก ดังนี ้ (แห่งบาทแห่งพระคาถา) กิลมตีต.ิ
ว่า ทิสฺวา กมฺมกิลิฏฺฐมตฺตโน ดังนี ้ ฯ
ในกาลเป็ นที่สุดลงรอบแห่งพระคาถา (อ.ชน ท.) มาก คาถาปริ โยสาเน พหู โสตาปนฺนาทโย อเหสุํ,
เป็ นพระอริ ย บุ ค คลมี พ ระโสดาบัน เป็ นต้ น ได้ เป็ นแล้ ว , มหาชนสฺส สาตฺถิกา เทสนา ชาตาติ.
อ.เทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ เกิดแล้ ว
แก่มหาชน ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ องแห่ งบุรุษผู้ฆ่าซึ่งสุกรชื่อว่ าจุนทะ (จบแล้ ว) ฯ จุนฺทสูกริก วตฺถุ.

๑๑.อ.เรื่ องแห่ งอุบาสกผู้ตงั ้ อยู่ในธรรม ๑๑. ธมฺมกิ อุปาสกวตฺถุ. (๑๑)


(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “อิธ โมทติ เปจฺจ โมทตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
ซึง่ อุบาสกผู้ตงอยู
ั ้ ใ่ นธรรม ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนานี ้ ว่า เชตวเน วิหรนฺโต ธมฺมิกอุปาสกํ อารพฺภ กเถสิ.
อิธ โมทติ เปจฺจ โมทติ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ได้ ยินว่า ชื่อ อ. อุบาสกผู้ตงอยู ั ้ ใ่ นธรรม ท. มีร้อยห้ าเป็ น สาวตฺถิยํ กิร ปฺจสตา ธมฺมิกอุปาสกา นาม
ประมาณ ได้ มีแล้ ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ อ. ร้ อยแห่งอุบาสก อเหสุํ. เตสุ เอเกกสฺส ปฺจ ปฺจ อุปาสกสตานิ
ท. ห้ าห้ า เป็ นบริวาร ในอุบาสก ท. เหล่านันหนา ้ ของอุบาสกคนหนึง่ ปริ วาโร. โย เตสํ เชฏฺ€โก , ตสฺส สตฺต ปุตฺตา
ๆ สตฺต ธีตโร.
(ย่อมเป็ น) ฯ อ. อุบาสกใด เป็ นผู้เจริ ญที่สดุ แห่งอุบาสก ท.
เหล่านัน้ (ย่อมเป็ น), อ. บุตร ท. ๗ อ. ธิดา ท. ๗ ของอุบาสกนัน้
(ได้ มีแล้ ว) ฯ เตสุ เอเกกสฺส เอเกกา สลากยาคุ สลากภตฺตํ
อ. ข้ าวต้ มอันบุคคลพึงถวายตามสลาก อ. ภัตรอันบุคคล ปกฺขิกภตฺตํ สงฺฆภตฺตํ อุโปสถิกภตฺตํ อาคนฺตกุ ภตฺตํ
พึงถวายตามสลาก อ. ภัตรอันบุคคลพึงถวายในปักษ์ อ. ภัตรเพือ่ สงฆ์ วสฺสาวาสิกํ อโหสิ.
อ. ภัตรเพื่อบุคคลผู้รักษาซึ่งอุโบสถ อ. ภัตรเพื่อภิกษุ ผ้ ูจรมา
อ.ภัตรอันบุคคลพึงถวายแก่ภิกษุผ้ อู ยูต่ ลอดพรรษา อันหนึง่ ๆ
ได้ มีแล้ ว ในบุตร ท. เหล่านันหนา ้ แก่บตุ รคนหนึง่ ๆ ฯ เตปิ สพฺเพว อนุชาตปุตฺตา นาม อเหสุํ.
อ. บุตร ท. แม้ เหล่านัน้ ทังปวงเที
้ ยว ชื่อว่าเป็ นอนุชาตบุตร อิติ จุทฺทสนฺนํ ปุตฺตานํ ภริ ยาย อุปาสกสฺสาติ
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ (อ. อาหารวัตถุ ท.) มีข้าวต้ มอันบุคคลพึงถวาย โสฬส สลากยาคุอาทีนิ ปวตฺตนฺติ. อิติ โส
ตามสลากเป็ นต้ น ๑๖ ย่อมเป็ นไปทัว่ (แก่ชน ท.) คือ แก่บตุ ร ท. สปุตฺตทาโร สีลวา กลฺยาณธมฺโม ทานสํวิภาครโต
๑๔ แก่ภรรยา แก่อบุ าสก ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ อ. อุบาสกนัน้ อโหสิ.
เป็ นผู้เป็ นไปกับด้ วยลูกและเมีย เป็ นผู้มีศีล เป็ นผู้มีธรรมอันงาม
เป็ นผู้ยนิ ดีแล้วในการจ�ำแนกซึง่ ทาน ได้เป็ นแล้ว ด้วยประการฉะนี ้ ฯ อถสฺส อปรภาเค โรโค อุปปฺ ชฺช.ิ อายุสงฺขาโร
ครัง้ นัน้ อ. โรค เกิดขึ ้นแล้ ว แก่อบุ าสกนัน้ ในกาลอันเป็ นส่วน ปริ หายิ. โส ธมฺมํ โสตุกาโม “อฏฺ€ วา เม โสฬส
อื่นอีก ฯ อ. สังขารคืออายุ เสื่อมรอบแล้ ว ฯ อ. อุบาสกนัน้ วา ภิกฺขู เปเสถาติ สตฺถุ สนฺตกิ ํ ปหิณิ.
เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันฟั ง ซึง่ ธรรม (เป็ น) ส่งไปแล้ ว (ซึง่ ข่าวสาส์น)
สูส่ �ำนัก ของพระศาสดา (มีอนั ให้ ร้ ู) ว่า อ. พระองค์ ท. ขอจงทรงส่ง
ซึง่ ภิกษุ ท. ๘ หรื อ หรื อว่า ๑๖ แก่ข้าพระองค์ ดังนี ้ (เป็ นเหตุ) ฯ

120 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระศาสดา ทรงส่งไปแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. ฯ สตฺถา ภิกฺขู เปเสสิ.
อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ว นัง่ แล้ว บนอาสนะ ท. อันอันบุคคล เต คนฺตฺวา ตสฺส มฺจํ ปริ วาเรตฺวา ปฺตฺเตสุ
ปูลาดแล้ ว แวดล้ อม ซึง่ เตียง ของอุบาสกนัน,้ ผู้ (อันอุบาสก) อาสเนสุ นิสนิ ฺนา, “ภนฺเต อยฺยานํ เม ทสฺสนํ
กล่าวแล้ ว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. การเห็น ซึง่ พระผู้เป็ นเจ้ า ท. ทุลฺลภํ ภวิสฺสติ, ทุพฺพโลมฺหิ, เอกํ เม สุตฺตํ
ของกระผม เป็ นกิจอันกระผมได้ โดยยาก จักเป็ น, อ. กระผม สชฺฌายถาติ วุตฺตา, “กตรํ สุตฺตํ โสตุกาโม
เป็ นผู้มีก�ำลังอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว ย่อมเป็ น , อ. ท่าน ท. อุปาสกาติ, “สพฺพพุทธฺ านํ อวิชหิตํ สติปฏฺ€านสุตตฺ นฺติ
ขอจงสาธยาย ซึง่ พระสูตร สูตรหนึง่ แก่กระผมเถิด ดังนี ้, วุตฺเต, “เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ
(ถามแล้ ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก (อ. ท่าน) เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันฟั ง วิสทุ ฺธิยาติ สุตฺตนฺตํ ปฏฺ€เปสุํ.
ซึง่ พระสูตร สูตรไหน (ย่อมเป็ น) ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. กระผม
เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันฟั ง) ซึง่ สติปัฏฐานสูตร อันอันพระพุทธเจ้ าทังปวง้
ท. ไม่ทรงละแล้ ว (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันอุบาสก) กล่าวแล้ ว,
เริ่ มตังแล้
้ ว ซึง่ พระสูตร ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. หนทางนี ้ อันเป็ นที่ไป
แห่งบุคคลคนเดียว (ย่อมเป็ นไปพร้ อม) เพื่อความหมดจดวิเศษ
แห่งสัตว์ ท. ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ

ในขณะนัน้ อ. รถ ท. ๖ อันประกอบแล้ วด้ วยร้ อยแห่งโยชน์ ตสฺมึ ขเณ ฉหิ เทวโลเกหิ สพฺพาลงฺการ-
ทีส่ องด้วยทังกึ
้ ง่ อันเทียมแล้วด้วยม้าสินธพพันหนึง่ อันประดับเฉพาะแล้ว ปฏิมณฺฑิตา สหสฺสสินฺธวยุตฺตา ทิยฑฺฒโยชนสติกา
ด้ วยเครื่ องประดับทังปวง้ มาแล้ ว จากเทวโลก ท. ๖ ฯ ฉ รถา อาคมึส.ุ

อ. เทวดา ท. ยืนแล้ ว (บนรถ ท.) เหล่านัน้ กล่าวแล้ ว ว่า เตสุ €ิตา เทวตา “อมฺหากํ เทวโลกํ เนสฺสาม,
(อ. เรา ท.) จักน�ำไป สูเ่ ทวโลก ของเรา ท., (อ. เรา ท.) จักน�ำไป อมฺหากํ เทวโลกํ เนสฺสาม, อมฺโภ มตฺตกิ ภาชนํ
สูเ่ ทวโลก ของเรา ท., แน่ะท่านผู้เจริ ญ (อ. อุบาสก) จงบังเกิด ภินฺทิตฺวา สุวณฺณภาชนํ คณฺหนฺโต วิย อมฺหากํ
ที่รถนี ้ เพื่ออันยินดียิ่ง ในเทวโลก ของเรา ท. ราวกะ (อ.บุคคล) เทวโลเก อภิรมิตํุ อิธ นิพฺพตฺตตูติ วทึส.ุ
ท�ำลายแล้ ว ซึง่ ภาชนะอันเป็ นวิการแห่งดินเหนียว ถือเอาอยู่
ซึง่ ภาชนะอันเป็ นวิการแห่งทอง ดังนี ้ ฯ
อ. อุบาสก ไม่ปรารถนาอยู่ ซึง่ อันตรายแห่งการฟั งซึง่ ธรรม อุ ป าสโก ธมฺ ม สฺ ส วนนฺ ต รายํ อนิ จฺ ฉ นฺ โ ต
กล่าวแล้ ว ว่า (อ. ท่าน ท.) (ยังกาล) จงให้ มา (อ. ท่าน ท.) (ยังกาล) “อาคเมถ อาคเมถาติ อาห.
จงให้ มา ดังนี ้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เป็ นผู้นิ่ง ได้ เป็ นแล้ ว ด้ วยความส�ำคัญ ว่า ภิกฺขู “อมฺเห วทตีติ สฺาย ตุณฺหี อเหสุํ.
(อ. อุบาสก) ย่อมกล่าว กะเรา ท. ดังนี ้ ฯ ครัง้ นัน้ อ. บุตรและธิดา อถสฺส ปุตฺตธีตโร “ อมฺหากํ ปิ ตา ปุพฺเพ
ท. ของอุบาสกนัน้ ร้ องแล้ ว (ด้ วยความคิด) ว่า อ. บิดา ของเรา ท. ธมฺมสฺสวเนน อติตฺโต อโหสิ, อิทานิ ปน ภิกฺขู
เป็ นผู้ไม่อิ่มแล้ ว ด้ วยการฟั งซึง่ ธรรม ได้ เป็ นแล้ ว ในกาลก่อน, ปกฺโกสาเปตฺวา สชฺฌายํ กาเรตฺวา สยเมว วาเรติ,
แต่วา่ ในกาลนี ้ (อ. บิดา ยังบุคคล) ให้ ร้องเรี ยกแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. มรณสฺส อภายนกสตฺโต นาม นตฺถีติ วิรวึส.ุ
ให้ กระท�ำแล้ ว ซึ่งการสาธยาย ย่อมห้ าม เองนั่นเทียว,
ชื่อ อ. สัตว์ผ้ ไู ม่กลัว ต่อความตาย ย่อมไม่มี ดังนี ้ ฯ

อ. ภิกษุ ท. (ปรึกษากันแล้ ว) ว่า อ. กาลนี ้ เป็ นสมัยมิใช่ ภิกขฺ ู “อิทานิ อโนกาโสติ อุฏฺ€ายาสนา ปกฺกมึส.ุ
โอกาส (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ลุกขึ ้นแล้ ว จากอาสนะ หลีกไปแล้ ว ฯ อุปาสโก โถกํ วีตินาเมตฺวา สตึ ปฏิลภิตฺวา ปุตฺเต
อ. อุบาสก (ยังกาล) หน่อยหนึง่ ให้ น้อมไปล่วงวิเศษแล้ ว กลับได้ ปุจฺฉิ “กสฺมา กนฺทถาติ.
แล้ ว ซึง่ สติ ถามแล้ ว ซึง่ บุตร ท. ว่า (อ. เจ้ า ท.) ย่อมคร�่ ำครวญ
เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ
(อ. บุตร ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พอ่ อ. ท่าน ท. (ยังบุคคล) “ตาต ตุมเฺ ห ภิกขฺ ู ปกฺโกสาเปตฺวา ธมฺมํ สุณนฺตา
ให้ ร้องเรี ยกแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. ฟั งอยู่ ซึง่ ธรรม ห้ ามแล้ ว เองนัน่ เทียว, สยเมว วารยิตฺถ, อถ มยํ `มรณสฺส อภายนกสตฺโต
ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. เรา ท. คร�่ ำครวญแล้ ว นาม นตฺถีติ กนฺทิมหฺ าติ.
(ด้ วยความคิด) ว่า ชื่อ อ. สัตว์ผ้ ไู ม่กลัว ต่อความตาย ย่อมไม่มี
ดังนี ้ ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 121


อ. อุบาสก ถามแล้ ว ว่า ก็ อ. พระผู้เป็ นเจ้ า ท. (ไปแล้ ว) “อยฺ ย า ปน กุ หิ นฺ ติ . “ อโนกาโสติ
ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ (อ. บุตร ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พอ่ (อ. ภิกษุ ท.) อุฏฺ€ายาสนา ปกฺกนฺตา ตาตาติ. “นาหํ อยฺเยหิ
(ปรึกษากันแล้ ว) ว่า (อ. กาลนี ้) เป็ นสมัยมิใช่โอกาส (ย่อมเป็ น) สทฺธึ กเถมีต.ิ “อถ เกน สทฺธึ กเถถาติ.
ดังนี ้ ลุกขึ ้นแล้ ว จากอาสนะ หลีกไปแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. อุบาสก
กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เรา ย่อมกล่าว กับ ด้ วยพระผู้เป็ นเจ้ า ท. หามิได้
ดังนี ้ ฯ (อ. บุตร ท. ถามแล้ ว) ว่า ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้
(มีอยู)่ (อ. ท่าน ท.) ย่อมกล่าว กับ ด้ วยใคร ดังนี ้ ฯ
(อ. อุบาสก กล่าวแล้ ว) ว่า อ. เทวดา ท. กระท�ำให้ พอแล้ ว “ฉหิ เทวโลเกหิ เทวตา ฉ รเถ อลงฺกริ ตฺวา
ซึง่ รถ ท. ๖ พามาแล้ ว จากเทวโลก ท. ๖ ยืนแล้ ว ในอากาศ อาทาย อากาเส €ตฺวา `อมฺหากํ เทวโลเก
ย่อมกระท�ำ ซึง่ เสียง ว่า (อ. ท่าน) จงยินดียงิ่ ในเทวโลก ของเรา ท., อภิรมาหิ, อมฺหากํ เทวโลเก อภิรมาหีติ สทฺทํ
(อ. ท่าน) จงยินดียงิ่ ในเทวโลก ของเรา ท. ดังนี ้, (อ. เรา) ย่อมกล่าว กโรนฺต,ิ ตาหิ สทฺธึ กเถมีต.ิ “กุหึ ตาต รถา,
กับ (ด้ วยเทวดา ท.) เหล่านัน้ ดังนี ้ ฯ (อ. บุตร ท. กล่าวแล้ ว), ว่า น มยํ ปสฺสามาติ. “อตฺถิ ปน มยฺหํ คนฺถิตานิ
ข้ าแต่พอ่ อ. รถ ท. (ย่อมมี) ในที่ไหน, อ. เรา ท. ย่อมไม่เห็น ดังนี ้ ฯ ปุปผฺ านีต.ิ “อตฺถิ ตาตาติ. “กตโร เทวโลโก
(อ. อุบาสก กล่าวแล้ ว) ว่า ก็ อ. ดอกไม้ ท. อันอันบุคคลร้ อยแล้ ว รมณีโยติ. “สพฺพโพธิสตฺตานํ พุทฺธมาตาปิ ตูนฺจ
เพื่อเรา มีอยูห่ รื อ ดังนี ้ ฯ (อ. บุตร ท. กล่าวแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พอ่ วสนฏฺ€านํ ตุสติ ภวนํ รมณียํ ตาตาติ.
(อ. ดอกไม้ นนั่ ) มีอยู่ ดังนี ้ ฯ (อ. อุบาสก ถามแล้ ว) ว่า อ. เทวโลก
ชันไหน
้ (อันบุคคล) พึงยินดี ดังนี ้ ฯ (อ. บุตร ท. กล่าวแล้ ว) ว่า
ข้ าแต่พอ่ อ. ภพชื่อว่าดุสติ อันเป็ นที่เป็ นที่อยู่ ของพระโพธิสตั ว์
ทังปวง้ ท. ด้ วย ของพระมารดาและพระบิดาของพระพุทธเจ้ า ท.
ด้ วย (อันบุคคล) พึงยินดี ดังนี ้ ฯ
(อ. อุบาสก กล่าวแล้ ว) ว่า ถ้ าอย่างนัน้ (อ. เจ้ า ท.) “เตนหิ `ตุสติ ภวนโต อาคตรเถ ปุปผฺ ทามํ
อธิษฐานแล้ ว ว่า อ. พวงแห่งดอกไม้ จงคล้ อง ที่รถอันมาแล้ ว ลคฺคตูติ ปุปผฺ ทามํ ขิปถาติ. เต ขิปึส.ุ ตํ รถธุเร
จากภพชื่อว่าดุสติ ดังนี ้ จงซัดไป ซึง่ พวงแห่งดอกไม้ ดังนี ้ ฯ ลคฺคติ ฺวา อากาเส โอลมฺพิ. มหาชโน ตเทว ปสฺสติ,
(อ. บุตร ท.) เหล่านัน้ ซัดไปแล้ ว ฯ อ. พวงแห่งดอกไม้ นนั ้ รถํ น ปสฺสติ.
คล้ องแล้ ว ที่แอกแห่งรถ ห้ อยลงแล้ ว ในอากาศ ฯ อ. มหาชน
ย่อมเห็น ซึง่ พวงแห่งดอกไม้ นนนั ั ้ น่ เทียว, ย่อมไม่เห็น ซึง่ รถ ฯ
อ. อุบาสก กล่าวแล้ ว ว่า อ. ท่าน ท. จงดู อุปาสโก “ปสฺสเถตํ ปุปผฺ ทามนฺติ วตฺวา,
ซึง่ พวงแห่งดอกไม้ นนั่ ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า เออ (อ. เรา ท.) “อาม ปสฺสามาติ วุตเฺ ต, “เอตํ ตุสติ ภวนโต อาคตรเถ
ย่อมเห็น ดังนี ้(อันบุตร ท.) กล่าวแล้ว, กล่าวแล้ว ว่า อ. พวงแห่งดอกไม้ โอลมฺพติ, อหํ ตุสติ ภวนํ คจฺฉามิ, ตุมเฺ ห
นัน่ ย่อมห้ อยลง ที่รถอันมาแล้ ว จากภพชื่อว่าดุสติ , อ. เรา จะไป มา จินตฺ ยิตถฺ , มม สนฺตเิ ก นิพพฺ ตฺตติ กุ ามา หุตวฺ า
สูภ่ พชื่อว่าดุสติ , อ. เจ้ า ท. อย่าคิดแล้ ว, อ. เจ้ า ท. เป็ นผู้ใคร่ มยา กตนิยาเมเนว ปุฺานิ กโรถาติ วตฺวา
เพื่ออันบังเกิด ในส�ำนัก ของเรา เป็ น จงกระท�ำ ซึง่ บุญ ท. กาลํ กตฺวา ตุสติ ภวนโต อาคตรเถ ปติฏฺ€าสิ.
ตามท�ำนองแห่งบุญ อันเรากระท�ำแล้ วนัน่ เทียว ดังนี ้ กระท�ำแล้ ว
ซึง่ กาละ ยืนอยูเ่ ฉพาะแล้ ว บนรถอันมาแล้ ว จากภพชื่อว่าดุสติ ฯ
ในขณะนั น้ นั่ น เที ย ว อ.อัต ภาพ ของอุ บ าสก นั น้ ตาวเทวสฺส ติคาวุตปฺปมาโณ สฏฺ€ิสกฏภาราลงฺการ-
อันประดับเฉพาะแล้ วด้ วยเครื่องประดับมีเกวียนหกสิบเล่มเป็ นภาระ ปฏิมณฺฑิโต อตฺตภาโว นิพฺพตฺต,ิ อจฺฉราสหสฺสํ
มีคาวุตสามเป็ นประมาณ บังเกิดแล้ ว, อ.พันแห่งนางอัปสร ปริ วาเรสิ, ปฺจวีสติโยชนิกํ รตนวิมานํ ปาตุรโหสิ.
แวดล้ อมแล้ ว, อ. วิมานอันส�ำเร็ จแล้ วด้ วยแก้ ว อันประกอบแล้ ว
ด้ วยโยชน์ ๒๕ ได้ มีปรากฏแล้ ว ฯ
อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. แม้ เหล่านัน้ เตปิ ภิกฺขู วิหารํ อนุปปฺ ตฺเต สตฺถา ปุจฺฉิ
ผู้ถงึ โดยล�ำดับแล้ ว ซึง่ วิหาร ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. ธรรมเทศนา “สุตา ภิกฺขเว อุปาสเกน ธมฺมเทสนาติ .
อันอุบาสก ฟั งแล้ วหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. กราบทูลแล้ ว) ว่า “อาม ภนฺเต, อนฺตราเยว ปน `อาคเมถาติ วาเรสิ,
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ พระเจ้ าข้ า (อ. อย่างนัน),
้ แต่วา่ (อ. อุบาสก) อถสฺส ปุตฺตธีตโร กนฺทสึ ,ุ
ห้ ามแล้ ว ว่า (อ. ท่าน ท. ยังกาล) จงให้ มา ดังนี ้ ในระหว่าง
นัน่ เทียว, ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ อ. บุตรและธิดา ท.
ของอุบาสกนัน้ คร�่ ำครวญแล้ ว,

122 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. ข้ าพระองค์ ท. (ปรึกษากันแล้ ว) ว่า อ. กาลนี ้ เป็ นสมัย มยํ `อิทานิ อโนกาโสติ อุฏฺ€ายาสนา นิกฺขนฺตาติ.
มิใช่โอกาส (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ลุกขึ ้นแล้ ว จากอาสะ เป็ นผู้ออกไปแล้ ว
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. อุบาสก “น โส ภิกฺขเว ตุมเฺ หหิ สทฺธึ กเถสิ; ฉหิ ปน
นัน้ กล่าวแล้ ว กับ ด้ วยเธอ ท. หามิได้ ; แต่วา่ อ. เทวดา ท. เทวโลเกหิ เทวตา ฉ รเถ อลงฺกริ ตฺวา อาหริ ตฺวา
กระท�ำให้ พอแล้ ว ซึง่ รถ ท. ๖ น�ำมาแล้ ว จากเทวโลก ท. ๖ ตํ อุปาสกํ ปกฺโกสึส,ุ โส ธมฺมเทสนาย อนฺตรายํ
ร้ องเรี ยกแล้ ว ซึง่ อุบาสกนัน,้ อ. อุบาสกนัน้ ไม่ปรารถนาอยู่ อนิจฺฉนฺโต ตาหิ สทฺธึ กเถสีต.ิ
ซึง่ อันตรายแห่งการฟั งซึง่ ธรรม กล่าวแล้ ว กับ ด้ วยเทวดา ท.
เหล่านัน้ ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. ทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “เอวํ ภนฺเตติ.
อ. อย่างนันหรื
้ อ ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า “เอวํ ภิกฺขเวติ.
ดูก่อนภิกษุ ท. อ. อย่างนัน้ ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) “อิทานิ กุหึ นิพฺพตฺโตติ.
ว่า ในกาลนี ้ (อ. อุบาสกนัน) ้ บังเกิดแล้ ว ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ “ตุสติ ภวเน ภิกฺขเวติ.
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า ดูกอ่ นภิกษุ ท. (อ. อุบาสกนัน้ บังเกิดแล้ว)
ในภพชื่อว่าดุสติ ดังนี ้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) ว่า
ข้ าแต่พระองค์ ผ้ ูเจริ ญ (อ.อุบาสกนัน้ ) เที่ยวบันเทิงอยู่แล้ ว “ภนฺเต อิธ าติมชฺเฌ โมทมาโน จริ ตฺวา ปุน
ในท่ามกลางแห่งญาติ ในโลกนี ้ บังเกิดแล้ ว ในที่เป็ นที่บนั เทิงอีก โมทนฏฺ€าเนเยว นิพฺพตฺโตติ.
นัน่ เทียวหรื อ ดังนี ้ ฯ
(อ.พระศาสดา) ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. เออ (อ. อย่างนัน) ้ “อาม ภิกฺขเว, อปฺปมตฺตา หิ คหฏฺ€า วา
เพราะว่า อ. คฤหัสถ์ ท. หรือ หรือว่า อ. บรรพชิต ท. ผู้ไม่ประมาทแล้ ว ปพฺพชิตา วา สพฺพตฺถ โมทนฺตเิ ยวาติ วตฺวา อิมํ
ย่อมบันเทิง ในที่ทงปวงนั
ั้ น่ เทียว ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถานี ้ ว่า คาถมาห

(อ. บุคคล) ผูม้ ี บญ ุ อันกระท�ำแล้ว ย่อมบันเทิ ง ในโลกนี ้ “อิ ธ โมทติ เปจฺจ โมทติ
ละไปแล้ว ย่อมบันเทิ ง ย่อมบันเทิ ง ในโลกทัง้ สอง, อ. บุคคล กตปุฺโ อุภยตฺถ โมทติ ,
ผูม้ ี บญ
ุ อันกระท�ำแล้วนัน้ เห็นแล้ว ซึ่งความหมดจดวิ เศษ- โส โมทติ โส ปโมทติ
แห่งกรรม ของตน ย่อมบันเทิ ง อ. บุคคลผูม้ ี บญุ อันกระท�ำแล้ว ทิ สฺวา กมฺมวิ สทุ ฺธิมตฺตโนติ .
นัน้ ย่อมบันเทิ งทัว่ ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า อ.บุคคล ผู้กระท�ำ ซึง่ กุศล มีประการต่างๆ ตตฺถ กตปุญโฺ ญติ: นานปฺปการสฺส กุสลสฺส
ย่อมบันเทิง ด้ วยความบันเทิงเพราะกรรม ในโลกนี ้ ว่า อ.กรรม การโก ปุคฺคโล “อกตํ วต เม ปาปํ , กตํ วต เม
อันลามก อันเรา ไม่กระท�ำแล้ วหนอ, อ.กรรมอันงาม อันเรา กลฺยาณนฺติ อิธ กมฺมโมทเนน โมทติ , เปจฺจ
กระท�ำแล้ วหนอ ดังนี ้, ละไปแล้ ว ย่อมบันเทิง ด้ วยความบันเทิง วิปากโมทเนน โมทติ, เอวํ อุภยตฺถ โมทติ นาม.
เพราะวิบาก, ชื่อว่าย่อมบันเทิง ในโลกทังสอง ้ อย่างนี ้ (ดังนี ้)
ในบท ท. เหล่านันหนา้ (แห่งบท) ว่า กตปุญโฺ ญ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
(อ.อรรถ) ว่า แม้ อ.อุบาสกผู้ตงอยู ั ้ ใ่ นธรรม เห็นแล้ ว กมฺมวิสุทธฺ ินฺต:ิ ธมฺมิกอุปาสโกปิ อตฺตโน
ซึง่ ความหมดจดวิเศษแห่งกรรม คือว่า ซึง่ ความถึงพร้ อมแห่งกรรม กมฺมวิสทุ ฺธึ ปุฺกมฺมสมฺปตฺตึ ทิสฺวา กาลกิริยโต
คือบุญ ของตน ย่อมบันเทิง แม้ ในโลก นี ้ ในกาลก่อน แต่การกระท�ำ ปุพฺเพ อิธ โลเกปิ โมทติ, กาลํ กตฺวา อิทานิ
ซึง่ กาละ, กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ย่อมบันเทิงทัว่ คือว่า ย่อมบันเทิงยิ่ง ปรโลเกปิ ปโมทติ อติโมทติเยวาติ.
นัน่ เทียว แม้ ในโลกอื่น ในกาลนี ้ ดังนี ้ (แห่งบท) ว่า กมฺมวิสุทธฺ ึ
ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ในกาลเป็ นที่สุดลงรอบแห่งพระคาถา (อ.ชน ท.) มาก คาถาปริ โยสาเน พหู โสตาปนฺนาทโย อเหสุํ,
เป็ นพระอริ ยบุคคลมีพระโสดาบัน เป็ นต้ น ได้ เป็ นแล้ ว , มหาชนสฺส สาตฺถิกา ธมฺมเทสนา ชาตาติ.
อ.พระธรรมเทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์
เกิดแล้ ว แก่มหาชน ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ อง แห่ งอุบาสกผู้ตงั ้ อยู่ในธรรม (จบแล้ ว) ฯ ธมฺมกิ อุปาสกวตฺถุ.

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 123


๑๒. อ.เรื่ องแห่ งพระเทวทัต ๑๒. เทวทตฺตวตฺถุ. (๑๒)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “อิธ ตปฺปติ เปจฺจ ตปฺปตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ
ซึ่ ง พระเทวทัต ตรั ส แล้ ว ซึ่ ง พระธรรมเทศนา นี ้ ว่ า สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต เทวทตฺตํ อารพฺภ กเถสิ.
อิธ ตปฺปติ เปจฺจ ตปฺปติ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
อ. เรื่อง แห่งพระเทวทัต (อันพระศาสดา) ทรงยังชาดก ท. เทวทตฺตสฺส วตฺถํุ ปพฺพชิตกาลโต ปฏฺ€าย ยาว
ทังปวง
้ อัน อันพระองค์ ทรงปรารภ ซึง่ พระเทวทัต ตรัสแล้ ว ป€วิปปฺ เวสนา เทวทตฺตํ อารพฺภ ภาสิตานิ สพฺพานิ
ให้ พิสดารแล้ ว ตรัสแล้ ว จ�ำเดิม แต่กาล (แห่งพระเทวทัต) บวชแล้ ว ชาตกานิ วิตฺถาเรตฺวา กถิตํ. อยํ ปเนตฺถ สงฺเขโป:
เพียงใด แต่การเข้ าไปสูแ่ ผ่นดิน ฯ ก็ อ. เนื ้อความย่อ ในเรื่ อง
แห่งพระเทวทัตนี ้ นี ้ :
อ. นิคม ของเจ้ามัลละ ท. ชือ่ ว่าอนุปิยะ (ใด), ครันเมื ้ อ่ พระศาสดา สตฺถริ , อนุปิยํ นาม มลฺลานํ นิคโม ,
ทรงอาศัย ซึง่ นิคมนัน้ เสด็จประทับอยูอ่ ยู่ ในป่ าแห่งไม้ มะม่วงชื่อ ตํ นิสฺสาย อนุปิยมฺพวเน วิหรนฺเตเยว, ตถาคตสฺส
ว่าอนุปิยะนัน่ เทียว, อ. พระโอรสมีพนั แปดสิบเป็ นประมาณ ท. ลกฺขณปฏิคฺคหณทิวเสเยว อสีตสิ หสฺเสหิ าติกเุ ลหิ
อันตระกูลแห่งพระญาติ ท. มีพนั แปดสิบเป็ นประมาณ ทรงปฏิญญาแล้ว “ราชา วา โหตุ พุทฺโธ วา, ขตฺตยิ ปริ วาโร
ว่า (อ. เจ้ าชายสิทธัตถะ) เป็ นพระราชา หรือ หรือว่า เป็ นประพุทธเจ้ า วิจริ สฺสตีติ อสีติสหสฺสปุตฺตา ปฏิฺาตา,
จงเป็ น, เป็ นผู้มีกษัตริ ย์เป็ นบริ วาร (เป็ น) จักเสด็จเที่ยวไป ดังนี ้
ในวันเป็ นทีร่ ับเฉพาะซึง่ พระลักษณะ แห่งพระตถาคตเจ้ านัน่ เทียว ฯ
ครันเมื้ อ่ พระโอรส ท. เหล่านัน้ ผนวชแล้ว โดยมาก, (อ. พระญาติ ท.) เตสุ เยภุยฺเยน ปพฺพชิเตสุ, “ภทฺทิยราชานํ อนุรุทฺธํ
ทรงเห็นแล้ ว ซึง่ เจ้ าศากยะ ท. ๖ เหล่านี ้ คือ ซึง่ พระราชา อานนฺทํ ภคุํ กิมพฺ ิลํ เทวทตฺตนฺติ อิเม ฉ สกฺเก
พระนามว่าภัททิยะ ซึง่ เจ้ าอนุรุทธ์ ซึง่ เจ้ าอานนท์ ซึง่ เจ้ าภคุ อปพฺพชนฺเต ทิสวฺ า “มยํ อตฺตโน ปุตเฺ ต ปพฺพาเชม,
ซึง่ เจ้ากิมพิละ ซึง่ เจ้าเทวทัต ผู้ไม่ผนวชอยู่ ยังวาจาเป็ นเครื่องกล่าว อิ เ ม ฉ สกฺ ก า น าตกา มฺ เ ; ตสฺ ม า
ให้ ตงขึั ้ ้นพร้ อมแล้ ว ว่า อ. เรา ท. ยังบุตร ท. ของตน ให้ บวชอยู,่ น ปพฺพชนฺตีติ กถํ สมุฏฺ€าเปสุํ.
อ. เจ้ าศากยะ ท. ๖ เหล่านี ้ เห็นจะเป็ นผู้มิใช่ญาติ (ย่อมเป็ น) ;
เพราะเหตุนนั ้ (อ. เจ้ าศากยะ ท. เหล่านี ้) ย่อมไม่บวช ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. เจ้ าศากยะ พระนามว่ามหานาม เสด็จเข้ าไปหาแล้ ว อถ มหานาโม สกฺโก อนุรุทฺธํ อุปสงฺกมิตฺวา
ซึง่ เจ้ าอนุรุทธ์ ตรัสแล้ ว ว่า แน่ะพ่อ (อ. บุคคล) ผู้บวชแล้ ว “ตาต อมฺหากํ กุลา ปพฺพชิโต นตฺถิ, ตฺวํ วา
จากตระกูล ของเรา ท. ย่อมไม่มี, อ. เจ้ า จงบวชหรื อ, หรื อว่า ปพฺพช, อหํ วา ปพฺพชิสฺสามีติ อาห.
อ. เรา จักบวช ดังนี ้ ฯ
ก็ อ. เจ้าอนุรทุ ธ์นนั ้ เป็ นผู้ละเอียดอ่อน เป็ นผู้มโี ภคะอันถึงพร้ อมแล้ว โส ปน สุขมุ าโล โหติ สมฺปนฺนโภโค, “นตฺถีติ
ย่อมเป็ น, แม้ อ. ค�ำ ว่า ย่อมไม่มี ดังนี ้ เป็ นค�ำอันเจ้ าอนุรุทธ์นนั ้ วจนมฺปิ เตน น สุตปุพฺพํ.
ไม่เคยทรงสดับแล้ ว (ย่อมเป็ น) ฯ
จริ งอยู่ ในวันหนึง่ ครัน้ เมื่อกษัตริ ย์ ท. ๖ เหล่านัน้ ทรงเล่นอยู่ เอกทิวสํ หิ เตสุ ฉสุ ขตฺตเิ ยสุ คุฬกีฬาย กีฬนฺเตสุ,
ด้ วยการเล่นซึง่ ขลุบ , อ. เจ้ าอนุรุทธ์ ทรงแพ้ แล้ ว ด้ วยขนม อนุรุทฺโธ ปูเวน ปราชิโต ปูวตฺถาย ปหิณิ.
ทรงส่งไปแล้ ว (ซึง่ บุรุษ) เพื่อประโยชน์แก่ขนม ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระมารดา ของเจ้ าอนุรุทธ์นนั ้ ทรงจัดแจงแล้ ว อถสฺ ส มาตา ปู เ ว สชฺ เ ชตฺ ว า ปหิ ณิ .
ซึง่ ขนม ท. ทรงส่งไปแล้ ว ฯ อ. กษัตริ ย์ ท. เหล่านัน้ เสวยแล้ ว เต ขาทิตฺวา ปน กีฬสึ .ุ
ทรงเล่นแล้ ว อีก ฯ
อ. ความแพ้ ย่อมมี แก่เจ้ าอนุรุทธ์นนนั ั ้ น่ เทียว บ่อย ๆ ฯ ปุนปฺปนุ ํ ตสฺเสว ปราชโย โหติ. มาตา ปนสฺส
ส่วนว่า อ. พระมารดา ของเจ้าอนุรุทธ์นนั ้ (ครันเมื ้ อ่ บุรุษ อันเจ้าอนุรุทธ์) ปหิเต ปหิเต ติกฺขตฺตํุ ปูเว ปหิณิตฺวา จตุตฺถวาเร
ทรงส่งไปแล้ ว ๆ ทรงส่งไปแล้ ว ซึง่ ขนม ท. สามครัง้ ทรงส่งไปแล้ ว “ปูวา นตฺถีติ ปหิณิ.
(ซึง่ ข่าวสาส์น) (มีอนั ให้ ร้ ู) ว่า อ. ขนม ท. ย่อมไม่มี ดังนี ้ (เป็ นเหตุ)
ในวาระที่ ๔ ฯ

124 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. เจ้ าอนุรุทธ์นนั ้ ทรงส�ำคัญอยู่ ว่า (อ. ขนมอันบุคคลกระท�ำ โส “ นตฺ ถี ติ วจนสฺ ส อสฺ สุ ต ปุ พฺ พ ตฺ ต า
ให้ แปลก) แม้ นนั่ เป็ นขนมอันบุคคลกระท�ำให้ แปลก ชนิดหนึง่ “เอสาเปกา ปูววิกติ ภวิสฺสตีติ มฺมาโน
จักเป็ น ดังนี ้ เพราะความที่ แห่งค�ำ ว่า ย่อมไม่มี ดังนี ้ เป็ นค�ำ “นตฺถิปวู เมว อาหรถาติ เปเสสิ.
อันพระองค์ไม่เคยทรงสดับแล้ ว ทรงส่งไปแล้ ว (ซึง่ บุรุษ) (ด้ วยค�ำ)
ว่า อ. ท่าน ท. จงน�ำมา ซึง่ ขนมไม่มี นัน่ เทียว ดังนี ้ ฯ
ส่วนว่า อ. พระมารดา ของเจ้ าอนุรุทธ์นนั ้ , (ครัน้ เมื่อค�ำ) มาตา ปนสฺส, “นตฺถิปวู ํ กิร อยฺเย เทถาติ
ว่า ข้ าแต่พระแม่เจ้ า ได้ ยินว่า (อ. พระองค์ ท.) ขอจงประทาน วุตฺเต, “มม ปุตฺเตน `นตฺถีติ ปทํ น สุตปุพฺพํ,
ซึง่ ขนมไม่มี ดังนี ้ (อันบุรุษ ท.) ทูลแล้ ว, (ทรงด�ำริ แล้ ว) ว่า อ. บท ว่า อิมินา ปน อุปาเยน เอตมตฺถํ ชานาเปสฺสามีติ
ย่อมไม่มี ดังนี ้ เป็ นบทอันบุตร ของเรา ไม่เคยฟั งแล้ ว (ย่อมเป็ น), ตุจฺฉํ สุวณฺณปาตึ อฺาย สุวณฺณปาติยา
แต่วา่ (อ. เรา) ยังบุตร จักให้ ร้ ู ซึง่ เนื ้อความนัน่ ด้ วยอุบายนี ้ ดังนี ้ ปฏิกชุ ฺชิตฺวา เปเสสิ.
ทรงครอบแล้ ว ซึง่ ถาดอันเป็ นวิการแห่งทอง อันเปล่า ด้ วยถาด
อันเป็ นวิการแห่งทอง อื่น ทรงส่งไปแล้ ว ฯ
อ. เทวดา ท. ผู้ถอื เอารอบซึง่ เมือง คิดกันแล้ว ว่า อ. ความปรารถนา นครปริคคฺ าหิกา เทวตา จินเฺ ตสุํ “อนุรุทธฺ สกฺเกน
ว่า อ. อันฟั ง ซึง่ ค�ำ ว่า ย่อมไม่มี ดังนี ้ จงอย่ามี แก่เรา, อ. อันรู้ อนฺนภารกาเล อตฺตโน ภาคภตฺตํ อุปริฏฺ€ปจฺเจกพุทธฺ สฺส
ซึง่ ที่เป็ นที่เกิดขึ ้นแห่งโภชนะ จงอย่ามี ดังนี ้ อันเจ้ าศากยะ ทตฺวา `นตฺถีติ เม วจนสฺส สวนํ มา โหตุ,
พระนามว่าอนุรุทธ์ ทรงถวายแล้ว ซึง่ ภัตรอันเป็ นส่วน ของพระองค์ โภชนุปปฺ ตฺตฏิ ฺ €านชานนํ มา โหตูติ ปตฺถนา กตา,
แก่พระปั จเจกพุทธเจ้ าชื่อว่าอุปริ ฏฐะ กระท�ำแล้ ว ในกาลแห่งตน สจายํ ตุจฺฉปาตึ ปสฺสสิ ฺสติ; เทวสมาคมํ ปวิสติ ํุ
เป็ นบุรุษชื่อว่าอันนภาระ , ถ้ าว่า (อ. เจ้ าอนุรุทธ์)นี ้ จักทรงเห็น น ลภิสฺสาม, สีสมฺปิ โน สตฺตธา ผเลยฺยาติ.
ซึง่ ถาดอันเปล่าไซร้ ; (อ.เรา ท.) จักไม่ได้ เพื่ออันเข้ าไป สูส่ มาคม
แห่งเทพ, แม้ อ. ศีรษะ ของเรา ท. พึงแตก โดยส่วนเจ็ด ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. เทวดา ท.) ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ถาดนัน้ ให้ เป็ นถาด อถ นํ ปาตึ ทิพฺพปูเวหิ ปุณฺณํ อกํส.ุ
เต็มแล้ ว ด้ วยขนมทิพย์ ท. ฯ (เมื่อถาด) นัน้ เป็ นถาดสักว่าอันบุรุษ ตสฺสา คุฬมณฺฑเล €เปตฺวา อุคฺฆาฏิตมตฺตาย
วางแล้ว บนสนามเป็ นทีเ่ ล่นซึง่ ขลุบ เปิ ดแล้ว (มีอยู)่ อ. กลิน่ แห่งขนม ปูวคนฺโธ สกลนครํ ฉาเทตฺวา €ิโต. ปูวขณฺฑํ มุเข
ตัง้ ปกปิ ดแล้ ว ซึง่ เมืองทังสิ ้ ้น ฯ อ. ชิ ้นแห่งขนม สักว่า €ปิ ตมตฺตเมว สตฺตรสหรณีสหสฺสานิ อนุผริ .
(อันกษัตริย์ ท.) ทรงวางไว้ แล้ ว ในพระโอฏฐ์ นัน่ เทียว แผ่ไปตามแล้ ว
สูพ่ นั แห่งประสาทเป็ นเครื่ องน�ำไปซึง่ รสเจ็ด ท. ฯ
อ. เจ้ าอนุรุทธ์นนั ้ ทรงด�ำริ แล้ ว ว่า อ. เรา เป็ นผู้เป็ นที่รัก โส จินฺเตสิ “นาหํ มาตุ ปิ โย, เอตฺตกํ เม กาลํ
แห่งพระมารดา (ย่อมเป็ น) หามิได้ , (อ. พระมารดา) ไม่ทรงทอดแล้ ว อิมํ นตฺถิปวู นฺนาม น ปจิ, อิโต ปฏฺ€าย อฺํ
ชื่อซึง่ ขนมไม่มี นี ้ แก่เรา สิ ้นกาล มีประมาณเท่านี ้, (อ. เรา) ปูวํ น ขาทิสฺสามีติ เคหํ คนฺตฺวา มาตรํ ปุจฺฉิ
จักไม่เคี ้ยวกิน ซึง่ ขนม อื่น จ�ำเดิม แต่กาลนี ้ ดังนี ้ เสด็จไปแล้ ว “อมฺม ตุมหฺ ากํ อหํ ปิ โย, อปฺปิโยติ.
สูต่ ำ� หนัก ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระมารดา ว่า ข้ าแต่เสด็จแม่ อ. หม่อมฉัน
เป็ นผู้เป็ นทีร่ กั ของพระองค์ ท. (ย่อมเป็ น หรือ), (หรือว่า อ. หม่อมฉัน)
เป็ นผู้ไม่เป็ นที่รัก (ของพระองค์ ท. ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
(อ. พระมารดา ตรัสแล้ ว) ว่า แน่ะพ่อ (อ. เจ้ า) เป็ นผู้เป็ นทีร่ ักยิง่ “ ตาต เอกกฺขิโน อกฺขิ วิย หทยํ วิย จ
ของเรา (ย่อมเป็ น) ราวกะ อ. นัยน์ตา ของบุคคล ผู้มนี ยั น์ตาข้างเดียวด้วย อติปิโย เมติ.
ราวกะ อ. หัวใจด้ วย ดังนี ้ ฯ
(อ. เจ้ าอนุรุทธ์ ทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่เสด็จแม่ ครัน้ เมื่อความเป็ น “อถ กสฺมา เอตฺตกํ กาลํ มยฺหํ นตฺถิปวู ํ น
อย่างนัน้ (มีอยู)่ (อ. พระองค์ ท.) ไม่ทรงทอดแล้ ว ซึง่ ขนมไม่มี ปจิตฺถ อมฺมาติ.
แก่หม่อมฉัน สิ ้นกาลมีประมาณเท่านี ้ เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ
อ. พระมารดานัน้ ตรัสถามแล้ ว ซึง่ จุลลุปัฏฐาก ว่า แน่ะพ่อ สา จุลลฺ ปุ ฏฺ€ากํ ปุจฺฉิ “อตฺถิ กิฺจิ ปาติยํ
(อ. อาหารวัตถุ) ไร ๆ มีอยู่ ในถาดหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. บุรุษนัน้ ทูลแล้ ว) ตาตาติ. “ ปริ ปณ
ุ ฺณา อยฺเย ปาตี ปูเวหิ ,
ว่า ข้ าแต่พระแม่เจ้ า อ. ถาด เต็มรอบแล้ ว ด้ วยขนม ท., เอวรูปา ปูวา นาม เม น ทิฏฺ€ปุพฺพาติ.
ชือ่ อ. ขนม ท. มีอย่างนี ้เป็ นรูป เป็ นขนมอันข้าพระองค์ไม่เคยเห็นแล้ว
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ
อ. พระมารดานัน้ ทรงด�ำริ แล้ ว ว่า อ. บุตร ของเรา เป็ นผู้มีบญ ุ สา จิ นฺ เ ตสิ “ มยฺ หํ ปุ ตฺ โ ต ปุ ฺ  วา
เป็ นผู้มีอภินิหารอันกระท�ำแล้ ว จักเป็ น, กตาภินีหาโร ภวิสฺสติ,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 125


(อ. ขนม ท.) เป็ นขนมอันเทวดา ท. ยังถาดให้ เต็มแล้ ว ส่งไปแล้ ว เทวตาหิ ปาตึ ปูเรตฺวา ปหิตา ภวิสฺสนฺตีต.ิ
จักเป็ น ดังนี ้ ฯ ครัง้ นัน้ อ. พระโอรส (ทูลแล้ ว) กะพระมารดานัน้ อถ นํ ปุตโฺ ต “อมฺม อิโต ปฏฺ€ายาหํ อฺํ ปูวนฺนาม
ว่า ข้ าแต่เสด็จแม่ อ. หม่อมฉัน จักไม่เคี ้ยวกิน ชื่อซึง่ ขนม อื่น น ขาทิสฺสามิ, นตฺถิปวู เมว ปเจยฺยาสีต.ิ
จ�ำเดิม แต่กาลนี ้, (อ. พระองค์) พึงทรงทอด ซึง่ ขนมไม่มีนนั่ เทียว
ดังนี ้ ฯ

อ. พระมารดาแม้ นน, ั ้ (ครัน้ เมือ่ ค�ำ) ว่า (อ. หม่อมฉัน) เป็ นผู้ใคร่ สาปิ สฺส ตโต ปฏฺ€าย, “ปูวํ ขาทิตกุ าโมมฺหีติ
เพื่ออันเคี ้ยวกิน ซึง่ ขนม ย่อมเป็ น ดังนี ้ (อันพระโอรส) ทูลแล้ ว, วุตเฺ ต, ตุจฉฺ ปาติเมว อฺาย ปาติยา ปฏิกชุ ชฺ ติ วฺ า
ทรงครอบแล้ ว ซึง่ ถาดเปล่านัน่ เทียว ด้ วยถาด อื่น ทรงส่งไปแล้ ว เปเสสิ. ยาว อคารมชฺเฌ วสิ, ตาวสฺส เทวตา
แก่พระโอรสนัน้ จ�ำเดิม แต่กาลนัน้ ฯ (อ. เจ้ าอนุรุทธ์) ประทับอยูแ่ ล้ ว ทิพฺพปูเว ปหิณึส.ุ
ในท่ามกลางแห่งเรือน เพียงใด, อ. เทวดา ท. ส่งไปแล้ว ซึง่ ขนมทิพย์ ท.
แก่เจ้ าอนุรุทธ์นนั ้ เพียงนัน้ ฯ

อ. เจ้าอนุรุทธ์นนั ้ ไม่ทรงทราบอยู่ ซึง่ เหตุ แม้มปี ระมาณเท่านัน้ โส เอตฺตกํปิ อชานนฺโต ปพฺพชฺชนฺนาม กึ


จักทรงทราบ ชือ่ ซึง่ การบวช อย่างไร, เพราะเหตุนนั ้ (อ. เจ้าอนุรุทธ์นน) ั้ ชานิสฺสติ, ตสฺมา “กา เอสา ปพฺพชฺชา นามาติ
ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระภาดา ว่า ชื่อ อ. การบวช นัน่ อะไร ดังนี ้, ภาตรํ ปุจฉฺ ติ วฺ า, “โอหาริตเกสมสฺสนุ า กาสายนิวตฺเถน
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อันบรรพชิต) ผู้มีผมและหนวดอันปลงแล้ ว กฏฺ€ตฺถเร วา วิทลมฺจเก วา นิปชฺชติ วฺ า ปิ ณฑฺ าย
ผู้มผี ้ากาสายะอันนุง่ แล้ว ผู้นอนแล้ว บนทีเ่ ป็ นทีป่ ลู าดด้วยท่อนไม้หรือ จรนฺเตน วิหริ ตพฺพํ, เอสา ปพฺพชฺชา นามาติ
หรือว่าบนเตียงอันบุคคลถักแล้ วด้ วยหวาย เทีย่ วไปอยู่ เพือ่ ก้ อนข้ าว วุตฺเต, “ภาติก อหํ สุขมุ าโล, นาหํ สกฺขิสฺสามิ
พึงอยู,่ อ. จริยานัน่ ชือ่ ว่า เป็ นการบวช (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (อันพระภาดา) ปพฺพชิตนุ ฺติ อาห.
ตรัสแล้ ว, ทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่เสด็จพี่ อ. หม่อมฉัน เป็ นผู้ละเอียดอ่อน
(ย่อมเป็ น), อ. หม่อมฉัน จักไม่อาจ เพื่ออันบวช ดังนี ้ ฯ

(อ. พระภาดา) ตรัสแล้ ว ว่า แน่ะพ่อ ถ้ าอย่างนัน้ (อ. เจ้ า) “เตนหิ ตาต กมฺมนฺตํ อุคฺคเหตฺวา ฆราวาสํ
เรี ยนเอาแล้ ว ซึง่ การงาน จงอยู่ อยูค่ รองซึง่ เรื อน, เพราะว่า วส, น หิ สกฺกา อมฺเหสุ เอเกน อปพฺพชิตนุ ฺติ อาห.
ในเรา ท. หนา (อันบุคคล) คนหนึง่ ไม่อาจ เพื่ออันไม่บวช ดังนี ้ ฯ อถ นํ “โก เอโส กมฺมนฺโต นามาติ ปุจฺฉิ.
ครัง้ นัน้ (อ. เจ้ าอนุรุทธ์) ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระภาดานัน้ ว่า ภตฺตฏุ ฺ €านฏฺ€านํปิ อชานนฺโต กุลปุตฺโต กมฺมนฺตํ
ชื่อ อ. การงาน นัน่ อะไร ดังนี ้ ฯ อ. กุลบุตร ผู้ไม่ร้ ูอยู่ นาม กึ ชานิสฺสติ.
แม้ ซงึ่ ที่เป็ นที่ตงขึ
ั ้ ้นแห่งข้ าวสวย จักรู้ ชื่อซึง่ การงาน อะไร ฯ
ก็ ในวันหนึง่ อ. วาจาเป็ นเครื่องกล่าว ได้เกิดขึ ้นแล้ว แก่กษัตริย์ ท. เอกทิวสํ หิ ติณฺณํ ขตฺตยิ านํ กถา อุทปาทิ
๓ ว่า ชื่อ อ. ข้ าวสวย ย่อมตังขึ ้ ้น ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ อ. เจ้ ากิมพิละ “ภตฺตํ นาม กุหึ อุฏฺ€หตีต.ิ กิมพฺ ิโล อาห “โกฏฺเ€
ตรัสแล้ ว ว่า (อ. ข้ าวสวย) ย่อมตังขึ ้ ้น ในฉาง ดังนี ้ ฯ ครัง้ นัน้ อุฏฺ€หตีต.ิ อถ นํ ภทฺทิโย “ตฺวํ ภตฺตสฺส
อ. เจ้ าภัททิยะ ตรัสแล้ ว กะเจ้ ากิมพิละนัน้ ว่า อ. ท่าน ย่อมไม่ร้ ู อุฏฺ€านฏฺ€านํ น ชานาสิ, ภตฺตนฺนาม อุกฺขลิยํ
ซึง่ ที่เป็ นที่ตงขึ
ั ้ ้น แห่งข้ าวสวย , ชื่อ อ. ข้ าวสวย ย่อมตังขึ ้ ้น อุฏฺ€หตีติ อาห.
ในหม้ อข้ าว ดังนี ้ ฯ
อ. เจ้ า อนุรุทธ์ ตรัสแล้ ว ว่า อ. ท่าน ท. แม้ สอง ย่อมไม่ร้ ู, อนุรุทฺโธ “ตุมเฺ ห เทฺวปิ น ชานาถ, ภตฺตนฺนาม
ชื่อ อ. ข้ าวสวย ย่อมตังขึ ้ ้น ในถาดอันเป็ นวิการแห่งทอง มีศอกก�ำ รตนมกุลาย สุวณฺณปาติยํ อุฏฺ€หตีติ อาห.
เป็ นประมาณ ดังนี ้ ฯ

ได้ ยินว่า ในวันหนึง่ ในกษัตริ ย์ ท. เหล่านันหนา ้ อ. เจ้ ากิมพิละ เตสุ กิร เอกทิวสํ กิมพฺ ิโล โกฏฺ€โต วีหี
ทรงเห็นแล้ ว ซึง่ ข้ าวเปลือก ท. (อันบุคคล) ให้ ข้ามลงอยู่ จากฉาง โอตาริ ยมาเน ทิสฺวา “เอเต โกฏฺ€เกเยว ชาตาติ
เป็ นผู้มีความส�ำคัญ ว่า อ. ข้ าวเปลือก ท. เหล่านัน่ เกิดแล้ ว ในฉาง สฺี อโหสิ. ภทฺทิโยปิ เอกทิวสํ อุกฺขลิโต
นัน่ เทียว ดังนี ้ ได้ เป็ นแล้ ว, ในวันหนึง่ แม้ อ. เจ้ าภัททิยะ ทรงเห็นแล้ ว ภตฺตํ วฑฺฒยิ มานํ ทิสวฺ า “อุกขฺ ลิยฺเว อุปปฺ นฺนนฺติ
ซึง่ ข้ าวสวย (อันบุคคล) คดอยู่ จากหม้ อข้ าว เป็ นผู้มีความส�ำคัญ สฺี อโหสิ.
ว่า (อ. ข้าวสวยนัน่ ) เกิดขึ ้นแล้ว ในหม้อข้าวนัน่ เทียว ดังนี ้ได้เป็ นแล้ว ฯ

126 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ส่วนว่า (อ. ชน ท.) ผู้ซ้อมอยู่ ซึง่ ข้ าวเปลือก ท. (เป็ นผู้) อนุรุทฺเธน ปน เนว วีหี โกฏฺเฏนฺตา น ภตฺตํ
อันเจ้ าอนุรุทธ์ ไม่ (เคยทรงเห็นแล้ ว) นัน่ เทียว (ย่อมเป็ น) (อ. ชน ท.) ปเจนฺตา วา วฑฺเฒนฺตา วา ทิฏฺ€ปุพพฺ า, วฑฺเฒตฺวา
ผู้หงุ อยู่ ซึง่ ข้ าวสวยหรื อ หรื อว่า ผู้ (ยังข้ าวสวย) ให้ เจริ ญอยู่ ปน ปุรโต €ปิ ตเมว ปสฺสติ.
เป็ นผู้ (อันเจ้ าอนุรุทธ์) ไม่เคยทรงเห็นแล้ ว (ย่อมเป็ น), แต่วา่
(อ. เจ้าอนุรุทธ์) ย่อมทรงเห็น (ซึง่ ข้าวสวย) อันอันบุคคลให้เจริญแล้ว
ตังไว้
้ แล้ ว ข้ างพระพักตร์ นนั่ เทียว ฯ

อ.เจ้ าอนุรุทธ์นนั่ ได้ ทรงกระท�ำแล้ ว ซึง่ ความส�ำคัญ ว่า โส “ภุฺชิตกุ ามกาเล ภตฺตํ ปาติยํ อุฏฺ€หตีติ
อ. ข้ าวสวย ย่อมตังขึ ้ ้น ในถาด ในกาลแห่งบุคคลเป็ นผู้ใคร่ สฺมกาสิ. เอวํ ตโยปิ เต ภตฺตฏุ ฺ €านฏฺ€านํปิ
เพื่ออันบริ โภค ดังนี ้ ฯ อ. กษัตริ ย์ ท. เหล่านัน้ แม้ สาม น ชานนฺต.ิ
ย่อมไม่ทรงทราบ แม้ซงึ่ ทีเ่ ป็ นทีต่ งขึ
ั ้ ้นแห่งข้าวสวย ด้วยประการฉะนี ้ ฯ

เพราะเหตุนนั ้ อ. เจ้ าอนุรุทธ์นี ทู้ ลถามแล้ ว ว่า ชื่อ อ. การงานนัน่ เตนายํ “โก เอส กมฺมนฺโต นามาติ ปุจฺฉิตฺวา
อะไร ดังนี ้ ทรงสดับแล้ ว ซึง่ กิจ อันบุคคลพึงกระท�ำ ในปี ๆ “ป€มํ เขตฺตํ กสาเปตพฺพนฺตอิ าทิกํ สํวจฺฉเร
อันมีค�ำ ว่า อ. นา (อันเจ้ า) พึงให้ ไถ ก่อน ดังนี ้เป็ นต้ น ตรัสแล้ ว ว่า สํวจฺฉเร กตฺตพฺพํ กิจฺจํ สุตฺวา “กทา กมฺมนฺตานํ
ในกาลไร อ. ที่สดุ แห่งการงาน ท. จักปรากฏ, ในกาลไร อ. เรา ท. อนฺโต ปฺายิสฺสติ, กทา มยํ อปฺโปสฺสกุ ฺกา โภเค
ผู้มีความขวนขวายน้ อย จักใช้ สอย ซึง่ โภคะ ท. ดังนี ้ , ครัน้ เมื่อ ภุฺชิสฺสามาติ วตฺวา, กมฺมนฺตานํ อปริ ยนฺตตาย
ความที่แห่งการงาน ท. เป็ นสภาพไม่มีที่สดุ รอบ อันพระภาดา อกฺขาตาย, “เตนหิ ตฺวฺเว ฆราวาสํ วส,
ตรัสบอกแล้ ว, ทูลแล้ ว ว่า ถ้ าอย่างนัน้ อ. พระองค์นนั่ เทียว น มยฺหํ เอเตน อตฺโถติ วตฺวา มาตรํ อุปสงฺกมิตวฺ า
จงประทับอยู่ อยูค่ รองซึง่ เรื อน, อ. ความต้ องการ (ด้ วยการอยู่ “อนุชานาหิ มํ อมฺม, อหํ ปพฺพชิสฺสามีติ วตฺวา,
ครองซึง่ เรื อน) นัน่ ย่อมไม่มี แก่หม่อมฉัน ดังนี ้ เสด็จเข้ าไปหาแล้ ว ตาย ติกฺขตฺตํุ ปฏิกฺขิปิตฺวา “สเจ เต สหายโก
ซึง่ พระมารดา ทูลแล้ว ว่า ข้าแต่เสด็จแม่ (อ. พระองค์) ขอจงทรงอนุญาต ภทฺทิยราชา ปพฺพชิสฺสติ, เตน สทฺธึ ปพฺพชาหีติ
ซึง่ หม่อมฉันเถิด, อ. หม่อมฉัน จักบวช ดังนี ้, (ครัน้ เมื่อพระด�ำรัส) วุตฺเต, ตํ อุปสงฺกมิตฺวา “มม โข สมฺม ปพฺพชฺชา
ว่า ถ้ าว่า อ. พระราชาพระนามว่า ภัททิยะ ผู้เป็ นสหาย ของเจ้ า ตว ปฏิพทฺธาติ วตฺวา ตํ นานปฺปกาเรหิ สฺาเปตฺวา
จักผนวชไซร้ , (อ. เจ้ า) จงบวช กับ ด้ วยพระราชานัน้ ดังนี ้ สตฺตเม ทิวเส อตฺตนา สทฺธึ ปพฺพชตฺถาย ปฏิฺํ
(อันพระมารดา) นัน้ ทรงห้ามแล้ว ๓ ครัง้ ตรัสแล้ว, เสด็จเข้าไปหาแล้ว คณฺหิ.
ซึง่ พระราชานัน้ ทูลแล้วว่า แน่ะสหาย อ. การบวช แห่งหม่อมฉันแล
เนือ่ งเฉพาะแล้ว ด้วยพระองค์ ดังนี ้ ทรงยังพระราชานัน้ ให้ร้ ูพร้ อมแล้ว
ด้ วยประการต่าง ๆ ท. ทรงรับแล้ ว ซึง่ ปฏิญญา เพื่อประโยชน์
แก่การผนวช กับ ด้ วยพระองค์ ในวัน ที่เจ็ด ฯ

ในล�ำดับนัน้ อ. กษัตริ ย์ ท. ๖ เหล่านี ้ คือ อ. พระราชา ตโต “ภทฺทิโย สกฺยราชา อนุรุทฺโธ อานนฺโท
แห่งเจ้ าศากยะ พระนามว่าภัททิยะด้ วย อ. เจ้ าอนุรุทธ์ด้วย ภคุ กิมพฺ ิโล เทวทตฺโต จาติ อิเม ฉ ขตฺติยา
อ. เจ้าอานนท์ด้วย อ. เจ้าภคุด้วย อ. เจ้ากิมพิละด้วย อ. เจ้าเทวทัตด้วย อุปาลิกปฺปกสตฺตมา, เทวา วิย ทิพฺพสมฺปตฺตึ
มีนายภูษามาลาชือ่ ว่า อุบาลีเป็ นทีเ่ จ็ด, ทรงเสวยแล้ว ซึง่ สมบัตใิ หญ่ สตฺตาหํ มหาสมฺปตฺตึ อนุภวิตฺวา อุยฺยานํ คจฺฉนฺตา
ตลอดวันเจ็ด ราวกะ อ. เทพ ท. (เสวยอยู)่ ซึง่ สมบัตอิ นั เป็ นทิพย์ วิย จตุรงฺคนิ ิยา เสนาย นิกฺขมิตฺวา ปรวิสยํ ปตฺวา
เสด็จออกไปแล้ ว ด้ วยเสนา มีองค์ ๔ ผู้ราวกะว่าเสด็จไปอยู่ ราชาณาย สพฺพเสนํ นิวตฺตาเปตฺวา ปรวิสยํ
สูอ่ ทุ ยาน เสด็จถึงแล้ ว ซึง่ แดนของกษัตริ ย์อื่น ทรงยังเสนาทังปวง
้ โอกฺกมึส.ุ
ให้ กลับแล้ ว ด้ วยอาชญาของพระราชา เสด็จก้ าวลงแล้ ว
สูแ่ ดนของกษัตริ ย์อื่น ฯ

ในชน ท. ๗ เหล่านันหนา้ อ. กษัตริ ย์ ท. ๖ ทรงเปลื ้องแล้ ว ตตฺ ถ ฉ ขตฺ ติ ย า อตฺ ต โน อาภรณานิ


ซึง่ อาภรณ์ ท. ของพระองค์ ทรงกระท�ำแล้ ว ให้ เป็ นห่อมีภณ ั ฑะ โอมุจฺ ติ วฺ า ภณฺฑกิ ํ กตฺวา “หนฺท ภเณ อุปาลิ นิวตฺตสฺส,ุ
ได้ ประทานแล้ ว แก่นายภูษามาลาชือ่ ว่าอุบาลี นัน้ (ด้ วยพระด�ำรัส)
ว่า แน่ะพนาย ผู้ชื่อว่าอุบาลี เอาเถิด (อ. เธอ) จงกลับ,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 127


อ. ทรัพย์ มีประมาณเท่านี ้ พอ แก่เธอ เพือ่ กิริยาอันประกอบแล้ว อลํ เต เอตฺตกํ ชี วิกายาติ ตสฺส อทํสุ.
ด้ วยความเป็ นอยู่ ดังนี ้ ฯ อ. นายภูษามาลาชื่อว่าอุบาลีนนั ้ โส เตสํ ปาทมูเล ปวตฺตติ ฺวา ปริ เทวิตฺวา เตสํ อาณํ
กลิ ้งเกลือกแล้ว คร�่ำครวญแล้ว ณ ทีใ่ กล้แห่งพระบาท ของกษัตริย์ ท. อติกฺกมิตํุ อสกฺโกนฺโต อุฏฺ€าย ตํ คเหตฺวา นิวตฺต.ิ
เหล่านัน้ ไม่อาจอยู่ เพื่ออันก้ าวล่วง ซึง่ อาชญา (ของกษัตริ ย์ ท.)
เหล่านัน้ ลุกขึ ้นแล้ ว ถือเอาแล้ ว (ซึง่ ห่อมีภณ
ั ฑะ) นัน้ กลับแล้ ว ฯ

อ. ป่ า เป็ นราวกะว่าถึงแล้วซึง่ อันร้ องไห้ อ. แผ่นดิน เป็ นราวกะว่า เตสํ ทฺวิธา ชาตกาเล วนํ โรทนปฺปตฺตํ วิย
ถึงแล้ วซึง่ อาการคืออันหวัน่ ไหว ได้ เป็ นแล้ ว ในกาลแห่งชน ท. ป€วี กมฺปนาการปฺปตฺตา วิย อโหสิ.
เหล่านัน้ เกิดแล้ ว โดยส่วนสอง ฯ

แม้ อ. นายภูษามาลาชื่อว่าอุบาลี ไปแล้ ว หน่อยหนึง่ กลับแล้ ว อุปาลิกปฺปโกปิ โถกํ คนฺตฺวา นิวตฺตติ ฺวา
คิดแล้ ว อย่างนี ้ ว่า อ. เจ้ าศากยะ ท. ผู้ดรุ ้ ายแล แม้ พงึ ฆ่า ซึง่ เรา เอวํ จินฺเตสิ “จณฺฑา โข สากิยา `อิมินา กุมารา
(ด้ วยความส�ำคัญ) ว่า อ. พระกุมาร ท. อันนายภูษามาลา นิปาติตาติ ฆาเตยฺยปํุ ิ มํ, อิเม หิ นาม สกฺยกุมารา
ชื่อว่าอุบาลีนี ้ ให้ ตกไปโดยไม่เหลือแล้ ว ดังนี ้, ก็ อ. พระกุมาร เอวรูปํ สมฺปตฺตึ ปหาย อิมานิ อนคฺฆานิ อาภรณานิ
แห่งเจ้ าศากยะ ท. ชือ่ เหล่านี ้ ทรงละแล้ ว ซึง่ สมบัติ มีอย่างนี ้เป็ นรูป เขฬปิ ณฺฑํ วิย ฉฑฺเฑตฺวา ปพฺพชิสฺสนฺต,ิ กิมงฺคํ
ทรงทิ ้งแล้ ว ซึง่ อาภรณ์ ท. อันหาค่ามิได้ เหล่านี ้ ราวกะว่า ปนาหนฺติ จินฺเตตฺวา ภณฺฑิกํ โอมุฺจิตฺวา ตานิ
ก้ อนแห่งน� ้ำลาย จักผนวช, ก็ อ. องค์อะไรเล่า อ. เรา (จักไม่บวช) อาภรณานิ รุกฺเข ลคฺคติ ฺวา “อตฺถิกา คณฺหนฺตตู ิ
ดังนี ้ ครั น้ คิดแล้ ว เปลือ้ งแล้ ว ซึ่งห่อมีภัณฑะ คล้ องไว้ แล้ ว วตฺวา เตสํ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา เตหิ “กสฺมา นิวตฺโตสีติ
ซึง่ อาภรณ์ ท. เหล่านัน้ บนต้ นไม้ กล่าวแล้ ว ว่า (อ. ชน ท.) ปุฏฺโ€ ตมตฺถํ อาโรเจสิ.
มีความต้ องการ จงถือเอาเถิด ดังนี ้ ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของกษัตริ ย์ ท.
เหล่านัน้ ผู้อนั กษัตริ ย์ ท. เหล่านัน้ ตรัสถามแล้ ว ว่า (อ. เธอ)
เป็ นผู้กลับแล้ ว ย่อมเป็ น เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ กราบทูลแล้ ว
ซึง่ เนื ้อความนัน้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. กษัตริ ย์ ท. เหล่านัน้ ทรงพาเอา ซึง่ นายภูษามาลา อถ นํ เต อาทาย สตฺถุ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา
ชือ่ ว่าอุบาลีนนั ้ เสด็จไปแล้ว สูส่ ำ� นัก ของพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว ภควนฺตํ วนฺทิตฺวา “มยํ ภนฺเต สากิยา นาม
ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ มานนิสฺสติ า, อยํ อมฺหากํ ทีฆรตฺตํ ปริ จารโก,
อ. ข้ าพระองค์ ท. ชื่อว่า เป็ นเจ้ าศากยะ เป็ นผู้อาศัยแล้ วซึง่ มานะ อิมํ ป€มตรํ ปพฺพาเชถ, มยมสฺส อภิวาทนาทีนิ
(ย่อมเป็ น), อ. บุรุษนี ้ เป็ นผู้บ�ำเรอ ซึง่ ข้ าพระองค์ ท. สิ ้นกาลนาน กริ สฺสาม, เอวํ โน มาโน นิมมฺ าทยิสฺสตีติ วตฺวา ตํ
(ย่อมเป็ น), (อ. พระองค์ ท.) ขอจงทรงยังบุรุษนี ้ให้ บวช ก่อนกว่า, ป€มตรํ ปพฺพาเชตฺวา ปจฺฉา สยํ ปพฺพชึส.ุ
อ. ข้ าพระองค์ ท. จักกระท�ำ (ซึง่ สามีจิกรรม ท.) มีการกราบไหว้
เป็ นต้ น แก่บรุ ุษนัน,้ อ. มานะ ของข้ าพระองค์ ท. จักคลาย อย่างนี ้
ดังนี ้ ทรงยังนายภูษามาลาชื่อว่าอุบาลี นัน้ ให้ บวชแล้ ว ก่อนกว่า
ผนวชแล้ ว เอง ในภายหลัง ฯ

ในภิกษุ ท. เหล่านันหนา ้ อ. พระภัททิยะ ผู้มอี ายุ เป็ นผู้มวี ชิ ชาสาม เตสุ อายสฺมา ภทฺทิโย เตเนว อนฺตรวสฺเสน
ได้ เป็ นแล้ ว โดยระหว่างแห่งพรรษา นันนั ้ น่ เทียว ฯ อ. พระอนุรุทธ์ เตวิชฺโช อโหสิ. อายสฺมา อนุรุทฺโธ ทิพฺพจกฺขโุ ก
ผู้มอี ายุ เป็ นผู้มจี กั ษุเพียงดังทิพย์ เป็ น ฟั งแล้ ว ซึง่ มหาปุริสวิตกสูตร หุตฺวา ปจฺฉา มหาปุริสวิตกฺกสุตฺตํ สุตฺวา อรหตฺตํ
บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต ในภายหลัง ฯ อ. พระอานนท์ ผู้มีอายุ ปาปุณิ. อายสฺมา อานนฺโท โสตาปตฺตผิ เล ปติฏฺ€หิ.
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว ในโสดาปั ตติผล ฯ อ. พระเถระชื่อว่าภคุด้วย ภคุตฺเถโร จ กิมพฺ ิลตฺเถโร จ อปรภาเค วิปสฺสนํ
อ. พระเถระชือ่ ว่ากิมพิละด้ วย ยังวิปัสสนา ให้ เจริญแล้ ว บรรลุแล้ ว วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณึส.ุ เทวทตฺโต โปถุชฺชนิกํ
ซึง่ พระอรหัต ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก ฯ อ. พระเทวทัต บรรลุแล้ ว อิทฺธึ ปตฺโต.
ซึง่ ฤทธิ์ อันเป็ นของมีอยูแ่ ห่งปุถชุ น ฯ

128 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก ครัน้ เมื่อพระศาสดา ประทับอยูอ่ ยู่ อปรภาเค สตฺถริ โกสมฺพิยํ วิหรนฺเต,
ในเมืองชื่อว่าโกสัมพี, อ. ลาภและสักการะ ใหญ่ บังเกิดแล้ ว สสาวกสงฺฆสฺส ตถาคตสฺส มหนฺโต ลาภสกฺกาโร
แก่พระตถาคตเจ้ า ผู้เป็ นไปกับด้ วยหมูแ่ ห่งสาวก ฯ นิพฺพตฺต.ิ

อ.มนุษย์ ท. ในพระนครชื่อว่าโกสัมพีนนั ้ ผู้มีวตั ถุมีผ้าและ ตตฺถ วตฺถเภสชฺชาทิหตฺถา มนุสฺสา วิหารํ


เภสัชเป็ นต้ นในมือ เข้ าไปแล้ ว สูว่ ิหาร ถามแล้ ว ว่า อ.พระคาสดา ปวิสติ ฺวา “ กุหึ สตฺถา, กุหึ สารี ปตุ ฺตตฺเถโร ,
(ย่อมประทับอยู)่ ณ ที่ไหน, อ.พระเถระชื่อว่าสารี บตุ ร (ย่อมอยู)่ กุหึ มหาโมคฺคลฺลานตฺเถโร, กุหึ มหากสฺสปตฺเถโร,
ณ ที่ไหน, อ.พระเถระชื่อว่ามหาโมคคัลลานะ (ย่อมอยู)่ ณ ที่ไหน , กุหึ ภทฺทิยตฺเถโร, กุหึ อนุรุทฺธตฺเถโร , กุหึ
อ.พระเถระชื่อว่ามหากัสสปะ (ย่อมอยู่) ณ ที่ไหน ดังนี ้เป็ นต้ น อานนฺทตฺเถโร, กุหึ ภคุตฺเถโร, กุหึ กิมพฺ ิลตฺเถโรติ
ย่อมเที่ยวแลดู ซึง่ ที่แห่งพระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ ท. นัง่ แล้ ว ฯ อสีตมิ หาสาวกานํ นิสนิ นฺ ฏฺ€านํ โอโลเกนฺตา วิจรนฺต.ิ

ชื่อ อ.มนุษย์ผ้ ถู ามอยู่ ว่า อ.พระเถระชื่อว่าเทวทัตต์ นัง่ แล้ ว “เทวทตฺตตฺเถโร กุหึ นิสนิ ฺโน วา €ิโต วาติ
หรื อ หรื อว่า ยืนอยูแ่ ล้ ว ณ ที่ไหน ดังนี ้ ย่อมไม่มี ฯ อ .พระเถระ ปุจฺฉนฺโต นาม นตฺถิ. โส จินฺเตสิ “อหํ เอเตหิ
ชื่อว่าเทวทัตต์นนั ้ คิดแล้ วว่า อ.เรา เป็ นผู้บวชแล้ ว กับด้ วยภิกษุ ท. สทฺธึเยว ปพฺพชิโต, เอเตปิ ขตฺตยิ ปพฺพชิตา, อหํปิ
เหล่านันนั้ น่ เทียว (ย่อมเป็ น) อ.ภิกษุ ท. แม้ เหล่านัน่ เป็ นผู้บวชแล้ ว ขตฺตยิ ปพฺพชิโต; ลาภสกฺการหตฺถา มนุสฺสา เอเต
จากตระกูลแห่งกษัตริ ย์ (ย่อมเป็ น) แม้ อ.เรา เป็ นผู้บวชแล้ ว ปริ เยสนฺติ, มม นามํ คเหตาปิ นตฺถิ, เกน นุ โข
จากตระกูลแห่งกษัตริ ย์ (ย่อมเป็ น) อ.มนุษย์ ท. ผู้มีลาภและ สทฺธึ เอกโต หุตฺวา กํ ปสาเทตฺวา มม ลาภสกฺการํ
สักการะในมือ ย่อมแสวงหา ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน่ แม้ อ.มนุษย์ นิพฺพตฺเตยฺยนฺต.ิ
ผู้ถือเอา ซึ่งชื่ อของเรา ย่อมไม่มี อ.เรา เป็ น โดยความเป็ น
อันเดียวกัน กับด้ วยใคร หนอแล ยังใคร ให้ เลื่อมใสแล้ ว ยังลาภ
และสักการะ พึงให้ บงั เกิดขึ ้น แก่เรา ดังนี ้ ฯ ฯ

ครัง้ นัน้ อ.ความคิดนี ้ ว่า อ.พระราชา พระนามว่าพิมพิสารนี ้ อถสฺส เอตทโหสิ “อยํ ราชา พิมพฺ ิสาโร
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ว ในโสดาปัตติผล กับด้วยนหุต (แห่งมนุษย์) ๑๑ ท. ป€มทสฺสเนเนว เอกาทสนหุเตหิ สทฺธึ โสตาปตฺตผิ เล
ด้วยการเห็นครังที ้ ห่ นึง่ นันเที
้ ยว อันเราไม่อาจ เพีอ่ อันเป็ น โดยความ ปติฏฺ€ิโต, น สกฺกา เอเตน สทฺธึ เอกโต ภวิตํ,ุ
เป็ นอันเดียวกัน กับด้ วยพระราชาพระนามว่าพิมพิสารนัน่ อันเรา โกสลรญฺญาปิ สทฺธึ น สกฺกา เอกโต ภวิตํ,ุ
ไม่อาจเพี่อเป็ นโดยความเป็ นอันเดียวกัน กับแม้ ด้วยพระราชา อยํ โข ปน รญฺโญ ปุตฺโต อชาตสตฺตกุ มุ าโร
แห่งแคว้ นโกศล, ส่วนว่า อ.พระกุมาร พระนามว่าอชาตศัตรู กสฺสจิ คุณโทสํ น ชานาติ, เอเตน สทฺธึ เอกโต
ผู้เป็ นพระโอรส ของพระราชานี ้แล ย่อมไม่ทรงรู้ ซึง่ คุณและโทษ ภวิสฺสามีต.ิ
ของใคร ๆ อ.เรา จักเป็ น โดยความเป็ นอ้นเดียวกัน กับด้วยพระกุมาร
พระนามว่าอชาตศัตรูนนั่ ดังนี ้ ได้ มแี ล้ ว แก่พระเถระชือ่ ว่าเทวทัตต์
นัน้ ฯ

อ.พระเถระ ชือ่ ว่าเทวทัตต์นนั ้ ไปแล้ ว สูพ่ ระนครชือ่ ว่าราชคฤห์ โส โกสมฺพิโต ราชคหํ คนฺตฺวา กุมารกวณฺณํ
จากพระนครชื่อว่าโกสัมพี เนรมิตแล้ ว ซึง่ เพศแห่งกุมาร พันแล้ ว อภินิมมฺ ินิตฺวา จตฺตาโร อาสีวิเส จตูสุ หตฺถปาเทสุ
ซึง่ อสรพิษ ท. ๔ ตัว ที่มือและเท้ า ท. ๔ พันแล้ ว ซึง่ อสรพิษ เอกํ คีวาย พนฺธิตฺวา เอกํ สีเส จุมพฺ ฏกํ กตฺวา
ตัวหนึง่ ทีค่ อ กระท�ำแล้ ว (ซึง่ อสรพิษ) ตัวหนึง่ ให้ เป็ นเทริดบนศีรษะ เอกํ เอกํสํ กริ ตฺวา อิมาย อหิเมขลาย อากาสโต
กระท�ำแล้ ว (ซึง่ อสรพิษ) ตัวหนึง่ ให้ เฉวียงบ่า ลงแล้ ว จากอากาศ โอรุยฺห อชาตสตฺตสุ ฺส อุจฺฉงฺเค นิสีทิตฺวา, เตน
ด้วยสังวาลย์ อันเป็ นวิการแห่งงูนี ้ นัง่ แล้ว บนพระเพลา ของพระกุมาร ภีเตน “โกสิ ตฺวนฺติ วุตฺเต, “อหํ เทวทตฺโตติ วตฺวา
พระนามว่าอชาตศัตรู ครัน้ เมื่อค�ำว่า อ.ท่าน เป็ นใคร ย่อมเป็ น
ดังนี ้ อันพระกุมาร พระนามว่าอชาตศัตรู นัน้ ผู้กลัวแล้ ว ตรัสแล้ ว
กล่าวแล้ ว ว่า อ.เรา เป็ นภิกษุ ชื่อว่าเทวทัตต์ (ย่อมเป็ น) ดังนี ้

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 129


เปลีย่ นแล้ว ซึง่ อัตตภาพนัน้ เพือ่ อันบรรเทาซึง่ ความกลัว (ของพระ ตสฺส ภยวิโนทนตฺถํ ตํ อตฺตภาวํ ปฏิสํหริ ตฺวา
กุมารพระนามว่าอชาตศัตรู) นัน้ เป็ นผู้ทรงไว้ ซงึ่ ผ้ าสังฆาฏิและ สงฺฆาฏิปตฺตจีวรธโร ปุรโต €ตฺวา ตํ ปสาเทตฺวา
บาตรและจีวร (เป็ น) ยืนอยูแ่ ล้ ว ข้ างหน้ า ยังพระกุมารพระนามว่า ลาภสกฺการํ นิพฺพตฺเตสิ.
อชาตศัตรูนนั ้ ให้ เลือ่ มใสแล้ ว ยังลาภและสักการะ ให้ บงั เกิดแล้ ว ฯ

อ. พระเทวทัตนัน้ ผู้อนั ลาภและสักการะครอบง�ำแล้ว ยังความคิด โส ลาภสกฺการาภิภโู ต “ อหํ ภิกฺขสุ งฺฆํ


อันลามก ว่า อ. เรา จักปกครอง ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ ดังนี ้ ให้ เกิดขึ ้นแล้ ว ปริ หริ สฺสามีติ ปาปกํ จิตฺตํ อุปปฺ าเทตฺวา สห
เสือ่ มรอบแล้ว จากฤทธิ์ กับ ด้วยความเกิดขึ ้นแห่งจิต ถวายบังคมแล้ว จิตฺตปุ ปฺ าเทน อิทฺธิโต ปริ หายิตฺวา สตฺถารํ
ซึง่ พระศาสดา ผู้ทรงแสดงอยู่ ซึง่ ธรรม แก่บริ ษัท อันเป็ นไปกับ เวฬุวนวิหาเร สราชิกาย ปริ สาย ธมฺมํ เทเสนฺตํ
ด้ วยพระราชา ในวิหารชื่อว่าเวฬุวนั ลุกขึ ้นแล้ ว จากอาสนะ วนฺทิตฺวา อุฏฺ€ายาสนา อฺชลิมฺปคฺคยฺห “ภควา
ประคองแล้ ว ซึง่ อัญชลี กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ภนฺเต เอตรหิ ชิณโฺ ณ วุฑโฺ ฒ มหลฺลโก, อปฺโปสฺสกุ โฺ ก
อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า เป็ นผู้ทรงชราแล้ ว เป็ นผู้เฒ่าแล้ ว เป็ นผู้แก่ ทิฏฺ€ธมฺมสุขวิหารํ อนุย ุ ฺชตุ; อหํ ภิกฺขสุ งฺฆํ
(ย่อมเป็ น) ในกาลนี ้, (อ.พระผู้มพี ระภาคเจ้า) ทรงมีความขวนขวายน้อย ปริ หริ สฺสามิ, นิยฺยาเทถ เม ภิกฺขสุ งฺฆนฺติ วตฺวา
ขอจงทรงตามประกอบ ซึง่ ธรรมเป็ นเครื่องอยูส่ บายในธรรมอันสัตว์ สตฺถารา เขฬาสิกวาเทน อปสาเทตฺวา ปฏิกฺขิตฺโต,
เห็นแล้ วเถิด ; อ. ข้ าพระองค์ จักปกครอง ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ, อนตฺตมโน อิมํ ป€มํ ตถาคเต อาฆาตํ พนฺธิตฺวา
(อ. พระองค์ ท.) ขอจงทรงมอบให้ ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ แก่ข้าพระองค์เถิด อปกฺกมิ.
ดังนี ้ ผู้อนั พระศาสดาทรงรุกรานแล้ ว ด้ วยวาทะว่าพระเทวทัต
เพียงดังบุคคลผู้บริ โภคซึ่งน� ำ้ ลาย ทรงห้ ามแล้ ว, เป็ นผู้มีใจ
มิใช่เป็ นของมีอยูแ่ ห่งตน (เป็ น) ผูกแล้ ว ซึง่ ความอาฆาต นี ้
ในพระตถาคตเจ้ า ก่อน หลีกไปแล้ ว ฯ

ครัง้ นัน้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า (ทรงยังบุคคล) ให้ กระท�ำแล้ ว อถสฺส ภควา ราชคเห ปกาสนียกมฺมํ กาเรสิ.
ซึง่ กรรมอันสงฆ์พงึ ประกาศ ในเมืองชือ่ ว่าราชคฤห์ แก่พระเทวทัตนัน้ ฯ

อ. พระเทวทัตนัน้ (คิดแล้ว) ว่า ในกาลนี อ.้ เรา เป็ นผู้อนั พระสมณะ โส “ปริ จฺจตฺโตทานิ อหํ สมเณน โคตเมน,
ผู้โคดมทรงสละรอบแล้ ว ย่อมเป็ น, ในกาลนี ้ อ. เรา จักกระท�ำ อิทานิสฺส อนตฺถํ กริ สฺสามีติ อชาตสตฺตํุ
ซึง่ ความฉิบหายมิใช่ประโยชน์ แก่พระสมณะผู้โคดมนัน้ ดังนี ้ อุปสงฺกมิตฺวา “ปุพฺเพ โข กุมาร มนุสฺสา ทีฑายุกา,
เข้ าไปหาแล้ ว ซึง่ พระกุมารพระนามว่าอชาตศัตรู ทูลแล้ ว ว่า เอตรหิ อปฺปายุกา, €านํ โข ปเนตํ วิชฺชติ, ยํ ตฺวํ
ดูก่อนพระกุมาร ในกาลก่อนแล อ. มนุษย์ ท. เป็ นผู้มีอายุยาว กุมาโรว สมาโน กาลํ กเรยฺยาสิ, เตนหิ ตฺวํ กุมาร
(ได้ เป็ นแล้ ว), ในกาลนี ้ (อ. มนุษย์ ท.) เป็ นผู้มีอายุน้อย (ย่อมเป็ น). ปิ ตรํ หนฺตฺวา ราชา โหหิ, อหํ ภควนฺตํ หนฺตฺวา
ก็ อ. พระองค์ เป็ นพระกุมารเทียว มีอยู่ พึงทรงกระท�ำ ซึง่ กาละ ใด, พุทฺโธ ภวิสฺสามีติ วตฺวา, ตสฺมึ รชฺเช ปติฏฺ€ิเต,
อ. การทรงกระท�ำ ซึง่ กาละ แห่งพระองค์ นัน่ เป็ นฐานะแล ย่อมมีได้ , ตถาคตสฺส วธาย ปุริเส ปโยเชตฺวา, เตสุ โสตาปตฺตผิ ลํ
ดูก่อนพระกุมาร ถ้ าอย่างนัน้ อ. พระองค์ ปลงพระชนม์แล้ ว ปตฺวา นิวตฺเตสุ, สยํ คิชฺฌกูฏํ อภิรุหิตฺวา
ซึง่ พระบิดา เป็ นพระราชา จงเป็ น, อ. อาตมา ปลงพระชนม์แล้ว “อหเมว สมณํ โคตมํ ชีวิตา โวโรเปสฺสามีติ สิลํ
ซึง่ พระผู้มพี ระภาคเจ้า เป็ นพระพุทธเจ้า จักเป็ น ดังนี ้, ครันเมื
้ อ่ พระกุมาร ปวิชฺฌิตฺวา รุหิรุปปฺ าทกมฺมํ กตฺวา อิมินาปิ อุปาเยน
นัน้ ทรงด�ำรงอยูเ่ ฉพาะแล้ว ในความเป็ นแห่งพระราชา, ประกอบแล้ ว มาเรตุํ อสกฺโกนฺโต ปุน นาฬาคิรึ วิสฺสชฺชาเปสิ.
ซึง่ บุรุษ ท. เพื่ออันปลงพระชนม์ ซึง่ พระตถาคตเจ้ า, ครัน้ เมื่อบุรุษ
ท. เหล่านัน้ บรรลุแล้ ว ซึง่ โสดาปั ตติผล กลับแล้ ว. ขึ ้นเฉพาะแล้ ว
สูภ่ เู ขาชื่อว่าคิชฌกูฏ เอง กลิ ้งแล้ ว ซึง่ ศิลา (ด้ วยความคิด) ว่า อ. เรา
นันเที
้ ยว จักปลงลง ซึง่ พระสมณะ ผู้โคดม จากชีวิต ดังนี ้กระท�ำแล้ ว
ซึง่ กรรมคืออันยังพระโลหิตให้ ห้อ ไม่อาจอยู่ เพื่ออันให้ สิ ้นพระชนม์
ด้ วยอุบาย แม้ นี ้ (ยังบุคคล) ให้ ปล่อยแล้ ว ซึง่ ช้ างชื่อว่านาฬาคิรี
อีก ฯ

ครัน้ เมื่อช้ างนัน้ มาอยู,่ อ. พระเถระชื่อว่าอานนท์ บริ จาคแล้ ว ตสฺมึ อาคจฺฉนฺเต, อานนฺทตฺเถโร อตฺตโน ชีวิตํ
ซึง่ ชีวิต ของตน เพื่อพระศาสดา ได้ ยืนแล้ ว ข้ างพระพักตร์ ฯ สตฺถุ ปริ จฺจชิตฺวา ปุรโต อฏฺ€าสิ.

130 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


อ. พระศาสดา ทรงทรมานแล้ว ซึง่ ช้างตัวประเสริฐ เสด็จออกแล้ว สตฺถา นาคํ ทเมตฺวา นครา นิกฺขมิตฺวา วิหารํ
จากเมือง เสด็จมาแล้ว สูว่ หิ าร เสวยแล้ว ซึง่ มหาทาน อันอันอุบาสก ท. อาคนฺตฺวา อเนกสหสฺเสหิ อุปาสเกหิ อภิหฏํ
มีพนั มิใช่หนึง่ น�ำไปเฉพาะแล้ ว, ตรัสแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว มหาทานํ ปริ ภญ ุ ฺชิตฺวา, ตสฺมึ ทิวเส สนฺนิปติตานํ
โดยล�ำดับ (แก่ชน ท.) ผู้อยู่ในเมืองชื่ อว่าราชคฤห์ โดยปกติ อฏฺ€ารสโกฏิสงฺขาตานํ ราชคหวาสีนํ อนุปพุ ฺพีกถํ
อันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ วว่าโกฏิ ๑๘ ผู้ประชุมกันแล้ ว ในวันนัน้ ฯ กเถสิ.
อ. อันรู้ ตลอดเฉพาะซึ่งธรรม เกิ ดแล้ ว แก่พันแห่งสัตว์ จตุราสีตยิ า ปาณสหสฺสานํ ธมฺมาภิสมโย ชาโต.
ผู้มีลมปราณ ท. ๘๔ ฯ

(อ. พระศาสดา) ทรงสดับแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว “อโห มหาคุโณ อายสฺมา อานนฺโท; ตถารูเป
ซึง่ คุณ ของพระเถระ ว่า โอ ! อ. พระอานนท์ ผู้มีอายุ มีคณ ุ มาก ; นาม หตฺถินาเค อาคจฺฉนฺเต, อตฺตโน ชีวิตํ
ครัน้ เมื่อช้ างตัวประเสริ ฐ ชื่อมีอย่างนันเป็
้ นรูป มาอยู,่ บริ จาคแล้ ว ปริ จฺจชิตฺวา สตฺถุ ปุรโต อฏฺ€าสีติ เถรสฺส คุณกถํ
ซึง่ ชีวิต ของตน ได้ ยืนแล้ ว ข้ างพระพักตร์ ของพระศาสดา ดังนี ้ สุตฺวา “น ภิกฺขเว อิทาเนว, ปุพฺเพเปส มมตฺถาย
ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. อานนท์ ย่อมบริ จาค ซึง่ ชีวิต ชีวิตํ ปริ จฺจชิเยวาติ วตฺวา ภิกฺขหู ิ ยาจิโต
เพื่อประโยชน์ แก่เรา) ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ , อ. อานนท์นนั่ จุลลฺ หํสมหาหํสกกฺกฏกชาตกานิ กเถสิ.
บริ จาคแล้ ว ซึง่ ชีวิต เพื่อประโยชน์ แก่เรานัน่ เทียว แม้ ในกาลก่อน
ดังนี ้ ผู้อนั ภิกษุ ท. ทูลวิงวอนแล้ ว ตรัสแล้ ว ซึง่ จุลหังสชาดกและ
มหาหังสชาดกและกักกฏกชาดก ท. ฯ

(อ. การกระท�ำ แม้ ของพระเทวทัต เป็ นธรรมชาติปรากฏแล้ ว เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ เนว ตถา รญฺโญ
ได้ เป็ นแล้ ว เพราะความที่ แห่งช้ างชือ่ ว่านาฬาคีรี อันตนปล่อยแล้ ว มาราปิ ตตฺตา, น วธกานํ ปโยชิตตฺตา, น สิลาย
ฉันใด อ. การกระทาํ แม้ ของพระเทวทัต เป็ นธรรมชาติ ปรากฏแล้ ว ปวิทฺธตฺตา, ปากฏํ อโหสิ; ยถา นาฬาคิริหตฺถิโน
ได้ เป็ นแล้ ว เพราะความที่แห่งพระราชาอันตนยังพระราชกุมาร วิสฺสชฺชิตตฺตา.
พระนามว่าอชาตศัตรู ให้ ปลงพระชนม์แล้ ว ฉันนัน้ หามิได้ นนั่ เทียว
อ.การกระท�ำ แม้ ของพระเทวทัต เป็ นธรรมชาติ ปรากฏแล้ ว
ได้ เป็ นแล้ ว เพราะความทีแ่ ห่งนายขมังธนู ท. อันตนประกอบแล้ ว
ฉันนัน้ หามิได้ อ. การกระท�ำ แม้ ของพระเทวทัต เป็ นธรรมชาติ
ปรากฎแล้ ว ได้ เป็ นเเล้ ว เพราะความแห่งศิลาอันตนกลิ ้งแล้ ว
ฉันนัน้ หามิได้ ฯ
ก็ ในกาลนัน้ อ.มหาชน ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ ความโกลาหล ตทา หิ มหาชโน “ราชาปิ เทวทตฺเตเนว
ว่า แม้ อ.พระราชา อันพระเทวทัตนัน่ เทียว ยังพระราชกุมาร มาราปิ โต, วธกาปิ ปโยชิตา, สิลาปิ ปวิทฺธา;
พระนามว่าอชาตศัตรู ให้ ปลงพระชนม์แล้ ว, แม้ อ.นายขมังธนู ท. อิทานิ ปน เตน นาฬาคิริ วิสฺสชฺชาปิ โต, เอวรูปํ
อันพระเทวทัตนัน่ เทียว ประกอบแล้ ว, แม้ อ.ศิลา อันพระเทวทัต นาม ปาปํ คเหตฺวา ราชา วิจรตีติ โกลาหลมกาสิ.
นัน่ เทียว กลิ ้งแล้ ว, ก็ในบัดนี ้ อ.ช้ างชือ่ ว่านาฬาคีรี อันพระเทวทัตนัน้
(ยังนายควาญช้ าง) ให้ ปล่อยแล้ ว, อ.พระราชา ย่อมเที่ยวคบ
ซึง่ บุคคลชัว่ ชื่อผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป ดังนี ้ ฯ

อ.พระราชา สดับแล้ ว ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ของมหาชน ราชา มหาชนสฺส กถํ สุตวฺ า ปญฺจ ถาลิปากสตานิ
ยังบุคคลให้ น� ำไปอยู่แล้ ว ซึ่งร้ อยแห่งอาหารที่บุคคลหุงต้ ม หราเปตฺวา น ปุน ตสฺสปุ ฏฺ€านํ อคมาสิ.
ใส่ไว้ แล้ วในถาด ท. (ส�ำรั บ) ๕ ไม่ได้ เสด็จไปแล้ ว สู่ที่บ�ำรุ ง
แห่งพระเทวทัตนันอี
้ กฯ

แม้ อ.ชนผู้อยูใ่ นเมือง ท. ไม่ได้ถวายแล้ว ซึง่ วัตถุแม้สกั ว่าภิกษา นาคราปิ สสฺ กุลํ อุปคตสฺส ภิกขฺ ามตฺตมฺปิ นาทํส.ุ
แก่พระเทวทัตนัน้ ผู้เข้ าไปถึงแล้ วซึง่ ตระกูล ฯ อ.พระเทวทัตนัน้ โส ปริ หีนลาภสกฺ กาโร โกหญฺ เญน ชี วิตุกาโม
เป็ นผู้มลี าภและสักการะอันเสือ่ มรอบแล้ว เป็ นผู้ใคร่ เพือ่ อันเป็ นอยู่ สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา
ด้ วยความเป็ นแห่งบุคคลผู้หลอกลวง (เป็ น ) เข้ าไปเฝ้าแล้ ว
ซึง่ พระศาสดาดา

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 131


ทูลขอแล้ ว ซึง่ วัตถุ ท. ๕ ผู้อนั พระผู้มีพระภาคเจ้ า ทรงห้ ามแล้ ว ปฺจ วตฺถนู ิ ยาจิตฺวา ภควตา “อลํ เทวทตฺต,
ว่า ดูก่อนเทวทัต อ.อย่าเลย อ. ภิกษุ ใด ย่อมปรารถนา โย อิจฺฉติ, อารฺโก โหตูติ ปฏิกฺขิตฺโต,
อ. ภิกษุนนั ้ จงเป็ นผู้อยูใ่ นป่ า จงเป็ น ดังนี ้ กล่าวแล้วว่า ดูกอ่ นท่าน “กสฺสาวุโส วจนํ โสภณํ: กึ ตถาคตสฺส อุทาหุ มม?
ผู้มีอายุ ท. อ.ค�ำของใคร เป็ นธรรมชาติงาม ย่อมเป็ น อ.ค�ำของ อหํ หิ อุกฺกฏฺ€วเสน เอวํ วทามิ `สาธุ ภนฺเต ภิกฺขู
พระตถาคต เป็ นธรรมชาติงาม ย่อมเป็ นหรือ หรือว่า อ.ค�ำของเรา ยาวชีวํ อรฺิกา อสฺส,ุ ปิ ณฺฑปาติกา, ปํ สุกลู กิ า,
เป็ นธรรมชาติงาม ย่อมเป็ น ด้ วยว่า อ.เรา ย่อมกล่าวอย่างนี ้ ว่า รุกฺขมูลกิ า, มจฺฉมํสํ น ขาเทยฺยนุ ฺต,ิ โย ทุกฺขา
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ดังข้ าพเจ้ าจะขอโอกาส อ. ภิกษุ ท. พึงเป็ น มุจฺจิตกุ าโม, โส มยา สทฺธึ อาคจฺฉตูติ วตฺวา
ผู้มกี ารอยูป่ ระจ�ำในป่ าเป็ นปกติ พึงเป็ น ตลอดกาลก�ำหนดเพียงไร ปกฺกามิ.
แห่งชีวติ อ. ภิกษุ ท. พึงเป็ นผู้มอี นั เทีย่ วไปเพือ่ บิณฑบาตเป็ นปกติ
พึงเป็ น ตลอดกาลก�ำหนดเพียงไรแห่งชีวิต อ. ภิกษุ ท. พึงเป็ น
ผู้มีการทรงไว้ ซงึ่ ผ้ าบังสุกลเป็ นปกติ พึงเป็ น ตลอดกาลก�ำหนด
เพียงไรแห่งชีวิต อ.ภิกษุ ท. พึงเป็ นผู้มีการอยูท่ ี่โคนแห่งต้ นไม้
เป็ นปกติ พึงเป็ น ตลอดกาลก�ำหนดเพียงไรแห่งชีวิต อ. ภิกษุ ท.
ไม่พงึ ฉัน ซึง่ ปลาและเนื ้อ ตลอดกาลก�ำหนด เพียงไรแห่งชีวติ ดังนี ้
ด้ วยสามารถแห่งการปฏิบตั อิ นั สูงสุด อ.ภิกษุใด เป็ นผู้ใคร่เพื่ออัน
พ้ นจากทุกข์ (ย่อมเป็ น) อ.ภิกษุ นัน้ จงมากับด้ วยเรา ดังนี ้
หลีกไปแล้ ว ฯ

อ.ภิกษุ ท. บางพวก ผู้บวช แล้ วใหม่ ผู้มีความรู้น้อย ฟั งแล้ ว ตสฺส วจนํ สุตฺวา เอกจฺเจ นวปพฺพชิตา
ซึง่ ค�ำของพระเทวทัตนัน้ (คิดแล้ ว) ว่า อ.พระเทวทัต กล่าวแล้ ว มนฺทพุทฺธิโน “กลฺยาณํ เทวทตฺโต อาห, เอเตน
ซึง่ ค�ำอันงาม อ.เรา ท. จักเที่ยวไปกับด้ วยพระเทวทัตนัน้ ดังนี ้ สทฺธึ วิจริ สฺสามาติ เตน สทฺธึ เอกโตว อเหสุํ.
ได้เป็ นแล้ว โดยความเป็ นอันเดียวกัน กับด้วยพระเทวทัตนันเที
้ ยว ฯ

อ. พระเทวทัตนัน้ กับ ด้ วยภิกษุ ท. มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ ยังชน อิติ โส ปฺจสเตหิ ภิกฺขหู ิ สทฺธึ เตหิ ปฺจหิ
ผู้เลื่อมใสแล้ วในวัตถุเศร้ าหมอง ให้ ร้ ูพร้ อมอยู่ ด้ วยวัตถุ ท. ๕ วตฺถหู ิ ลูขปฺปสนฺนํ ชนํ สฺาเปนฺโต กุเลสุ
เหล่านัน้ (ยังกันและกัน) ให้ ขอแล้ ว ในตระกูล ท. บริ โภคอยู่ วิ ฺ าเปตฺวา ภุฺชนฺโต สงฺฆเภทาย ปรกฺกมิ.
ตะเกียกตะกายแล้ ว เพื่ออันท�ำลายซึง่ สงฆ์ ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ

อ. พระเทวทัตนัน้ ผู้อนั พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสถามแล้ ว ว่า โส ภควตา “สจฺจํ กิร ตฺวํ เทวทตฺต สงฺฆเภทาย
ดูก่อนเทวทัต ได้ ยินว่า อ. เธอ ย่อมตะเกียกตะกาย เพื่ออันท�ำลาย ปรกฺกมสิ จกฺกเภทายาติ ปุฏฺโ€ “สจฺจํ ภควาติ
ซึง่ สงฆ์ เพื่ออันท�ำลายซึง่ จักร จริ งหรื อ ดังนี ้ ทูลแล้ ว ว่า วตฺวา “ครุโก โข เทวทตฺต สงฺฆเภโทติอาทีหิ โอวทิโตปิ
ข้ าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้ า (อ. ข้ าพระองค์ ย่อมตะเกียกตะกาย สตฺถุ วจนํ อนาทยิตฺวา ปกฺกนฺโต, อายสฺมนฺตํ
เพื่ อ อัน ท� ำ ลายซึ่ง สงฆ์ เพื่ อ อัน ท� ำ ลายซึ่ง จัก ร ) จริ ง ดัง นี ้ อานนฺ ทํ ราชคเห ปิ ณฺ ฑ าย จรนฺ ตํ ทิ สฺ ว า
แม้ ผ้ ู (อันพระผู้มีพระภาคเจ้ า) ตรัสสอนแล้ ว (ด้ วยพระด�ำรัส ท.) “อชฺชตคฺเคทานาหํ อาวุโส อานนฺท อฺเตฺรว
มีพระด�ำรัส ว่า ดูก่อนเทวทัต อ. การท�ำลายซึง่ สงฆ์ หนักแล ดังนี ้ ภควตา อฺตฺร ภิกฺขสุ งฺฆา อุโปสถํ กริ สฺสามิ,
เป็ นต้ น ไม่เอื ้อเฟื อ้ แล้ ว ซึง่ พระด�ำรัส ของพระศาสดา หลีกไปแล้ ว, สงฺฆกมฺมํ กริ สฺสามีติ อาห.
เห็นแล้ ว ซึง่ พระอานนท์ ผู้มีอายุ ผู้เที่ยวไปอยู่ ในเมือง
ชื่อว่าราชคฤห์ เพื่อบิณฑะ กล่าวแล้ ว ว่า แน่ะอานนท์ ผู้มีอายุ
ในกาลนี ้มีวนั นี ้เป็ นเบื ้องต้ น อ. เรา จักกระท�ำ ซึง่ อุโบสถ, จักกระท�ำ
ซึ่งสังฆกรรม เว้ น จากพระผู้มีพระภาคเจ้ านั่นเทียว เว้ น
จากหมูแ่ ห่งภิกษุ ดังนี ้ ฯ
อ. พระเถระ กราบทูลแล้ว ซึง่ เนื ้อความนัน้ แก่พระผู้มพี ระภาคเจ้า ฯ เถโร ตมตฺ ถํ ภควโต อาโรเจสิ .
อ. พระศาสดา ทรงทราบแล้ ว ซึง่ เนื ้อความนัน้ เป็ นผู้ทรงมีความสลด ตํ วิทิตฺวา สตฺถา อุปปฺ นฺนธมฺมสํเวโค หุตฺวา
ในธรรมเกิดขึ ้นแล้ ว เป็ น ทรงปริ วิตกแล้ ว ว่า อ. เทวทัต ย่อมกระท�ำ “เทวทตฺโต สเทวกสฺส โลกสฺส อนตฺถนิสฺสติ ํ
ซึง่ กรรมเป็ นเหตุไหม้ ในนรกชื่อว่าอเวจี ของตน อันอาศัยแล้ ว อตฺตโน อวีจิมหฺ ิ ปจนกมฺมํ กโรตีติ ปริ วิตกฺเกตฺวา
ซึง่ ความฉิบหายมิใช่ประโยชน์ แก่โลก อันเป็ นไปกับด้ วยเทวโลก
ดังนี ้

132 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถานี ้ ว่า

(อ. กรรม ท. เหล่าใด) เป็ นกรรมไม่ดีดว้ ย เป็ นกรรมไม่เกื อ้ กูล “สุกรานิ อสาธูนิ อตฺตโน อหิ ตานิ จ;
แก่ตนด้วย (ย่อมเป็ น อ.กรรม ท. เหล่านัน้ ) เป็ นกรรม
อันบุคคลกระท�ำได้โดยง่าย (ย่อมเป็ น) , อ. กรรมใดแล ยํ เว หิ ตฺจ สาธุฺจ ตํ เว ปรมทุกฺกรนฺติ
เป็ นกรรมเกื อ้ กูลด้วย เป็ นกรรมดีดว้ ย (ย่อมเป็ น) อ. กรรม
นัน้ แล เป็ นกรรมอันบุคคลกระท�ำได้โดยยากอย่างยิ่ ง
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้

ทรงเปล่งแล้ ว ซึง่ อุทาน นี ้ อีก ว่า อิมํ คาถํ วตฺวา ปุน อิมํ อุทานํ อุทาเนสิ

อ. ความดี เป็ นกรรมอันคนดีกระท�ำได้โดยง่าย (ย่อมเป็ น), “สุกรํ สาธุนา สาธุ, สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ ;
อ. ความดี เป็ นกรรมอันคนชัว่ กระท�ำได้โดยยาก (ย่อมเป็ น),
อ.ความชัว่ เป็ นกรรมอันคนชัว่ กระท�ำได้โดยง่าย(ย่อมเป็ น), ปาปํ ปาเปน สุกรํ , ปาปมริ เยหิ ทุกฺกรนฺติ.
อ.ความชัว่ เป็ นกรรมอันพระอริ ยเจ้า ท. กระท�ำได้โดยยาก
(ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นันแล
้ อ. พระเทวทัต นัง่ แล้ ว ณ ที่สดุ แห่งหนึง่ กับ อถโข เทวทตฺโต อุโปสถทิวเส อตฺตโน ปริ สาย
ด้ วยบริ ษัท ของตนในวันเป็ นที่รักษาซึง่ อุโบสถ กล่าวแล้ ว ว่า สทฺธึ เอกมนฺตํ นิสีทิตฺวา “ยสฺสมิ านิ ปฺจ วตฺถนู ิ
อ. วัตถุ ท. ๕ เหล่านี ้ ย่อมชอบใจ แก่ภิกษุใด, อ. ภิกษุนนั ้ จงถือเอา ขมนฺต,ิ โส สลากํ คณฺหตูติ วตฺวา, ปฺจสเตหิ
ซึง่ สลาก ดังนี ้, ครัน้ เมื่อสลาก (อันภิกษุ ท.) ผู้ไม่ร้ ูซงึ่ พระธรรมและ วชฺชีปตุ ฺตเกหิ นวเกหิ อปฺปกตฺูหิ สลากาย
พระวินยั อันอันพระศาสดาทรงกระท�ำทัว่ แล้ ว ผู้ใหม่ ผู้เป็ นโอรส คหิตาย, สงฺฆํ ภินฺทิตฺวา เต ภิกฺขู อาทาย
ของเจ้ าวัชชี ผู้มีร้อยห้ าเป็ นประมาณ จับแล้ ว ท�ำลายแล้ ว ซึง่ สงฆ์ คยาสีสํ อคมาสิ.
พาเอา ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ได้ ไปแล้ ว สูป่ ระเทศชื่อว่าคยาสีสะ ฯ

อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ ว ซึง่ ความที่แห่งพระเทวทัตนัน้ ตสฺส ตตฺถ คตภาวํ สุตฺวา สตฺถา เตสํ ภิกฺขนู ํ
เป็ นผู้ไปแล้ ว ในที่นนั ้ ทรงส่งไปแล้ ว ซึง่ พระอัครสาวก ท. ๒ อานยตฺถาย เทฺว อคฺคสาวเก เปเสสิ. เต ตตฺถ
เพือ่ ประโยชน์แก่การน�ำมา ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ฯ อ. พระอัครสาวก ท. ๒ คนฺตฺวา อาเทสนาปาฏิหาริ ยานุสาสนิยา จ
เหล่านัน้ ไปแล้ ว ในที่นนั ้ พร�่ ำสอนอยู่ ด้ วยการพร�่ ำสอนด้วย อิทฺธิปาฏิหาริ ยานุสาสนิยา จ อนุสาสนฺตา เต
อาเทสนาปาฏิหาริยด์ ้วย ด้วยการพร�ำ่ สอนด้วยอิทธิปาฏิหาริยด์ ้วย อมตํ ปาเยตฺวา อาทาย อากาเสนาคมึส.ุ
(ยังภิกษุ ท.) เหล่านัน้ ให้ ดื่มแล้ ว ซึง่ อมตะ พาเอามาแล้ ว
โดยอากาศ ฯ
แม้ อ.ภิ ก ษุ ชื่ อ ว่ า โกกาลิ ก ะแล กล่ า วแล้ ว ว่ า โกกาลิโกปิ โข “อุฏฺเ€หิ อาวุโส เทวทตฺต,
แน่ะเทวทัต ผู้มีอายุ อ. ท่าน จงลุกขึ ้นเถิด, อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ นีตา เต ภิกฺขู สารี ปตุ ฺตโมคฺคลฺลาเนหิ, นนุ ตฺวํ
อันพระสารี บตุ รและพระโมคคัลลานะ ท. น�ำไปแล้ ว, อ. ท่าน มยา วุตฺโต `มา อาวุโส สารี ปตุ ฺตโมคฺคลฺลาเนหิ
เป็ นผู้อนั เรา กล่าวแล้ว ว่า แน่ะท่านผู้มอี ายุ (อ. ท่าน) อย่าคุ้นเคยแล้ว วิสฺสาสิ; ปาปิ จฺฉา สารี ปตุ ฺตโมคฺคลฺลานา, ปาปิ กานํ
ด้ วยพระสารี บตุ รและพระโมคคัลลานะ ท. ; อ. พระสารี บตุ รและ อิจฺฉานํ วสงฺคตาติ วตฺวา ชนฺนเุ กน หทยมชฺเฌ
พระโมคคัลลานะ ท. มีความปรารถนาลามก, เป็ นผู้ไปแล้วสูอ่ ำ� นาจ ปหริ . ตสฺส ตตฺเถว อุณฺหํ โลหิตํ มุขโต อุคฺคฺฉิ.
แห่งความปรารถนา ท. อันลามก (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ (ย่อมเป็ น) มิใช่หรือ
(ดังนี )้ ประหารแล้ ว ในท่ามกลางแห่งหทัย ด้ วยเข่า ฯ
อ. เลือด อันร้ อน พุ่งออกแล้ ว จากปาก ของพระเทวทัตนัน้
ในทีน่ นนั
ั ้ น่ เทียว ฯ
ก็ อ. ภิกษุ ท. เห็นแล้ว ซึง่ พระสารีบตุ ร ผู้มอี ายุ ผู้อนั หมูแ่ ห่งภิกษุ อายสฺมนฺตํ ปน สารี ปตุ ฺตํ ภิกฺขสุ งฺฆปริ วตุ ํ
แวดล้ อมแล้ ว ผู้มาอยู่ โดยอากาศ ทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ อากาเสนาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวา ภิกฺขู อาหํสุ “ภนฺเต
อ. พระสารีบตุ ร ผู้มอี ายุ ผู้มตี นเป็ นทีส่ องเทียว ไปแล้ว ในกาลเป็ นทีไ่ ป, อายสฺมา สารี ปตุ ฺโต คมนกาเล อตฺตทุตโิ ยว คโต,
ในกาลนี ้ (อ. พระสารี บตุ ร) ผู้มีบริ วารใหญ่ มาอยู่ ย่อมงาม ดังนี ้ ฯ อิทานิ มหาปริ วาโร อาคจฺฉนฺโต โสภตีต.ิ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 133


อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. บุตร ของเรา สตฺถา “น ภิกฺขเว อิทาเนว, ติรจฺฉานโยนิยํ
มาอยู่ สูส่ �ำนัก ของเรา ย่อมงาม) ในกาลนันนั
้ น่ เทียว หามิได้ , นิพฺพตฺตกาเลปิ มม ปุตฺโต มม สนฺตกิ ํ อาคจฺฉนฺโต
อ. บุตร ของเรา มาอยู่ สูส่ �ำนัก ของเรา ย่อมงามนัน่ เทียว โสภติเยวาติ วตฺวา
แม้ ในกาล (แห่งตน) บังเกิดแล้ ว ในก�ำเนิดแห่งสัตว์ดริ ัจฉาน ดังนี ้
ตรัสแล้ ว ซึง่ ชาดกนี ้ ว่า

อ. ความเจริ ญ ย่อมมี (แก่ชน ท.) ผูม้ ี ศีล ผูม้ ี ความประพฤติ “โหติ สีลวตํ อตฺโถ ปฏิ สนฺถารวุตฺตินํ.
ในปฏิ สนั ถาร ฯ (อ. ท่าน) จงดู ซึ่งเนือ้ ชื อ่ ว่าลักขณะ ผูม้ าอยู่ ลกฺขณํ ปสฺส อายนฺตํ าติ สงฺฆปุรกฺขิตํ,
ผูอ้ นั หมู่แห่งญาติ กระท�ำแล้วในเบื อ้ งหน้า, เออก็ (อ. ท่าน) อถ ปสฺสสิ มํ กาลํ สุวิหีนํว าติ ภีติ
ย่อมเห็น ซึ่งเนือ้ ชื อ่ ว่ากาละนี ้ ผูเ้ สือ่ มวิ เศษด้วยดีแล้ว
จากญาติ ท. เทียว ดังนี ้ ฯ

(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ ได้ ยินว่า อ. พระเทวทัต อิทํ ชาตกํ กเถสิ. ปุน ภิกฺขหู ิ “ภนฺเต เทวทตฺโต
ยังสาวกผู้เลิศ ท. ๒ ให้นงั่ แล้ว ในข้าง ท. ทังสอง้ กระท�ำแล้ว กระท�ำตาม กิร เทฺว อคฺคสาวเก อุโภสุ ปสฺเสสุ นิสีทาเปตฺวา
ซึง่ พระองค์ ท. (ด้ วยความคิด) ว่า (อ. เรา) จักแสดง ซึง่ ธรรม `พุทฺธลีฬฺหาย ธมฺมํ เทเสสฺสามีติ ตุมหฺ ากํ อนุกิริยํ
ด้ วยอันเยื ้องกรายแห่งพระพุทธเจ้ า ดังนี ้ ดังนี ้ อันภิกษุ ท. กรี ติ วุตฺเต, “น ภิกฺขเว อิทาเนว; ปุพฺเพเปส มม
กราบทูลแล้ ว อีก, (อ. พระศาสดา) ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อนุกิริยํ กาตุํ วายมิ, น ปน สกฺขีติ วตฺวา
(อ. เทวทัตนัน่ ย่อมพยายาม เพื่ออันกระท�ำ กระท�ำตาม ซึง่ เรา)
ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ ; อ. เทวทัตนัน่ พยายามแล้ ว
เพือ่ อันกระท�ำ กระท�ำตาม ซึง่ เรา แม้ในกาลก่อน, แต่วา่ (อ. เทวทัตนัน่ )
ไม่อาจแล้ ว (เพื่ออันกระท�ำ กระท�ำตาม ซึง่ เรา) ดังนี ้ ตรัสแล้ ว
ซึง่ นทีจรกากชาดก ว่า

(อ. ภรรยาแห่งกาชื อ่ ว่าสวิ ฏฐกะ กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะ “อปิ วีรก ปสฺเสสิ สกุณํ มฺชภุ าณกํ
กาชื อ่ ว่าวีรกะ (อ. ท่าน) ย่อมเห็น ซึ่งนก ผูร้ ้องเพราะ
ผูม้ ี สร้อยคอเพียงดังสร้อยคอแห่งนกยูงชื อ่ ว่าสวิ ฏฐกะ มยุรคีวสงฺกาสํ ปตึ มยฺหํ สวิ ฏฺ€กํ?
ผูเ้ ป็ นผัว ของเรา บ้างหรื อ ? (ดังนี)้

(อ. กาชื อ่ ว่าวีรกะ กล่าวแล้ว) ว่า อ. กาชื อ่ ว่า อุทกถลจรสฺส ปกฺขิโน


สวิ ฏฐกะ กระท�ำตามอยู่ (ซึ่งอาการ) ของปั กษี ผูเ้ ทีย่ วไป นิ จฺจํ อามกมจฺฉโภชิ โน
ในน�้ำและบก ผูบ้ ริ โภคซึ่งปลาดิ บโดยปกติ เนืองนิ ตย์ นัน้ ตสฺสานุกรํ สวิ ฏฺ€โก
อันสาหร่ าย ท. พันรอบแล้ว ตายแล้ว (ดังนี)้ ดังนี,้ เสวาเลหิ ปลิ คณุ ฺ€ิโต มโตติ

ทรงปรารภ ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว มีอย่างนันเป็ ้ นรูปนัน่ นทีจรกากชาตกํ กเถตฺวา, อปเรสุปิ ทิวเสสุ
เทียว ในวัน ท. แม้ เหล่าอื่นอีก ตรัสแล้ ว ซึง่ ชาดก ท. มีค�ำอย่างนี ้ว่า ตถารูปิเมว กถํ อารพฺภ

(อ. นกกระไน) นี ้ เมื อ่ เจาะ ซึ่งหมู่ไม้อนั ตัง้ ในป่ า ท. “อจาริ วตายํ วิ ตทุ ํ วนานิ
ได้เทีย่ วไปแล้วหนอ ในต้นไม้ อันเป็ นส่วนแห่งฟื น ท. กฏฺ€งฺครุกฺเขสุ อสารเกสุ,
อันมี แก่นหามิ ได้, ครัง้ นัน้ อ. นกกระไน ได้ท�ำลายแล้ว อถาสทา ขทิ รํ ชาตสารํ ,
ซึ่งอวัยวะอันสูงสุด ทีไ่ ม้ตะเคียนใด (อ. นกกระไนนี)้ ยตฺถาภิ ทา ครุโฬ อุตฺตมงฺคนฺติ จ
มาถึงแล้ว ซึ่งไม้ตะเคียน (นัน้ ) อันมี แก่นเกิ ดแล้ว ดังนี ้ ด้วย,

ว่า อ. ไขข้อ ของท่าน ไหลออกแล้ว ด้วย, อ. กระหม่อม ลสี จ เต นิ ปผฺ ลิ ตา, มตฺถโก จ วิ ทาลิ โต,
(ของท่าน อันช้างตัวประเสริ ฐ) ท�ำลายแล้ว ด้วย, อ. ซี ่โครง ท. สพฺพา เต ผาสุกา ภคฺคา, ทานิ สมฺม วิ โรจสีติ
ทัง้ ปวง ของท่าน (อันช้างตัวประเสริ ฐ) หักแล้ว, แน่ะสหาย
(อ. ท่าน) ย่อมงามวิ เศษ ในกาลนี ้ ดังนี ้ ด้วย เป็ นต้น ฯ เอวมาทีนิ ชาตกานิ กเถสิ.

134 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. พระศาสดา) ทรงปรารภ ซึง่ วาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ว่า ปุน “อกตฺู เทวทตฺโตติ กถํ อารพฺภ
อ. พระเทวทัต เป็ นคนอกตัญญู (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ อีก ตรัสแล้ ว
ซึง่ ชาดก ท. มีค�ำว่า

อ. ก�ำลังใด ของเรา ท. สิ ได้มีแล้วเทียว, (อ. เรา ท.) “อกรมฺหา ว เต กิ จฺจํ, ยํ พลํ อหุวมฺห เส;
ได้กระท�ำแล้วเทียว ซึ่งกิ จ ของท่าน (ด้วยก�ำลังนัน้ ), มิ คราช นโม ตฺยตฺถ;ุ อปิ กิ ฺจิ ลภามฺห เส.
ข้าแต่เนือ้ ผูพ้ ระราชา อ. ความนอบน้อม จงมี แก่ท่าน, มม โลหิ ตภกฺขสฺส นิ จฺจํ ลุทฺทานิ กุพพฺ โต
(อ. เรา ท.) ย่อมได้สิ ซึ่งอะไร ๆ บ้างหรื อ ? (อ. ท่าน) ทนฺตนฺตรคโต สนฺโต ตํ พฺหํ,ุ ยํปิ ชี วสีติ
เป็ นผูไ้ ปแล้วในระหว่างแห่งฟั น ของเรา ผูม้ ี เลือดเป็ นภักษา
ผูก้ ระท�ำอยู่ ซึ่งกรรมอันชัว่ ร้าย ท. เนืองนิ ตย์ เป็ นอยู่
ย่อมเป็ นอยู่ได้ แม้ ใด, (อ. ความเป็ นอยู่ แห่งท่าน) นัน้
เป็ นบุญมาก (ภูตํ เป็ นแล้ว) ดังนีเ้ ป็ นต้น ฯ

อาทีนิ ชาตกานิ กเถสิ.

(อ.พระศาสดา) ทรงปรารภ ซึ่ ง การตะเกี ย กตะกาย ปุ น วธาย ปริ ส กฺ ก นมสฺ ส อารพฺ ภ


เพื่ออันปลงพระชนม์ แห่งพระเทวทัตนัน้ อีก ตรัสแล้ ว ซึง่ ชาดก ท.
มีค�ำว่า

แน่ะไม้ระรื ่น อ. ท่าน ย่อมโปรย ใด, อ. กรรมนี ้ เกิ ดแล้ว “าตเมตํ กุรุงฺคสฺส ยํ ตฺวํ เสปณฺณิ เสยฺยสิ ;
แก่กวาง อ. เรา จะไป สู่ไม้ระรื ่น ต้นอืน่ , (เพราะว่า) อ. ผล
ของท่าน อันเรา ย่อมไม่ชอบใจ ดังนีเ้ ป็ นต้น ฯ อฺํ เสปณฺณึ คจฺฉามิ , น เม เต รุจฺจเต ผลนฺติ

อาทีนิ ชาตกานิ กเถสิ.

ครันเมื
้ อ่ วาจาเป็ นเครื่องกล่าว ท. ว่า อ. พระเทวทัต เสือ่ มรอบแล้ว ปุน “อุภโต ปริหโี น เทวทตฺโต ลาภสกฺการโต จ
จากผลทังสอง ้ คือจากลาภและสักการะด้ วย คือ จากคุณเครื่ อง สามฺ  โต จาติ กถาสุ ปวตฺ ต มานาสุ ,
ความเป็ นแห่งสมณะด้ วย ดังนี ้ เป็ นไปทัว่ อยู่ อีก, (อ. พระศาสดา) “น ภิกฺขเว อิทาเนว, ปุพฺเพปิ ปริ หีโนเยวาติ วตฺวา
ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. เทวทัต) (ย่อมเสื่อมรอบ) ในกาลนี ้
นัน่ เทียว หามิได้, (อ. เทวทัต) เสือ่ มรอบแล้วนัน่ เทียว แม้ในกาลก่อน
ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ ชาดก ท. มีค�ำว่า

อ. นัยน์ตา ท. แตกแล้วด้วย, อ. แผ่นผ้า ฉิ บหายแล้วด้วย, “อกฺขี ภิ นนฺ า, ปโฏ นฏฺโ€, สขี เคเห จ ภณฺฑนํ,
อ. ความแตกร้าว ( อันภรรยา ของท่าน กระท�ำแล้ว )
ในเรื อนของเพือ่ นหญิ ง ด้วย, (อ.เมี ยและผัว ท. ๒ เหล่านัน้ ) อุภโต ปทุฏฺ€กมฺมนฺตา อุทกมฺหิ ถลมฺหิ จาติ
เป็ นผูม้ ี การงานอันโทษประทุษร้ายแล้ว (ย่อมเป็ น) (ในทาง)
ทัง้ สอง คือในทางน�้ำด้วย คือในทางบกด้วย ดังนีเ้ ป็ นต้น ฯ

อาทีนิ ชาตกานิ กเถสิ.

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 135


(อ. พระศาสดา) ประทับอยู่อยู่ ในเมืองชื่ อว่าราชคฤห์ เอวํ ราชคเห วิหรนฺโต เทวทตฺตํ อารพฺภ พหูนิ
ทรงปรารภ ซึง่ พระเทวทัต ตรัสแล้ ว ซึง่ ชาดก ท. มาก อย่างนี ้, ชาตกานิ กเถตฺวา, ราชคหโต สาวตฺถึ คนฺตฺวา
เสด็จไปแล้ ว สู่เมืองชื่ อว่าสาวัตถี จากเมืองชื่ อว่าราชคฤห์ เชตวนมหาวิหาเร วาสํ กปฺเปสิ.
ทรงส�ำเร็ จแล้ ว ซึง่ การประทับอยู่ ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน ฯ

แม้ อ. พระเทวทัตแล เป็ นไข้ (เป็ น) สิ ้นเดือน ท. ๙, เป็ นผู้ใคร่ เทวทตฺโตปิ โข นว มาเส คิลาโน, ปจฺฉิเม กาเล
เพื่ออันเฝ้า ซึง่ พระศาสดา ในกาล อันมีในภายหลัง เป็ น กล่าวแล้ ว สตฺถารํ ทฏฺ€ุกาโม หุตฺวา อตฺตโน สาวเก “อหํ
กะสาวก ท. ของตน ว่า อ. เรา เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเฝ้า ซึง่ พระศาสดา สตฺถารํ ทฏฺ€ุกาโม, ตํ เม ทสฺเสถาติ วตฺวา, เตหิ
(ย่อมเป็ น), อ. ท่าน ท. ขอจงแสดง ซึง่ พระศาสดานัน้ แก่เรา ดังนี ้, “ตฺวํ สมตฺถกาเล สตฺถารา สทฺธึ เวรี หุตฺวา อจริ ,
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า อ. ท่าน เป็ นผู้มีเวร กับ ด้ วยพระศาสดา เป็ น น มยํ ตํ ตตฺถ เนสฺสามาติ วุตฺเต, “มา มํ นาเสถ,
ได้ เที่ยวไปแล้ ว ในกาลแห่งตนเป็ นผู้สามารถ, อ. เรา ท. จักไม่น�ำไป มยา สตฺถริ อาฆาโต กโต, สตฺถุ ปน มยิ
ซึง่ ท่าน ในทีน่ นั ้ ดังนี ้ (อันสาวก ท.) เหล่านัน้ กล่าวแล้ว, (กล่าวแล้ว) เกสคฺคมตฺโตปิ อาฆาโต นตฺถีต.ิ
ว่า (อ. ท่าน ท.) ขอจงอย่ายังเราให้ ฉิบหาย, อ. ความอาฆาต
ในพระศาสดา อันเรา กระท�ำแล้ ว, แต่วา่ อ. ความอาฆาต ในเรา
แม้ มีปลายแห่งผมเป็ นประมาณ ย่อมไม่มี แก่พระศาสดา ดังนี ้ ฯ

อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า นัน้ โส หิ ภควา

เป็ นผูม้ ี พระทัยอันเสมอ (ในชน ท.) ทัง้ ปวง คือ ในนายขมังธนู วธเก เทวทตฺตมฺหิ โจเร องฺคลุ ิ มาลเก
ด้วย คือ ในพระเทวทัตด้วย คือ ในโจร ชื อ่ ว่าองคุลีมาลด้วย ธนปาเล ราหุเล จ สพฺพตฺถ สมมานโสติ
คือ ในช้างชื อ่ ว่าธนบาลด้วย คือ ในพระกุมารพระนามว่าราหุล
ด้วย (ย่อมเป็ น) เหตุใด เพาะเหตุนนั้

(อ. พระเทวทัต) อ้ อนวอนแล้ ว บ่อย ๆ ว่า (อ. ท่าน ท.) ขอจงแสดง “ทสฺเสถ เม ภควนฺตนฺติ ปุนปฺปนุ ํ ยาจิ.
ซึง่ พระผู้มีพระภาคเจ้ า แก่เรา ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ (อ. ภิกษุ ท.) เหล่านัน้ พาเอา ซึง่ พระเทวทัตนัน้ อถ นํ เต มญฺ จ เกนาทาย นิ กฺ ข มึ สุ .
ด้ วยเตียงน้ อย ออกไปแล้ ว ฯ อ. ภิกษุ ท. ฟั งแล้ ว ซึง่ การมา ตสฺสาคมนํ สุตฺวา ภิกฺขู สตฺถุ อาโรเจสุํ “ภนฺเต
แห่งพระเทวทัตนัน้ กราบทูลแล้ ว แก่พระศาสดา ว่า ข้ าแต่พระองค์ เทวทตฺโต กิร ตุมหฺ ากํ ทสฺสนตฺถาย อาคจฺฉตีติ.
ผู้เจริ ญ ได้ ยินว่า อ. พระเทวทัต ย่อมมา เพื่อประโยชน์แก่การเฝ้า
ซึง่ พระองค์ ท. ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เทวทัตนัน้ “น ภิกฺขเว โส เตนตฺตภาเวน มํ ปสฺสติ ํุ
จักได้ เพื่ออันเห็น ซึง่ เรา ด้ วยอัตภาพนัน้ หามิได้ ดังนี ้ ได้ ยินว่า ลภิสสฺ ตีต.ิ ภิกขฺ ู กิร ปญฺ จนฺนํ วตฺถนู ํ อายาจิตกาลโต
อ. ภิกษุ ท. ย่อมไม่ได้ เพือ่ อันเฝ้า ซึง่ พระพุทธเจ้า ท. อีก จ�ำเดิม แต่กาล ปฏฺ€าย ปุน พุทฺเธ ทฏฺ€ุํ น ลภนฺต,ิ อยํ ธมฺมตา.
แห่งวัตถุ ท. ๕ เป็ นเรื่ องอันตนทูลขอยิ่งแล้ ว อ. ความเป็ นคืออันไม่
ได้ นี ้ เป็ นธรรมดา (ย่อมเป็ น) ฯ

(อ. ภิกษุ ท.) ทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ (อ. พระเทวทัต) “อสุกฏฺ€านญฺ จ อสุกฏฺ€านญฺ จ อาคโต ภนฺเตติ
มาแล้ ว สูท่ ี่โน้ นด้ วย สูท่ ี่โน้ นด้ วย ดังนี ้ ฯ อาหํส.ุ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า (อ. เทวทัต) ย่อมปรารถนา “ยํ อิจฺฉติ, ตํ กโรตุ; น โส มํ ปสฺสติ ํุ
ซึง่ กรรมใด, (อ. เทวทัต) จงกระท�ำ ซึง่ กรรมนัน;้ (เพราะว่า) ลภิสฺสตีต.ิ
อ. เทวทัตนัน้ จักไม่ได้ เพื่ออันเห็น ซึง่ เรา ดังนี ้ ฯ
(อ. ภิกษุ ท. ทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ (อ. พระเทวทัต) “ภนฺเต อิโต โยชนมตฺตํ อาคโต, อฑฺฒโยชนํ,
มาแล้ ว (สูท่ )ี่ มีโยชน์เป็ นประมาณ จากทีน่ ี ้, (อ. พระเทวทัต มาแล้ ว) คาวุตํ, โปกฺขรณีสมีปํ อาคโต ภนฺเตติ.
สูโ่ ยชน์ด้วยทังกึ้ ง่ (จากที่นี ้), (อ. พระเทวทัต มาแล้ ว) สูค่ าวุต
(จากที่นี ้), ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ (อ. พระเทวทัต) มาแล้ ว
สูท่ ี่ใกล้ แห่งสระโบกขรณี ดังนี ้ ฯ

136 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า แม้ ถ้าว่า (อ. เทวทัต) จะเข้ าไป “สเจปิ อนฺโตเชตวนํ ปวิสติ, เนว มํ ปสฺสติ ํุ
สูภ่ ายในแห่งพระเชตวันไซร้ , (อ. เทวทัต) จักไม่ได้ เพื่ออันเห็น ลภิสฺสตีต.ิ
ซึง่ เรานัน่ เทียว ดังนี ้ ฯ

(อ. ภิกษุ ท.) ผู้พาเอา ซึง่ พระเทวทัต มาแล้ ว ยังเตียงน้ อย เทวทตฺตํ คเหตฺวา อาคตา เชตวนโปกฺขรณีตีเร
ให้ ข้ามลงแล้ ว ที่ฝั่งแห่งสระโบกขรณีใกล้ พระเชตวัน ข้ ามลงแล้ ว มฺจํ โอตาเรตฺวา โปกฺขรณิยํ นหายิตํุ โอตรึส.ุ
เพื่ออันอาบ ในสระโบกขรณี ฯ แม้ อ. พระเทวทัต แล ลุกขึ ้นแล้ ว เทวทตฺโตปิ โข มฺจโต อุฏฺ€าย อุโภ ปาเท ภูมิยํ
จากเตียงน้ อย นัง่ วางแล้ ว ซึง่ เท้ า ท. ทังสอง ้ บนภาคพื ้น ฯ €เปตฺวา นิสีทิ. เต ป€วึ ปวิสสึ .ุ
อ. เท้ า ท. เหล่านัน้ เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดิน ฯ

อ. พระเทวทัตนัน้ เข้ าไปแล้ ว (สูแ่ ผ่นดิน) เพียงใด แต่ข้อเท้ า โส อนุกฺกเมน ยาว โคปฺผกา ยาว ชนฺนกุ า
เพียงใด แต่เข่า เพียงใด แต่สะเอว เพียงใด แต่นม เพียงใด แต่คอ ยาว กฏิโต ยาว ถนโต ยาว คีวโต ปวิสติ ฺวา
โดยล�ำดับ กล่าวแล้ ว ซึง่ คาถา ในกาลแห่งกระดูกแห่งคาง หนุกฏฺ€ิกสฺส ภูมิยํ ปติฏฺ€ิตกาเล คาถมาห
ตังอยู
้ เ่ ฉพาะแล้ ว บนแผ่นดิน ว่า

(อ. เรา) เป็ นผูถ้ ึงแล้ว ซึ่งพระพุทธเจ้านัน้ ผูท้ รงเป็ นบุคคลผูเ้ ลิ ศ “อิ เมหิ อฏฺ€ีหิ ตมคฺคปุคฺคลํ
ผูเ้ ป็ นเทพยิ่ งกว่าเทพ ผูย้ งั นระอันพระองค์พึงฝึ กให้แล่นไป เทวาติ เทวํ นรทมฺมสารถึ
ผูม้ ีพระจักษุรอบคอบ ผูม้ ีพระลักษณะบังเกิดแล้วด้วยบุญร้อยหนึง่ สมนฺตจกฺขํ ุ สตปุฺลกฺขณํ
ว่าเป็ นสรณะ ด้วยกระดูก ท. เหล่านี ้ (กับ) ด้วยลมปราณ ท. ปาเณหิ พุทฺธํ สรณํ คโตสฺมีติ.
ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ

ได้ ยินว่า อ. พระตถาคตเจ้ า ทรงเห็นแล้ ว ซึ่งฐานะ นี ้ อิทํ กิร €านํ ทิสวฺ า ตถาคโต เทวทตฺตํ ปพฺพาเชสิ.
ทรงยังพระเทวทัต ให้ บวชแล้ ว ฯ ก็ ถ้ าว่า อ. พระเทวทัตนัน้ สเจ หิ โส น ปพฺพชิสสฺ ; คิหี หุตฺวา กมฺมํ ภาริ ยํ
จักไม่บวชแล้วไซร้ ; (อ. พระเทวทัต) เป็ นคฤหัสถ์ เป็ น จักได้กระท�ำแล้ว อกริ สฺส, อายตึ ภวสฺส ปจฺจยํ กาตุํ นาสกฺขิสฺส;
ซึง่ กรรม ให้ เป็ นกรรมหนัก , จักไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออันกระท�ำ ปพฺพชิตฺวา จ ปน, กิฺจาปิ กมฺมํ ภาริ ยํ กริ สฺสติ,
ซึง่ ปั จจัย แห่งภพ ต่อไป ; ก็แล (อ. พระเทวทัต) ครัน้ บวชแล้ ว, อายตึ ภวสฺส ปจฺจยํ กาตุํ สกฺขิสฺสตีติ นํ สตฺถา
จักกระท�ำ ซึง่ กรรม ให้ เป็ นกรรมหนัก แม้ โดยแท้ , ถึงอย่างนัน้ ปพฺพาเชสิ.
(อ. พระเทวทัต) จักอาจ เพื่ออันกระท�ำ ซึง่ ปั จจัย แห่งภพ ต่อไป
เพราะเหตุนนั ้ (อ. พระศาสดา) ทรงยังพระเทวทัตนัน้ ให้ บวชแล้ ว ฯ

จริงอยู่ อ. พระเทวทัตนัน้ เป็ นพระปัจเจกพุทธเจ้า ชือ่ ว่าอัฏฐิสสระ โส หิ อิโต สตสหสฺสกปฺปมตฺถเก อฏฺ€ิสฺสโร


จักเป็ น ในที่สดุ แห่งกัปป์แสนหนึง่ แต่ภทั ทกัปป์นี ้ ฯ นาม ปจฺเจกพุทฺโธ ภวิสฺสติ.

อ. พระเทวทัตนัน้ เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดิน บังเกิดแล้ ว ในนรก โส ป€วึ ปวิสติ ฺวา อวีจิมหฺ ิ นิพฺพตฺต.ิ
ชื่อว่าอเวจี ฯ ก็ (อ. พระเทวทัต) เป็ นผู้มีอนั ไหวออกแล้ วเทียว นิจฺจเล พุทฺเธ อปรทฺธภาเวน ปน นิจฺจโลว
เป็ น (อันไฟ) ไหม้ อยู่ เพราะความที่แห่งตนเป็ นผู้ผิดแล้ ว หุตฺวา ปจฺจติ.
ในพระพุทธเจ้ า ผู้ทรงมีอนั ไหวออกแล้ ว ฯ

อ. สรี ระ ของพระเทวทัตนัน้ อันสูงโดยร้ อยแห่งโยชน์นนั่ เทียว ติโยชนสติเก อนฺโตอวีจมิ หฺ ิ โยชนสตุพเฺ พธเมวสฺส


บังเกิดแล้ ว ในภายในแห่งนรก ชื่อว่าอเวจี อันประกอบแล้ ว สรี รํ นิพฺพตฺต,ิ สีสํ ยาว กณฺณสกฺขลิโต อุปริ
ด้ วยร้ อยแห่งโยชน์ ๓, อ. ศีรษะ ได้ เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นกระเบื ้อง อยกปลฺลํ ปาวิส,ิ ปาทา ยาว โคปฺผกา เหฏฺ€า
อันเป็ นวิการแห่งเหล็ก ในเบื ้องบน เพียงใด แต่หมวกแห่งหู, อยป€วึ ปวิฏฺ€า,
อ. เท้ า ท. เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดินอันเป็ นวิการแห่งเหล็ก ในภายใต้
เพียงใด แต่ข้อเท้ า,

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 137


อ.หลาวอันเป็ นวิการแห่งเหล็ก มีลำ� แห่งต้นตาลใหญ่เป็ นประมาณ มหาตาลกฺขนฺธปริ มาณํ อยสูลํ ปจฺฉิมภิตฺตโิ ต
ออกแล้ ว จากฝาอันมีในภายหลัง ท�ำลายแล้ ว ซึง่ ท่ามกลางแห่งหลัง นิกฺขมิตฺวา ปิ ฏฺ€ิมชฺฌํ ภินฺทิตฺวา อุเรน นิกฺขมิตฺวา
ออกแล้ ว โดยอก ได้ เข้ าไปแล้ ว สูฝ่ าอันมีในทิศเบื ้องหน้ า, ปุรตฺถมิ ภิตตฺ ึ ปาวิส,ิ อปรํ ทกฺขณ
ิ ภิตตฺ โิ ต นิกขฺ มิตวฺ า
( อ. หลาวอันเป็ นวิการแห่งเหล็ก) อืน่ อีก ออกแล้ ว จากฝาเบื ้องขวา ทกฺขิณปสฺสํ ภินฺทิตฺวา วามปสฺเสน นิกฺขมิตฺวา
ท�ำลายแล้ ว ซึง่ ข้ างเบื ้องขวา ออกแล้ ว โดยข้ างเบื ้องซ้ าย ได้ เข้ าแล้ ว อุตตฺ รภิตตฺ ึ ปาวิส,ิ อปรํ อุปริ กปลฺลโต นิกขฺ มิตวฺ า
สูฝ่ าเบื ้องซ้ าย, (อ. หลาวอันเป็ นวิการแห่งเหล็ก) อื่นอีก ออกแล้ ว มตฺถกํ ภินฺทิตฺวา อโธภาเคน นิกฺขมิตฺวา อยป
จากแผ่นกระเบื ้อง ในเบื ้องบน ท�ำลายแล้ ว ซึง่ กระหม่อม ออกแล้ ว €วึ ปาวิส.ิ เอวํ โส ตตฺถ นิจฺจโล หุตฺวา ปจฺจติ.
โดยส่วนในเบื ้องต�ำ่ ได้ เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดินอันเป็ นวิการแห่งเหล็ก ฯ
อ. พระเทวทัตนัน้ เป็ นผู้มีอนั ไหวออกแล้ ว เป็ น (อันไฟ) ไหม้ อยู่
ในนรกชื่อว่าอเวจีนนั ้ ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ

อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ว่า อ. พระเทวทัต ภิกฺขู “เอตฺตกํ €านํ คนฺตฺวา เทวทตฺโต สตฺถารํ
ไปแล้ ว สูท่ ี่ มีประมาณเท่านี ้ ไม่ได้ แล้ ว เพื่ออันเฝ้า ซึง่ พระศาสดา ทฏฺ€ุํ อลภิตฺวาว ป€วึ ปวิฏฺโ€ติ กถํ สมุฏฺ€าเปสุํ.
เทียว เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดิน ดังนี ้ ให้ ตงขึ
ั ้ ้นพร้ อมแล้ ว ฯ

อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เทวทัต ผิดแล้ ว สตฺถา “น ภิกฺขเว เทวทตฺโต อิทาเนว มยิ
ในเรา ได้ เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดิน ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ , อปรชฺฌิตฺวา ป€วึ ปาวิส,ิ ปุพฺเพปิ ปวิฏฺโ€เยวาติ
(อ. เทวทัต) เข้ าไปแล้ ว (สูแ่ ผ่นดิน) นัน่ เทียว แม้ ในกาลก่อน ดังนี ้, วตฺวา, หตฺถริ าชกาเล มคฺคมุฬหฺ ํ ปุริสํ สมสฺสาเสตฺวา
ตรัสแล้ ว ซึง่ ชาดก นี ้ ว่า อตฺตโน ปิ ฏฺ€ึ อาโรเปตฺวา เขมนฺตํ ปาปิ ตสฺส เตน
ปุน ติกฺขตฺตํุ อาคนฺตฺวา `อคฺคฏฺ€าเน มชฺฌิมฏฺ€าเน
มูเลติ เอวํ ทนฺเต ฉินฺทิตฺวา ตติยวาเร มหาปุริสสฺส
จกฺขปุ ถํ อติกฺกมนฺตสฺส ตสฺส ป€วึ ปวิฏฺ€ภาวํ ทีเปตุํ

หากว่า (อ. บุคคล) พึงให้ ซึ่งแผ่นดิ น ทัง้ ปวง แก่บรุ ุษ “อกตฺุสฺส โปสสฺส นิ จฺจํ วิ วรทสฺสิโน
ผูไ้ ม่รู้ซึ่งคุณ อันบุคคลอืน่ กระท�ำแล้ว ผูเ้ ห็นซึ่งช่องโดยปกติ
เนืองนิ ตย์ไซร้ (อ. บุคคล นัน้ ) ไม่พึงยังบุรุษนัน้ ให้ยินดียิ่ง สพฺพฺเจ ป€วึ ทชฺชา เนว นํ อภิ ราธเยติ
นัน่ เทียว ดังนีเ้ ป็ นต้น

เพื่ออันทรงแสดง ซึง่ ความที่ (แห่งพระเทวทัต) นัน้ ผู้ (อันช้ าง อิ มํ ชาตกํ กเถตฺ ว า, ปุ น ปิ ตเถว กถาย
ผู้พระราชา) ยังบุรุษ ผู้หลงแล้ วในหนทาง ให้ เบาใจแล้ ว ยกขึ ้นแล้ ว สมุฏฺ€ิตาย, ขนฺตวิ าทิภเู ต อตฺตนิ อปรชฺฌิตฺวา
สูห่ ลัง ของตน ให้ ถงึ แล้ ว ซึง่ ที่อนั เกษม อันบุรุษนัน้ มาแล้ ว ตัดแล้ ว กลาพุราชภูตสฺส ตสฺส ป€วึ ปวิฏฺ€ภาวํ ทีเปตุํ
ซึง่ งา ท. อย่างนี ้ คือ ในทีป่ ลาย ในทีอ่ นั มีในท่ามกลาง ทีโ่ คน ๓ ครัง้ ขนฺตวิ าทิชาตกํ, จุลลฺ ธมฺมปาลภูเต อตฺตนิ อปรชฺฌติ วฺ า
อีก ก้ าวล่วงอยู่ ซึง่ คลองแห่งจักษุ ของพระมหาบุรุษ ในวาระที่ ๓ มหาปตาปราชภูตสฺส ตสฺส ป€วึ ปวิฏฺ€ภาวํ
เป็ นผู้เข้าไปแล้ว สูแ่ ผ่นดิน ในกาล (แห่งพระองค์) เป็ นช้างผู้พระราชา, ทีเปตุํ จุลฺลธมฺมปาลชาตกฺจ กเถสิ.
ครัน้ เมื่อวาจาเป็ นเครื่ องกล่าว ตังขึ ้ ้นพร้ อมแล้ ว อย่างนันนั
้ น่ เทียว
แม้ อีก, ตรัสแล้ ว ซึง่ ขันติวาทีชาดก เพื่ออันทรงแสดง ซึง่ ความที่
(แห่งพระเทวทัต) นัน้ ผู้เป็ นพระราชาพระนามว่ากลาพุเป็ นแล้ ว
ผิดแล้ ว ในพระองค์ ผู้เป็ นดาบสชื่ อว่าขันติวาทีเป็ นแล้ ว
เป็ นผู้เข้าไปแล้ว สูแ่ ผ่นดินด้วย, ซึง่ จุลธรรมบาลชาดก เพือ่ อันทรงแสดง
ซึง่ ความที่ (แห่งพระเทวทัต) นัน้ ผู้เป็ นพระราชาพระนามว่า
มหาปตาปะเป็ นแล้ ว ผิดแล้ ว ในพระองค์ ผู้เป็ นพระกุมาร
พระนามว่าจุลธรรมบาลเป็ นแล้ ว เป็ นผู้เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดินด้ วย ฯ

138 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ก็ ครัน้ เมื่อพระเทวทัต เข้ าไปแล้ ว สูแ่ ผ่นดิน, อ. มหาชน ป€วึ ปวิฏฺเ€ ปน เทวทตฺเต, มหาชโน
ผู้ร่าเริ งแล้ วและยินดีแล้ ว (ยังกันและกัน) ให้ ยกขึ ้นแล้ ว ซึง่ ธงชัย หฏฺ€ตุฏฺโ€ ธชปตากกทลิโย อุสฺสาเปตฺวา ปุณฺณฆเฏ
และธงแผ่นผ้ าและต้ นกล้ วย ท. ตังไว้ ้ แล้ ว ซึง่ หม้ ออันเต็มแล้ ว ท. €เปตฺวา “ลาภา วต โนติ มหนฺตํ ฉณํ อนุโภติ.
เสวยอยู่ ซึง่ มหรสพ อันใหญ่ (ด้ วยความคิด) ว่า อ. ลาภ ท. หนอ
ของเรา ท. ดังนี ้ ฯ

(อ.ภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ว ซึง่ เนื ้อความนัน้ แก่พระผู้มพี ระภาคเจ้า ฯ ตมตฺถํ ภควโต อาโรเจสุํ.

อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ครัน้ เมื่อ ภควา “น ภิกฺขเว อิทาเนว เทวทตฺเต มเต
เทวทัต ตายแล้ ว อ. มหาชน ย่อมยินดี ในกาลนี ้นัน่ เทียว หามิได้ , มหาชโน ตุสฺสติ, ปุพฺเพปิ ตุสฺสเิ ยวาติ วตฺวา,
(อ. มหาชน) ยินดีแล้ วนัน่ เทียว แม้ ในกาลก่อน ดังนี ้, ตรัสแล้ ว สพฺพชนสฺส อปฺปิเย จณฺเฑ ผรุเส พาราณสิยํ
ซึง่ ปิ งคลชาดก นี ้ ว่า ปิ งฺคลราเช นาม มเต มหาชนสฺส ตุฏฺ€ภาวํ ทีเปตุํ

(อ. พระโพธิสตั ว์ ตรัสถามแล้ว) ว่า อ. ชน ทัง้ ปวง อันพระเจ้าปิ งคละ “สพฺโพ ชโน หึสิโต ปิ งฺคเลน,
ทรงเบี ยดเบี ยนแล้ว,ครัน้ เมื อ่ พระเจ้าปิ งคละ นัน้ สวรรคตแล้ว, ตสฺมึ มเต, ปจฺจยํ เวทยนฺติ,
(อ. ชน ท.) ย่อมเสวย ซึ่งปี ติ , ( อ. พระเจ้าปิ งคละนัน้ ) ปิ โย นุ เต อาสิ อกณฺหเนตฺโต.
ผูม้ ีพระเนตรด�ำหามิได้ เป็ นผูเ้ ป็ นทีร่ กั ของท่าน เป็ นแล้วหรื อหนอ, กสฺมา ตุวํ โรทสิ ทฺวารปาล?
แน่ะนายทวารบาล อ. ท่าน ย่อมร้องไห้ เพราะเหตุอะไร? (ดังนี)้ น เม ปิ โย อาสิ อกณฺหเนตฺโต,
(อ. นายทวารบาล กราบทูลแล้ว) ว่า (อ. พระเจ้าปิ งคละ) ภายามิ ปจฺจาคมนาย ตสฺส,
ผูม้ ีพระเนตรด�ำหามิได้ เป็ นผูเ้ ป็ นทีร่ กั ของข้าพระองค์ เป็ นแล้ว อิ โต คโต หึเสยฺย มจฺจรุ าชํ,
หามิ ได้, (อ. ข้าพระองค์) ย่อมกลัว ต่อการเสด็จกลับมา โส หึสิโต อาเนยฺย นํ ปุน อิ ธาติ
แห่งพระเจ้าปิ งคละนัน้ , (ด้วยว่า) (อ.พระเจ้าปิ งคละนัน้ )
เสด็จไปแล้ว จากทีน่ ี ้ พึงทรงเบี ยดเบี ยน ซึ่งมัจจุผูพ้ ระราชา,
(อ. มัจจุผพู้ ระราชา) นัน้ (อันพระเจ้าปิ งคละ) ทรงเบียดเบียนแล้ว
พึงน�ำมา (ซึ่งพระเจ้าปิ งคละ) นัน้ ในทีน่ ี ้ อีก (ดังนี)้ ดังนีเ้ ป็ นต้น

เพื่ออันทรงแสดง ซึง่ ความที่แห่งมหาชน ชื่อครัน้ เมื่อพระราชา อิมํ ปิ งฺคลชาตกํ กเถสิ.


พระนามว่าปิ งคละ ในเมืองชื่อว่าพาราณสี ผู้หยาบคาย ผู้ดรุ ้ าย
ผู้ไม่เป็ นที่รัก ของชนทังปวง
้ สวรรคตแล้ ว เป็ นผู้ยินดีแล้ ว ฯ

อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว ซึง่ พระศาสดา ว่า ข้ าแต่พระองค์ ภิกฺขู สตฺถารํ ปุจฺฉึสุ “อิทานิ ภนฺเต เทวทตฺโต
ผู้เจริ ญ ในกาลนี ้ อ. พระเทวทัต บังเกิดแล้ ว ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ กุหึ นิพฺพตฺโตติ.

(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. เทวทัต) “อวีจิมหานิรเย ภิกฺขเวติ.


(บังเกิดแล้ ว) ในนรกใหญ่ชื่อว่าอเวจี ดังนี ้ ฯ

(อ. ภิกษุ ท. ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “ภนฺเต อิธ ตปฺปนฺโต วิจริ ตฺวา ปุน คนฺตฺวา
(อ. พระเทวทัต) เทีย่ วเดือดร้ อนอยูแ่ ล้ ว ในโลกนี ้ ไปแล้ ว บังเกิดแล้ ว ตปฺปนฏฺ€าเนเยว นิพฺพตฺโตติ.
ในที่เป็ นที่เดือดร้ อนอีกนัน่ เทียวหรื อ ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 139


(อ. พระศาสดา) ตรัสแล้ ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. เออ (อ. อย่างนัน)้ “อาม ภิกฺขเว, ปพฺพชิตา วา โหนฺตุ คหฏฺ€า วา
(อ. ชน ท.) เป็ นบรรพชิตหรื อ หรื อว่า เป็ นคฤหัสถ์ จงเป็ น ผู้อยู่ ปมาทวิหาริ โน อุภยตฺถ ตปฺปนฺตเิ ยวาติ วตฺวา อิมํ
ด้ วยความประมาทโดยปกติ ย่อมเดือดร้ อน ในโลกทังสองนั ้ น่ เทียว คาถมาห
ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา นี ้ว่า

(อ. บุคคล) ผูก้ ระท�ำซึ่งกรรมอันลามกโดยปกติ ย่อมเดือดร้อน “อิ ธ ตปฺปติ , เปจฺจ ตปฺปติ ,


ในโลกนี,้ ละไปแล้ว ย่อมเดือดร้อน, ย่อมเดือดร้อน ปาปการี อุภยตฺถ ตปฺปติ ;
ในโลกทัง้ สอง, (อ. บุคคลผูก้ ระท�ำซึ่งกรรมอันลามกโดยปกติ ) `ปาปํ เม กตนฺติ ตปฺปติ ,
ย่อมเดือดร้อน ว่า อ. กรรมอันลามก อันเรา กระท�ำแล้ว ภิ ยฺโย ตปฺปติ ทุคฺคตึ คโตติ .
ดังนี,้ ไปแล้ว สู่ทคุ ติ ย่อมเดือดร้อน ยิ่ ง ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า ย่อมเดือดร้ อน (ด้ วยเหตุ) สักว่าความโทมนัส ตตฺถ “อิธ ตปฺปตีต:ิ อิธ กมฺมตปฺปเนน
ด้ วยความเดือดร้ อนเพราะกรรม ในโลกนี ้ (ดังนี ้) ในบท ท. โทมนสฺสมตฺเตน ตปฺปติ.
เหล่านันหนา้ (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า อิธ ตปฺปติ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ส่วนว่า (อ.บุคคลผู้กระท�ำซึง่ กรรมอันลามก เปจฺจาติ: ปรโลเก ปน วิปากตปฺปเนน
โดยปกติ) ย่อมเดือดร้ อน เพราะทุกข์ในอบาย อันทารุณยิ่ง อติทารุเณน อปายทุกฺเขน ตปฺปติ.
ด้ วยความเดือดร้ อนเพราะวิบาก ในโลกอื่น (ดังนี ้) (แห่งบท)
ว่า เปจฺจ ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ผู้กระท�ำ ซึง่ กรรมอันลามก มีประการต่างๆ ปาปการี ต:ิ นานปฺปการสฺส ปาปสฺส กตฺตา.
(ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า ปาปการี ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ชือ่ ว่าย่อมเดือดร้ อน ในโลกทังสอง
้ ด้วยความเดือดร้ อน อุภยตฺถาติ: อิมินา วุตฺตปฺปกาเรน ตปฺปเนน
มีประการอันข้ าพเจ้ ากล่าวแล้ ว นี ้ (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า อุภยตฺถ อุภยตฺถ ตปฺปติ นาม.
ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า ก็ (อ.บุคคลผู้กระท�ำซึง่ กรรมอันลามกโดยปกติ) นัน้ ปาปํ เมติ: โส หิ กมฺมตปฺปเนน ตปฺปนฺโต


เมือ่ เดือดร้ อน ด้ วยความเดือดร้ อนเพราะกรรม ชือ่ ว่าย่อมเดือดร้ อน “ปาปํ เม กตนฺติ ตปฺปติ, ตํ อปฺปมตฺตกํ ตปฺปนํ;
ว่า อ.กรรมอันลามก อันเรา กระท�ำแล้ ว ดังนี ้, (อ.ความเดือนร้ อน) วิปากตปฺปเนน ปน ตปฺปนฺโต ภิยฺโย ตปฺปติ ทุคฺคตึ
นัน้ เป็ นความเดือดร้ อนมีประมาณน้ อย (ย่อมเป็ น); แต่วา่ คโต, อติผรุเสน ตปฺปเนน อติวิย ตปฺปตีติ.
(อ.บุคคลผู้กระท�ำซึ่งกรรมอันลามกโดยปกติ) เมื่อเดือดร้ อน
ด้วยความเดือดร้ อนเพราะวิบาก ไปแล้ว สูท่ คุ ติ ชือ่ ว่า ย่อมเดือดร้ อน ยิง่ ,
คือว่า ย่อมเดือนร้ อน เกินเปรี ยบ ด้ วยความเดือดร้ อน อันหยาบยิ่ง
ดังนี ้ (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า ปาปํ เม ดังนี ้ เป็ นต้ น ฯ

ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา (อ. ชน ท.) มาก คาถาปริ โยสาเน พหู โสตาปนฺนาทโย อเหสุํ.
เป็ นพระอริ ยบุคคลมีพระโสดาบัน เป็ นต้ น ได้ เป็ นแล้ ว ฯ
อ. เทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ เกิดแล้ ว เทสนา มหาชนสฺ ส สาตฺ ถิ ก า ชาตาติ .
แก่มหาชน ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ องแห่ งพระเทวทัต (จบแล้ ว) ฯ เทวทตฺตวตฺถุ.

140 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


๑๓. อ.เรื่ องแห่ งหญิงชื่อว่ าสุมนาเทวี ๑๓. สุมนาเทวีวตฺถุ. (๑๓)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “อิธ นนฺทติ, เปจฺจ นนฺทตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ
ซึง่ หญิงชื่อว่าสุมนาเทวี ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต สุมนาเทวึ อารพฺภ กเถสิ.
อิธ นนฺทติ เปจฺจ นนฺทติ ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ. พันแห่งภิกษุ ท. ๒ ย่อมฉัน สาวตฺถิยํ หิ เทวสิกํ อนาถปิ ณฺฑิกสฺส เคเห
ในเรือน ของเศรษฐีชอื่ ว่า อนาถบิณฑิกะ ในเมืองชือ่ ว่าสาวัตถี เทฺว ภิกฺขสุ หสฺสานิ ภุฺชนฺต,ิ ตถา วิสาขาย
ทุก ๆ วัน, อ. อย่างนัน้ คือว่า (อ. พันแห่งภิกษุ ท. ๒ ย่อมฉัน ในเรือน) มหาอุปาสิกาย.
ของนางวิสาขา ผู้มหาอุบาสิกา (ทุก ๆ วัน) ฯ
ก็ อ. บุคคล ใด ๆ ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันถวาย สาวตฺถิยฺจ โย โย ทานํ ทาตุกาโม โหติ;
ซึง่ ทาน ย่อมเป็ น ; อ. บุคคลนัน้ ๆ ได้ แล้ ว ซึง่ โอกาส แห่งชน ท. โส โส เตสํ อุภินฺนํ โอกาสํ ลภิตฺวาว กโรติ.
ทังสองเหล่
้ านันเที
้ ยว ย่อมกระท�ำได้ ฯ
(อ. อันถาม ว่า อ. บุคคล นัน้ ๆ ได้ แล้ ว ซึง่ โอกาส แห่งชน ท. “กึการณาติ. “ตุมหฺ ากํ ทานคฺคํ อนาถปิ ณฺฑิโก
ทังสองเหล่
้ านันเที
้ ยว ย่อมกระท�ำได้ ) เพราะเหตุอะไร ดังนี ้ ฯ วา วิสาขา วา อาคตาติ ปุจฺฉิตฺวา, “นาคตาติ
(อ. อันแก้ ) ว่า (เพราะว่า อ. ชน ท.) ถามแล้ ว ว่า อ. เศรษฐี ชื่อว่า วุตฺเต, สตสหสฺสํ วิสฺสชฺ เชตฺวา กตทานมฺปิ
อนาถบิณฑิกะหรื อ หรื อว่า อ. นางวิสาขา มาแล้ ว สูโ่ รงแห่งทาน “กึ ทานํ นาเมตนฺติ ครหนฺต.ิ
ของท่าน ท. หรือ ดังนี ้, (ครันเมื
้ อ่ ค�ำ) ว่า (อ. เศรษฐีชอื่ ว่าอนาถบิณฑิกะ
หรื อ หรื อว่า อ. นางวิสาขา) ไม่มาแล้ ว (สูโ่ รงแห่งทาน ของเรา ท.)
ดังนี ้ (อันมหาชนนัน) ้ กล่าวแล้ ว, ย่อมติเตียน แม้ ซงึ่ ทานอันบุคคล
สละแล้ ว ซึง่ แสนแห่งทรัพย์ กระท�ำแล้ ว ว่า ชื่อ อ. ทานนัน่ อะไร
ดังนี ้ (ดังนี ้) ฯ
เพราะว่า (อ. ชน ท.) เหล่านัน้ แม้ ทงสองั ้ ย่อมรู้ ซึง่ ความชอบใจ อุโภปิ หิ เต ภิกขฺ สุ งฺฆสฺส รุจ
ิ จฺ อนุจฉฺ วิกกิจจฺ านิ
แห่งหมูแ่ ห่งภิกษุด้วย ซึง่ กิจอันสมควร ท. (แก่หมูแ่ ห่งภิกษุ) ด้ วย ฯ จ ชานนฺต.ิ เตสุ วิหรนฺเตสุ, ภิกฺขู จิตฺตานุรูปเมว
(ครัน้ เมื่อชน ท. ๒) เหล่านัน้ อยูอ่ ยู,่ อ. ภิกษุ ท. ย่อมฉัน ตามสมควร ภุฺชนฺต.ิ ตสฺมา สพฺเพ ทานํ ทาตุกามา เต
แก่จิตนั่นเทียว ฯ เพราะเหตุนัน้ (อ. ชน ท.) ทัง้ ปวง คเหตฺวา คจฺฉนฺต.ิ อิติ เต อตฺตโน ฆเร ภิกฺขู ปริ
ผู้ใคร่เพื่ออันถวาย ซึง่ ทาน พาเอา (ซึง่ ชน ท. ๒) เหล่านัน้ ย่อมไป ฯ วิสติ ํุ น ลภนฺต.ิ
(อ. ชน ท. ๒) เหล่านัน้ ย่อมไม่ได้ เพื่ออันอังคาส ซึง่ ภิกษุ ท.
ในเรื อน ของตน ด้ วยประการฉะนี ้ ฯ
ในล�ำดับนัน้ อ. นางวิสาขา ใคร่ครวญอยู่ ว่า อ. ใครหนอแล ตโต วิสาขา “โก นุ โข มม €าเน €ตฺวา
ตังอยู
้ แ่ ล้ ว ในฐานะ ของเรา จักอังคาส ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ ดังนี ้ ภิกฺขสุ งฺฆํ ปริ วิสสิ ฺสตีติ อุปธาเรนฺตี ปุตฺตสฺส ธีตรํ
เห็นแล้ ว ซึง่ ธิดา ของบุตร ตังไว้้ แล้ ว ในฐานะ ของตน ฯ อ. ธิดานัน้ ทิสฺวา ตํ อตฺตโน €าเน €เปสิ. สา ตสฺสา นิเวสเน
ย่อมอังคาส ซึง่ หมูแ่ ห่งภิกษุ ในที่เป็ นที่อยู่ ของนางวิสาขานัน้ ฯ ภิกฺขสุ งฺฆํ ปริ วิสติ. อนาถปิ ณฺฑิโกปิ มหาสุภทฺทํ
แม้ อ. เศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ ตังไว้ ้ แล้ ว ซึง่ ธิดาผู้เจริ ญ ที่สดุ นาม เชฏฺ€ธีตรํ €เปสิ. สา หิ ภิกฺขนู ํ เวยฺยาวจฺจํ
ชื่อว่า มหาสุภทั ทา ฯ ก็ อ. นางมหาสุภทั ทานัน้ กระท�ำอยู่ กโรนฺตี ธมฺมํ สุณนฺตี โสตาปนฺนา หุตฺวา ปติกลุ ํ
ซึง่ ความขวนขวาย แก่ภิกษุ ท. ฟั งอยู่ ซึง่ ธรรม เป็ นพระโสดาบัน อคมาสิ. ตโต จุลฺลสุภทฺทํ €เปสิ. สาปิ ตเถว
เป็ น ได้ ไปแล้ ว สูต่ ระกูลแห่งผัว ฯ ในล�ำดับนัน้ (อ. เศรษฐี กโรนฺตี โสตาปนฺนา หุตฺวา ปติกลุ ํ คตา.
ชื่ อว่าอนาถบิณฑิกะ) ตัง้ ไว้ แล้ ว ซึ่งนางจุลลสุภัททา ฯ
อ.นางจุลลสุภทั ทาแม้นนั ้ กระท�ำอยู่ อย่างนันนั ้ น่ เทียว เป็ นพระโสดาบัน
เป็ น ไปแล้ ว สูต่ ระกูลแห่งผัว ฯ
ครัง้ นัน้ (อ. เศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ) ตังไว้ ้ แล้ ว ซึง่ ธิดาผู้ อถ สุมนาเทวึ นาม กนิฏฺ€ธีตรํ €เปสิ.
น้ อยที่สดุ ชื่อว่าสุมนาเทวี ฯ ก็ อ. นางสุมนาเทวีนนั ้ ฟั งแล้ ว สา ปน ธมฺมํ สุตฺวา สกทาคามิผลํ ปตฺวา,
ซึง่ ธรรม บรรลุแล้ ว ซึง่ สกทาคามิผล , เป็ นกุมาริ กา เทียว กุมาริ กาว หุตฺวา ตถารูเปน อผาสุเกน อาตุรา
เป็ นผู้กระสับกระส่าย เพราะความไม่ส�ำราญ มีอย่างนันเป็ ้ นรูป อาหารุปจฺเฉทํ กตฺวา ปิ ตรํ ทฏฺ€ุกามา หุตฺวา
เป็ น กระท�ำแล้ ว ซึง่ การเข้ าไปตัดซึง่ อาหาร เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเห็น ปกฺโกสาเปสิ.
ซึง่ บิดา เป็ น (ยังบุคคล) ให้ ร้องเรี ยกแล้ ว ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 141


อ. เศรษฐี ชื่อว่าอนาถบิณฑิกะนัน้ ฟั งแล้ ว ซึ่งข่าวสาส์ น โส เอกสฺมึ ทานคฺเค ตสฺสา สาสนํ สุตฺวาว
ของนางสุมนาเทวีนนั ้ ในโรงแห่งทาน แห่งหนึง่ เทียว มาแล้ ว กล่าวแล้ ว อาคนฺตฺวา “กึ อมฺม สุมเนติ อาห. สา ปิ ตรํ อาห
ว่า แน่ะแม่ ผู้ชื่อว่าสุมนา อ. อะไร ดังนี ้ ฯ อ. นางสุมนานัน้ “กึ กนิฏฺ€ภาติกาติ. “วิปปฺ ลปสิ อมฺมาติ.
กล่าวแล้ ว กะบิดา ว่า ดูก่อนน้ องชายผู้น้อยที่สดุ อ. อะไร ดังนี ้ ฯ “น วิปปฺ ลปามิ กนิฏฺ€ภาติกาติ. “ภายสิ อมฺมาติ.
(อ. เศรษฐีชอื่ ว่าอนาถบิณฑิกะ กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะแม่ (อ. เจ้า) ย่อมเพ้อหรือ “น ภายามิ กนิฏฺ€ภาติกาติ. เอตฺตกํ วตฺวาเยว ปน
ดังนี ้ ฯ (อ. นางสุมนาเทวี กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนน้ องชายผู้น้อยที่สดุ สา กาลมกาสิ.
(อ. เรา) ย่อมไม่เพ้ อ ดังนี ้ ฯ (อ. เศรษฐี ชอื่ ว่าอนาถ บิณฑิกะ กล่าวแล้ ว)
ว่า แน่ะแม่ อ. เจ้ า ย่อมกลัวหรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. นางสุมนาเทวี กล่าวแล้ ว)
ว่า ดูก่อนน้ องชายผู้น้อยที่สดุ (อ. เรา) ย่อมไม่กลัว ดังนี ้ ฯ
ก็ อ. นางสุมนาเทวีนนั ้ ครัน้ กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำมีประมาณเท่านี ้นัน่ เทียว
ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ฯ
อ. เศรษฐีนนั ้ แม้เป็ นพระโสดาบัน มีอยู่ ไม่อาจอยู่ เพือ่ อันยังความโศก โส โสตาปนฺโนปิ สมาโน เสฏฺ€ี ธีตริ อุปปฺ นฺนโสกํ
อันเกิดขึ ้นแล้ ว ในลูกสาว ให้ อยูท่ บั (ยังบุคคล) ให้ กระท�ำแล้ ว อธิวาเสตุํ อสกฺโกนฺโต ธีตุ สรี รกิจฺจํ กาเรตฺวา
ซึง่ กิจด้ วยสรีระ ของลูกสาว ร้ องไห้ อยู่ ไปแล้ ว สูส่ ำ� นัก ของ พระศาสดา, โรทนฺโต สตฺถุ สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา, “กึ คหปติ ทุกฺขี
(ครัน้ เมื่อพระด�ำรัส) ว่า ดูก่อนคฤหบดี (อ. ท่าน) เป็ นผู้มีความทุกข์ ทุมมฺ โน อสฺสมุ โุ ข รุทมาโน อาคโตสีติ วุตฺเต,
เป็ นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว เป็ นผู้มีหน้ าอันชุม่ แล้ วด้ วยน� ้ำตา “ธีตา เม ภนฺเต สุมนาเทวี กาลกตาติ อาห.
(เป็ น) ร้ องไห้อยู่ เป็ นผู้มาแล้ว ย่อมเป็ น เพราะเหตุไร ดังนี ้ (อันพระศาสดา) “อถ กสฺมา โสจสิ, นนุ สพฺเพสํ เอกํสกิ ํ มรณนฺติ.
ตรัสแล้ ว, กราบทูลแล้ ว ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. นางสุมนาเทวี “ชานาเมตํ ภนฺเต, เอวรูปา ปน เม หิโรตฺตปฺปสมฺปนฺนา
ผู้เป็ นลูกสาว ของข้าพระองค์ เป็ นผู้มกี าละอันกระท�ำแล้ว (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ฯ ธีตา, สา มรณกาเล สตึ ปจฺจปุ ฏฺ€าเปตุํ อสกฺโกนฺตี
(อ. พระศาสดา) (ตรัสแล้ ว) ว่า ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ วิปปฺ ลปมานา มตา: เตน เม อนปฺปกํ โทมนสฺสํ
(อ. ท่าน) ย่อมเศร้ าโศก เพราะเหตุไร, อ. ความตาย (แห่งสัตว์ ท.) อุปปฺ ชฺชตีต.ิ
ทังปวง
้ เป็ นไปโดยส่วนเดียว (ย่อมเป็ น) มิใช่หรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. เศรษฐี นนั ้
กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ ผู้เจริ ญ (อ. ข้ าพระองค์) ย่อมรู้
ซึง่ ข้ อนัน่ , ส่วนว่า อ. ลูกสาว ของข้ าพระองค์ ผู้ถงึ พร้ อมแล้ วด้ วยหิริ
และโอตตัปปะ ผู้มีอย่างนี ้เป็ นรูป, อ. ลูกสาว ของข้ าพระองค์ นัน้
ไม่อาจอยู่ เพื่ออันยังสติให้ เข้ าไปตังไว้ ้ เฉพาะ ในกาลเป็ นที่ตาย เพ้ ออยู่
ตายแล้ ว; อ. ความโทมนัส มิใช่น้อย ย่อมเกิดขึ ้น แก่ข้าพระองค์
เพราะเหตุนนั ้ ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนมหาเศรษฐี ก็ (อ. ค�ำ) อะไร “กึ ปน ตาย กถิตํ มหาเสฏฺ€ีต.ิ “อหํ ตํ ภนฺเต
(อันลูกสาว ของท่าน) นัน้ กล่าวแล้ ว ดังนี ้ ฯ (อ. เศรษฐี นนั ้ กราบทูลแล้ ว) `กึ อมฺม สุมเนติ อามนฺเตสึ, อถ มํ อาห `กึ
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. ข้ าพระองค์ เรี ยกมาแล้ ว ซึง่ ลูกสาวนัน้ กนิฏฺ€ภาติกาติ; ตโต `วิปปฺ ลปสิ อมฺมาติ วุตฺเต,
ว่า แน่ะแม่ ผู้ชื่อว่าสุมนา อ. อะไร ดังนี ้, ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ `น วิปปฺ ลปามิ กนิฏฺ€ภาติกาติ; `ภายสิ อมฺมาติ,
(มีอยู)่ (อ. ลูกสาวของข้ าพระองค์ นัน) ้ กล่าวแล้ ว กะข้ าพระองค์ ว่า `น ภายามิ กนิฏฺ€ภาติกาติ; เอตฺตกํ วตฺวา
ดูก่อนน้ องชายผู้น้อยที่สดุ อ. อะไร ดังนี ้ ; ในล�ำดับนัน้ (ครัน้ เมื่อค�ำ) กาลมกาสีต.ิ
ว่า แน่ะแม่ (อ. เจ้ า) ย่อมเพ้ อหรื อ ดังนี ้ (อันข้ าพระองค์) กล่าวแล้ ว,
(อ. ลูกสาวของข้ าพระองค์นนั ้ กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนน้ องชายผู้น้อยที่สดุ
อ. เรา ย่อมเพ้ อ หามิได้ ดังนี ้ ; (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า แน่ะแม่ (อ. เจ้ า)
ย่อมกลัวหรื อ ดังนี ้ (อันข้ าพระองค์ กล่าวแล้ ว), กล่าวแล้ ว ซึง่ ค�ำ
มีประมาณเท่านี ้ ว่า ดูก่อนน้ องชายผู้น้อยที่สดุ อ. เรา ย่อมไม่กลัว ดังนี ้
ได้ กระท�ำแล้ ว ซึง่ กาละ ดังนี ้ ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสแล้ ว กะเศรษฐี นนั ้ ว่า อถ นํ ภควา อาห “น หิ เต มหาเสฏฺ€ิ ธีตา
ดูก่อนมหาเศรษฐี ก็ อ. ลูกสาว ของท่าน ย่อมเพ้ อ หามิได้ ดังนี ้ ฯ วิปปฺ ลปตีต.ิ
(อ.เศรษฐี นนั ้ ทูลถามแล้ ว) ว่า ครัน้ เมื่อความเป็ นอย่างนัน้ (มีอยู)่ “อถ กสฺมา เอวมาหาติ.
(อ. ลูกสาว) กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ เพราะเหตุไร ดังนี ้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า (อ. ลูกสาว ของท่านนัน) ้ (กล่าวแล้ ว “กนิฏฺ€ตฺตาเยว;
อย่างนี )้ เพราะความที่แห่งท่านเป็ นน้ องชายผู้น้อยที่สุดนั่นเทียว;

142 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ดูก่อนคฤหบดี ด้ วยว่า อ. ลูกสาว ของท่าน เป็ นหญิงผู้ถือเอา ธีตา หิ เต คหปติ มคฺคผเลหิ ตยา มหลฺลกิ า;
ซึง่ ความเป็ นแห่งบุคคล ผู้ใหญ่ กว่าท่าน โดยมรรคและผล ท. ตฺวํ หิ โสตาปนฺโน, ธีตา ปน เต สกทาคามินี;
(ย่อมเป็ น) ; จริ งอยู่ อ. ท่าน เป็ นโสดาบัน (ย่อมเป็ น), ส่วนว่า อ. ลูกสาว สา มคฺคผเลหิ มหลฺลกิ ตฺตา ตํ เอวมาหาติ.
ของท่าน เป็ นสกทาคามี (ย่อมเป็ น) ; (อ. ลูกสาว ของท่าน) นัน้
กล่าวแล้ ว อย่างนี ้ กะท่าน เพราะความที่แห่งตนเป็ นหญิงผู้ถือเอา
ซึง่ ความเป็ นแห่งบุคคลผู้ใหญ่ โดยมรรคและผล ท. ดังนี ้ ฯ
(อ. เศรษฐี นนั ้ ทูลถามแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ อ. อย่างนัน้ “เอวํ ภนฺเตติ.
หรื อ ดังนี ้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว) ว่า ดูก่อนคฤหบดี อ. อย่างนัน้ “เอวํ คหปตีต.ิ
ดังนี ้ ฯ (อ. เศรษฐี กราบทูลแล้ ว) ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริ ญ “อิทานิ กุหึ นิพฺพตฺตา ภนฺเตติ.
ในกาลนี ้ (อ. ลูกสาว ของข้ าพระองค์) บังเกิดแล้ ว ในที่ไหน ดังนี ้ ฯ “ตุสติ ภวเน คหปตีติ วุตฺเต,
(ครัน้ เมือ่ พระด�ำรัส) ว่า ดูกอ่ นคฤหบดี (อ. ลูกสาว ของท่าน บังเกิดแล้ ว)
ในภพชือ่ ว่าดุสติ ดังนี ้ (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ว, (อ. เศรษฐี) กราบทูลแล้ว
ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ อ. ลูกสาว ของข้าพระองค์ เทีย่ วเพลิดเพลินอยูแ่ ล้ว “ภนฺเต มม ธีตา อิธ าตกานํ อนฺตเร
ในระหว่าง แห่งญาติ ท. ในโลกนี ้ แม้ ไปแล้ ว จากโลกนี ้ บังเกิดแล้ ว นนฺทมานา วิจริตวฺ า อิโต คนฺตวฺ าปิ นนฺทนฏฺ€าเนเยว
ในที่เป็ นที่เพลิดเพลินนัน่ เทียวหรื อ ดังนี ้ ฯ นิพฺพตฺตาติ.
ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสแล้ ว กะเศรษฐี นนั ้ ว่า ดูก่อนคฤหบดี อถ นํ สตฺถา “อาม คหปติ อปฺปมตฺตา นาม
เออ (อ. อย่างนัน), ้ อ. คฤหัสถ์ ท. หรื อ หรื อว่า อ. บรรพชิต ท. ชื่อว่า คหฏฺ€า วา ปพฺพชิตา วา อิธโลเก จ ปรโลเก จ
ผู้ไม่ประมาทแล้ ว ย่อมเพลิดเพลิน ในโลกนี ้ด้ วย ในโลกอืน่ ด้ วย นัน่ เทียว นนฺทนฺตเิ ยวาติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
ดังนี ้ ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา นี ้ ว่า
(อ. บุคคล) ผูม้ ี บญ
ุ อันกระท�ำแล้ว ย่อมเพลิ ดเพลิ น “อิ ธ นนฺทติ , เปจฺจ นนฺทติ ,
ในโลกนี,้ ละไปแล้ว ย่อมเพลิ ดเพลิ น ย่อมเพลิ ดเพลิ น กตปุฺโ อุภยตฺถ นนฺทติ ,
ในโลกทัง้ สอง, (อ.บุคคลผูม้ ี บญุ อันกระท�ำแล้ว) `ปุฺํ เม กตนฺติ นนฺทติ ,
ย่อมเพลิ ดเพลิ น ว่า อ. บุญ อันเรา กระท�ำแล้ว ดังนี,้ ภิ ยฺโย นนฺทติ สุคฺคตึ คโตติ .
ไปแล้ว สู่สคุ ติ ย่อมเพลิ ดเพลิ น ยิ่ ง ดังนี ้ ฯ

(อ.อรรถ) ว่า ย่อมเพลิดเพลิน ด้ วยความเพลิดเพลินเพราะกรรม ตตฺถ “อิธาติ: อิธโลเก กมฺมนนฺทเนน นนฺทติ.


ในโลกนี ้ (ดังนี ้) ในบท ท. เหล่านันหนา ้ (แห่งบท) ว่า อิธ ดังนี ้ ฯ เปจฺจาติ: ปรโลเก วิปากนนฺทเนน นนฺทติ.
(อ.อรรถ) ว่า ย่อมเพลิดเพลิน ด้ วยความเพลิดเพลินเพราะวิบาก กตปุญโฺ ญติ: นานปฺปการสฺส ปุฺสฺส กตฺตา.
ในโลกอื่น (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า เปจฺจ ดังนี ้ ฯ (อ.อรรถ) ว่า ผู้กระท�ำ อุภยตฺถาติ: อิธ “กตํ เม กุสลํ, อกตํ เม
ซึง่ บุญ มีประการต่างๆ (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า กตปุญโฺ ญ ดังนี ้ ฯ ปาปนฺติ นนฺทติ, ปรตฺถ วิปากํ อนุภวนฺโต นนฺทติ.
(อ.อรรถ) ว่า ย่อมเพลิดเพลิน ในโลกนี ้ ว่า อ.กุศล อันเรา กระท�ำแล้ ว, ปุญญ ฺ ํ เมติ: อิธ นนฺทนฺโต ปน “ปุฺํ เม
อ.บาป อันเรา ไม่กระท�ำแล้ ว ดังนี ้, เสวยอยู่ ซึง่ วิบาก ชื่อว่า กตนฺติ โสมนสฺสมตฺตเกเนว กมฺมนนฺทนํ อุปาทาย
ย่อมเพลิดเพลิน ในโลกอื่น (ดังนี ้) (แห่งบท) ว่า อุภยตฺถ ดังนี ้ ฯ นนฺทติ.
(อ.อรรถ) ว่า ก็ (อ.บุคคลผู้มบี ญ ุ อันกระท�ำแล้ว) เมือ่ เพลิดเพลิน ในโลกนี ้ ภิยโฺ ยติ: วิปากนนฺทเนน ปน สุคตึ คโต,
ชื่อว่าย่อมเพลิดเพลิน เพราะการเข้ าไปถือเอา ซึง่ ความเพลิดเพลิน สตฺตปฺาสวสฺสโกฏิโย สฏฺ€ิฺจ วสฺสสตสหสฺสานิ
เพราะกรรม (ด้ วยเหตุ) สักว่าความโสมนัสนัน่ เทียว ว่า อ.บุญ อันเรา ทิพฺพสมฺปตฺตึ อนุภวนฺโต ตุสติ ปุเร อติวิย นนฺทตีต.ิ
กระท�ำแล้ ว ดังนี ้ (ดังนี ้) (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า ปุญญ ฺ ํ เม ดังนี ้ ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ก็ (อ.บุคคลผู้มบี ญ ุ อันกระท�ำแล้ ว) ไปแล้ ว สูส่ คุ ติ, เสวยอยู่
ซึง่ สมบัตอิ นั เป็ นทิพย์ สิ ้นโกฏิแห่งปี ๕๗ ท. ด้ วย สิ ้นแสนแห่งปี ท. ๖๐
ด้วย ชือ่ ว่าย่อมเพลิดเพลิน เกินเปรียบ ในบุรชี อื่ ว่าดุสติ ด้วยความเพลิดเพลิน
เพราะวิบาก ดังนี ้ (แห่งบท) ว่า ภิยโฺ ย ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
ในกาลเป็ นทีส่ ดุ ลงรอบแห่งพระคาถา (อ.ชน ท.) มาก เป็ นพระอริยบุคคล คาถาปริ โยสาเน พหู โสตาปนฺนาทโย อเหสุํ.
มีพระโสดาบัน เป็ นต้ น ได้ เป็ นแล้ ว ฯ อ. พระธรรมเทศนา เป็ นเทศนา มหาชนสฺส ธมฺมเทสนา สาตฺถิกา ชาตาติ.
เป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ เกิดแล้ ว แก่มหาชน ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ อง แห่ งหญิงชื่อว่ าสุมนาเทวี (จบแล้ ว) ฯ สุมนาเทวีวตฺถุ.

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 143


๑๔. อ.เรื่ องแห่ งภิกษุผ้ ูเป็ นสหายกัน ๒ รู ป ๑๔. เทฺวสหายกภิกขฺ ุวตฺถุ. (๑๔)
(อันข้ าพเจ้ า จะกล่ าว) ฯ

อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ “พหุมปฺ ิ เจ สหิตํ ภาสมาโนติ อิมํ ธมฺมเทสนํ


ซึง่ ภิกษุ ท. ผู้เป็ นสหายกัน ๒ รูป ตรัสแล้ ว ซึง่ พระธรรมเทศนา นี ้ ว่า สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต เทฺว สหายเก ภิกฺขู อารพฺภ
พหุมปฺ ิ เจ สหิตํ ภาสมาโน ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ กเถสิ.

ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ. กุลบุตร ท. ๒ ผู้อยูใ่ นเมือง สาวตฺถีวาสิโน หิ เทฺว กุลปุตฺตา สหายกา


ชื่อว่าสาวัตถีโดยปกติ เป็ นสหายกัน (เป็ น) ไปแล้ ว สูว่ ิหาร ฟั งแล้ ว วิหารํ คนฺตฺวา สตฺถุ ธมฺมเทสนํ สุตฺวา กาเม ปหาย
ซึง่ พระธรรมเทศนา ของพระศาสดา ละแล้ ว ซึง่ กาม ท. บวชแล้ ว สตฺถุ สาสเน อุรํ ทตฺวา ปพฺพชิตฺวา ปฺจ วสฺสานิ
ถวาย ซึง่ อก ในพระศาสนา ของพระศาสดา อยูแ่ ล้ ว ในส�ำนัก อาจริ ยปุ ชฺฌายานํ สนฺตเิ ก วสิตฺวา สตฺถารํ
ของพระอาจารย์ และพระอุปัชฌาย์ ท. สิ ้นปี ท. ๕ เข้ าไปเฝ้าแล้ ว อุปสงฺกมิตฺวา สาสเน ธุรํ ปุจฺฉิตฺวา วิปสฺสนาธุรฺจ
ซึง่ พระศาสดา ทูลถามแล้ ว ซึง่ ธุระ ในพระศาสนา ฟั งแล้ ว คนฺถธุรฺจ วิตฺถารโต สุตฺวา, เอโก ตาว “อหํ ภนฺเต
ซึง่ วิปัสสนาธุระด้ วย ซึง่ คันถธุระด้ วย โดยพิสดาร, (อ. ภิกษุ) รูปหนึง่ มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต น สกฺขิสฺสามิ คนฺถธุรํ
(กราบทูลแล้ว) ก่อน ว่า ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ อ. ข้าพระองค์ บวชแล้ว ปูเรตุํ, วิปสฺสนาธุรํ ปน ปูเรสฺสามีติ ยาว อรหตฺตา
ในกาลแห่งตนเป็ นคนแก่ จักไม่อาจ เพื่ออันยังคันถธุระให้ เต็ม, วิปสฺสนํ กถาเปตฺวา ฆเฏนฺโต วายมนฺโต สห
แต่วา่ (อ. ข้าพระองค์) ยังวิปัสสนาธุระ จักให้เต็ม ดังนี ้ (ยังพระศาสดา) ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณิ.
ให้ ตรัสบอกแล้ ว ซึง่ วิปัสสนา เพียงใด แต่พระอรหัต พากเพียรอยู่
พยายามอยู่ บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต กับ ด้ วยปฏิสมั ภิทา ท. ฯ

ส่วนว่า (อ. ภิกษุ) นอกนี ้ (คิดแล้ ว) ว่า อ. เรา ยังคันถธุระ อิตโร ปน “อหํ คนฺถธุรํ ปูเรสฺสามีติ อนุกกฺ เมน
จักให้เต็ม ดังนี ้ เรียนเอาแล้ว ซึง่ พระพุทธพจน์ คือประชุมแห่งปิ ฎกสาม เตปิ ฏกํ พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา คตคตฏฺ€าเน
โดยล�ำดับ ย่อมกล่าว ซึง่ ธรรม, ย่อมกล่าว กล่าวด้ วยเสียง ธมฺมํ กเถติ, สรภฺํ ภณติ ปฺจนฺนํ ภิกฺขสุ ตานํ
ในที่แห่งตนไปแล้ วและไปแล้ ว ย่อมเที่ยวบอกอยู่ ซึ่งธรรม ธมฺมํ วาเจนฺโต วิจรติ, อฏฺ€ารสนฺนํ มหาคณานํ
แก่ร้อยแห่งภิกษุ ท. ๕, เป็ นอาจารย์ ของคณะใหญ่ ท. ๑๘ อาจริ โย อโหสิ.
ได้ เป็ นแล้ ว ฯ

อ. ภิกษุ ท. เรี ยนเอาแล้ ว ซึง่ พระกัมมัฏฐาน ในส�ำนัก ภิกขฺ ู สตฺถุ สนฺตเิ ก กมฺมฏฺ€านํ คเหตฺวา อิตรสฺส
ของพระศาสดา ไปแล้ ว สูท่ ี่เป็ นอยู่ ของพระเถระ นอกนี ้ ตังอยู
้ แ่ ล้ ว เถรสฺส วสนฏฺ€านํ คนฺตฺวา ตสฺโสวาเท €ตฺวา
ในโอวาท ของพระเถระนัน้ บรรลุแล้ ว ซึง่ พระอรหัต ไหว้ แล้ ว อรหตฺตํ ปตฺวา เถรํ วนฺทติ วฺ า “สตฺถารํ ทฏฺ€ุกามมฺหาติ
ซึง่ พระเถระ ย่อมกล่าว ว่า (อ. กระผม ท.) เป็ นผู้ใคร่เพื่ออันเฝ้า วทนฺต.ิ
ซึง่ พระศาสดา ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ

อ. พระเถระ (กล่าวแล้ ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. (อ. ท่าน ท.) เถโร “คจฺฉถ อาวุโส, มม วจเนน สตฺถารํ
จงไป, อ. ท่าน ท. ถวายบังคมแล้ ว ซึง่ พระศาสดา จงไหว้ วนฺทิตฺวา อสีตมิ หาเถเร วนฺทถ, สหายกตฺเถรํ ปิ เม
ซึง่ พระเถระผู้ใหญ่ ๘๐ รูป ท. ตามค�ำ ของเรา, (อ. ท่าน ท.) จงบอก `อมฺหากํ อาจริ โย ตุมเฺ ห วนฺทตีติ วเทถาติ เปเสสิ.
แม้ กะพระเถระ ผู้เป็ นสหาย ของเรา ว่า อ. อาจารย์ ของกระผม ท.
ย่อมไหว้ ซึง่ ท่าน ท. ดังนี ้ ดังนี ้ ส่งไปแล้ ว ฯ

อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ไปแล้ ว สูว่ ิหาร (ถวายบังคมแล้ ว) เต วิหารํ คนฺตฺวา สตฺถารฺเจว อสีตมิ หาเถเร
ซึง่ พระศาสดาด้ วยนัน่ เทียว ไหว้ แล้ ว ซึง่ พระเถระผู้ใหญ่ ๘๐ รูป ท. จ วนฺทิตฺวา คนฺถิกตฺเถรสฺส สนฺตกิ ํ คนฺตฺวา “ภนฺเต
ด้ วย ไปแล้ ว สูส่ �ำนัก ของพระเถระ ผู้เรี ยนซึง่ คัมภีร์ ย่อมกล่าว ว่า อมฺหากํ อาจริ โย ตุมเฺ ห วนฺทตีติ วทนฺต.ิ
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ อ. อาจารย์ ของกระผม ท. ย่อมไหว้ ซึง่ ท่าน ท.
ดังนี ้ ฯ

144 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ก็ (ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า (อ. อาจารย์ ของท่าน ท.) นัน่ ชื่อ คือ อิตเรน จ `โก นาเมโสติ วุตฺเต, “ตุมหฺ ากํ
อ. ใคร ดังนี ้ (อันพระเถระ) นอกนี ้ กล่าวแล้ ว, (อ. ภิกษุ ท. เหล่านัน) ้ สหายกภิกฺขุ ภนฺเตติ วทนฺต.ิ
ย่อมกล่าว ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. อาจารย์ ของกระผม ท. นัน่ )
คือ อ. ภิกษุ ผู้เป็ นสหาย ของท่าน ท. ดังนี ้ ฯ
ครัน้ เมื่อพระเถระ ส่งไปอยู่ ซึง่ ข่าวสาส์น บ่อย ๆ อย่างนี ้, เอวํ เถเร ปุนปฺปนุ ํ สาสนํ ปหิณนฺเต, โส ภิกฺขุ
อ. ภิกษุนนั ้ อดกลันแล้ ้ ว สิ ้นกาล หน่อยหนึง่ ไม่อาจอยู่ เพือ่ อันอดกลัน้ โถกํ กาลํ สหิตฺวา อปรภาเค สหิตํุ อสกฺโกนฺโต,
ในกาลอันเป็ นส่วนอืน่ อีก, (ครันเมื ้ อ่ ค�ำ) ว่า อ. อาจารย์ ของกระผม ท. “อมฺหากํ อาจริโย ตุมเฺ ห วนฺทตีติ วุตเฺ ต, “โก เอโสติ
ย่อมไหว้ ซึง่ ท่าน ท. ดังนี ้ (อันภิกษุ ท. เหล่านัน) ้ กล่าวแล้ ว, วตฺวา, “ตุมฺหากํ สหายกภิกฺขุ ภนฺเตติ วุตฺเต, “กึ ปน
กล่าวแล้ ว ว่า (อ. อาจารย์ ของท่าน ท.) นัน่ คือ อ. ใคร ดังนี ้, ตุมเฺ หหิ ตสฺส สนฺตเิ ก อุคฺคหิตํ: กึ ทีฆนิกายาทีสุ
(ครัน้ เมื่อค�ำ) ว่า ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ (อ. อาจารย์ ของกระผม ท.) อฺตโร นิกาโย, กึ ตีสุ ปิ ฏเกสุ เอกํ ปิ ฏกนฺติ
คือ อ. ภิกษุ ผู้เป็ นสหาย ของท่าน ท. ดังนี ้ (อันภิกษุ ท. เหล่านัน) ้ วตฺวา, “จตุปปฺ ทิกํปิ คาถํ น ชานาติ, ปํ สุกลู ํ
กล่าวแล้ ว, กล่าวแล้ ว ว่า ก็ อ. อะไร อันท่าน ท. เรี ยนเอาแล้ ว คเหตฺวา ปพฺพชิตกาเลเยว อรฺํ ปวิฏฺโ€,
ในส�ำนัก ของภิกษุนนั ้ : (ในนิกาย ท.) มีทีฆนิกายเป็ นต้ นหนา พหู วต อนฺเตวาสิเก ลภิ, ตสฺส อาคตกาเล มยา
อ. นิกาย อย่างใดอย่างหนึง่ (อันท่าน ท. เรี ยนเอาแล้ ว) หรื อ, ปฺหํ ปุจฺฉิตํุ วฏฺฏตีติ จินฺเตสิ.
ในปิ ฎก ท. สามหนา อ. ปิ ฎก อย่างหนึง่ (อันท่าน ท. เรี ยนเอาแล้ ว)
หรื อ ดังนี ้, คิดแล้ ว ว่า (อ. ภิกษุนน) ั ้ ย่อมไม่ร้ ู ซึง่ คาถา
แม้ อนั ประกอบแล้ วด้ วยบท ๔, (อ. ภิกษุนน) ั ้ ถือเอาแล้ ว ซึง่ ผ้ าบังสุกลุ
เข้ าไปแล้ ว สูป่ ่ า ในกาลแห่งตนบวชแล้ วนัน่ เทียว, ได้ แล้ ว
ซึ่งอันเตวาสิก ท. มากหนอ, อ.อันอันเรา ถามซึ่งปั ญหา
ในกาลแห่งภิกษุนนมาแล้ ั้ ว ย่อมควร ดังนี ้ ฯ
ในกาลอันเป็ นส่วนอื่นอีก อ. พระเถระ มาแล้ ว เพื่ออันเฝ้า อปรภาเค เถโร สตฺถารํ ทฏฺ€ุํ อาคโต,
ซึง่ พระศาสดา, เก็บแล้ ว ซึง่ บาตรและจีวร ในส�ำนัก ของพระเถระ สหายกตฺเถรสฺส สนฺตเิ ก ปตฺตจีวรํ €เปตฺวา คนฺตฺวา
ผู้เป็ นสหาย ไปแล้ ว (ถวายบังคมแล้ ว) ซึง่ พระศาสดาด้ วยนัน่ เทียว สตฺถารฺเจว อสีตมิ หาเถเร จ วนฺทิตฺวา
ไหว้ แล้ ว ซึง่ พระเถระผู้ใหญ่ ๘๐ รูป ท. ด้ วย กลับมาแล้ ว สหายกตฺเถรสฺส วสนฏฺ€านํ ปจฺจาคมิ.
สูท่ ี่เป็ นที่อยู่ ของพระเถระผู้เป็ นสหาย ฯ
ครัง้ นัน้ อ. พระเถระผู้เป็ นสหายนัน้ (ยังบุคคล) ให้ กระท�ำแล้ ว อถสฺส โส วตฺตํ กาเรตฺวา สมปฺปมาณํ อาสนํ
ซึง่ วัตร แก่พระเถระนัน้ ถือเอาแล้ ว ซึง่ อาสนะ มีประมาณ เสมอกัน คเหตฺวา “ปฺหํ ปุจฺฉิสฺสามีติ นิสีทิ.
นัง่ แล้ ว (ด้ วยความคิด) ว่า อ. เรา จักถาม ซึง่ ปั ญหา ดังนี ้ ฯ
ในขณะนัน้ อ. พระศาสดา (ทรงด�ำริ แล้ ว) ว่า อ. ภิกษุนนั่ ตสฺมึ ขเณ สตฺถา “เอส เอวรูปํ มม ปุตฺตํ
เบียดเบียนแล้ ว ซึง่ บุตร ของเรา ผู้มอี ย่างนี ้เป็ นรูป พึงบังเกิด ในนรก วิเหเ€ตฺวา นิรเย นิพฺพตฺเตยฺยาติ ตสฺมึ อนุกมฺปาย
ดังนี ้ เป็ นราวกะว่าเสด็จเที่ยวไปอยู่ สูท่ ี่จาริ ก ในวิหาร (เป็ น) วิหารจาริ กํ จรนฺโต วิย เตสํ นิสนิ ฺนฏฺ€านํ คนฺตฺวา
เสด็จไปแล้ ว สูท่ ี่แห่งภิกษุ ท. เหล่านันนั ้ ง่ แล้ ว เพื่อทรงอนุเคราะห์ ปฺตฺเต พุทฺธาสเน นิสีทิ.
ในภิกษุนนั ้ ประทับนัง่ แล้ ว บนพุทธอาสน์ อันบุคคลปูลาดแล้ ว ฯ
จริ งอยู่ อ. ภิกษุ ท. เมื่อนัง่ ในที่นนั ้ ๆ ปูลาดแล้ ว ซึง่ พุทธอาสน์ ตตฺถ ตตฺถ นิสที นฺตา หิ ภิกฺขู พุทฺธาสนํ
เทียว ย่อมนัง่ ฯ ปฺาเปตฺวา ว นิสีทนฺต.ิ
เพราะเหตุนนั ้ อ.พระศาสดา ประทับนัง่ แล้ ว บนอาสนะ เตน สตฺถา ปกติปฺตฺเตเยว อาสเน นิสีทิ.
อันบุคคลปูลาดแล้ วตามปกตินนั่ เทียว ฯ ก็แล (อ. พระศาสดา) นิสชฺช โข ปน คนฺถิกภิกฺขํุ ป€มชฺฌาเน ปฺหํ
ครัน้ ประทับนัง่ แล้ ว ตรัสถามแล้ ว ซึง่ ปั ญหา ในฌานที่ ๑ กะภิกษุ ปุจฺฉิตฺวา, ตสฺมึ อกถิเต, ทุตยิ ชฺฌานํ อาทึ กตฺวา
ผู้เรี ยนซึง่ คัมภีร์, ครัน้ เมื่อปั ญหานัน้ (อันภิกษุผ้ เู รี ยนซึง่ คัมภีร์นน) ั้ อฏฺ€สุปิ สมาปตฺตีสุ รูปารูเปสุ ปฺหํ ปุจฺฉิ.
ไม่กราบทูลแล้ ว, ตรัสถามแล้ ว ซึง่ ปั ญหา ในสมาบัติ ท. แม้ ๘
อันมีรูปและหารูปมิได้ กระท�ำ ซึง่ ฌานที่ ๒ ให้ เป็ นต้ น ฯ
อ. พระเถระผู้เรี ยนซึง่ คัมภีร์ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออันกราบทูล คนฺถิกตฺเถโร เอกํปิ กเถตุํ นาสกฺขิ. อิตโร ตํ
(ซึง่ ปั ญหา) แม้ ข้อหนึง่ ฯ อ. พระเถระ นอกนี ้ กราบทูลแล้ ว สพฺพํ กเถสิ. อถ นํ โสตาปตฺตมิ คฺเค ปฺหํ ปุจฺฉิ.
ซึง่ ปั ญหานัน้ ทังปวง ้ ฯ ครัง้ นัน้ (อ. พระศาสดา) ตรัสถามแล้ ว คนฺถิกตฺเถโร กเถตุํ นาสกฺขิ.
ซึง่ ปั ญหา ในโสดาปั ตติมรรค กะพระเถระผู้เรี ยนซึง่ คัมภีร์นนั ้ ฯ
อ. พระเถระผู้เรี ยนซึง่ คัมภีร์ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออันกราบทูล ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 145


ในล�ำดับนัน้ (อ. พระศาสดา) ตรัสถามแล้ ว ซึง่ พระเถระผู้เป็ น ตโต ขีณาสวตฺเถรํ ปุจฺฉิ. เถโร กเถสิ.
พระขีณาสพ ฯ อ. พระเถระ กราบทูลแล้ ว ฯ อ. พระศาสดา ทรง สตฺถา “สาธุ สาธูติ อภินนฺทิตฺวา เสสมคฺเคสุปิ
เพลิดเพลินเฉพาะแล้ ว ว่า อ. ดีละ อ. ดีละ ดังนี ้ ตรัสถามแล้ ว ซึง่ ปฏิปาฏิยา ปฺหํ ปุจฺฉิ. คนฺถิกตฺเถโร เอกํปิ
ปั ญหา แม้ ในมรรคอันเหลือ ท. โดยล�ำดับ ฯ อ. พระเถระผู้เรี ยนซึง่ กเถตุํ นาสกฺขิ. ขีณาสโว ปน ปุจฺฉิตปุจฺฉิตํ กเถสิ.
คัมภีร์ ไม่ได้ อาจแล้ ว เพื่ออันกราบทูล ซึง่ ปั ญหา แม้ ข้อหนึง่ ฯ ส่วน สตฺถา จตูสปุ ิ €าเนสุ ตสฺส สาธุการํ อทาสิ.
ว่า อ. พระขีณาสพ กราบทูลแล้ ว (ซึง่ ปั ญหา) (อันพระศาสดา)
ตรัสถามแล้ วและตรัสถามแล้ ว ฯ อ. พระศาสดา ได้ ประทานแล้ ว
ซึง่ สาธุการ แก่พระขีณาสพนัน้ ในฐานะ ท. แม้ ๔ ฯ

อ. เทวดา ท. ทังปวง ้ กระท�ำ ซึง่ เทพผู้ด�ำรงอยู่ ตํ สุตวฺ า ภุมมฺ เทเว อาทึ กตฺวา ยาว พฺรหฺมโลกา
ที่ภาคพื ้น ท. ให้ เป็ นต้ น เพียงใด แต่พรหมโลก ด้ วยนัน่ เทียว สพฺพา เทวตา เจว นาคสุปณฺณา จ สาธุการํ
อ. นาคและครุฑ ท. ด้ วย ฟั งแล้ ว ซึง่ สาธุการนัน้ ได้ ให้ แล้ ว อทํส.ุ
ซึง่ สาธุการ ฯ

อ. อันเตวาสิก ท. ด้ วยนัน่ เทียว อ. สัทธิวิหาริ ก ท. ด้ วย ตํ สาธุการํ สุตฺวา ตสฺส อนฺเตวาสิกา เจว


ของพระเถระผู้เรียนซึง่ คัมภีร์นนั ้ ฟั งแล้ ว ซึง่ สาธุการนัน้ ยกโทษแล้ ว สทฺธิวิหาริ โน จ สตฺถารํ อุชฺฌายึสุ “กึ นาเมตํ
ซึง่ พระศาสดา ว่า อ. กรรมนัน่ ชือ่ อะไร อันพระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ว : สตฺถารา กตํ: กิฺจิ อชานนฺตสฺส มหลฺลกตฺเถรสฺส
(อ. พระศาสดา) ได้ประทานแล้ว ซึง่ สาธุการ ในฐานะ ท.๔ แก่พระเถระ จตูสุ €าเนสุ สาธุการํ อทาสิ, อมฺหากํ ปนาจริ ยสฺส
ผู้แก่ ผู้ไม่ร้ ูอยู่ ซึง่ เรื่องอะไร ๆ, แต่วา่ (อ. พระศาสดา) ไม่ทรงกระท�ำแล้ว สพฺพปริยตฺตธิ รสฺส ปฺจนฺนํ ภิกขฺ สุ ตานํ ปาโมกฺขสฺส
(ซึง่ เหตุ) แม้ สกั ว่าความสรรเสริ ญ แก่อาจารย์ ของเรา ท. ผู้ทรงไว้ ปสํสามตฺตํปิ น กรี ต.ิ
ซึง่ ปริ ยตั ทิ งปวง
ั้ ผู้เป็ นหัวหน้ าโดยความเป็ นประธาน แห่งร้ อย
แห่งภิกษุ ท. ๕ ดังนี ้ ฯ

ครัง้ นัน้ อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ ว ซึง่ ภิกษุ ท. เหล่านัน้ ว่า อถ เน สตฺถา “กินฺนาเมตํ ภิกฺขเว กเถถาติ
ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. เธอ ท.) ย่อมกล่าว ซึง่ ค�ำนัน่ ชื่ออะไร ดังนี ้, ปุจฺฉิตฺวา, ตสฺมึ อตฺเถ อาโรจิเต, “ภิกฺขเว ตุมหฺ ากํ
ครัน้ เมื่อเนื ้อความนัน้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ ว, ตรัสแล้ ว ว่า อาจริ โย มม สาสเน ภติยา คาโว รกฺขนสทิโส,
ดูกอ่ นภิกษุ ท. อ. อาจารย์ ของเธอ ท. เป็ นเช่นกับด้ วยบุคคลผู้รักษา มยฺหํ ปน ปุตฺโต ยถารุจิยา ปฺจโครเส
ซึง่ โค ท. เพื่อค่าจ้ าง ในศาสนา ของเรา (ย่อมเป็ น), ส่วนว่า ปริ ภ
ุ ฺชนกสามิสทิโสติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
อ. บุตร ของเรา เป็ นเช่นกับด้ วยเจ้ าของผู้บริโภค ซึง่ รสของโค ๕ ท.
ตามความชอบใจอย่างไร (ย่อมเป็ น) ดังนี ้ ได้ตรัสแล้ว ซึง่ พระคาถา ท.
เหล่านี ้ ว่า

หากว่า อ. นระ ผูป้ ระมาทแล้ว กล่าวอยู่ (ซึ่งพระพุทธพจน์) “พหุมฺปิ เจ สหิ ตํ ภาสมาโน


อันเป็ นไปกับด้วยประโยชน์เกื อ้ กูล แม้มาก เป็ นผูก้ ระท�ำ น ตกฺกโร โหติ นโร ปมตฺโต,
ซึ่งพระพุทธพจน์นนั้ ย่อมเป็ น หามิ ได้ไซร้, (อ. นระนัน้ ) โคโปว คาโว คณยํ ปเรสํ
เป็ นผูม้ ี ส่วน แห่งคุณเครื ่องความเป็ นแห่งสมณะ ย่อมเป็ น น ภาควา สามฺสฺส โหติ .
หามิ ได้ เพียงดัง (อ. บุคคล) ผูร้ กั ษาซึ่งโค นับอยู่ ซึ่งโค ท. อปฺปมฺปิ เจ สหิ ตํ ภาสมาโน
ของชน ท. เหล่าอืน่ ฯ หากว่า (อ.นระ) กล่าวอยู่ ธมฺมสฺส โหติ อนุธมฺมจารี
(ซึ่งพระพุทธพจน์) อันเป็ นไปกับด้วยประโยชน์เกื อ้ กูล ราคฺจ โทสฺจ ปหาย โมหํ
แม้นอ้ ย เป็ นผูป้ ระพฤติ ซึ่งธรรมอันสมควรแก่ธรรมโดยปกติ สมฺมปฺปชาโน สุวิมตุ ฺตจิ ตฺโต
ย่อมเป็ นไซร้, (อ. นระ) นัน้ ละแล้ว ซึ่งราคะด้วย ซึ่งโทสะด้วย อนุปาทิ ยาโน อิ ธ วา หุรํ วา,
ซึ่งโมหะด้วย รู้ทวั่ โดยชอบอยู่ มี จิตหลุดพ้น วิ เศษดีแล้ว ส ภาควา สามฺสฺส โหตีติ.
ไม่ยึดมัน่ อยู่ ในโลกนีห้ รื อ หรื อว่าในโลกอืน่ เป็ นผูม้ ี ส่วน
แห่งคุณเครื ่องความเป็ นแห่งสมณะ ย่อมเป็ น ดังนี ้ ฯ

146 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


ในบท ท. เหล่านันหนา
้ อ.บทนัน่ ว่า สหิตํ ดังนี ้ ตตฺถ “สหิตนฺติ เตปิ ฏกสฺส พุทฺธวจนสฺเสตํ
เป็ นชื่อ ของพระพุทธพจน์ คือประชุมแห่งปิ ฎก ๓ (ย่อมเป็ น), นามํ,

อ.ชน เข้าไปหาแล้ว ซึง่ อาจารย์ ท. เรียนแล้ว ซึง่ พระพุทธพจน์ ตํ อาจริเย อุปสงฺกมิตวฺ า อุคคฺ ณฺหติ วฺ า พหุมปฺ ิ
นัน้ ชี ้แจงอยู่ คือว่า บอกอยู่ คือว่า กล่าวอยู่ ซึง่ พระพุทธพจน์ ปเรสํ ภาสมาโน วาเจนฺโต กเถนฺโต, ตํ ธมฺมํ สุตวฺ า
แม้ มาก แก่ชน ท. เหล่าอื่น เป็ นผู้กระท�ำซึง่ - อ. กิจใด อันบุคคล ยํ การเกน ปุคฺคเลน กตฺตพฺพํ, ตกฺกโร น โหติ,
ผู้กระท�ำ ฟั งแล้ ว ซึง่ ธรรมนัน้ พึงท�ำ - กิจนัน้ ย่อมเป็ น หามิได้ กุกฺกฏุ สฺส ปกฺขปหรณมตฺตมฺปิ อนิจฺจาทิวเสน
คือว่า ยังการท�ำไว้ในใจด้วยสามารถแห่งลักษณะ มีอนิจจลักษณะ มนสิการํ นปฺปวตฺเตสิ; เอโส, ยถา นาม ทิวเส
เป็ นต้ น ไม่ให้ เป็ นไปแล้ ว สิ ้นกาลแม้ สกั ว่าการปรบซึง่ ปี กแห่งไก่ ภติยา คาโว รกฺขนฺโต โคโป ปาโตว สมฺปฏิจฉฺ ติ วฺ า
อ.ชนนัน่ เป็ นผู้มีสว่ น แห่งผลสักว่าอันกระท�ำซึง่ วัตรและวัตรตอบ สายํ คเณตฺวา สามิกานํ นิยยฺ าเทตฺวา ทิวสภติมตฺตํ
จากส�ำนักของอันเตวาสิก ท. อย่างเดียว ย่อมเป็ น แต่วา่ อ.ชนนัน้ คณฺหาติ, ยถารุจิยา ปน ปฺจโครเส ปริ ภ ุ ฺชิตํุ
เป็ นผู้มสี ว่ น แห่งคุณเครื่องความเป็ นแห่งสมณะ ย่อมเป็ น หามิได้ น ลภติ; เอวเมว เกวลํ อนฺเตวาสิกานํ สนฺติกา
- อ.บุคคลผู้รักษาซึง่ โคเพือ่ ค่าจ้ างในวัน ชือ่ ว่าผู้รักษาซึง่ โค รับแล้ ว วตฺตปฏิวตฺตกรณมตฺตสฺส ภาคี โหติ, สามฺสฺส
(ซึง่ โค ท.) แต่เช้ าเทียว นับแล้ ว (ซึง่ โค ท.) มอบให้ แล้ ว (ซึง่ โค ท.) ปน ภาคี น โหติ.
แก่เจ้ าของ ท. รับอยู่ ซึง่ วัตถุสกั ว่าค่าจ้ างในวัน ในเวลาเย็น
แต่ว่า อ.บุคคลผู้รักษาซึ่งโคนัน้ ย่อมไม่ได้ เพื่ออันบริ โภค
ซึง่ รสอันเกิดแล้ วแต่โค ๕ ท. ตามความชอบใจอย่างไร ชื่อฉันใด
- ฉันนันนั ้ น่ เทียว ฯ

เหมือนอย่างว่า อ.เจ้ าของแห่งโค ท. เทียว ย่อมบริ โภค ซึง่ รส ยถา ปน โคปาลเกน นิยฺยาทิตานํ คุนฺนํ
อันเกิดแล้วแต่โค ๕ แห่งโค ท. ตัวอันบุคคลผู้รกั ษาซึง่ โค มอบให้แล้ว ปฺจโครสํ โคสามิกาว ปริ ภ
ุ ฺชนฺต;ิ ตถา เตน
ฉันใด อ.บุคคลผู้กระท�ำ ท. ฟังแล้ว ซึง่ ธรรม อันอันชนนัน้ กล่าวแล้ว กถิตํ ธมฺมํ สุตฺวา การกปุคฺคลา ยถานุสฏิ ฺ €ํ
ปฏิบตั แิ ล้ ว ตามโอวาทอันชนนันสอนแล้ ้ วอย่างไร, อ.บุคคล ปฏิปชฺชิตฺวา, เกจิ ป€มชฺฌานาทีนิ ปาปุณนฺติ,
ผู้กระท�ำ ท. บางพวก ย่อมบรรลุ ซึง่ ฌาณ ท. มีปฐมฌาณเป็ นต้ น เกจิ วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา มคฺคผลานิ ปาปุณนฺติ,
อ.บุคคลผู้กระท�ำ ท. บางพวก ยังวิปัสสนา ท. ให้ เจริ ญแล้ ว โคสามิกา โครสสฺเสว, สามฺสฺส ภาคิโน โหนฺติ.
ย่อมบรรลุซงึ่ มรรคและผล ท. ฉันนัน้ อ.บุคคลผู้กระท�ำ ท.
เหล่านัน้ เป็ นผู้มสี ว่ นแห่งคุณเครื่องความเป็ นแห่งสมณะ ย่อมเป็ น
เพียงดัง อ.เจ้ าของแห่งโค ท. เป็ นผู้มสี ว่ นแห่งรส อันเกิดแล้ วแต่โค
เป็ นอยู่ ฯ

อ.พระศาสดา ตรัสแล้ ว ซึง่ พระคาถา ที่หนึง่ ด้ วยสามารถ อิติ สตฺถา สีลสมฺปนฺนสฺส พหุสฺสตุ สฺส
แห่งภิกษุ ผู้ถงึ พร้ อมแล้ วด้ วยศีล ผู้มสี ตุ ะมาก ผู้มอี นั อยูด่ ้ วยความ ปมาทวิหาริ โน อนิจฺจาทิวเสน โยนิโสมนสิกาเร
ประมาทเป็ นปกติ ผู้ไม่ประพฤติแล้ ว ในการท�ำไว้ ในใจโดยอุบาย อปฺปวตฺตสฺส ภิกฺขโุ น วเสน ป€มํ คาถํ กเถสิ,
อันแยบคาย ด้ วยสามารถแห่งลักษณะมีอนิจจลักษณะเป็ นต้ น น ทุสฺสีลสฺส.
ตรัสแล้ ว ด้ วยสามารถแห่งภิกษุผ้ มู ีศีลอันโทษประทุษร้ ายแล้ ว
หามิได้ ด้ วยประการดังนี ้ ฯ

ส่วนว่า อ.พระคาถาทีส่ อง (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ว ด้วยอ�ำนาจ ทุตยิ คาถา ปน อปฺปสฺสตุ สฺสาปิ โยนิโสมนสิกาเร
แห่งบุคคลผู้กระท�ำ แม้ ผ้ มู ีสตุ ะน้ อย ผู้กระท�ำอยู่ ซึง่ กรรม กมฺมํ กโรนฺตสฺส การกปุคฺคลสฺส วเสน กถิตา.
ในการกระท�ำไว้ ในใจโดยแยบคาย ฯ
(อ.อรรถ) ว่า หน่อยหนึง่ คือว่า แม้ มีวรรคหนึง่ และวรรคสอง ตตฺถ “อปฺปมฺปิ เจติ: โถกํ เอกวคฺคทฺวิวคฺคมตฺตมฺปิ.
เป็ นประมาณ (ดังนี ้) ในบท ท. เหล่านันหนา ้ (แห่งบท) ว่า
อปฺปมฺปิ เจ ดังนี ้ ฯ

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 147


(อ.อรรถ) ว่า (อ.นระ) รู้ทวั่ แล้ ว ซึง่ อรรถ รู้ทวั่ แล้ ว ซึง่ ธรรม ธมฺมสฺส โหติ อนุธมฺมจารี ต:ิ อตฺถมฺาย
ประพฤติอยู่ ซึง่ ธรรม อันสมควร แก่ธรรมอันเป็ นโลกุตตระ ๙ ธมฺมมฺาย นวโลกุตฺตรธมฺมสฺส อนุรูปํ ธมฺมํ
คือว่า (ซึง่ ธรรม) อันต่างด้ วยธรรมมีปาริ สทุ ธิศีล ๔ และธุดงค์และ ปุพฺพภาคปฏิปทาสงฺ ขาตํ จตุปาริ สุทฺธิสีลธุตงฺ ค-
อสุภกัมมัฏฐานเป็ นต้ น อันอันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ วว่าปฏิปทา อสุภกมฺมฏฺ€านาทิเภทํ จรนฺโต อนุธมฺมจารี โหติ
อันเป็ นส่วนเบื ้องต้ น ชื่อว่าเป็ นผู้ประพฤติ ซึง่ ธรรมอันสมควร “อชฺช อชฺเชวาติ ปฏิเวธํ อากงฺขนฺโต วิจรติ; โส
โดยปกติ ย่อมเป็ น คือว่า หวังอยู่ ซึง่ อันรู้ตลอด ว่า (อ.เรา จักรู้ตลอด) อิมาย สมฺมาปฏิปตฺติยา ราคฺจ โทสฺจ ปหาย
ในวันนี ้ (อ.เรา จักรู้ตลอด) ในวันนี ้นัน่ เทียว ดังนี ้ ชือ่ ว่าย่อมประพฤติ โมหํ, สมฺมา เหตุนา นเยน ปริ ชานิตพฺพธมฺเม
(ซึง่ ธรรม); อ.นระนัน้ ละแล้ ว ซึง่ ราคะด้ วย ซึง่ โทสะด้ วย ซึง่ โมหะ ปริ ชานนฺโต, ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธิ-
ด้วย ด้วยการปฏิบตั ชิ อบ นี ้, ก�ำหนดรู้อยู่ ซึง่ ธรรมอันตนพึงก�ำหนดรู้ ท. นิสฺสรณวิมตุ ฺตีนํ วเสน สุวิมตุ ฺตจิตฺโต, อนุปาทิยาโน
โดยชอบ คือว่า โดยเหตุ คือว่า โดยนัย, มีจิตหลุดพ้ นวิเศษดีแล้ ว อิธ วา หุรํ วา, อิธโลกปรโลเก ปริ ยาปนฺนา วา
ด้ วยอ�ำนาจแห่งตทังควิมตุ ติและวิกขัมภนวิมตุ ติและสมุจเฉทวิมตุ ติ อชฺฌตฺตกิ พาหิรา วา ขนฺธายตนธาตุโย จตูหิ
และปฏิปัสสัทธิวมิ ตุ ติและนิสสรณวิมตุ ติ ท., ไม่ยดึ มัน่ อยู่ ในโลกนี ้ อุปาทาเนหิ อนุปาทิยนฺโต มหาขีณาสโว,
หรื อ หรื อว่าในโลกอื่น, คือว่า ไม่เข้ าไปยึดมัน่ อยู่ ซึง่ ขันธ์และ มคฺคสงฺขาตสฺส สามฺสฺส วเสน อาคตสฺส
อายตนะและธาตุ ท. อันนับเนื่องแล้ ว ในโลกนี ้และโลกอื่นหรื อ ผลสามฺสฺส เจว ปฺจอเสขธมฺมกฺขนฺธสามฺสฺส
หรื อว่าอันเป็ นไปในภายในและมีในภายนอก ด้ วยอุปาทาน ท. ๔ จ ภาควา โหตีติ.
ชื่อว่าผู้เป็ นมหาขีณาสพ, เป็ นผู้มีสว่ น แห่งคุณเครื่ องความเป็ น
แห่งสมณะคือผล อันมาแล้ ว ด้ วยอ�ำนาจ แห่งคุณเครื่ องความเป็ น
แห่งสมณะ อันอันบัณฑิตนับพร้ อมแล้ วว่ามรรค ด้ วยนัน่ เทียว
แห่งคุณเครื่องความเป็ นแห่งสมณะคือกองแห่งธรรมของพระอเสขะ
๕ ด้ วย ย่อมเป็ น ดังนี ้ (แห่งบาทแห่งพระคาถา) ว่า ธมฺมสฺส โหติ
อนุธมฺมจารี ดังนี ้เป็ นต้ น ฯ
(อ.พระศาสดา) ทรงถือเอาแล้ว ซึง่ ยอด แห่งเทศนา ด้วยพระอรหัต รตนกูเฏน วิย อคารสฺส, อรหตฺเตน เทสนาย
ราวกะ (อ.นายช่าง ถือเอาอยู่ ซึง่ ยอด) แห่งเรือน ด้ วยยอดแห่งรัตนะ กูฏํ คณฺหีต.ิ
ดังนี ้แล ฯ
ในกาลเป็ นที่สดุ ลงรอบแห่งพระคาถา (อ.ชน ท.) มาก คาถาปริ โยสาเน พหู โสตาปนฺนาทโย อเหสุํ.
เป็ นพระอริ ยบุคคลมีพระโสดาบันเป็ นต้ น ได้ เป็ นแล้ ว ฯ เทสนา มหาชนสฺส สาตฺถิกา ชาตาติ.
อ. เทศนา เป็ นเทศนาเป็ นไปกับด้ วยวาจามีประโยชน์ เกิดแล้ ว
แก่มหาชน ดังนี ้แล ฯ

อ. เรื่ องแห่ งภิกษุผ้ ูเป็ นสหายกัน ๒ รู ป (จบแล้ ว) ฯ เทฺวสหายกภิกขฺ ุวตฺถุ.

อ.กถาเป็ นเครื่ องพรรณาซึ่งเนือ้ ความแห่ งวรรค ยมกวคฺควณฺณนา นิฏฺฐิตา.


อันบัณฑิตก�ำหนดแล้ วด้ วยเรื่ องอันเป็ นคู่ จบแล้ ว ฯ

อ.วรรคที่หนึ่ง (จบแล้ ว) ฯ ปฐโม วคฺโค.

148 ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี


บรรณานุกรม

พระพุทธโฆษาจารย์ ธมฺมปทฏฺฐกถา ปฐโม ภาโค . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย .๒๕๒๘


พระอมรมุนี คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์ แปล ภาค ๑ . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย .๒๕๒๘.
คณะกรรมการแผนกต�ำรามหามกุฏราชวิทยาลัย พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๑ .
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย ๒๕๒๘ .
คณาจารย์โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย สู ตรส� ำเร็จ บาลีไวยากรณ์ .
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์สุขขุมวิทการพิมพ์ จ�ำกัด . ๒๕๕๔ .
พระวิสุทธิสมโพธิ ปทานุกรมกิริยาอาขยาต . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมบรรณาคาร . ๒๕๒๐.
พระมหาส�ำลี วิสุทฺโธ อักขรานุกรมกิริยาอาขยาต . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียงจงเจริ ญ . ๒๕๒๘.
ป.หลงสมบุญ พจนานุกรม มคธ -ไทย . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์บริ ษทั ธรรมสาร จ�ำกัด . ๒๕๔๖
สนามหลวงแผนกบาลี ปัญหาและเฉลยประโยคบาลีสนามหลวง . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา .
ดร.อุทิส สิ ริวรรณ ธรรมบท ภาคที่ ๑ แปลโดยพยัญชนะ . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง . ๒๕๕๐.
บุญสื บ อินสาร ธรรมบท ภาคที่ ๑ แปลโดยพยัญชนะ . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งนครการพิมพ์ . ๒๕๔๖.
กองพุทธศาสนศึกษา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ธรรมปทัฏฐกถา ภาค ๑ แปลโดยพยัญชนะ .
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา . ๒๕๕๖.

ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 149

You might also like