You are on page 1of 22

สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563


สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1

1. สถานการณ์ด้านคุณภาพน้้า
จังหวัดนครสวรรค์เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ 5,998,548 ไร่ มีที่ตั้งวางขนานกับแนวประเทศไทย
และเป็นจังหวัดแรกในเขตพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้าสายหลักหลายสายไหลผ่านตอนกลางของจังหวัด
ได้แก่ แม่น้าปิง แม่น้ายม และแม่น้าน่าน และรวมเป็นแม่น้าเจ้าพระยา มีแม่น้าแม่วงก์ซึ่งเป็นแม่น้าต้นก้าเนิด
แม่น้าสะแกกรัง ไหลผ่านฝั่งตะวั นตกของจังหวัด รวมถึงมีบึงน้้าจืดขนาดใหญ่ ได้แก่ บึงบอระเพ็ด ซึ่งรับน้้า
หลากจากด้านตะวันออกของจังหวัด
จังหวัดนครสวรรค์แบ่งการปกครองส่วนท้องถิ่นออกเป็น 142 แห่ง เป็นชุมชนเมืองระดับเทศบาล
จ้านวน 21 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่งและเทศบาลต้าบล 18 แห่ ง) และเป็น
องค์การบริหารส่วนต้าบล 121 แห่ง ซึ่ง มีเทศบาลและอบต. มีตั้งอยู่ริมแม่น้า สายหลักจ้านวนมาก เป็นการ
ตั้งอยู่ริมแม่น้าปิง 19 แห่ง แม่น้าน่าน 11 แห่ง และแม่น้าเจ้าพระยา 15 แห่ง

ตารางที่ 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ริมแม่น้าปิงช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์
ท่อระบายน้้าทิ้ง
ชุมชนหนาแน่น ระบบบ้าบัด
ชุมชนลงสู่
แม่น้า ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ /อ้าเภอ ชิดติดริมแม่น้า น้้าเสียชุมชน
แม่น้า
มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี
ปิง 1. ทต.บรรพตพิสัย / บรรพตพิสยั   
2. อบต.บางแก้ว / บรรพตพิสยั   
3. อบต.ตาขีด / บรรพตพิสยั   
4. ทต.บ้านแดน / บรรพตพิสัย   
5. อบต.ตาสังข์ / บรรพตพิสยั   
6. อบต.เจริญผล / บรรพตพิสัย   
7. อบต.ท่างิ้ว / บรรพตพิสยั   
8. อบต.บางตาหงาย / บรรพตพิสยั   
9. อบต.หูกวาง / บรรพตพิสัย   
10. ทต.เก้าเลี้ยว / เก้าเลี้ยว   
11. อบต.หัวดง / เก้าเลีย้ ว   
12. อบต.เขาดิน / เก้าเลี้ยว   
13. อบต.มหาโพธิ / เก้าเลี้ยว   
14. ทน.นครสวรรค์ / เมืองฯ*   
15. อบต.บ้านแก่ง / เมืองฯ   
16. อบต.บ้านมะเกลือ / เมืองฯ   
17. อบต.บางม่วง / เมืองฯ   
18. อบต.วัดไทรย์ / เมืองฯ   
19. อบต.บึงเสนาท / เมืองฯ   
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2

ตารางที่ 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ริมแม่น้าน่านช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์

ท่อระบายน้้าทิ้ง
ชุมชนหนาแน่น ระบบบ้าบัด
ชุมชนลงสู่
แม่น้า ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ /อ้าเภอ ชิดติดริมแม่น้า น้้าเสียชุมชน
แม่น้า
มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี
น่าน 1. อบต.แควใหญ่ / เมืองฯ  
2. อบต.เกรียงไกร / เมืองฯ  
3. ทม.ชุมแสง / ชุมแสง   
4. ทต.ทับกฤช / ชุมแสง   
5. อบต.ฆะมัง / ชุมแสง   
6. อบต.พิกุล / ชุมแสง   
7. อบต.เกยไชย / ชุมแสง   
8. อบต.พันลาน / ชุมแสง   
9. อบต.โคกหม้อ / ชุมแสง   
10. อบต.ทับกฤช / ชุมแสง   
11. อบต.ทับกฤชใต้ / ชุมแสง   

ตารางที่ 3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยาช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์
ท่อระบายน้้าทิ้ง
ชุมชนหนาแน่น ระบบบ้าบัดน้้า
ชุมชนลงสู่
แม่น้า ชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ /อ้าเภอ ชิดติดริมแม่น้า เสียชุมชน
แม่น้า
มี ไม่มี มี ไม่มี มี ไม่มี
เจ้าพระยา 1. ทน.นครสวรรค์ / เมืองฯ*   
2. อบต.นครสวรรค์ออก / เมืองฯ   
3. อบต.นครสวรรค์ตก / เมืองฯ   
4. อบต.ตะเคียนเลื่อน / เมืองฯ   
5. อบต.กลางแดด / เมืองฯ   
6. ทต.บางมะฝ่อ / โกรกพระ   
7. ทต.โกรกพระ / โกรกพระ   
8. อบต.ยางตาล / โกรกพระ   
9. อบต.โกรกพระ / โกรกพระ   
10. ทต.ท่าน้้าอ้อย / พยุหะคีรี   
11. ทต.พยุหะ / พยุหะคีรี   
12. อบต.ยางขาว / พยุหะคีรี   
13. อบต.ย่านมัทรี / พยุหะคีรี   
14. อบต.พยุหะคีรี / พยุหะคีรี   
15. อบต.น้้าทรง / พยุหะคีรี   
 ทน. = เทศบาลนคร ทม.= เทศบาลเมือง ทต.=เทศบาลต้าบล อบต.=องค์การบริหารส่วนต้าบล
 หมายเหตุ เทศบาลนครนครสวรรค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้าปิงและริมแม่น้าเจ้าพระยา
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 3

จากที่มี จ้ านวนชุมชนตั้งอยู่ ริ มแม่น้ าสายหลั กเป็น จ้านวนมาก ตลอดจนอาชี พหลั กเป็ นการท้าการ
เกษตรกรรม ท้าให้เกิดปัญหาคุณภาพน้้าเสื่อมโทรมลง แหล่งน้้ามีความสกปรกไม่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์
ทั้งด้านอุปโภคและบริโภค โดยน้้าเสียที่มีการระบายลงสู่แหล่งน้้าส่วนมากมีองค์ประกอบส้าคัญเป็นอินทรีย์สาร
เมื่อระบายลงสู่แหล่งน้้าท้าให้ปริมาณออกซิเจนละลายในน้้า (Dissolved Oxygen (DO)) ลดลงซึ่งมีผลต่ออยู่
อาศั ย ของปลาหรื อ สั ต ว์ น้ า ตลอดจนสิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น ๆที่ อ ยู่ ใ นน้้ า และน้้ า เสี ย นั้ น ท้ า ให้ มี ค วามสกปรกในรู ป
สารอินทรีย์ (Biological Oxygen Demand (BOD)) เพิ่มมากขึ้น และในบริเวณที่ผ่านชุมชนในน้้านั้นอาจพบ
ปริมาณแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform bacteria (TCB)) หรือปริมาณแบคทีเรียกลุ่มฟีคอล
โคลิฟอร์ม (Fecal Coliform bacteria (FCB)) คือ ปริมาณเชื้อโรคแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์ม ซึ่งพบได้ในล้าไส้
ของมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่น ได้ ในส่วนในพื้นที่ที่มีการระบายน้้าจากเกษตรกรรมและชุมชนอาจพบ ปริมาณ
แอมโมเนีย - ไนโตรเจน (NH3-N) ซึ่งคือปริมาณไนโตรเจนที่อยู่ในรูปของแอมโมเนียทั้งหมด ที่เกิดจากของเสีย
หรือน้้าทิ้งที่มีส่วนประกอบของไนโตรเจน เช่น โปรตีนในอนินทรีย์สารประกอบในร่างกาย พืช สัตว์ อุจจาระ
ปุ๋ยคอก เป็นต้น
การด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพแหล่งน้้าที่ส้ าคัญในเขตพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ ส้านักงาน
สิ่งแวดล้อมภาคที่ 4 นครสวรรค์ร่วมกับกรมควบคุมมลพิษได้ด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดิน
ได้มีการเฝ้าระวังในแม่น้าสายหลัก จ้านวน 14 สถานี ได้แก่ แม่น้าปิง 2 สถานี ยม 1 สถานี น่าน 2 สถานี
เจ้ าพระยา 2 สถานี บึ งบอระเพ็ด 5 สถานี และล้ าน้้าสาขา ได้แก่ คลองบางประมุง 1 สถานี มีการเก็บ
ตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพน้้า จ้ านวน 4 ครั้งต่อปี แบ่งเป็น การเฝ้าระวังในช่วงฤดูหนาว (พ.ย. -ก.พ.)
ฤดูร้อน (มี.ค.-เม.ย.) และฤดูฝน (พ.ค.-ส.ค.) และในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ส้านักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 4
ได้ด้าเนินโครงการลดของเสียในแหล่งน้้าวิกฤตและการจัดการคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าหลักภายใต้โครงการ
บูรณาการงบประมาณการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า ปี 2560 - 2564 ซึ่งได้ด้าเนินการติดตามตรวจสอบและ
เฝ้ าระวังคุณภาพแหล่ งน้้ าสายหลั ก (แม่น้ าเจ้าพระยา) ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์เพิ่มเติม 5 สถานี และ
ด้าเนินการติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพน้้าในล้าน้้าสาขาที่ไหลลงสู่ แม่น้าปิง 3 สถานี แม่น้าน่าน
จ้านวน 5 สถานี แม่น้าเจ้าพระยา 5 สถานี และบึงบอระเพ็ด จ้านวน 4 สถานี ซึ่งด้าเนินการเฝ้าระวัง จ้านวน
2 ครั้งต่อปี โดยมีผลประเมินคุณภาพน้้าแหล่งน้้าโดยรวมและน้ามาเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้้าใน
แหล่งน้้าผิวดิน ได้ดังนี้

แม่น้าสายหลัก : แม่น้าปิง
จังหวัดนครสวรรค์ โดย ส้านักงานสิ่ งแวดล้ อมภาคที่ 4 นครสวรรค์ร่วมกับกรมควบคุมมลพิษ ได้
ด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าผิวดิน โดยมีสถานีติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพน้้าในด้าเนินการเฝ้า
ระวังคุณภาพน้้าแม่น้าปิงในเขตพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ จ้านวน 2 สถานี ได้แก่
PI02 บริเวณบ้านท้องคุ้ง ต้าบลท่างิ้ว อ้าเภอบรรพตพิสัย (พิกัด : X0604789 Y1761376)
PI01 บ้านเกาะตาเทพ ต้าบลวัดไทรย์เหนือ อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ ( พิกัด : X0620089 Y1738922)
ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้า ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 พบว่ามีคุณภาพแหล่งน้้า ผิวดินในระดับ พอใช้
(ระดับคุณภาพน้้า 3) มีค่าดัชนีชี้วัดคุณภาพน้้า Water Quality Index (WQI) ใน 4 ไตรมาส เท่ากับ 64.61
ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้ (WQI = 61 – 70 คะแนน)
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 4

มีดัชนีที่เป็นปัญหาส้าคัญที่ควรเฝ้าระวัง คือ ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการใช้ในการย่อยสลาย


สารอินทรีย์ (BOD) ปริ มาณออกซิเจนที่ละลายในน้้า (DO) และการปนเปื้อนของแบคทีเรียกลุ่ ม โคลิ ฟอร์ม
แบคทีเรียทั้งหมด และแบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม
ล้าน้้าสาขา :
คลองน้้าโจน ต.เจริญผล อ.บรรพตพิสัย ( พิกัด : X0605257 Y1738922)
คลองกระถิน ต.เจริญผล อ.บรรพตพิสัย ( พิกัด : X0605502 Y1738922)
คลองขนมจีน ต.เขาดิน อ.เก้าเลี้ยว ( พิกัด : X0607489 Y1738922)
ซึง่ ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้าพบว่าในล้าน้้าสาขาที่ไหลลงสู่แม่น้าปิงมีคุณภาพแหล่งน้้าผิวดินเฉลี่ย อยู่
ในระดับเสื่อมโทรม ค่า WQI อยู่ในช่วง 31-60
สาเหตุหลักของการที่คุณภาพน้้า ในแม่น้าปิงและล้าน้้าสาขามีแนวโน้ม เสื่อมโทรมลง คาดว่าอาจมา
จากการชะล้างหน้าดินในช่วงฤดูฝนจากพื้นที่เกษตรกรรม อาทิเช่น นาข้าว ไร่อ้อย ไร่ข้าวโพด รวมไปถึงน้้าทิ้ง
จากชุมชนตั้งอยู่ริมน้้าอย่างหนาแน่น ที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้้าโดยตรงโดยไม่มีการบ้าบัดน้้าเสีย และเนื่องจากใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ ประสบปัญหาเกิดภาวะฝนทิ้งช่วงให้เกิดการ
ขาดแคลนน้้าด้านการเกษตรในหลายพื้นที่ ท้าให้มีพืชผลทางการเกษตรแห้งยืนต้นตาย สลับกับการเกิดมรสุม
ท้าให้เกิดการเน่าของพืชผลทางการเกษตรนั้น ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ท้าให้เกิดคุณภาพน้้าเสื่อมโทรมได้

แม่น้าสายหลัก : แม่น้าน่าน
การด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าแม่น้าน่านในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ ได้มีสถานีติดตามตรวจสอบ
และเฝ้าระวังคุณภาพน้้า จ้านวน 3 สถานี ได้แก่
NA0.1 บริเวณศาลเทพารักษ์เจ้าแม่ทับทิม ต.ปากน้้าโพ อ.เมืองนครสวรรค์
(พิกัด : X0622715 Y1730784)
NA01 หน้าวัดเกรียงไกรใต้ ต.เกรียงไกร อ.เมืองนครสวรรค์ (พิกัด : X06270472 Y1739099)
NA1.1 สะพานข้ามแม่น้าน่านด้านเหนือเขตเทศบาลเมืองชุมแสง ต.ชุมแสง อ.ชุมแสง
(พิกัด : X0640264 Y1758087)
ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้าโดยรวม มีเกณฑ์คุณภาพน้้าในระดับ พอใช้ (ประเภท 3) พบว่ามีค่า WQI
(Water Quality Index) ใน 4 ไตรมาส เท่ากับ 63.98 ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้ (WQI = 61 – 70 คะแนน)
ล้าน้้าสาขา :
คลองกระเบียน ต.ชุมแสง อ.ชุมแสง (พิกัด : X0640102 Y1758249)
คลองปลากด ต.พันลาน อ.ชุมแสง (พิกัด : X0637246 Y1749126)
คลองบางหว้า ต.บางเคียน อ.ชุมแสง (พิกัด : X0626336 Y1749082)
คลองบ้านลาด ต.บางเคียน อ.ชุมแสง (พิกัด : X0629732 Y1751978)
คลองเกรียงไกร ต.เกรียงไกร อ.ชุมแสง (พิกัด : X0626961 Y1740988)
ผลการตรวจวั ด คุ ณ ภาพน้้ า พบว่ า ในล้ า น้้ า สาขาที่ ไ หลลงสู่ แ ม่ น้ า น่ า นมี คุ ณ ภาพแหล่ ง น้้ า ผิ ว ดิ น
ในระดับเสื่อมโทรม (ระดับคุณภาพน้้า 4) ซึ่งสาเหตุหลักของการที่คุณภาพน้้าในแม่น้า น่านและล้าน้้าสาขามี
แนวโน้มเสื่อมโทรมลง คาดว่ามาจากการชะล้างหน้าดินจากพื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ นาข้าว เนื่องจากเป็นพื้นที่
ที่มีการท้านาปีละ 3 รอบ จึงมีปริมาณการชะหน้าดินจากพื้นที่เกษตรจ้านวนมาก และอาจมีน้าทิ้งจากชุมชนที่
ปล่อยลงสู่แหล่งน้้าโดยตรงโดยไม่มีการบ้าบัดน้้าเสีย และของเสียจากการเลี้ยงปลาในกระชังตลอดล้าน้้าน่าน
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 5

แม่น้าสายหลัก : แม่น้ายม
ในการด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าแม่น้ายมในเขตพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ จ้านวน 1 สถานี ได้แก่
YO0.5 สะพานทางหลวงชนบท ต.ท่าไม้ อ.ชุมแสง (พิกัด : X0633881 Y1759655)
ผลการตรวจวัดคุณภาพแหล่งน้้า พบว่าแม่น้ายม มีเกณฑ์คุณภาพน้้าในระดับ พอใช้ (ประเภทที่ 3)
มีค่าระดับคุณภาพน้้า WQI (Water Quality Index) ใน 4 ไตรมาส เท่ากับ 58.17 ซึ่งอยู่ในระดับเสื่อมโทรม
(WQI = 31 – 60 คะแนน)
ดัชนีที่เป็นปัญหาส้าคัญที่ควรติดตามเฝ้าระวัง คือ การปนเปื้อนของแบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์ม
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้้า (DO) ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์
(BOD)
สาเหตุหลักคาดว่ามาจากการชะล้างหน้าดินในช่วงฤดูฝนจากพื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ นาข้าว รวมไป
ถึงการระบายน้้าทิ้งจากชุมชนที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้้าโดยตรงโดยไม่มีการบ้าบัดน้้าเสีย

แม่น้าสายหลัก : แม่น้าเจ้าพระยา
มีสถานีด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าแม่น้าเจ้าพระยาในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ จ้านวน 2 แห่ง และ
มีจุดเก็บน้้าตัวอย่างในการติดตามโครงการลดของเสียในแหล่งน้้าวิกฤตและการจัดการคุณภาพน้้าในแหล่งน้้า
หลักภายใต้โครงการบูรณาการงบประมาณการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า ปี 2560 - 2564 จ้านวน 3 แห่ง
รวมสถานีเฝ้าระวังทั้งสิ้น 5 สถานี ได้แก่
จุดเก็บที่ 1 สถานี CH32 บริเวณสะพานเดชาติวงศ์ ต้าบลปากน้้าโพ อ้าเภอเมืองนครสวรรค์
จุดเก็บที่ 2 สะพานถนนเลี่ยงเมือง ต้าบลตะเคียนเลื่อน อ้าเภอเมืองนครสวรรค์
จุดเก็บที่ 3 สะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยา วัดมณีวงศ์ ต้าบลย่านมัทรี อ้าเภอพยุหะคีรี
จุดเก็บที่ 4 วัดส้าโรง หมู่ที่ 2 ต้าบลน้้าทรง อ้าเภอพยุหะคีรี
จุดเก็บที่ 5 สถานี CH30 สะพานสมเด็จพระวันรัตน ต้าบลท่าน้้าอ้อย อ้าเภอพยุหะคีรี
ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้าโดยรวม พบว่าแม่น้าเจ้าพระยา คุณภาพน้้าโดยรวมอยู่ในมีเกณฑ์คุณภาพ
น้้ า ในระดับ พอใช้ -เสื่ อมโทรม (ประเภทที่ 3 - 4) ทั้ง นี้เ นื่อ งจากแม่ น้า เจ้ าพระยามีชุ มชนขนาดใหญ่ และ
หนาแน่นติดริมแม่น้า เช่น เทศบาลต้าบลบางมะฝ่อ เทศบาลต้าบลโกรกพระ เทศบาลต้าบลพยุหะ เทศบาล
ต้าบลท่าน้้าอ้อย เป็นต้น ซึ่งแต่ละแห่งไม่มีระบบบ้าบัดน้้าเสียรวมของชุมชน รวมทั้งมีท่อระบายน้้าทิ้งของ
ชุมชนลงสู่แหล่งน้้าโดยตรง ท้าให้ไม่สามารถควบคุมของเสียที่ระบายลงสู่แม่น้าได้ ประกอบกับแม่น้าเจ้าพระยา
เป็นแม่น้าที่เกิดจากการรวมกันของแม่น้าปิงและแม่น้าน่าน จากการนี้ปริมาณของเสียในล้าน้้าแม่น้าปิงและ
แม่น้าน่านจะมาไหลรวมกันในแม่น้าเจ้าพระยา ท้าให้เกิดของเสียจ้านวนมากและท้าให้ส่งผลต่อคุณภาพน้้า มี
ความเสื่อมโทรมลง

ล้าน้้าสาขาที่ไหลลงสู่แม่น้าเจ้าพระยา : คลองบางประมุง
จังหวัดนครสวรรค์ โดย ส้านักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 4 นครสวรรค์ร่วมกับกรมควบคุมมลพิษ ได้
ด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าผิวดิน โดยมีสถานีติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพน้้าในคลองบางประมุง
จ้านวน 1 สถานี ได้แก่ สถานี BPMC บริเวณวัดบางประมุง ต้าบลบางประมุง อ้าเภอโกรกพระ (X611193
Y1734498) และ มีสถานีติดตามโครงการลดของเสียในแหล่งน้้าวิกฤตและการจัดการคุณภาพน้้าในแหล่งน้้า
หลักภายใต้โครงการบูรณาการงบประมาณการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า ปี 2560 - 2564 จ้านวน 2 สถานี
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 6

ได้แก่ สถานี BPMC1 บริ เวณสะพานเลี่ ย งเมือง ต้าบลนครสวรรค์ตก อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ (X613776


Y1732438) และ สถานี BPMC2 บริ เ วณประตู ร ะบายน้้ า บางมะฝ่ อ ต้ า บลบางมะฝ่ อ อ้ า เภอโกรกพระ
(X616349 Y1726003)
ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้าพบว่าคลองบางประมุง มีคุณภาพน้้าโดยรวมอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม
(ประเภทที่ 4 )
มีดัชนีที่เป็นปั ญหาส้าคัญที่ควรเฝ้าระวัง คือ ปริมาณออกซิเจนที่ล ะลายในน้้า(DO) และปริ มาณ
ออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ (BOD)
สาเหตุ ห ลั ก มาจากการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ส่ ว นใหญ่ บ ริ เ วณริ ม คลองเป็ น การใช้ พื้ น ที่ เ พื่ อ การ
เกษตรกรรมและเป็นที่ตั้งชุมชนประเภทชุมชนชนบท อาจมีการชะล้างหน้าดินและปุ๋ยหรือการชะล้างน้้าเสียที่
เกิดจากการเน่าเสียของวัสดุเหลือใช้ในพื้นที่เกษตรกรรมร่วมกับน้้าทิ้งชุมชนที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้้าโดยตรงโดยไม่
มีการบ้าบัดน้้าเสีย จากสาเหตุดังกล่าวเป็นผลให้แหล่งน้้าต้องรับภาระความสกปรกจนเกินความสามารถในการ
รองรับของล้าน้้าจนเกิดปัญหาคุณภาพน้้าเน่าเสียได้

แหล่งน้้าผิวดินขนาดใหญ่ : บึงบอระเพ็ด
บึงบอระเพ็ด เป็นทะเลสาบน้้าจืดขนาดใหญ่ของจังหวัดนครสวรรค์ น้้าในบึงบอระเพ็ด ได้รับจาก
น้้าฝนธรรมชาติและน้้าจากที่ราบลุ่มโดยรอบบึงบอระเพ็ด มีเนื้อที่ทั้งหมด 132,737 ไร่ 56 ตารางวา อาณาเขต
ครอบคลุมในพื้นที่ 3 อ้าเภอ ได้แก่ อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ อ้าเภอท่าตะโก และอ้าเภอชุมแสง
จังหวัดนครสวรรค์ โดยส้านักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 4 ได้มีการด้าเนินการเฝ้าระวังคุณภาพน้้า
ในบึงบอระเพ็ด ในพื้นที่อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ และอ้าเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ จ้านวนรวม 5 สถานี
ได้แก่
สถานี BP01 บริเวณบ้านรังจิก ต้าบลพระนอน อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ (พิกัด : X0628680 Y1735813)
สถานี BP02 บ้านปลวกสูง ต้าบลพระนอน อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ (พิกัด : X0632071 Y1734828)
สถานี BP03 บ้านเนินระฆัง ต้าบลวังมหากร อ้าเภอท่าตะโก (พิกัด : X0638579 Y1734805)
สถานี BP04 บ้านท่าดินแดง ต้าบลเกรียงไกร อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ (พิกัด : X0630032 Y1737438)
สถานี BP05 บ้านหนองดุก ต้าบลแควใหญ่ อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ (พิกัด : X0626335 Y1736860)

ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้าโดยรวม พบว่าบึงบอระเพ็ด ระดับ เสื่อมโทรม (ประเภทที่ 4) ค่าดัชนีชี้


วัดคุณภาพน้้า (WQI) ใน 4 ไตรมาส เท่ากับ 59.83 ซึ่งอยู่ในระดับเสื่อมโทรม (WQI = 31 – 60 คะแนน)
สาเหตุหลักคาดว่ามาจากเนื่องมาจากในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาวปริมาณน้้าค่อนข้างน้อยประกอบกับ เป็น
แหล่งน้้านิ่ง ไม่มีไหลเวียนถ่ายเท สัตว์น้าที่อาศัยอยู่ตามธรรมชาติอาจมีการขับของเสียลงสู่แหล่งน้้าและบริเวณ
ใกล้เคียงมีการประกอบกิจการเพาะพันธุ์สัตว์น้า ได้แก่ ปลาและกบ อาจส่งผลให้ปริมาณเกลือและสารละลาย
อนิ น ทรี ย์ ต่าง ๆ ที่มีการระบายจากแหล่ งเพาะพันธุ์ล งในบึงบอระเพ็ ด ส่ งผลให้ ในน้้ามี ปริมาณเกลื อและ
สารละลายอนินทรีย์ต่าง ๆ ค่อนข้างสูง ได้
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 7

แม่น้ ำน่ำน
คุณภำพน้ ำประเภทที่ 3 (พอใช้)
แม่น้ ำปิ ง
คุณภำพน้ ำประเภทที่ 4
(เสื่ อมโทรม)

แม่น้ ำเจ้ำพระยำ
คุณภำพน้ ำประเภทที่ 4
(เสื่ อมโทรม)
บึงบอระเพ็ด
คุณภำพน้ ำประเภทที่ 4
(เสื่ อมโทรม)

ค่าดัชนีคุณภาพน้้าในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์
70
ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-63
65

60
WQI

55

50
แม่น้าน่าน แม่น้าปิง แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้ายม บึงบอระเพ็ด
WQI เฉลี่ย ปี60 64.75 66.5 61.38 64.5 66.25
WQI เฉลี่ย ปี61 60.3 63.3 63 66.75 67.8
WQI เฉลี่ย ปี62 65.43 65.5 62.1 65.85 65.67
WQI เฉลี่ย ปี63 63.98 64.61 59.75 58.17 59.83
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 8

สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหาแหล่งน้้าโดยรวม
คุณภาพน้้าผิวดินในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เมื่อพิจารณาจากค่า WQI ในแต่ละล้าน้้า อยู่ในเกณฑ์
คงเดิมเมื่อเปรียบเทียบกับ ปีที่ผ่านมา ซึ่งสาเหตุส้าคัญที่คงท้าให้คุณภาพน้้าเสื่อมโทรม ได้แก่ การปนเปื้อน
แบคทีเรียกลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (FCB) ,การปนเปื้อนแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (TCB) และ
แอมโมเนีย (NH3) สาเหตุโดยรวมที่เป็นปัจจัยหลักส่วนใหญ่มาจากน้้าทิ้งชุมชน รวมทั้งน้้าทิ้งจากกิจกรรมอื่นๆ
ได้แก่ กิจกรรมด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีการระบายน้้าทิ้งลงสู่แหล่งน้้าโดยไม่มีการบ้าบัดน้้า
เสียก่อน สาเหตุส่วนใหญ่ที่ท้าให้คุณภาพน้้าเสื่อมโทรม เกิดจากการเพิ่มขึ้นของจ้านวนประชากร การขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ และมีการใช้ประโยชน์ ที่ดินเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ โรงแรม รีสอร์ท ร้านอาหาร รวมทั้งการพัฒนา
ที่ดินที่ติดล้าน้้าเพื่อท้าการเกษตร รวมถึงการชะล้างปุ๋ยหน้าดินในพื้นที่เกษตรกรรม ลงสู่แหล่งน้้า จึงเป็นผลให้
แหล่งน้้าต้องรับภาระความสกปรกในภาพรวมจากการพัฒนาดังกล่าว ส้าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาแหล่ ง
น้้าในภาพรวม คือ สนับสนุนการจัดสร้างระบบบ้าบัดน้้าเสียรวมชุมชน เสริมสร้างศักยภาพให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการน้้าเสีย มีกิจกรรมการรณรงค์และสร้างจิตส้านึกให้แก่ประชาชน
ในการดูแลรักษาความสะอาดและการดูแลรักษาล้ าน้้าอย่างต่อเนื่องและยั่ง ยืนโดยชุมชน และโดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ริมแม่น้าสายหลัก ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการจัดการน้้าเสียจากกิจการของตนเอง
สนับสนุนให้มีการบ้าบัดน้้าเสียในบ้านเรือนเบื้องต้นโดยใช้ถังส้าเร็จรูปและติดตั้งถังดักไขมัน การส่งเสริมให้
ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังคุณภาพน้้าและร่วมรักษาแหล่งน้้า รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายอย่างมี
ประสิทธิภาพ

การจัดการน้้าเสียชุมชน
จังหวัดนครสวรรค์มีระบบบ้าบัดน้้าเสียชุมชน จ้านวน 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาล
เมืองชุมแสง และเทศบาลต้าบลท่าตะโก โดยมีรายละเอียดในแต่ละพื้นที่ดังนี้
1. โรงปรับปรุงคุณภาพน้้าเทศบาลนครนครสวรรค์
โรงปรับปรุงคุณภาพน้้าเทศบาลนครนครสวรรค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยา ซอยโกสีย์ 33 ถนน
โกสีย์ อ้าเภอเมืองนครสวรรค์ น้้าที่ผ่านการบ้าบัดแล้วจะถูกปล่อยออกสู่แม่น้าเจ้าพระยา โรงปรับปรุงคุณภาพ
น้้าเทศบาลนครนครสวรรค์ ใช้ระบบบ้าบัดน้้าเสีย แบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Process) ที่เรียกว่า ระบบ
บ้าบัดทางชีววิทยาแบบตะกอนเร่งแบบ MSBR (Modified Sequencing Batch Reactor) ซึ่งเป็นการพัฒนา
มาจากระบบแอคติเวเต็ด สลัดจ์ (Activated Sludge (AS)) ระบบนี้แตกต่างจาก Sequencing Batch
Reactor โดยทั่วไป ที่เป็นการรับน้้าเสียแบบเป็นช่วงๆ แต่เป็นการพัฒนาโดยมีการออกแบบเพื่อรองรับ น้้าเสีย
ที่มีปริมาณมากและสามารถไหลเข้าสู่เข้าระบบอย่างต่อเนื่อง (Continuous Flow Process) โดย น้้าเสียที่เข้า
สู่ระบบมาจะเข้าสู่ถังเติมอากาศขนาดใหญ่ซึ่งส่วนใหญ่จะออกแบบให้มีความลึกค่อนข้างมาก ถังเติมอากาศนี้
จะท้าหน้าที่เติมอากาศเพื่อให้จุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ จากนั้นน้้าเสียจะเข้าสู่ถังที่ท้าหน้าที่แยก
สลัดจ์ด้วยการตกตะกอน เมื่อถึงระยะเวลาที่ก้าหนดน้้าส่วนที่ใสที่ผ่านการบ้าบัดแล้วจะอยู่ส่วนบนและสามารถ
ระบายทิ้งออกได้ จากนั้นก็จะเริ่มน้าน้้าเสียจากถังเติมอากาศเข้าสู่ถังตกตะกอนใหม่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่ง การท้างาน
ของระบบนี้จะท้าให้ระบบมีความเหมาะสมกับพื้นที่ก่อสร้างระบบบ้าบัดน้้าเสียที่มีขนาดเล็กและรองรับน้้าเสีย
ที่มีปริมาณมากได้
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 9

โรงปรับปรุงคุณภาพน้้าของเทศบาลนครนครสวรรค์ มีขนาดของระบบที่ออกแบบไว้ส้าหรับการรองรับน้้าเสีย
36,000 ลู กบาศก์เมตร/วั น ในปั จ จุ บั น น้้ าเสี ยเข้าสู่ ระบบจริง เต็ มประสิ ทธิภ าพและสามารถเดินระบบได้
ตามปกติ

3.2 ระบบบ้าบัดน้้าเสียเทศบาลเมืองชุมแสง
ระบบบ้ าบัดน้้าเสียของเทศบาลเมืองชุมแสงเป็น ระบบบ้าบัดแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization
ponds) ซึ่งเป็นระบบบ้าบัดน้้าเสียที่อาศัยธรรมชาติในการบ้าบัดสารอินทรีย์ในน้้าเสีย ซึ่งประกอบด้วยบ่อหลัก 3
บ่อ ได้แก่
1) บ่อผึ่งแบบไร้ออกซิเจน (Anaerobic Pond) บ่อนี้จะท้าหน้าที่รับน้้าเสีย ที่มีสารอินทรีย์สูง
โดยของแข็ง จะตกลงสู่ ก้น บ่ อและถูก จุ ลิ น ทรีย์ ป ระเภทไม่ใช้ ออกซิ เจน (Anaerobic Bacteria) ท้าการ
สารอินทรีย์ย่อยสลายในสภาพไร้ออกซิเจนที่ก้นบ่อ และน้้าจะถูกส่งไปยังบ่อผึ่งแบบกึ่งไร้ออกซิเจนต่อไป
2) บ่ อผึ่ ง แบบกึ่ ง ไร้ อ อกซิ เ จน (Facultative
Pond) เป็นบ่อที่มีการบ้าบัดแบบการท้าความ
สะอาดตัวเอง (Self-Purification) สารอินทรีย์
ที่ อ ยู่ ใ นน้้ า จะถู ก ย่ อ ยสลายโดยจุ ลิ น ทรี ย์
ประเภทที่ใช้ออกซิเจน (Aerobic Bacteria)
เพื่อเป็นอาหารและส้าหรับการสร้างเซลล์ใหม่
และเป็นพลังงาน โดยใช้ออกซิเจนที่ได้จากการ
สังเคราะห์แสงของสาหร่ายที่อยู่ในบ่อส่วนบน
ส้ าหรั บบ่ อส่ วนล่ างจนถึ งก้ นบ่ อซึ่ งแสงแดดส่ องไม่ ถึ งจะมี ปริ มาณออกซิ เจนต่้ า จนเกิ ดสภาวะไร้ ออกซิ เจน
(Anaerobic Condition) และมีจุลินทรีย์ประเภทไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Bacteria) ท้าหน้าที่ย่อยสลาย
สารอินทรีย์
3) บ่อผึ่งแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Pond) จะมีการออกแบบให้ตื้นเพื่อให้แสงแดดส่องได้
ทั่วถึงทั้งบ่อ โดยมีจุลินทรีย์ประเภทใช้ออกซิเจน (Aerobic Bacteria) ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีในน้้า ก่อน
ระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม
ระบบบ้าบัดน้้าเสียของเทศบาลเมืองชุมแสง มีขนาดของระบบที่ออกแบบ 1,750 ลูกบาศก์เมตร/
วัน ในปัจจุบันยังไม่เปิดเดินระบบเนื่องจากอยู่ในระหว่างซ่อมแซมท่อรวบรวมน้้าเสียของสถานีสูบที่ 2 ก่อนน้า
น้้ าเสี ย เข้าสู่ ร ะบบบ้ า บั ดน้้ าเสี ย ที่เ กิดการทรุดตั ว และเร่ง ก้าจั ดบัว หลวงที่เ จริญ เติบ โตในบ่อ กึ่งไร้อากาศ
Facultative Pond และ บ่อบ่ม (Maturation Pond)
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 10

3.3 ระบบบ้าบัดน้้าเสียเทศบาลต้าบลท่าตะโก
ระบบบ้ าบัดน้้าเสี ยของเทศบาลต้าบลท่าตะโก
เป็ น ระบบบ้ า บั ด น้้ า เสี ย แบบบึ ง ประดิ ษ ฐ์ (constructed
wetland) ซึ่งเป็นระบบบ้าบัดน้้าเสียที่อาศัยกระบวนการทาง
ธรรมชาติ โดยใช้พืชท้าการบ้าบัดและก้าจัดธาตุไนโตรเจนและ
ฟอสฟอรั ส ผ่ านทางราก น้้ าที่ ผ่ านการบ้ าบั ด จากบ่อ ที่มีการ
ปลูกพืชแล้ว จะไหลเข้าสู่บ่อผึ่ง (Oxidation pond) เพื่อบ้าบัด
ขั้นสุดท้ายก่อนปล่อยออกสู่คลองเมรี
ขนาดของระบบที่ออกแบบไว้เดิมสามารถรองรับ
น้้าเสียได้ 50 ลูกบาศก์เมตร/วัน ในปัจจุบัน ได้มีการปรับปรุงระบบบ้าบัดใหม่ให้สามารถใช้งานได้ ปัจจุบันมี
ปริมาณน้้าเข้าในระบบประมาณ 13 ลูกบาศก์เมตร/วัน

สถานการณ์ด้านขยะมูลฝอยและการบริหารจัดการ
การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ในการสารวจฐานข้อมูลขยะมูลฝอยชุมชนของทั้งประเทศ ได้มอบหมาย
ให้กระทรวงมหาดไทย โดย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการสารวจข้อมูลและรายงานผลไปยัง
กระทรวงมหาดไทยผ่านระบบออนไลน์ตามแบบรายงานผลการบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (แบบรายงาน มฝ.2)
ผลสารวจปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563
พบว่า มีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมด เฉลี่ยวันละ 758.47 ตันต่อวัน
 ขยะทั่วไป เฉลี่ย 251.71 ตันต่อวัน
 ขยะอินทรีย์ เฉลี่ย 158.42 ตันต่อวัน
 ขยะรีไซเคิล เฉลี่ย 99.44 ตันต่อวัน
 ของเสียอันตราย เฉลี่ย 4.03 ตันต่อวัน
และมีขยะนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 329.25 ตันต่อวัน
การคัดแยก การนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่
ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.256๑ เป็นต้นมา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ได้มีการดาเนินการกิจกรรมตามนโยบายจังหวัดสะอาด โดยให้มีกิจกรรมการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง ได้แก่
กิจกรรมการคัดแยกขยะที่ต้นทางโดยใช้หลัก 3ช (ใช้น้อย ใช้ซ้า นากลับมาใช้ใหม่) กิจกรรมการทาถังขยะ
เปียกครัวเรือน โดยการทาถังหมักขยะเปียกในครัวเรือนเพื่อทาเป็นปุ๋ย การนาขยะอินทรีย์ไปหมักทาปุ๋ย การ
ทาน้าหมักชีวภาพ การเลี้ยงไส้เดือนจากขยะอินทรีย์ การนาไปเป็นอาหารสัตว์
เป็นต้น ทาให้ในพื้นที่ที่ไม่มีบริการเก็บขนขยะสามารถจัดการขยะอินทรีย์ได้ทั้งหมด สาหรับพื้นที่ที่มี
บริ การเก็บ ขนขยะจากการส ารวจในแหล่ งกาจัดขยะพบว่ายังมีขยะอินทรี ย์ปะปนอยู่แต่มีปริมาณน้อยลง
ประมาณ ร้อยละ ๒๐ - 45 ของขยะอินทรีย์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีบริการเก็บขน ทาให้ขยะอินทรีย์ที่ เข้าสู่แหล่ง
กาจัดขยะวิชาการเพียงแค่ประมาณ ร้อยละ 55 ในส่วนของการคัดแยกขยะรีไซเคิล พบว่าขยะรีไซเคิลมี
ปริมาณลดลง รวมไปถึงมีการคัดแยกขยะรีไ ซเคิลเพื่อนามาใช้ประโยชน์ใหม่ด้วยการประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่างๆ
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 11

มากขึ้น บางส่วนได้คัดแยกเพื่อขายทั้งแยกในครัวเรือนและนาเข้าธนาคารขยะแล้วขายให้กับร้านรับซื้อของเก่า
แต่เนื่องจากร้านรับซื้อได้รับผลกระทบจากการนาเข้าขยะจากต่างประเทศ ทาให้ธุรกิจค้าของเก่าบางแห่งปิ ด
ตัวลง ราคารับซื้อถูกลง ทาให้มีการคัดแยกขยะรีไซเคิลน้อยลง และเนื่องจากผลกระทบจากการเกิดโรคระบาด
โควิด พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไปทาให้ขยะที่เกิดส่วนใหญ่เป็นขยะทั่วไป เป็นประเภทต้องใช้ครั้งเดียวแล้ว
ทิ้งส่งผลให้ปริมาณขยะที่เข้าสู่แหล่งกาจัดในช่วงCOVID-19 สูงขึ้นจากช่วงก่อนเกิดการระบาดถึงร้อยละ 18

การเก็บขนและการนาไปกาจัด
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ในการสารวจฐานข้อมูลขยะมูลฝอยชุมชนของทั้งประเทศ ได้มอบหมาย
ให้กระทรวงมหาดไทย โดย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการสารวจข้อมูลและรายงานผลไปยัง
กระทรวงมหาดไทยผ่านระบบออนไลน์ตามแบบรายงานผลการบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (แบบรายงาน มฝ.2) ซึ่งปริมาณขยะที่เกิดขึ้นนั้น มีองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินงานการให้บริการเก็บขนขยะจานวนทั้งสิ้น 87 แห่ง จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทั้งหมด 142 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 67.27 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่ง
นาไปกาจัดอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ณ ศูนย์กาจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาล จานวน 4 แห่ง ได้แก่
1) ศูนย์กาจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาลของเทศบาลนครนครสวรรค์
2) ศูนย์กาจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาลของเทศบาลเมืองตาคลี
3) ศูนย์กาจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาลของเทศบาลเมืองชุมแสง
4) ศูนย์กาจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาลของเทศบาลตาบลท่าตะโก
และแหล่งกาจัดขยะแบบเทกองควบคุม (Control dump) จานวน 18 แห่ง
1) ทต.หนองเบน
2) ทต.ท่าน้าอ้อยม่วงหัก
3) ทต.ลาดยาว
4) ทต.ศาลเจ้าไก่ต่อ
5) อบต.วังม้า
6) อบต.วังเมือง
7) อบต.สระแก้ว
8) อบต.ชุมตาบง
9) อบต.แม่เปิน
10) อบต.แม่เล่ย์
11) อบต.เขาชนกัน
12) อบต.หนองปลิง
13) อบต.หัวดง
14) อบต.เขาทอง
15) อบต.สระทะเล
16) อบต.เนินมะกอก
17) อบต.นิคมเขาบ่อแก้ว
18) อบต.จันเสน
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 12

มีปริมาณขยะเข้าสู่ระบบการกาจัดแบบถูกหลักวิชาการ เฉลี่ยวันละ 343.04 ตันต่อวัน


จากการสารวจ ติดตามและให้คาแนะนาในการปรับปรุงแหล่งกาจัดขยะมูลฝอยพบว่าในแหล่งกาจัด
ขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่ายังมีขยะอินทรีย์ปะปนมาประมาณร้อยละ 20 - 45 เป็น
จาพวกกิ่งไม้ที่มีขนาดใหญ่ เศษผักและเปลือกผลไม้ตามฤดูกาล พบขยะรีไซเคิลน้อยลง และส่วนมากเป็นขยะ
ประเภทถุงพลาสติก
1.๕ การจัดการขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม
จากข้ อมู ลปริ มาณขยะที่ เกิ ดขึ้ น ปริ มาณขยะที่ น าไปก าจั ดที่ ถู กต้ องตามหลั กวิ ช าการมี แนวโน้ ม
เพิ่มมากขึ้น ส่งผลถึงการที่มีปริมาณขยะที่มีการกาจัดแบบไม่ถูกหลักวิชาการที่ลดลง ซึ่งเป็นผลมาจากนโยบาย
เร่งด่วนของรัฐบาลในการมุ่งเน้นการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายซึ่งได้ประกาศให้เป็นวาระแห่งชาติ
ส่ งผลให้ เกิดความตระหนั กรู้ ของประชาชน ดังจะเห็ นได้จากการมีการประชาสั มพันธ์และการที่มีการอบรม
ให้ความรู้ความเข้าใจของประชาชนในการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง และจากการที่จังหวัดนครสวรรค์ได้กาหนดให้
มีแนวทางการจัดการมูลฝอยใหม่แบบรวมกลุ่มพื้นที่ 5 กลุ่มพื้นที่ (Clusters) และมีโครงการเพิ่มศักยภาพการ
รองรับการกาจัดขยะใหม่ เพื่อรองรับปริมาณขยะจาก อปท.ร่วมทิ้ง ซึ่งเป็นหนึ่งในแนวทางการบริหารจัดการขยะ
ด้วยการกาจัดขยะที่ปลายทาง ร่วมด้วยโครงการอื่นๆ ที่ดาเนินการสนับสนุนตามนโยบายของรัฐบาล เช่น
1. โครงการบริหารจัดการและกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนลงทุนโดยเอกชน เทศบาลนครนครสวรรค์ ซึ่งได้
มีการลงนามข้อตกลงกับเอกชนในการดาเนินโครงการร่วมแล้ว คาดว่าจะเริ่มดาเนินการก่อสร้างในปี 2564
2. โครงการพัฒนาศักยภาพศูนย์กาจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาล (4 แห่ง) เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ
รองรับขยะจาก อปท. ที่ร่วมกาจัด
ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบรวมกลุ่มพื้นที่ 5 กลุ่มพื้นที่ (5 Clusters)
กลุ่ม เทศบาลที่ ที่ตั้ง ขนาด รูปแบบ/เทคโนโลยี
พื้นที่ รับผิดชอบ พื้นที่(ไร่)
1 เทศบาลนคร ต.บ้านมะเกลือ 266 ฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล เริ่มดาเนินการใช้งานตั้งแต่เดือน
นครสวรรค์ อ.เมือง กั น ยายน 2541ประกอบด้ ว ย อาคารที่ ท าการและโรงชั่ ง
น้าหนัก, อาคารจอดรถและโรงซ่อมบารุง, อาคารป้อมยาม,
บ้านพักคนงาน, โรงล้างรถ, พื้นที่บ่อน้า, บ่อบาบัดน้าชะขยะมูล
ฝอย (บ่อผึ่ง), บ่อตรวจคุณภาพน้า, บ่อฝังกลบขยะระยะที่ 1
2 เทศบาลตาบล ม.7 ต.หัวถนน 74 ฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล เริ่มดาเนินการใช้งานตั้งแต่ พ.ศ.
ท่าตะโก อ.ท่าตะโก 2553 ประกอบด้ ว ย อาคารที่ ท าการและโรงชั่ ง น้ าหนั ก ,
อาคารจอดรถและโรงซ่อมบารุง, อาคารป้อมยาม, บ่อบาบัดน้า
ชะขยะมูลฝอย (บ่อผึ่ง), บ่อตรวจคุณภาพน้า, บ่อฝังกลบขยะ
3 เทศบาลเมือง ม.7 บ้านหนองยอ 196 ฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล เริ่มดาเนินการใช้งานตั้งแต่พ.ศ.
ตาคลี ต.ตาคลี อ.ตาคลี 2544 ประกอบด้ ว ย อาคารที่ ท าการและโรงชั่ ง น้ าหนั ก ,
อาคารจอดรถและโรงซ่อ มบ ารุง, อาคารป้ อมยาม, บ้า นพั ก
คนงาน, บ่อบาบัดน้าชะขยะมูลฝอย (บ่อผึ่ง), บ่อตรวจคุณภาพ
น้า, บ่อฝังกลบขยะระยะที่ 1
4 เทศบาลเมือง ม.2 ต.พันลาน 25.25 ฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล
ชุมแสง อ.ชุมแสง เริ่มดาเนินการ เดือนมกราคม 2556 ประกอบด้วย อาคารที่
ทาการและโรงชั่งน้าหนัก, อาคารจอดรถและโรงซ่อมบารุง,
อาคารป้อมยาม, บ่อบาบัดน้าชะขยะมูลฝอย (บ่อผึ่ง), บ่อตรวจ
คุณภาพน้า, บ่อฝังกลบขยะ
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 13

5 เทศบาลตาบล อยู่ระหว่างการ - -
ลาดยาว จัดหาพื้นที่
ดาเนินการ

1.๖ การจัดการของเสียอันตรายชุมชน
การรวบรวมและกาจัดของเสียอันตรายชุมชน
ส าหรั บ การจั ด การของเสี ย อั น ตรายชุ มชนในจั งหวั ดนครสวรรค์ องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น ได้
มอบหมายให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ดาเนินการแทนในการจัดการของเสียอันตราย โดยได้มีการ
ลงนามข้อตกลง (MOU) ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครสวรรค์ และองค์การบริหารส่วน
จังหวัดนครสวรรค์ ในการรวบรวมของเสียอันตรายและนาส่งกาจัดไปยังบริษัทที่รับกาจัดของเสียอันตรายอย่าง
ถูกต้องตามหลักวิชาการ
ในปีงบประมาณที่ผ่านมา กระทรวงมหาดไทยได้มีการกาหนดเป้าหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดาเนินการรวบรวมขยะอันตรายในชุมชนด้วยการตั้งจุดรองรับของเสียอันตรายในชุมชนทุกชุมชนหรือหมู่บ้าน
ทุกหมู่บ้าน ร่วมกับการรณรงค์คัดแยกของเสียอันตรายชุมชนออกจากมูลฝอยทั่วไป สาหรับในปีงบประมาณ
พ.ศ.2563 ได้ดาเนินการสารวจปริมาณขยะอันตรายที่ อปท.รวบรวมได้และประชาสัมพันธ์นัดหมายให้ อปท.
นาของเสี ยอันตรายมารวมส่ง ณ จุ ดรวบรวมกลางขยะอันตรายจังหวัดนครสวรรค์ (บึงบอระเพ็ด) ตาบล
แควใหญ่ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และนาส่งกาจัดให้กับ บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด
(มหาชน) เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2563
โดยมีปริมาณของเสียอันตรายที่นาส่งกาจัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังนี้
- ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่แห้ง 745 กิโลกรัม
- หลอดไฟฟลูออเรสเซนส์ 2,950 กิโลกรัม
- ภาชนะบรรจุสารเคมี 1,473 กิโลกรัม
- ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 65 กิโลกรัม
- ของเสียอันตรายอื่นๆ 12 กิโลกรัม
รวมทั้งสิ้น 5,245 กิโลกรัม

ซึง่ เมื่อนามาเปรียบเทียบกับการรวบรวมและเก็บขนไปกาจัดในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 - 62 ในปี


2563 มีการแยกขยะอันตรายประเภทซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ส่งให้กาจัด แสดงได้ว่าองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและมีการจัดการที่ดีขึ้น
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 14

4500
3940.9
4000
3500
2950
3000 2748.9
2475.4
2500
2000
1473
1500
1000 745 838.6
405 485.1
500
0 0 65 0 137.5 12
0

ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63

มูลฝอยติดเชื้อ
ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อและการนาไปกาจัด
ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุขมุ่งเน้นการสร้างระบบการจัดการมูล
ฝอยติดเชื้อของหน่วยงานภาครัฐ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข
พ.ศ.2535 ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.256๓ พบว่า โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกต้องโดยแบบรวมศูนย์ โดยมีโรงพยาบาลชุมชนเป็นจุด
รวมมูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในเครือข่ายและมีการกากับดูแลคลินิกเอกชนในพื้นที่
ให้มีการบันทึกมูลฝอยติดเชื้อโดยใช้โปรแกรมกากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ จากข้อมูลจากโปรแกรมการกากับ
มูลฝอยติดเชื้อ พบว่า มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและถูกส่งไปกาจัดโดยเตาเผาที่ได้มาตรฐาน จานวน
592,699.69 กิโลกรัม (ที่มา : http://envmanifest.anamai.moph.go.th/?wasteProvince&id=3)
ซึ่งมีบริษัทที่รับเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์เพื่อไปกาจัด ได้แก่
1. ห้างหุ้นส่วนจากัด ส.เรืองโรจน์ สระบุรี เลขที่ 75/1 ม.2 ตาบลสร้างโสก อาเภอบ้านหมอ จังหวัด
สระบุรี
2. บริษัทโชติฐกรณ์พิบูลย์ จากัด เลขที่ 196/157 ม.1 ตาบลนครสวรรค์ตก อาเภอเมืองนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์
โดยมูลฝอยติดเชื้อของจังหวัดนครสวรรค์ที่จ้างเอกชนเก็บขนและนาไปกาจัดโดยการเผาในเตาเผาที่ได้
มาตรฐาน จานวน 2 แห่ง คือ เตาเผาขยะบริษัทโชติฐกรณ์พิบูลย์ จากัด จ.นครสวรรค์ และเตาเผาขยะนิคม
อุตสาหกรรมบางประอิน จ.พระนครศรีอยุธยา
ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์,256๓
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 15

แผนการจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2558-2562 มีแนวทางปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ
1) ก้าจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่ก้าจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่
2) สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) โดยในมีการ
ผลักดันและสนับสนุนภาคเอกชนให้มีโครงการแปลงขยะเป็นพลังงาน การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
จัดการขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม ก้าจัดโดยเทคโนโลยีแบบผสมผสานเพื่อท้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
3) วางระเบียบ มาตรการ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
4) สร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน เน้นให้ความรู้ประชาชน และบังคับใช้กฎหมาย โดย
ให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ผู้ บ ริ ห ารจั ดการในภาพรวมของจังหวัด (Single Manager) ซึ่งสอดคล้ องกับ
Roadmap ที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เห็นชอบ
จังหวัดนครสวรรค์ มีระบบก้าจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการจ้านวน 4 แห่ง คือ
1) เทศบาลนครนครสวรรค์ 2) เทศบาลเมืองตาคลี 3) เทศบาลเมืองชุมแสง และ 4) เทศบาลต้าบลท่าตะโก ซึ่
งทั้ง 4 แห่งมีการจัดการมูลฝอยแบบฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล ( Sanitary Landfill ) และยังมีศักยภาพที่
จะรองรั บ ขยะมูล ฝอยในพื้น ที่ ดังนั้ น เพื่อให้ ส อดคล้ องกับ สถานการณ์การจั ดการขยะมูล ฝอยของจังหวั ด
นครสวรรค์และสอดคล้องกับ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ประกอบกับเป็นการ
แก้ไขปัญหาการก้าจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องและตกค้างสะสมตามความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบ
แห่ ง ชาติ (คสช.) ส้ า นั ก งานทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มจั ง หวั ด นครสวรรค์ ร่ ว มกั บ ส้ า นั ก งาน
สิ่งแวดล้อมภาคที่ 4 จึงได้จัดท้า Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดนครสวรรค์ โดยเน้นการจัดการ
ขยะแบบการรวมกลุ่มพื้นที่( Cluster) ซึ่งใช้แนวทางการรวมกลุ่มพื้นที่โดยค้านึงถึงปริมาณและองค์ประกอบ
ขนาดของกลุ่มพื้นที่และระยะทางการขนส่งรวมทั้งความสามารถในการบริหารจัดการ โดยสามารถแบ่งกลุ่ม
รูปแบบการจัดการตามแนวทางดังกล่าว ดังนี้

กลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม สมาชิกกลุ่มพื้นที่ แนวทางการด้าเนินการของกลุ่มพื้นที่


1 ทน.นครสวรรค์ 1.ทต.หนองเบน การน้าขยะในการแปรรูปเป็นพลังงาน
2.ทต.โกรกพระ 1.รวบรวมขยะมูลฝอยไปก้าจัด ณ ศูนย์ก้าจัดขยะ มูล
3.ทต.บางประมุง ฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill) ของ
4.ทต.บางมะฝ่อ เทศบาลนครนครสวรรค์
5.ทต.บ้านแดน 2.สนับสนุนให้มีการน้าขยะในการแปรรูปเป็นพลังงาน
6.ทต.เก้าเลี้ยว 3.มีสถานีขนถ่ายและสถานีคัดแยกขยะ กระจายใน
7.ทต.บรรพตพิสัย พื้นที่กลุ่ม เพื่อลดระยะทางในการขนส่งและมีการ
8.ทต.พยุหะ จัดการขยะที่มีประสิทธิภาพด้วยการคัดแยกขยะที่
9.อบต.กลางแดด ต้นทางและขยะที่น้าเข้าสู่กระบวนการการแปรรูป
10.อบต.เกรียงไกร เป็นพลังงานมีประสิทธิภาพในการให้ค่าพลังงานมาก
11.อบต.แควใหญ่ ขึ้น
12.อบต.ตะเคียนเลื่อน 4.ปรับปรุงแหล่งก้าจัดขยะเดิมทีไ่ ม่ถูกหลัก
13.อบต.นครสวรรค์ตก สุขาภิบาลให้เป็นสถานีขนถ่ายไปยังศูนย์ก้าจัดมูล
14.อบต.นครสวรรค์ออก ฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล
15.อบต.บางม่วง 5.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการออกข้อบัญญัติ
16.อบต.บ้านมะเกลือ /เทศบัญญัติด้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือ
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 16

17.อบต.บึงเสนาท ประกาศท้องถิ่นในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย


18.อบต.วัดไทรย์ 6.รณรงค์สร้างจิตส้านึกในการคัดแยกมูลฝอยที่
19.อบต.ท่างิ้ว ต้นทาง กิจกรรมการลดการใช้ถุงพลาสติก ส่งเสริม
20.อบต.ยางขาว การใช้สินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการบรรจุใน
21.อบต.บางพระหลวง ไว้หลักสูตรของสถานศึกษา
22.อบต.บ้านแก่ง
23.อบต.หนองกรด(อ.เมืองฯ)
24.อบต.หนองกระโดน
25.อบต.หนองปลิง
26.อบต.โกรกพระ
27.อบต.นากลาง
28.อบต.เนินกว้าว
29.อบต.เนินศาลา
30.อบต.ยางตาล
31.อบต.ศาลาแดง
32.อบต.หาดสูง
33.อบต.ตาขีด
34.อบต.บางแก้ว
35.อบต.อ่างทอง
36.อบต.เขาดิน
37.อบต.มหาโพธิ
38.อบต.หนองเต่า
39.อบต.หัวดง
40.อบต.เจริญผล
41.อบต.บางตาหงาย
42.อบต.หนองตางู
43.อบต.หูกวาง
44.อบต.ด่านช้าง
45.อบต.ตาสัง
46.อบต.บึงปลาทู
47.อบต.หนองกรด (อ.บรรพตฯ)
48.อบต.เนินมะกอก
49.อบต.พยุหะ
50.อบต.ย่านมัทรี
2 ทต.ท่าตะโก 1.ทต.อุดมธัญญา จัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน
2.ทต.ไพศาลี 1.รวบรวมขยะมูลฝอยไปก้าจัด ณ ศูนย์ก้าจัดขยะ มูล
3.ทต.ตากฟ้า ฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill) ของ
4.อบต.ดอนคา เทศบาลต้าบลท่าตะโก
5.อบต.หัวถนน
2.เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ก้าจัดขยะมูลฝอยแบบถูกหลัก
6.อบต.พระนอน
7.อบต.ท่าตะโก สุขาภิบาล เพื่อการรองรับปริมาณขยะมูลฝอยจาก อปท
8.อบต.ท้านบ ในกลุม่ พื้นที่
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 17

9.อบต.พนมรอก 3.มีสถานีขนถ่ายและสถานีคัดแยกขยะกระจายใน
10.อบต.พนมเศษ พื้นที่กลุ่มเพื่อลดระยะทางในการขนส่งและมีการ
11.อบต.วังมหากร จัดการขยะที่มีประสิทธิภาพด้วยการคัดแยกขยะที่ต้น
12.อบต.สายล้าโพง
ทางและการน้ากลับมาใช้ประโยชน์
13.อบต.หนองหลวง
14.อบต.เขากะลา 4.ปรับปรุงแหล่งก้าจัดขยะเดิมที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล
15.อบต.โคกเดื่อ ให้เป็นสถานีขนถ่ายไปยังศูนย์ก้าจัดขยะมูลฝอยแบบ
16.อบต.ตะคร้อ ถูกหลักสุขาภิบาล
17.อบต.นาขอม 5.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการออกข้อบัญญัติ
18.อบต.โพธิ์ประสาท /เทศบัญญัติด้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือประกาศ
19.อบต.ไพศาลี ท้องถิ่นในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย และมีการ
20.อบต.วังข่อย
ควบคุมดูแลการประกอบกิจการของ
21.อบต.วังน้้าลัด
22.อบต.ส้าโรงชัย ร้านรับซื้อของเก่า
23.อบต.ล้าพยนต์ 6.รณรงค์สร้างจิตส้านึกในการคัดแยกขยะมูลฝอย
24.อบต.วังใหญ่ ที่ต้นทาง กิจกรรมการลดการใช้ถุงพลาสติก ส่งเสริม
25.อบต.ตากฟ้า การใช้สินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
26.อบต.พุนกยูง
27.อบต.สุขส้าราญ
28.อบต.เขาทอง
29.อบต.หนองบัว
3 ทม.ตาคลี 1.ทต.ช่องแค จัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน
2.ทต.ท่ า น้้ า อ้ อ ยม่ ว งหั ก 3. 1.รวบรวมขยะมูลฝอยไปก้าจัด ณ ศูนย์ก้าจัดขยะ
อบต.ตาคลี มูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill)
4.อบต.หนองหม้อ ของเทศบาลเมืองตาคลี
5.อบต.หัวหวาย
2.เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ก้าจัดมูลฝอยแบบถูกหลัก
6.อบต.เขาชายธง
7.อบต.หนองพิกุล สุขาภิบาลเพื่อการรองรับปริมาณขยะมูลฝอยจาก
8.อบต.จันเสน อปท.ในกลุ่มพื้นที่
9.อบต.ช่องแค 2.ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการขยะที่ต้นทาง
10.อบต.พรหมนิมิต และมีโรงคัดแยกขยะที่น้ากลับมาใช้ใหม่ได้
11.อบต.ลาดทิพรส 3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการออกข้อบัญญัต/ิ
12.อบต.สร้อยทอง เทศบัญญัติด้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือประกาศ
13.อบต.หนองโพ
ท้องถิ่นในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย และมีการ
14.อบต.ห้วยหอม
15.อบต.นิคมเขาบ่อแก้ว ควบคุม ดูแลการประกอบกิจการของร้านรับซื้อของ
16.อบต.น้้าทรง เก่า
17.อบต.สระทะเล 4.รณรงค์ สร้างจิตส้านึกในการคัดแยกมูลฝอยที่ต้น
ทาง กิจกรรมการลดการใช้ถุงพลาสติก ส่งเสริมการใช้
สินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
4 ทม.ชุมแสง 1.ทต.หนองบัว จัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน
2.ทต.ทับกฤช 1.รวบรวมขยะมูลฝอยไปก้าจัด ณ ศูนย์ก้าจัดขยะ
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 18

3.อบต.โคกหม้อ มูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill)


4.อบต.พันลาน ของเทศบาลเมืองชุมแสง
5.อบต.เกยไชย 2.เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ก้าจัดขยะมูลฝอยแบบถูก
6.อบต.ฆะมัง
หลักสุขาภิบาล เพื่อการรองรับปริมาณขยะมูลฝอยจาก
7.อบต.ทับกฤช
8.อบต.ทับกฤชใต้ อปท ในกลุม่ พื้นที่
9.อบต.ท่าไม้ 3.มีสถานีขนถ่ายและสถานีคัดแยกขยะกระจายใน
10.อบต.บางเคียน พื้นที่กลุ่มเพื่อลดระยะทางในการขนส่งและมีการ
11.อบต.ไผ่สิงห์ จัดการขยะที่มีประสิทธิภาพด้วยการคัดแยกขยะที่ต้น
12.อบต.พิกุล ทางและการน้ากลับมาใช้ประโยชน์
13.อบต.หนองกระเจา 4.ปรับปรุงแหล่งก้าจัดขยะเดิมที่ไม่ถูกหลัก
14.อบต.ทุ่งทอง
สุขาภิบาลให้เป็นสถานีขนถ่ายไปยังศูนย์ก้าจัดขยะมูล
15.อบต.ธารทหาร
16.อบต.วังบ่อ ฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล
17.อบต.หนองกลับ 5.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการออกข้อบัญญัติ/
18.อบต.ห้วยถั่วใต้ เทศบัญญัติด้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือประกาศ
19.อบต.ห้วยถั่วเหนือ ท้องถิ่นในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย และมีการ
20.อบต.ห้วยร่วม ควบคุม ดูแลการประกอบกิจการของร้านรับซื้อของเก่า
21.อบต.ห้วยใหญ่ 6.รณรงค์ สร้างจิตส้านึกในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่
ต้นทาง กิจกรรมการลดการใช้ถุงพลาสติก ส่งเสริมการ
ใช้สินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5 ทต.ลาดยาว 1.ทต.ศาลเจ้าไก่ต่อ จัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน
2.อบต.มาบแก 1.ปรับปรุงแหล่งก้าจัดขยะเดิมทีไ่ ม่ถูกหลักสุขาภิบาล
3.อบต.ลาดยาว ให้เป็นสถานีขนถ่ายไปยังศูนย์ก้าจัดขยะมูลฝอยแบบ
4.อบต.แม่เปิน ถูกหลักสุขาภิบาลเพื่อการจัดการขยะเก่าที่มีการ
5.อบต.เขาชนกัน สะสมในพื้นที่
6.อบต.แม่เล่ย์
7.อบต.แม่วงก์ 2.จัดหาสถานที่ก่อสร้างศูนย์ก้าจัดขยะมูลฝอย
8.อบต.วังซ่าน แบบถูกหลักสุขาภิบาล
9.อบต.ชุมตาบง 3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการออกข้อบัญญัติ
10.อบต.ปางสวรรค์ /เทศบัญญัตดิ ้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือ
11.อบต.เนินขี้เหล็ก ประกาศท้องถิ่นในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย และ
12.อบต.บ้านไร่ มีการควบคุมดูแลการประกอบกิจการ
13.อบต.วังม้า ของร้านรับซื้อของเก่า
14.อบต.วังเมือง 4.รณรงค์ สร้างจิตส้านึกในการคัดแยกขยะมูลฝอย
15.อบต.ศาลเจ้าไก่ต่อ ที่ต้นทาง กิจกรรมการลดการใช้ถุงพลาสติก ส่งเสริม
16.อบต.สร้อยละคร การใช้สินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
17.อบต.สระแก้ว
18.อบต.หนองนมวัว
19.อบต.หนองยาว
20.อบต.ห้วยน้้าหอม
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 19

ภาพแสดงศูนย์ก้าจัดขยะมูลฝอยจังหวัดนครสวรรค์

สถานการณ์ด้านคุณภาพอากาศ
จั ง หวั ด นครสวรรค์ มี ส ถานี ต รวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศอั ต โนมั ติ ข องกรมควบคุ ม มลพิ ษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ้านวน 1 สถานี ซึ่งตั้งอยู่บริเวณโครงการชลประทานนครสวรรค์ ซึ่งสถานี
ตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัตินี้มีการวัดคุณภาพอากาศตลอด 24 ชั่วโมงและมีการรายงานผลการตรวจวัด
เข้าสู่ระบบออนไลน์และแสดงผลรายชั่วโมงที่ http://air4thai.pcd.go.th และ Application ในโทรศัพท์
smart phone ทั้งระบบปฏิบัติการ IOS และ Android ที่ชื่อว่า Air4thai
คุณภาพอากาศในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์มักพบปัญหาปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน
(PM2.5) และขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) เกินมาตรฐานที่ก้าหนด ในช่วงฤดูการเก็บเกี่ยวผลิตผลทาง
การเกษตร ได้แก่ ข้าว และอ้อย
คุณภาพอากาศในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์มักพบปัญหาปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน
(PM2.5) เกินมาตรฐานที่ก้าหนด (เกิน 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ในช่วงฤดูการเก็บเกี่ยวผลิตผลทาง
การเกษตร ได้แก่ ข้าว และอ้อย ซึ่งช่วงระยะเวลาในการเกิดปริมาณฝุ่นละอองสูงสุดในแต่ละวันอยู่ในช่วงเวลา
21.00 น. – 06.00 น. ของวันถัดไป ซึ่งสอดคล้องกับการตรวจพบจุดความร้อนจากภาพถ่ายดาวเทียม ที่พบมัก
ตรวจพบจุดความร้อนในช่วงเวลา 22.00 น. และส่วนมากพบในพื้นที่เกษตรกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563
พบว่ามีปริมาณฝุ่นละอองขนาดขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2562 – เมษายน
2563 มีจ้านวนวันที่เกินมาตรฐานทั้งสิ้น 30 วัน (ตารางที่ 1)
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 20

ตารางที่ 1 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5)


วันที่ ธ.ค.62 ม.ค.63 ก.พ.63 มี.ค.63 เม.ย.63
1 40 41 52 28 51
2 14 26 63 32 40
3 14 27 73 28 43
4 25 34 60 23 42
5 32 32 51 20 31
6 37 38 47 29 41
7 37 46 36 24 45
8 37 67 43 26 39
9 35 52 60 54 27
10 44 55 33 41 28
11 63 65 41 45 40
12 68 78 53 30 31
13 70 63 36 25 22
14 64 56 29 24 29
15 53 53 26 29 38
16 47 54 32 31 35
17 48 63 38 27 27
18 42 59 33 25 22
19 47 71 35 22 17
20 43 75 51 31 19
21 39 57 45 24 24
22 38 67 41 22 33
23 46 65 36 23 28
24 48 48 44 22 20
25 62 27 48 32 15
26 70 28 - 32 17
27 77 49 - 41 15
28 42 50 - 38
29 38 46 - 57
สถานการณ์ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของจังหวัดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 21

30 50 50 47
31 50 31 49
รวม 8 วัน 16 วัน 7 วัน 2 วัน 1 วัน

ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 และ10 ไมครอนในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ที่เกินมาตรฐานที่ก้าหนด


ปีงบประมาณ จ้านวนวันที่มีปริมาณฝุ่นละออง จ้านวนวันที่มีปริมาณฝุ่นละออง
ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน
เกินมาตรฐาน (วัน) เกินมาตรฐาน (วัน)
2556 16 ยังไม่มีเครื่องมือตรวจวัด
2557 28 ยังไม่มีเครื่องมือตรวจวัด
2558 12 ยังไม่มีเครื่องมือตรวจวัด
2559 12 ยังไม่มีเครื่องมือตรวจวัด
2560 1 ยังไม่มีเครื่องมือตรวจวัด
2561 6 ยังไม่มีเครื่องมือตรวจวัด
2562 5 17
2563 - 30
ที่มา : ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครสวรรค์,2563

You might also like