You are on page 1of 32

บทบาทของนิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรีที่มีต่อชุมชน:

กรณีศึกษาที่บ้านมุง จังหวัดพิษณุโลก และพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี


The Roles of Nang Sip Song (The Twelve Sisters) - Phra Rot Meri
in Communities:์ A Case Study of Ban Mung, Phitsanulok

าสต and Phanat Nikhom, Chonburi
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว รัตนพล ชื่นค้า
Rattanaphon Chuenka
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
๓๑๘ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

บทคัดย่อ

บทความวิจั ยนี้มุ่ งศึกษาบทบาทของนิ ทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรี ที่มี ต่อชุ มชน


กรณี ศึก ษาที่ ต าบลบ้ านมุ ง อ าเภอเนิ น มะปราง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก และที่ อ าเภอพนั ส นิ ค ม
จังหวัดชลบุรี ในฐานะนิทานประจาถิ่น จากการศึกษาข้อมูลเอกสารและเก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อ
พ.ศ.๒๕๕๙-พ.ศ.๒๕๖๐
ผลการศึกษาพบว่า บทบาทสาคัญของนิทานเรื่องดังกล่าวที่มีต่อชุมชน ได้แก่ ๑. บทบาท
ด้านการแสดงอัตลักษณ์ของชุมชน โดยบรรพบุรุษชาวบ้านมุงและชาวพนัสนิคมมีเชื้อสายลาว
(ลาวเวียง) การถ่ายทอดนิทานเรื่องดังกล่าวเป็นการแสดงอัตลักษณ์ในฐานะสมบัติร่วมของชุมชน
ลาวอพยพ ๒. บทบาทด้านการเป็นที่พึ่งทางจิตใจ ปรากฏอย่างเด่นชัดที่อาเภอพนัสนิคม จังหวัด
ชลบุรี ผ่านศาลศักดิ์สิทธิ์และรูปเคารพที่สร้างจากตัวละครในนิทาน ๓. บทบาทด้านการท่องเที่ยว
ชาวบ้านมุงและชาวพนัสนิคมผูกโยงชื่อสถานที่สาคัญๆ กับนิทานเรื่องดังกล่าว และมีการพัฒนา
สถานที่เหล่านั้นเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของชุมชน บทบาททั้ง ๓ ประการ ทาให้นิทานเรื่องนาง
สิบสอง-พระรถเมรีเป็นนิทานประจาถิ่นที่เชื่อมโยงผูกพันกับชุมชนทั้งสองอย่างแน่นแฟ้น
คำสำคัญ: นิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรี; นิทานประจาถิ่น; บทบาทของนิทาน

Abstract
ต ร ์
This research article aims to study าส
รศ the roles of Nang Sip Song (The Twelve
ษ ต
Sisters)-Phra Rot Meri as the regional
ล ย
ั เก tale of two selected communities, which are
Ban Mung, Phitsanulok, and Phanat
ว ท
ิ ยา Nikhom, Chonburi. The research was conducted
หา
both through the study of manuscripts and actual field trips between 2016 and 2017.

ิ ัล ม
The findings
ม ร ู้ดิจshow that the tale contributes to the studied communities through
ว า 1) The role as an identity-unifier: people of both Ban Mung and
three main roles.

คลัง are descendants of the Lao Wiang and therefore the tale acts as a
Phanat Nikhom
shared literary treasure between two Lao emigrant communities. 2) The role as a
หมดอายุ
spiritual anchor: this is particularly evident in Phanat Nikhom, Chonburi, วันทีsacred
where ่ 21-07-2565
shrines and icons were built based on the characters from the tale. 3) The role in
tourism: the people of Ban Mung and Phanat Nikhom name important landmarks after
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๑๙

the names found in the tale, turning such places into tourist destinations of the
communities in the process. These three roles prove that Nang Sip Song-Phra Rot
Meri is a regional tale closely intertwined with both communities.

Keywords: Nang Sip Song (The Twelve Sisters)-Phra Rot Meri; regional tale; role of tale

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
๓๒๐ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

บทนำ

นิทานพระรถ หรือ นิทานพระรถ-เมรี เป็นนิทานที่เป็นที่รับรู้แพร่หลายในทุกภาคของ


ไทย เรียกชื่อต่างๆ กัน คือ พระรถ-เมรี (ภาคกลาง, ภาคตะวันออก) นางสิบสอง (ภาคกลาง,
ภาคเหนือ) พระพุทธเสน-นางกังรี หรือตานานภูท้าวภูนาง (ภาคอีสาน), นางสิบสอง นางกังหรี
(ภาคใต้)
เรื่องราวของพระรถ-เมรียังเป็นนิทานอธิบายที่มาของภูมินามในสถานที่ต่างๆ ซึ่งชาวบ้าน
เชื่อกันว่า ครั้งหนึ่งเรื่องราวในนิทานพระรถเคยเกิดขึ้นจริงในบริเวณนั้นๆ จนกลายเป็นนิทาน
ประจาถิ่น (legend) (อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, ๒๕๕๙, น. ๒๑-๒๓)
ภาคตะวันออกเป็นพื้นที่ที่พบความแพร่หลายของนิทานพระรถมากกว่าภูมิ ภาคอื่นๆ
โดยพบที่จังหวัดชลบุรีและจังหวัดปราจีนบุรี ในจังหวัดชลบุรี พบในอาเภอพนัสนิคม ซึ่งเป็นที่อยู่
ของกลุ่มชาวลาว (ลาวเวียง) เมื่อครั้งรัชกาลที่ ๓ และได้ใช้นิทานพระรถในการตั้งชื่อสถานที่ต่างๆ
ในบริเวณนี้ นอกจากนี้ยังพบที่จังหวัดปราจีนบุรี พบมากในอาเภอศรีมหาโพธิ ซึ่งโดยมากเป็นที่
อาศัยของกลุ่มชาวลาว (ลาวพวน) ใช้นิทานพระรถ-เมรีในการตั้งชื่อสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่น
เช่นกัน รวมทั้งยังพบในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในอาเภอราชสาส์นและอาเภอพนมสารคามอีกด้วย
ขณะที่ในภาคเหนือ พบในจังหวัดพิษณุโลก อาเภอเนินมะปราง โดยมีสถานที่เรียกกันว่า ถ้านาง
สิบสอง นอกจากนี้ยังพบในอาเภอสอง จังหวัดแพร่ (อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, ๒๕๕๙, น. ๒๓-๒๔)
บทความวิจัยนี้ ผู้วิจัยมุ่งเสนอผลการศึกษาบทบาทของนิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรี
ที่มีต่อชุมชน จากการศึกษาข้อมูลเอกสารและการเก็สตบรข้์ อมูลภาคสนาม ๒ แห่ง คือ ตาบลบ้านมุง
อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก และที่อตาเภอพนั รศา สนิคม จังหวัดชลบุรี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๕๙-
ษ ่ที่เกี่ยวข้องกับนิทานและผู้วิจัยพบว่านิทานเรื่อง
พ.ศ.๒๕๖๐ เนื่องจากพื้นที่ทั้ง ๒ แห่งนี้มัยีสเกถานที

ดังกล่าวยังปรากฏบทบาทอยูจ่ นถึิทงปัยาจจุบัน
ห าว
ัล ม
ูร้ดจิ ิท
วาม ที่บ้ำนมุง
นำงสิบสอง-พระรถเมรี

คลัง
ตาบลบ้านมุงตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ
เชิงเขาและเป็นภูเขาซึ่งเป็นเขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง พื้นที่บางส่หมดอายุ วันทีน่ ที21-07-2565
วนมีลักษณะเป็ ่ลุ่ม
และที่ดอน ซึ่งมีความลาดเทจากทางทิศตะวันออกสู่พื้นที่ทิศตะวันตกทอดเป็นแนวยาวและสู่
ทางด้านทิศใต้ของตาบลบ้านมุง
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๒๑

ตาบลบ้านมุงอยู่ห่างจากอาเภอเนินมะปรางไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๗ กิโลเมตร
มีจานวนเนื้อที่ทั้งหมด ๑๕๔,๑๑๐ ไร่ หรือ ๒๔๖ ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็นพื้นที่ทางการเกษตร
๒๙,๗๓๐ ไร่ พื้นที่ที่อยู่อาศัย ๕,๐๒๖ ไร่ พื้นที่ที่สามารถใช้ผลประโยชน์ได้ ๓๔,๗๕๖ ไร่ หรือ
ประมาณ ๗๒.๒๕ ตารางกิโลเมตร ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
(เว็บไซต์เทศบาลตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก, ๒๕๖๐, ออนไลน์)

ภาพที่ ๑ แผนทีตร่แ์ สดงอาณาเขตอาเภอเนินมะปราง



รศา
ที่มา: http://paapaii.com/travel-noen-maprang
เ ก ษต
ตาบลบ้านมุงแบ่ลัยงเขตการปกครองออกเป็น ๘ หมู่บ้าน ได้แก่

ิา ทยงเหนือ
หมู่ ๑ บ้าวนมุ หมู่ ๒ บ้านมุงใต้
หมู่ ๓มหบ้านใหม่สามัคคี หมู่ ๔ บ้านลาภาศ

ิ ัล
า มรู้ดิจหมู่ ๕ บ้านห้วยบ่อทอง หมู่ ๖ บ้านหัวเขา
ว หมู่ ๗ บ้านเนินสว่าง หมู่ ๘ บ้านทุ่งพระ
คลังค
ส่วนใหญ่ประชาชนจะประกอบอาชีพทานา ทาไร่ ได้แก่ ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียวผิวมัน
ไร่อ้อย ทาสวน ได้แก่ มะม่วง (นอกฤดู) ส้มโอ น้อยหน่า หมดอายุ
มะขามหวาน วันส้ทีม่ เขี21-07-2565
ยวหวาน รับจ้าง
ค้าขาย และประชาชนอีกส่วนหนึ่งประกอบอาชีพพาณิชยกรรมและบริการ มีจานวนประชากร
ทั้งหมด ๗,๐๕๕ คน ส่วนใหญ่เป็นชาวลาว คนบ้านมุงเชื่อว่าบรรพบุรุษของตนคือชาวลาวที่
แตกทัพมาจากเวียงจันทน์ สมัยเจ้าอนุวงศ์
๓๒๒ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ตาบลบ้านมุงยังคงสภาพเป็นสังคมชนบท มีวัฒนธรรมด้านความเชื่อที่ยังนับถือผี เชื่อ


โชคลาง มีสาเนียงภาษาเป็นภาษาพื้นเมือง ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีประเพณีที่
สาคัญ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ เข้าพรรษา ออกพรรษา ลอยกระทง มีการละเล่นพื้นบ้าน ได้แก่
การละเล่นนางด้ง การละเล่นหัวควายดอก การละเล่นลิงลม การแห่นางแมว การทรงเจ้าเข้าผี ซึ่ง
ยังคงอนุรักษ์และนิยมเล่นในวันสงกรานต์ (เว็บไซต์เทศบาลตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง
จังหวัดพิษณุโลก, ๒๕๖๐, ออนไลน์)

ภาพที่ ๒ สภาพภูมิประเทศตาบลบ้านมุง

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
ค ัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565

ภาพที่ ๓ บริเวณด้านหน้าวัดบ้านมุง
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๒๓

จากการเก็บข้อมูลภาคสนามพบว่า ชาวบ้านมุงมีความเชื่อว่านิทานเรื่องพระรถเมรีนั้น
เกิดขึ้นที่บ้านมุง เพราะเป็นเรื่องที่ได้รับการเล่าขานสืบทอดต่อกันมาหลายชั่วอายุคน มีสถานที่
อ้างอิงได้ตลอดทั้งเรื่อง ชาวบ้านมุงที่มีอายุตั้งแต่ ๕๐ ปีขึ้นไป ทั้งหญิงชายสามารถเล่าเรื่องพระรถ
เมรีได้ค่อนข้างสมบูรณ์ ครบถ้วนทุกตอน สามารถยกคากลอนจากบทแหล่เรื่องพระรถเมรีมา
เปรียบเทียบอ้างอิงได้ เมื่อมีงานบุญเทศน์มหาชาติมักจะมีเทศน์แหล่เรื่องพระรถเมรีด้วยทุกครั้ง
เป็นที่รู้กันโดยทั่วไป
จากเอกสารของนายสังวาล ศรีนวล กานันหมู่ ๒ ตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง
จังหวัดพิษณุโลก กล่าวว่า
พระครูสถิตรัตนากร (หลวงตาแก้ว อมโร) ปัจจุบันอายุ ๘๙ ปี เจ้าอาวาส
วัดบ้านมุง เล่าให้ฟังว่า พระรถเป็นคนบ้านมุง เป็นโอรสของเจ้าเมืองขิง ส่วน
นางเมรีเป็นยักษ์อยู่ฝั่งลาว ปัจจุบันสถานที่ที่เรียกว่าเมืองขิงนั้นอยู่ในบ้านมุง
นี่เอง ชาวบ้านมุงมีความเชื่อว่าบรรพบุรุษของชาวบ้านมุงก็คือชาวลาวที่
แตกทัพมาจากเวียงจันทน์ สมัยเจ้าอนุวงศ์ อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่รอบนอก
ของบ้านมุง ต่อมาขาดแคลนน้าในการทาเกษตรกรรม จึงย้ายขึ้นมาทางเหนือ
ซึ่งมีน้าอุดมสมบูรณ์กว่า ก็คือที่ตั้งบ้านมุงในปัจจุบันนี้ เนื่องจากเป็นการรวมกัน
จากสามหมู่บ้านเป็นบ้านเดียวกัน จึงเรียกชื่อว่า “บ้านมุง”
ทั้งหมดนี้คือข้อมูลที่ได้มาจากผู้อาวุโสภายในหมู่บ้าน อันได้แก่
พระครูสถิตรัตนากร เจ้าอาวาสวัดบ้านมุง ผู้ใหญ่สอง อดีตผู้ใหญ่บ้าน นายไหล
ต ร ์ ดบ้านมุง และผู้เฒ่าผู้แก่อีกหลายสิบคน
แสงแก้ว นายช่าง มีบุญ มรรคนายกวั
าส
เป็นที่น่าแปลกใจว่าไม่ตรมศีใครรู้ความเป็นมาของเมืองขิงเลย แต่ทุ กคนรู้ว่าใน
อาณาเขตของบ้าัยนมุ เ กงษนี้มีเมืองเก่าอยู่สามเมือง อันได้แก่ เมืองขิง เมืองหน้าศาล
และเมืองไผ่ิทยไม่าลมีใครรู้ว่าตั้งมาตั้งแต่เมื่อใด รู้แต่เพียงว่าเจ้าเมืองขิงเป็นพ่อ
ห าว ในตานานเรื่องพระรถเมรีที่เล่าขานกันมาหลายชั่วอายุคน เคยมี
ัคนขุล มดพบของโบราณได้จากเมืองทั้งสามนั้น ซึ่งเป็นหลักฐานสาคัญ และยิ่ง
ของพระรถ
ู้ดิจ ท

ม ร
า ทาให้มีความเชื่อมั่นว่าเคยมีคนอาศัยอยู่ในที่เหล่านั้นในอดีต เคยมีเมือง
คว
คลัง โบราณตั้งอยู่ ณ สถานที่นั้นจริง

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
๓๒๔ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

สถานที่สาคัญที่บ้านมุงที่มีความเกี่ยวข้องกับนิทานนางสิบสอง-พระรถเมรี มีดังนี้
๑. เมืองขิง เป็นเมืองของพ่อพระรถ (ในนิทานว่าเจ้าเมืองขิง ไม่ระบุชื่อ) เมืองของพระรถ
ปัจจุบันเป็นป่าโปร่ง บนที่ราบระหว่างภูเขา มีถ้าเมืองขิงที่ใหญ่โต กว้างขวาง

ภาพที่ ๔ ภายในถ้าเมืองขิง
๒. ถ้านางสิบสอง เป็นถ้าที่นางสิบสองอยู่อาศัย ภายในถ้ามีแอ่งหินลักษณะคล้ายอู่ที่นอน
เด็กนับได้ ๑๒ คนพอดี ถ้านางสิบสองอยู่หลังวัดบ้านมุง ห่างจากเมืองขิงประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร
ปัจจุบันตั้งอยู่ที่หมู่ ๒ ตาบลบ้านมุง ์
ส ต ร
ตรศา
เก ษ
าลัย
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
ค ัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565

ภาพที่ ๕ ปากถ้านางสิบสอง
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๒๕

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล ภาพที่ ๖-๗ ภายในถ้านางสิบสอง
ิาวทย
ห หรือถ้าพระรถเมรี เป็นสถานที่บรรจุธาตุของพระรถ อยู่ไม่ห่างจากถ้านาง
๓. ถ้มาพระรถ


ิทาใดนัก มีเกร็ดตานานเล่าว่า เมื่อพระรถตาย ธาตุ (ที่บรรจุกระดูก) ได้กลายเป็นภูเขา
สิบสองเท่
ร ด
้ ู จ

หิวนาเล็ม กๆ ลูกหนึ่ง มองไกลๆ แล้วเหมือนอนุสาวรีย์หรือพระธาตุมาก ภายในภูเขาจะมีถ้าแห่งหนึ่ง

คลังชื่อว่าถ้าพระรถ ภายในถ้าจะมีหินเล็กๆ เข้าใจกันว่าเป็นธาตุ (กระดูก) ของพระรถ เมื่อนาไปใส่
ขันน้า ก้อนหินนั้นจะวิ่งวนไปมาในขันเป็นที่น่าอัศจรรย์ ปัจจุบันถ้าพระรถตั้งอยู่ที่หมู่ ๑ ตาบล
บ้านมุง หมดอายุวันที่ 21-07-2565
๓๒๖ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ต ร ์
าส
ษตรศ
เก
าลัย
ภาพที่ ๘-๙ ป้ายยบอกทางไปถ้ าพระรถและปากถ้าพระรถ
า ว ิท
๔. ห้วยเทินช้าง เป็มนหสถานที่ที่พระรถพนันชนช้างกับพ่อ อยู่ตรงทางขึ้นถ้าพระรถ มี

ิ ัล ้งปี เข้าใจว่าแต่ก่อนเรียกว่า ห้วยชนช้าง ต่อมาคาว่า “ชน” เพี้ยน
ลาธารไหลออกมาจากภู
รู้ด จ
ิ เ ขาทั
เป็นคาว่า “เทิน”วาน้มาลายของช้างที่ชนกันไหลออกมา เป็นคลองห้วยเทินช้างจนทุกวันนี้

คลัง
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๒๗

ภาพที่ ๑๐-๑๑ บริเวณห้วยเทินช้าง ปัจจุบนั เป็นห้วยน้าขนาดเล็กมีน้าไหลตลอดปี


ในภาพนางหวัง พระเทศ ชาวบ้านมุง ชี้จุดบริเวณห้วยเทินช้างให้แก่นักวิจัย
๕. เนินสนามบ้า เป็นสถานที่ท้าพนันชนไก่ของเมืองขิง ปัจจุบันเป็นที่ราบอยู่ติดกับ
ภูเขาด้านนอกที่เป็นเขตเมืองขิง

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิทัล
ู้ดิจ
ภาพที่ ๑๒ บริเวณเนินสนามบ้าในปัจจุบัน
ม ร
า ๖. เขาหลังงอบ หินคันนา ที่นาที่นางยักษ์มาสร้างคันนาด้วยข้าวเหนียว จนถูกนางสิบสอง
คว
คลังขโมยกิน ตรงกับในนิทานที่เล่าว่า
นางสิบสองหลงอยู่ในป่าหลายวันอาศัยขุดเผือกขุดมันกินกันตายไป
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
วันๆ จนกระทั่งไปถึงทุ่งนาแห่งหนึ่ง เห็นนางยักษ์แปลง เมียเจ้าเมืองขิง
กาลังใช้ข้าวเหนียวอุดรูรั่วข้างคันนาอยู่ ก็พากันไปหลบซ่อนดู พอนางยักษ์
กลับไป ด้วยความหิวจึงออกมาขโมยข้าวเหนียวนั้นกิน เป็นอยู่อย่างนี้หลายวัน
๓๒๘ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

จนนางยักษ์สงสัยและจับตัวเอาไว้ได้ เห็นว่าเด็กหญิงทั้งสิบสองคนน่ารักน่าเอ็นดู
จึงพาไปเลี้ยงดูที่เมืองขิง
ชาวบ้านมุงที่มีความเชื่ออีกว่าแม่น้าโขงที่กั้นชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศลาว
คือแม่น้าใหญ่ขวางหน้า ทาให้นางเมรีไม่สามารถข้ามมาได้ ดังคาสาปของนางเมรีที่ว่า “ร้องสั่งอยู่
ริมโขง ก่อนน้องปลดปลงมรณา ชาตินี้น้องตามพี่มา ชาติหน้าให้พี่ตามน้องไป”
และคาสาปของนางเมรีที่ว่า “ขอให้เสือกินม้า ขอให้ห่ากินพระรถ” ทาให้ชาวบ้านมุงเลี้ยง
ม้าไม่ได้มาจนทุกวันนี้
นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังพบว่า นิทานนางสิบสอง-พระรถเมรี สานวนบ้านมุง (จากเอกสาร
ของนายสังวาล ศรีนวล) มีการแทรกคาคล้องจองคล้ายกลอนอ่านอยู่หลายแห่ง เช่น เมื่อกล่าวถึง
ของวิเศษเมืองทานตะวัน ได้แก่
“มะม่วงรู้หาว มะนาวรู้โห่ ส้มโอรู้ไอ ตะไคร้รู้จาม”
“ตะบองกายสิทธิ์ เป็นของมีฤทธิ์ ไม่ใช่ขี้เหล่ ทางต้นชี้ตาย ทางปลาย
ชี้เด่ ชี้มูลชี้เหม่ ตายแล้วคืนมา”
ข้อความในสารที่พระรถถือไปเมืองทานตะวันที่ว่า “ถึงค่่ากินค่่า ถึงคืนกินคืน เลือดถึงพื้น
ให้เลียเอา” ฤๅษีแปลงสารใหม่เป็น “ถึงค่่าให้รับค่่า ถึงคืนให้รับคืน จะได้ชมชื่น ผัวนางไม่ช้า” เป็นต้น

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
ค ัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ภาพที่ ๑๓ นางสุดใจ ศรีนวล ภรรยานายสังวาล ศรีนวล กานันหมู่ ๒
ตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก
ผู้ให้สัมภาษณ์และอนุญาตให้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับนิทานนางสิบสอง-พระรถเมรีที่บ้านมุง
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๒๙

ภาพที่ ๑๔ นางช่วย กุลแก้ว ชาวบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก


ให้ข้อมูลเกี่ยวกับถ้านางสิบสองและถ้าพระรถ

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุ
ภาพที่ ๑๕ นักวิจัยและคณะถ่ายภาพกับนางหวัง พระเทศ วัน่ ๓ที่ จากซ้
(คนที 21-07-2565
าย)
ภายในถ้านางสิบสอง ตาบลบ้านมุง
ผู้ให้ขอ้ มูลนิทานและพานักวิจยั และคณะดูสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับนิทาน
๓๓๐ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ผู้วิจัยพบว่าชาวบ้านมุงยังคงรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับนิทานประจาถิ่นเรื่องนางสิบสอง-พระรถ
เมรีอยู่ และพยายามรื้อฟื้นเรื่องเล่าเพื่อใช้อธิบายสถานที่สาคัญๆ ในตาบล ซึ่งในปัจจุบันสถานที่
สาคัญหลายแห่ง เช่น ถ้านางสิบสอง ถ้าพระรถ ได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของตาบล
บ้านมุงไปแล้ว

นำงสิบสอง-พระรถเมรีที่พนัสนิคม
อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นพื้นที่ที่มีความเกี่ยวข้องและได้รับอิทธิพลจากตานาน
พระรถเมรีอย่างมาก ทั้งการตั้งชื่อโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนคาขวัญประจาอาเภอที่ว่า
“พระพนัสบดีคู่บ้าน จักสานคู่เมือง ลือเลื่องบุญกลางบ้าน ต่านานพระรถเมรี ศักดิ์ศรีเมืองสะอาด
เก่งกาจการทายโจ๊ก”
พนัสนิคมเป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๔๑ มีประวัติความเป็นมา
เก่าแก่ประมาณ ๓,๐๐๐ ปี ดังปรากฏหลักฐานที่บ้านโคกพนมดีและเมืองพระรถในสมัยทวารวดี
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมี บันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับ “ลาวอาสาปากน้า” ใน พ.ศ.๒๓๕๒
ท้าวไชย อุปราชเมืองนครพนมได้นาชาวลาวจานวน ๒,๐๐๐ คน เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คนลาว
กลุ่มนี้ออกไปตั้งบ้านเมืองอยู่ระหว่างเมืองชลบุรีกับฉะเชิงเทรา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
ตั้งเป็นเมืองใน พ.ศ.๒๓๗๑ ชื่อ “เมืองพนัศนิคม” เจ้าเมืองชื่อ พระอินทอาษา (ทุม) (สมดุล ทาเนาว์,
๒๕๕๒, น. ๓๕) ์
ส ต ร
อาเภอพนัสนิคมมีพื้นที่ทั้งสิ้น ๒๗๕,๓๙๖
ต รศาไร่ ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น ๒๐ ตาบล
ได้แก่ เ ก ษ
๑. ตาบลพนัสนิคม ย าลัย ๒. ตาบลหน้าพระธาตุ
๓. ตาบลวัดหลวง หา ว ท
ิ ๔. ตาบลบ้านเซิด
๕. ตาบลนาเริกิทัล
ม ๖. ตาบลหมอนนาง
๗. ตาบลสระสี


รู้ด ่เหลี่ยม ๘. ตาบลวัดโบสถ์
ว า ม
ค ฎโง้ง
๙. ตังาบลกุ ๑๐. ตาบลหัวถนน
คล
๑๑. ตาบลท่าข้าม ๑๒. ตาบลหนองปรือ
๑๓. ตาบลหนองขยาด ๑๔. ตาบลทุ่งขวาง หมดอายุวันที่ 21-07-2565
๑๕. ตาบลหนองเหียง ๑๖. ตาบลนาวังหิน
๑๗. ตาบลบ้านช้าง ๑๘. ตาบลโคกเพลาะ
๑๙. ตาบลไร่หลักทอง ๒๐. ตาบลนามะตูม
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๓๑

ภาพที่ ๑๖ แผนทีอ่ าเภอพนัสนิคม


ที่มา: ตานานพระรถเมรีที่พนัสนิคม, ๒๕๕๒, น. ๓๔
ชาวพนัสนิคมมีทั้งที่เป็นคนลาว
์ ต ร คนไทย คนจีน แต่เดิมโดยมากเป็นคนลาว ส่วนใหญ่มี
า ส
อาชีพปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ปัจจุตบรันศมีโรงงานผลิตสินค้าสาเร็จรูปเข้ามาตั้งอยู่เป็นระยะๆ ประกอบ
เ ก ษหลายแห่งเข้ามา ทาให้อาชีพของชาวพนัสนิคมเปลี่ยนแปลงไป
กับมีโรงงานอุตสาหกรรมอี
ลัย ก
ปัจจุบันมีประเพณีทิทถี่ ยือาปฏิบัตมิ าอย่างต่อเนื่องคือ ประเพณีบุญกลางบ้าน
ห าว

ิ ัล ม บข้อมูลภาคสนามพบว่า สถานที่หลายแห่งในอาเภอพนัสนิคมมีความเชื่อมโยง
จากการเก็
ู้ดจิ ่องนางสิบสอง-พระรถเมรีในลักษณะนิทานประจาถิ่น และผูกโยงไปถึงสถานที่ใกล้เคียง
กับนิทรานเรื

คเช่วนาที่อาเภอพนมสารคามและอาเภอราชสาส์น จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นต้น
คลัง
สถานที่สาคัญทีพ่ นัสนิคมที่มีความเกี่ยวข้องกับนิทานนางสิบสอง-พระรถเมรี มีดังนี้
๑. เนินพระธาตุ หรือพระธาตุพระรถ เป็นเจดีย์ก่อหมดอายุ
ด้วยอิฐ เชื่อวกัันนที
ว่า่ เป็
21-07-2565
นที่บรรจุอัฐิหรือ
พระธาตุของเจ้าเมืองหรือผู้นาคนสาคัญ ตั้งอยู่ที่หมู่ ๔ ตาบลหน้าพระธาตุ สัมพันธ์กับความเชื่อที่
มีมาแต่เดิมว่าเมืองพนัสนิคมคือเมืองพระรถ เดิมเป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาวลาว ปัจจุบันชาวบ้าน
๓๓๒ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ยังได้ร่วมกันจัดงานสืบสานประเพณีเนินธาตุอยู่ บริเวณด้านหลังเนินธาตุยังเป็นที่ตั้งของศาล
ศักดิ์สิทธิ์ รวม ๕ ศาล ได้แก่ ศาลพระพุทธรูป ศาลพระรถเสน ศาลเจ้าพ่อดาใหญ่ ศาลเจ้าปู่ทวด
และศาลเจ้าแม่ตะเคียนลาวทอง

ภาพที่ ๑๗ เนินพระธาตุ หรือพระธาตุพระรถ

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุ
ภาพที่ ๑๘ บริเวณใกล้เคียงกับเนินพระธาตุยังปรากฏศาลพระพุ ทธรูป วันที่ 21-07-2565
ศาลพระรถเสน ศาลเจ้าพ่อดาใหญ่ ศาลเจ้าปูท่ วด และศาลเจ้าแม่ตะเคียนลาวทอง
(เรียงจากซ้ายไปขวา)
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๓๓

๒. ถ้านางสิบสอง ๑ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๙ ตาบลหมอนนาง ปัจจุบันยังพอเห็นสภาพหินที่ปิด


ปากถ้าบริเวณพื้นผิวดินได้อยู่ มีการวางของเซ่นไหว้บูชาหน้าปากถ้า และมีการสร้างรั้วกั้นเขต
ของถ้า บริเวณใกล้กันยังเป็นที่ตั้งของศาลนางสิบสองและศาลเจ้าแม่ตะเคียนอีกด้วย

ภาพที่ ๑๙ ปากถ้านางสิบสอง

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ภาพที่ ๒๐ ศาลนางสิบสองทีบ่ ริเวณถ้านางสิบสอง
๓๓๔ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

๓. ถ้านางสิบสอง ๒ ตั้งอยู่บริเวณแนวกาแพงวัดเนินหลังเต่า หมู่ที่ ๔ ตาบลบ้านช้าง


เป็นถ้าที่ชาวบ้านพนัสนิคมพบใหม่ ประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ เชื่อว่าเป็นปากถ้าที่เชื่อมต่อกับถ้า
นางสิบสองแห่งแรก ชาวบ้านมากราบไหว้ขอพรเป็นจานวนมาก ทาให้ปัจจุบันมีศาลนางสิบสอง
ตั้งอยู่ด้วย

ภาพที่ ๒๑ บริเวณแนวกาแพงวัดเนินหลังเต่าที่เจอโพรงถ้า ชาวบ้านเชื่อว่าคือถ้านางสิบสอง

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว ภาพที่ ๒๒ ศาลนางสิบสองบริเวณถ้านางสิบสอง ๒
๔. บ้านหมอนนาง ตาบลหมอนนาง เป็นบริเวณที่พบหิน ๑๒ ก้อหมดอายุ
น กองเรียงกั
วันนอยู
ที่ ่ 21-07-2565
เชื่อ
ว่าเป็นหมอนที่นางสิบสองใช้หนุนนอน อยู่ใกล้กับศาลเจ้าแม่นางสิบสอง (ศาลจีน) และใกล้กับถ้า
นางสิบสอง ชาวบ้านมีความศรัทธาเชื่อถือจนนาไปตั้งเป็นชื่อบ้าน เรียกว่าบ้านหมอนนาง และ
กลายเป็นตาบลหมอนนางในปัจจุบัน
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๓๕

ภาพที่ ๒๓ หมอนนางเป็นกองหินตามธรรมชาติ เชื่อว่าเป็นหมอนทีน่ างสิบสองใช้หนุนนอน


ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง ๔ ก้อน จากทัง้ หมด ๑๒ ก้อน

ต ร ์
าส
ษตรศ
เก
ภาพที่ ๒๔ ศาลเจ้ ย าลัยาแม่นางสิบสอง (ศาลจีน) ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าของหมอนนาง
ภายในมี ารวป
ู ิทเคารพนางสิบสอง (รูปปั้นเทพเจ้าผู้หญิงของจีน) และป้ายชือ่ พระรถ
มห
ั๕.ลสระสี


รู้ดิจ ่เหลี่ยม หรือสระพระรถ เป็นสระที่ขุดลงไปในศิลาแลง เชื่อว่าเป็นสถานที่ที่พระรถ
ให้วนาม้าไก่ บริเวณใกล้กันยังเป็นที่ตั้งของศาลพระรถอุ้มไก่

คลัง ปัจจุบันชาวพนัสนิคมยังคงเชื่อว่าสระดังกล่าวเป็นสระที่พระรถเอาไว้ให้น้าไก่ ในการ
ออกพนันชนไก่แต่ละครั้ง และได้รับชัยชนะกลับมาทุกครั้งพร้อมห่อข้าวสาหรับเลี้ยงแม่และป้า
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ชาวบ้านที่ชอบเล่นพนันชนไก่จึงมีความเชื่อถือในความศักดิ์สิทธิ์ บางครั้งนาเอาน้าในสระแห่งนี้
ไปให้น้าไก่ของตนเอง หวังจะได้รับชัยชนะเหมือนพระรถ ทุกปียังมีการจัดงานบวงสรวงที่บริเวณ
ศาลพระรถอุ้มไก่ด้วย
๓๓๖ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ภาพที่ ๒๕ สระสี่เหลี่ยมหรือสระพระรถ

ต ร ์
าส
ษตรศ
เก
ลัย
ย า
าวิทภาพที่ ๒๖ ศาลพระรถอุม้ ไก่
มห
๖. ลูกศรพระรถิทัลเป็นแท่งหินที่ชาวบ้านตาบลหน้าพระธาตุขุดพบ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่
ิจ
มรู้ด ตาบลหน้าพระธาตุ
ภายในวัดหน้าพระธาตุ
ว า
ลัง ค
๗.ค รางหญ้าม้าพระรถ มีลักษณะเป็นหินศิลาแลง เจาะเป็นร่องยาว ชาวบ้านเชื่อว่าเป็น
รางหญ้าของม้าพระรถ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ภายในวัดหน้าพระธาตุเช่นเดียวกัน
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
๘. เนินดินแดง เดิมชาวบ้านเรียกว่า โคกดินแดง ชาวบ้านเชื่อว่าบริเวณนี้เป็นที่ที่นาง
ยักษ์ล้มลงอกแตกตาย แล้วกระอักเลือดออกมา ทาให้พื้นดินบริเวณนี้มีสีแดง ตั้งอยู่บริเวณวัด
เนินหลังเต่า หมู่ที่ ๔ ตาบลบ้านช้าง
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๓๗

๙. โคกสาราญ เดิมชื่อว่า โคกหัวล้าน เชื่อว่าเป็นที่ที่พระรถใช้พระขรรค์ตัดหัวนางยักษ์


แล้วขว้างไปตก ทาให้เป็นเนินโคก ไม่ค่อยมีต้นไม้ขึ้น ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นโคกสาราญ เป็นชื่อ
หมู่บ้านในตาบลวัดโบสถ์
๑๐. ไร่หลักทอง เชื่อว่าเป็นหลักล่ามไก่พระรถ เมื่อนาไก่ออกมาตีพนันกับชาวบ้าน
ปัจจุบันกลายเป็นชื่อตาบลไร่หลักทอง บ้านไร่หลักทอง และวัดไร่หลักทอง
๑๑. หนองปล่อยไก่ เชื่อว่าเป็นสถานที่ที่พระรถนาไก่มาเลี้ยงโดยปล่อยให้กินอาหาร
บริเวณนั้น ตั้งอยู่ที่หมู่ ๗ ตาบลหมอนนาง ปัจจุบันไม่หลงเหลือร่องรอยแล้ว เนื่องจากมีการขยาย
ถนนทาให้ถมกลบหนองน้าไปจนหมด
๑๒. ลานซ้อมไก่ ชาวบ้านเรียกว่า ลานปล้าไก่ สาหรับซ้อมไก่ชนก่อนนาไปตีพนันกับ
ชาวบ้าน ตั้งอยู่ที่หมู่ ๙ ตาบลหมอนนาง ปัจจุบันไม่เหลือเหลือร่องรอยแล้ว เนื่องจากชาวบ้าน
ปรับพื้นหน้าดินใหม่
ความสาคัญของนิทานเรื่องดังกล่าวต่อชุมชนพนัสนิคมอาจเห็นได้จากการนาอนุภาค
ตัวละครในนิทานไปใช้เป็นตราสัญลักษณ์ ของหน่วยงานราชการ เช่น ตราสัญลักษณ์เทศบาล
เมืองพนัสนิคม ทาเป็นรูปพระรถเสนทรงม้า ตราสัญลักษณ์ของตาบลหน้าพระธาตุ ทาเป็นรูป
พระธาตุพระรถ ตราสัญลักษณ์ของตาบลหมอนนาง ทาเป็นรูปนางเภานั่งอิงหมอน ดังภาพ
ต่อไปนี้

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565

ภาพที่ ๒๗-๒๙ ตราสัญลักษณ์เทศบาลเมืองพนัสนิคม ตาบลหน้าพระธาตุ และตาบลหมอนนาง


๓๓๘ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ภาพที่ ๓๐ นักวิจัยและคณะถ่ายภาพกับอาจารย์สมดุลย์ ทาเนาว์ ชาวพนัสนิคม


ผู้เขียนหนังสือตานานพระรถเมรีที่พนัสนิคม ที่ด้านหน้าพระธาตุพระรถ

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ภาพที่ ๓๑-๓๔ นักวิจัยและคณะเก็บข้อมูลนิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรี
และตานานสถานที่ที่เกี่ยวข้อง ทีอ่ าเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๓๙

บทบำทของนิทำนเรื่องนำงสิบสอง-พระรถเมรีที่มีต่อชุมชน:
กรณีศึกษำที่บ้ำนมุง จังหวัดพิษณุโลก และพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

จากการศึกษาข้อมูลเอกสารและเก็บข้อมูลภาคสนามที่ตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง
จังหวัดพิษณุโลก และอาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ผู้วิจัยวิเคราะห์บทบาทของนิทานเรื่อง
นางสิบสอง-พระรถเมรีที่มีต่อชุมชน ได้เป็น ๓ ประการ คือ
๑. บทบาทด้านการแสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มชน โดยเฉพาะกลุ่มลาว (ลาวอพยพ) ที่นา
นิทานเรื่องดังกล่าวไปผูกโยงกับชื่อบ้านนามเมืองแล้วใช้อธิบายชื่อบ้านนามเมืองเหล่านั้น ดังที่
ผู้วิจัยนาเสนอข้อมูลในหัวข้อที่ผ่านมา ทั้งที่บ้านมุงและพนัสนิคมต่างเชื่อว่า พระรถเมรีเป็น
บรรพชนของตน และเป็นบุคคลที่มีชีวิตอยู่จริงในอดีต ความเชื่อและเรื่องเล่าดังกล่าวทาให้เกิด
สานึกร่วมของกลุ่มชน มีงานประเพณีที่สืบสานเฉพาะชุมชน เช่น งานประเพณีเนินพระธาตุ งาน
บวงสรวงศาลพระรถอุ้มไก่ ฯลฯ แสดงให้เห็นถึงความเป็นกลุ่มเดียวกันและสัมพันธ์กับประวัติการ
ตั้งถิ่นฐานของทั้งสองชุมชน สอดคล้องกับที่สุจิตต์ วงษ์เทศ (๒๕๕๙, ออนไลน์) กล่าวว่า “ลาวถึง
ไหน พระรถเมรีถึงนั่น” เพื่ออธิบายว่าพระรถเมรีเป็นตานานบรรพชนลาว ที่พวกลาวต้องเอาติด
ไปด้วย ไม่ว่าจะโยกย้าย อพยพและถูกกวาดต้อนไปถึงไหน ก็จะเอาพระรถเมรีไปด้วย แล้วเล่า
เป็นนิทานประจาถิ่นนั้นๆ
ผู้วิจัยพบว่า ในนิทานพระรถเมรีสานวนบ้านมุง มีการเชื่อมโยงแม่น้าที่เกิดจากห่อยา
พระรถที่ขว้างไปมิให้นางเมรีติดตามมาได้กับแม่น้าโขง อาจเป็นการพยายามอธิบายถึงสภาพ
พื้นที่ของกลุ่มคนลาวที่อพยพมานั่นเองตร์
ร ศ าส
เมื่อเปรียบเทียบประวั
เ ก ษตติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานกับการอยู่ร่วมกับชาติพันธุ์อื่น พบว่ากลุ่ม
ลาวที่พนัสนิคม จังหวัดลชลบุ
า ัย รี มีการแสดงอัตลักษณ์ในการรับรู้นิทานและสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับ
นิทานเรื่องนี้เด่นชัดวกว่ ย
ิท าที่บ้านมุง จังหวัดพิษณุโลก แม้ว่าจะเป็นกลุ่มลาวเวียงที่อพยพมาเหมือนกัน
ห า
ก็ตาม
ัิทล ม
ม ร ู้ดิจ๒. บทบาทด้านการเป็นที่พึ่งทางจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อคนในชุมชน ที่เชื่อถือว่า
คว า
คลัง ละครในนิทานเป็นบรรพชนของตน (การนับถือพระรถเสนอาจเกิดจากพระรถเสนเป็นตัวละคร
ตั ว
พระโพธิสัตว์ในนิทานชาดกที่ชาวลาวนับถือพระพุทธศาสนาเชื่อถือและให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก)
ทาให้เกิดการตัง้ ศาลศักดิ์สิทธิแ์ ละพิธีกรรมเซ่นสรวงบูชา ขอพร บนบานศาลกล่
หมดอายุ าว จากเดิมที่เป็น
วันที่ 21-07-2565
ของชุมชน ภายหลังก็ได้กลายเป็นความเชื่อและพิธีกรรมของปัจเจกบุคคล บทบาทดังกล่าวจะเห็น
เด่นชัดมากที่พนัสนิคม เนื่องจากสถานที่แทบทุกแห่งที่เกี่ยวข้องกับนิทานนางสิบสอง-พระรถเมรี
จะมีการตั้งศาลศักดิ์สิทธิ์แทบทั้งสิ้น เท่าที่ผู้วิจัยเก็บข้อมูลภาคสนาม พบว่า มีศาลนางสิบสองใน
๓๔๐ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

พนัสนิคม จานวน ๓ ศาล (แบ่งเป็นศาลไทย ๒ ศาล และศาลจีน ๑ ศาล) มีศาลพระรถในพนัสนิคม


จานวน ๒ ศาล (เป็นศาลไทยทั้ง ๒ ศาล)

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย

ัล ม บสอง บริเวณถ้านางสิบสอง ๑ และถ้านางสิบสอง ๒
ภาพที่ ๓๕-๓๗ ศาลนางสิ
ิท
ู ด
้ จ

ว ามร
ลัง ค

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๔๑

ต ร ์
าส
ตรศ ภายในศาลเจ้าแม่นางสิบสอง (ศาลเจ้าจีน)
ภาพที่ ๓๘-๔๐

เ ก
า ลัย
ิา ทย

มห
ัล
ร ิู้ดจิท
ว า ม
คลังค
หมดอายุวันที่ 21-07-2565

ภาพที่ ๔๑-๔๒ ศาลพระรถเสน บริเวณเนินพระธาตุและบริเวณสระสี่เหลี่ยม


๓๔๒ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

น่าสนใจว่า นอกจากชาวพนัสนิคมจะกราบไหว้บูชานางสิบสอง (หมายถึง นางทั้ง ๑๒ คน


มิใช่นางเภา นางคนที่ ๑๒ เห็นได้จากรูปเคารพที่ชาวบ้านใช้หุ่นผู้หญิงเป็นสัญลักษณ์แทน) และ
พระรถเสนแล้ว ยังมีคติการเคารพนับถือนางยักษ์สันธมารด้วย เห็นได้จากป้ายที่เขียนชือ่ กากับที่ศาล

ภาพที่ ๔๓-๔๔ ด้านล่างของป้ายชื่อนางสิบสอง เขียนว่า พระรถเสน นางยักษ์สันธมาร


สาหรับเรื่องที่นิยมมาขอเจ้าแม่นางสิบสองมักเป็นเรื่องโชคลาภ เงินทอง (ชื่อนิทานและ
ชื่อตัวละครมีความสัมพันธ์กับตัวเลข) ขณะที่พระรถเสนมักเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับไก่ชน ของที่มา
แก้บนที่ศาลจึงแสดง “วิธีคิด” ของผู้บนบานศาลกล่าวที่มีต่อความศักดิ์สิทธิ์ของ “เจ้าแม่” และ
“เจ้าพ่อ” ได้อย่างน่าสนใจ

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
ค ัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ภาพที่ ๔๕ รูปปั้นไก่หลายสีหลายขนาดที่ชาวบ้านนามาถวายที่ศาลพระรถเสนอุ้มไก่
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๔๓

ภาพที่ ๔๖-๔๘ โต๊ะเครื่องแป้งและอุปกรณ์ความงามหลายประเภท


รวมทัง้ หมอนรูปทรงต่างๆ ที่ชาวบ้านนามาถวายที่ศาลนางสิบสอง
(สัมพันธ์กับชือ่ หมอนนางอันเป็นชื่อของพืน้ ที่ด้วย)
ต ์
รง “พระรถเสนจาลอง” สาหรับเช่าบูชา โดยมีพิธีพุทธาภิเษก
นอกจากนี้ ปัจจุบันได้มีการสร้ส า
ต รศา
บริเวณสระสี่เหลี่ยม อันเป็นสระโบราณและได้ นามาผูกโยงกับนิทานเรื่องดังกล่าว จากการสัมภาษณ์
เก ษ
ชาวบ้านบริเวณนั้น พบว่ลาัยพระรถเสนจ าลองนี้ นักเลงไก่ชนในอาเภอพนัสนิคมนิยมเช่าบูชากันมาก

ิา ทย

มห
ัล
ร ิู้ดจิท
ว า ม
คลังค
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ภาพที่ ๔๙ ป้ายเชิญร่วมสร้างพระรถเสนจาลอง
ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตรงข้ามกับสระสี่เหลี่ยม (สระพระรถ)
๓๔๔ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ขณะที่บ้านมุง ความเชื่อถือในความศักดิ์สิทธิ์ของนางสิบสองและพระรถเมรีส่วนใหญ่ยัง
อยู่ในรูปแบบของเรื่องเล่ามุขปาฐะ ปัจจุบันยังไม่ปรากฏศาลศักดิ์สิทธิ์หรือรูปเคารพแต่อย่างใด
น่าสนใจว่า ถ้านางสิบสองและถ้าพระรถที่บ้านมุงเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและเป็นที่ปฏิบัติ
ธรรมของพระสงฆ์ เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตวัดหรือสานักสงฆ์นั่นเอง ต่างจากที่
พนัสนิคม พื้นที่ตั้งศาลศักดิ์สิทธิ์และรูปเคารพนางสิบสอง-พระรถเมรีตั้งอยู่ภายนอกวัดทั้งสิ้น

๓. บทบาทด้านการท่องเที่ยว ในปัจจุบันสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่งมีจุดขายที่เรื่องเล่า
นิทาน ตานานพื้นบ้าน เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเกี่ยวกับสถานที่นั้นๆ
นิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรีที่เป็นนิทานประจาถิ่นของทั้งสองชุมชนได้ถูกนาไปเป็น “จุดขาย”
หนึ่งในการท่องเที่ยว ดังเช่นป้ายคาขวัญที่ทางเข้าตัวเมืองพนัสนิคมด้านหนึ่งมีข้อความว่า “เมือง
จักสาน ต่านานพระรถเมรี”

ต ร ์
าส
ษตรศ
เก
าลัย สนิคม เมื่อเดินทางมาจากตัวเมืองชลบุรี
ภาพที่ ๕๐ ป้ายทางเข้าอาเภอพนั
ิา ทย


หรือตาบลสระสี่เหลีม ่ยมที่ขึ้นป้ายคาขวัญว่า “สระพระรถคู่บ้าน จักสานคู่ต่าบล ไก่ชน
พันธุ์ดี วิถีเกษตรพอเพีิจยิทงัลชื่อเสียงน้่าพริกเผา ก่าเนิดข้าวขาวมะลิ” อยู่บริเวณข้างสระพระรถ ก็
ู้ด
าว มร ่อมโยงนิทานดังกล่าวกับชุมชนอย่างเด่นชัด
แสดงให้เห็นถึงการเชื

คลัง
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๔๕

ภาพที่ ๕๑ ป้ายคาขวัญตาบลสระสี่เหลี่ยม
และแม้ว่าตาบลบ้านมุงจะไม่ได้ชูจุดขายดังกล่าวในคาขวัญ แต่ก็มีแนวคิดที่จะเสนอ
ปรับเปลี่ยนคาขวัญจังหวัดพิษณุโลก ดังข้อความตอนหนึ่งของนายสังวาล ศรีนวล กานันหมู่ ๒
ตาบลบ้านมุง ที่ว่า“พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นก่าเนิดพระนเรศวร สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ
หวานฉ่่าแท้กล้วยตาก ถ้่าและน้่าตกหลากตระการ ต้นต่านานพระรถเมรี ” จะเห็นว่าในวรรค
สุดท้ายของคาขวัญนี้ตรงกับคาขวัญของอาเภอพนัสนิคมที่ว่า “ตานานพระรถเมรี” แสดงให้เห็น
ถึงความสาคัญและบทบาทของนิทานเรื่อ์ งดังกล่าวที่มีต่อชุมชนอย่างเด่นชัด
ส ต ร
ศา
ตร บสองที่บ้านมุงแล้ว หน่วยงานหลายแห่งในตาบลบ้านมุงยังมี
ปัจจุบัน นอกจากถ้านางสิ
เก
แนวทางปรับภูมิทัศน์ถ้าพระรถเมรี ษ (เนื่องจากตั้งอยู่บนเขา ต้องเดินเท้าขึ้นไป) เพื่อเปิดให้เป็น
ล ย

สถานที่ท่องเที่ยวเชิงยนิาเวศอีกแห่งของบ้านมุง นักท่องเที่ยวแนวดังกล่าวจะชื่นชอบการผจญภัย
าวิท
ตามธรรมชาติ หชมความสวยงามของหิ นงอกหินย้อย สอดรับไปกับแนวทางประชาสัมพันธ์การ

ิทัล าเภอเนินมะปรางอีกด้วย
ท่องเที่ยิจวในอ
ู้ด
ว า มร เขตองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านมุงได้ยกให้ถ้านางสิบสองและถ้าพระรถเมรีเป็นสถานที่

ัค
คล สาคัญที่ประชาชนทั่วไปสามารถมาพักผ่อนหย่อนใจ ตลอดจนเริ่มเป็นที่รู้จักจากนักท่องเที่ยว
ภายนอกมากขึ้น
หมดอายุวันที่ 21-07-2565
ขณะที่สถานที่หลายแห่งในอาเภอพนัสนิคมเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่รู้จักอย่างดีในฐานะ
“เมืองพระรถ” ปัจจุบันจึงอาจพบเห็นป้ายให้ข้อมูลในฐานะแหล่งท่องเที่ยวได้ทั่วไป ยกเว้นสถานที่
บางแห่งที่ได้เปลี่ยนสภาพไปแล้ว
๓๔๖ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

ภาพที่ ๕๒ ป้ายพระธาตุเมืองพระรถ สถานทีท่ ่องเทีย่ วในอาเภอพนัสนิคม


โดยการสนับสนุนจาก dtac

กล่าวโดยสรุป บทบาททั้ง ๓ ประการ ได้แก่ บทบาทด้านการแสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มชน


บทบาทด้านการเป็นที่พึ่งทางจิตใจ และบทบาทด้านการท่องเที่ยว ที่นิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถ
เมรีมีต่อชุมชนบ้านมุง จังหวัดพิษณุโลก และพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ดูเหมือนว่าบทบาทที่ ๒
และ ๓ จะเด่นชัดในสังคมโลกาภิวัตน์มากกว่าบทบาทแรก เนื่องจากการแปรรูปเรื่องเล่าและความ
ศักดิ์สิทธิ์ของเรื่องเล่าเน้นการตอบสนองความต้องการในระดับปัจเจกบุคคลมากกว่าในระดับ
ชุมชน อย่างไรก็ดี ประเพณีสาคัญในชุมชนและสานึกร่วมของคนในชุมชนเองอาจเป็นสิ่งสาคัญที่
จะช่วยดารงอัตลักษณ์ของกลุ่มผู้ถ่ายทอดนิทาน ซึ่งน่าสนใจดูความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่จะ
เกิดขึ้นต่อไปในอนาคต ต ร ์
ส า
ษตรศ
ัยเก
าล
บทสรุป ิาวทย

ั มห
ในบทความวิจิจัยิทนี้ ผู้วิจัยมุ่งบันทึกและวิเคราะห์ผลจากการเก็บข้อมูลภาคสนามที่ตาบล
รู้ด จังหวัดพิษณุโลก และที่อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ในฐานะนิทาน
บ้านมุง อาเภอเนิานมมะปราง

ั ค ว
คล พ.ศ.๒๕๕๙-พ.ศ.๒๕๖๐ เพื่อชี้ให้เห็นถึงบทบาทของนิทานเรื่องหนึ่งในชุมชน
ประจาถิ่น เมื ่ อ
ด้วยข้อจากัดด้านเวลาและงบประมาณในการวิจัย ผลที่ได้จึงอาจยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร (มีพื้นที่
อีกหลายแห่งที่เชื่อมโยงกับนิทานเรื่องดังกล่าวที่ผู้วิจัยมิได้ลงพื้นที่ศึกษา) หมดอายุวันที่ 21-07-2565
อย่างไรก็ดี ในชุมชนที่ยังคงมีการไหลเวียนของเรื่องเล่า โดยเฉพาะนิทานประจาถิ่น ทาให้
ผู้วิจัยเห็นความสัมพันธ์ของ “นิทาน” กับ “ถิ่น” อย่างเด่นชัด ทั้งในแง่ของการเล่านิทานไปพร้อมๆ
นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา ๓๔๗

กับการเน้นย้าการก่อเกิดสถานที่ที่มีอยู่จริงในปัจจุบัน (บางแห่งในปัจจุบันก็ไม่ปรากฏแล้ว) กับ


การเดินทางตามสถานที่และมีเรื่องเล่าช่วยขยายความ เป็นเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ทาให้บทบาทของ
นิทานกว้างขวางไปมากกว่าการเป็นเพียงเรื่องเล่าเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน หรือผ่อนคลาย
ความตึงเครียด
บทบาทของนิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรีในชุมชนทั้งสองนี้จึงมีความสาคัญ ทั้งใน
ด้านการแสดงอัตลักษณ์ของชุมชน ด้านการเป็นที่พึ่งทางจิตใจ เนื่องจากตัวละครในโลกสามัญ
ขยับขยายกลายเป็นตัวละครในโลกศักดิ์สิทธิ์ และอยู่ในสถานะ “บรรพชน” ของกลุ่มชนผู้สืบทอด
นิทาน ท้ายที่สุด ในด้านการท่องเที่ยว อาจเป็นบทบาทที่เห็นเด่นชัดที่สุดและตอบสนองต่อโลก
ยุคปัจจุบันมากที่สุด เพราะทั้ง “นิทาน” และ “ถิ่น” จะเป็นทุนสาคัญนาไปสู่การต่อยอดเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยว ทั้งเชิงนิเวศ วัฒนธรรม โบราณคดี และหลอมรวมสานึกร่วมของชุมชนผู้เป็นเจ้าของ
นิทานได้อย่างแท้จริง

รำยกำรอ้ำงอิง

ช่วย กุลแก้ว. (๒๕๕๙, ๒๔ มีนาคม). อายุ ๕๐ ปี. บ้านมุขเหนือ ตาบลบ้านมุง


อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก. สัมภาษณ์.
นันทพร พวงแก้ว. (๒๕๒๗). กำรศึกษำเชิงเปรียบเทียบเรื่องพระรถ-เมรีฉบับต่ำงๆ
(วิทยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ต ร ์
กรุงเทพฯ. าส
เว็บไซต์เทศบำลตำบลบ้ำนมุตงรอศำเภอเนินมะปรำง จังหวัดพิษณุโลก. (๒๕๕๙, ๑๕
กษจาก http://www.banmung.go.th/.
มิถุนายน). เข้าลถึัยงเได้

ศิราพร ณ ถลาง. (๒๕๕๒).ิา ทย ทฤษฎีคติชนวิทยำ: วิธีวิทยำในกำรวิเครำะห์ตำนำน-นิทำน

พื้นบ้มำหน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ิทัล . (๒๕๕๒). ตำนำนพระรถเมรีที่พนัสนิคม. ชลบุร:ี กมลศิลป์การพิมพ์.
สมดุล ู้ดทิจาเนาว์
ว า
สมดุ มลรทาเนาว์. (๒๕๕๙, ๑๔ มิถุนายน). อายุ ๗๗ ปี. อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. สัมภาษณ์,

คลังสุกัญญา สุจฉายา. (๒๕๔๙). พิธีกรรม ตำนำน นิทำน เพลง: บทบำทของคติชน
กับสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หมดอายุวันที่ 21-07-2565
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (๒๕๕๙, ๑๖ พฤษภาคม). พระรถ เมรี ตำนำนบรรพชนลำว ละครยอดนิยม
ของชำวบ้ำน ยุคอยุธยำ. เข้าถึงได้จาก https://www.matichon.co.th/news/142068.
๓๔๘ นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา

สุดใจ ศรีนวล. (๒๕๕๙, ๒๔ มีนาคม). อายุ ๕๐ ปี. ตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง


จังหวัดพิษณุโลก. สัมภาษณ์.
หวัง พระเทศ. (๒๕๕๙, ๒๔ มีนาคม). อายุ ๔๖ ปี. บ้านเลขที่ ๑๗๑/๑ หมู่ ๑ บ้านมุงเหนือ
ตาบลบ้านมุง อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก. สัมภาษณ์.
อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๙). นิทานพระรถ-เมรี. ใน วรรณกรรมพื้นบ้ำน :
มรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมของชำติ. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
เอกสำรอัดสำเนำเรื่องบ้ำนมุง...ต้นกำเนิดตำนำนพระรถเมรี. ม.ป.ป. ม.ป.ท.

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

หมดอายุวันที่ 21-07-2565

You might also like