You are on page 1of 5

การปลูกถั่วเหลือง

อาศัยนํ้าฝนตนฤดูกอนทํานาป

สุนนั นอยสระ 1/ ดร. สมศักดิ์ ศรีสมบุญ 2/ สุขสันต สุทธิผลไพบูลย 2/

ถั่วเหลือง เปนพืชไรตระกูลถั่วที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ จากขอมูลศูนยสารสนเทศการ


เกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ป 2538/39 มีพน้ื ทีป่ ลูกถัว่ เหลืองเหลือง 1.88 ลานไรไดผลิต
ผล 385,560 ตัน ซึง่ มีแนวโนมลดลงดังจะเห็นไดจากป 2542/43 พื้นที่ปลูกเหลือ 1.52 ลานไร
339,803 ตัน การปลูกถัว่ เหลืองมี 2 ลักษณะดวยกัน คือ รุน ที่ 1 ฤดูฝนปลูกในทีด่ อนชวงเดือน
พฤษภาคม–กันยายน รุน ที่ 2 ฤดูแลงปลูกในนาหลังเก็บเกีย่ วขาวระหวางเดือนพฤศจิกายน – มกราคม
ซึ่งไดรับการแข็งขันจากพืชอืน่ ทีป่ ลูกรายไดดกี วา ไมสามารถเพิม่ ปริมาณการผลิตไดมากเทาทีค่ วร ไม
เพียงพอกับความตองการตองประเทศตลอดมา ป 2540-และ2541 ซือ้ เมล็ดนํ้ามัน กากถัว่ เหลือง
รวมมูลคา 1.9 และ 1.6 หมืน่ ลานบาท เศษ ตามลําดับป 2542 นําเขาเมล็ด 1,007,983 ตัน 7,954
ลานบาท นํ้ามัน 4,927 ตัน 174 ลานบาทกากถัว่ เหลือง 1,331,099 ตัน 8,981 ลานบาท นํ้ามัน
17,109 ลานบาท

ตามที่คณะเจาหนาที่และหัวหนาศูนยไรนาสาธิตเพชรบุรี สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ ไดทดสอบปลูกถัว่ เหลือง สจ 2 อาศัยนํ้าฝนตนฤดูกอ นทํานาปในนาเกษตรกร ชวงตนเดือน
พฤษภาคม – สิงหาคม 2515-18 ไดผลผลิตพอใชขายถัว่ แระไดเงินเฉลีย่ ไรละ 638.02 บาท และถั่ว
เมล็ดแหง 98.4 กก.ๆ ละ 3-4 บาทเงิน 344.48 บาท รวมรายได 982.50 บาท โดยไมขัดกับการทํา
นาปแตอยางใด ป 2530-36 ดร. ทวีและคุณกัลยา คุปตกาญจนากุล ไดศกึ ษาทดลองการปลูกถัว่
เหลืองพันธุนครสวรรค 1 และพันธุเชียงใหม 60 ในชุดดินนาอยุธยาอาศัยนํ้าฝนตนฤดูตอนตนเดือน
พฤษภาคมเหลื่อมเวลาอนปลูกขาวทนนํ้ าลึกพันหธุหันตรา 60 ที่สถานีทดลองขาวหันตรา จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา เก็บเกีย่ วเดือนสิงหาคมไดผลผลิตเฉลีย่ 179 และ 160 กก. ตอไร ตามลําดับ จาก
การตรวจสอบปริมาณนํ้าฝนระหวางป 2522-36 รวม 15 ป ของสถานีทดลองขาวหันตรา พบวา
ปริมาณนํ้าฝนเฉลีย่ รายเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม มีไมนอ ยกวา 100 มม. แสดงวา มีเพียงพอตอการ
ปลูกถัว่ เหลืองในชวงนี้

จากเหตุผลที่ตองเสียเงินตราตางประเทศในการนํ าเขาถั่วเหลืองและผลิตภัณฑประกอบกับมีตัว
อยางขางตนใหเห็นแลววาสามารถเพิ่มปริมาณการผลิตได จึงขอขอมูลพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองเฉพาะใน
เดือนพฤษภาคมยอนหลังป 2540-2542 จากฝายขอมูลสงเสริมการเกษตรกองแผนงาน กรมสงเสริม
การเกษตร วามีอยูใ นอําเภอจังหวัดในบาง ปรากฏปลูกมากนอยตางกันไป ดังตอไปนี้
1. อําเภอเมือง ลานกระบือพรานกระตาย ขาณุวรลักษบรุ ี คลองขลุง ไทรงาม ปางศิลาทอง
ทรายทองวัฒนา จังหวัดกําแพงเพชร
2. อําเภอเมืองดอยเตา แมแตง สันปาตอง แมแจม แมอาย จังหวัดเชียงใหม
3. อําเภอเมือง แมจัน แมสรวย แมฟาหลวง พญาเม็งราย กิง่ คอยหลวง จังหวัดเชียงราย
4. อําเภอเมือง บรรพตพิสัย ตาคลี ตากฟา จังหวัดนครสวรรค
5. อําเภอสามงาม ตะพานหิน กิง่ บึงนาราง จังหวัดพิจิตร
6. อําเภอชาติรอ งกวาง เดนชัย จังหวัดแพร
7. อําเภอชาติตระการ พรหมพิราม บางระกํา วัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลก
8. อําเภอเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ
9. อําเภอแมลานอย ปางมะผา แมสะเรียง จังหวัดแมฮอ งสอน
10. อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง
11. อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําพูน
12. อําเภอสวรรคโลก ศรีสําโรง ศรีสชั นาลัย ศรีนคร คีรมี าศ กงไกรลาค จังหวัดสุโขทัย
13. อําเภอเมือง พิชัย ตรอน ทาปลา จังหวัดอุตรดิตถ
14. อําเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี
15. กิง่ อําเภอหนองนาคํา จังหวัดขอนแกน
16. อําเภอเชียงคาน วังสะพุง กิ่งหนองหิน จังหวัดเลย
17. อําเภอสังคม จังหวัดหนองคาย
18. อําเภอโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี
19. อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
20. อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
21. อําเภอพนมสารคาม สนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
22. อําเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี

เมื่อตรวจดูขอ มูลปริมาณนํ้าฝนเฉลีย่ ทีต่ กในแตละเดือนชวงพฤษภาคม – กรกฏาคม ยอนหลัง


ระหวางป 2532-42 ของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา พบวาสวนใหญมีมากกวา 100 มม. ขึน้ ไป จึงไดมีจด
หมายถามไปยังเกษตรอําเภอดังกลาว ไดรับคําตอบปลูกในสภาพที่ไรทง้ั สิน้ ยกเวนอําเภอพรหมพิราม
จังหวัดพิษณุโลก ทีร่ าบมากอนวาปลูกในนา หลังจากนัน้ สนใจทีจ่ ะทดสอบในนาของเกษตรกรในอําเภอ
ตาลี จังหวัดนครสวรรค อําเภอโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี เพราะอยูใ กลกนั สะดวกในการเดินทาง ซึง่ ได
รับความอนุเคราะหจาก คุณออมทรัพย ไวทยากรณวิลาก และผูอํานวยการกองแผนงาน กรมสงเสริม
การเกษตร มีบนั ทึกสอบถามขอมูลตางๆ กับเกษตรอําเภอทัง้ สาม เมื่อไปตรวจดูสภาพที่นา และพูดคุย
กับเกษตรตําบลแลว ดวยเหตุผลหลาย ตรวจดูสภาพที่นาและพูดคุยกับเกษตรตําบลแลว ดวยเหตุผล
หลายประการจึงไดตกลงดําเนินการทีอ่ ําเภอโคกสําโรง โดยนายเขียน อานุภาพ 57 หมู 2 ตําบทหนอง
แขม มีท้ังทีน่ าและทีไ่ รปลูกถัว่ เหลืองตลอดมาเปนผูร ว มดําเนินการ สวนรายละเอียดประมวลไดดงั นี้

ในการตรวจสอบชุ ดดินที่นานี้ จากแผนที่รายงานความเหมาะสมของชุดดินเพื่อการปลูกพืช


เศรษฐกิจ โครงการใชประโยชนทด่ี นิ ตามแผนการใชทด่ี นิ อําเภอโคกสําโรง จังหวัดลพบุรขี องกองสํารวจ
และจําแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน พบวา เปนชุดดินนาลพบุรี ความลาดชัน 0-2% หนาดินลึก เนือ้ ดิน
เปนดินเหนี่ยวปนทรายแปง มีสีดําหรือสีเทาเขม ปริมาณอินทรียวัตถุสูง มีฤทธิ์เปนดาง มีธาตุ
ฟอสฟอรัสตํ่าแตธาตุโปแตสเซี่ยมสูง ความอุดมสมบูรณปานกลาง การเตรียมดินไถดะไถแปรวันที่ 21
เมษายน และ 2 พฤษภาคม 2543 ใชพันธุเชียงใหม 2 หลังจากคลุกเชื้อไรโซเบียม ปลูกเปนแถวระยะ
50+5 ซม. อัตรา 15 กก. ตอไรเนือ้ ที่ 2 ไร 75 ตารางวาหวานใชเมล็ดพันธุ 15 กก. ตอไรแลวคราด
กลบเนือ้ ที่ 1 ไร 300 ตารางวา พรอมกันในวันที่ 9 พฤษภาคม ตนถัว่ งอกวันที่ 14 พฤษภาคม แปลง
ปลูกเปนแถวใชแรงงานจาง 6 คนคายรุน ถากหญาวันที่ 25 พฤษภาคม สวนแปลงหวานฉีดสารเคมี
กําจัดหญาเปอรซูทวันที่ 20 พฤษภาคม นอกจากนีย้ งั ใชสารฆาแมลงอโซดรินปองกันกําจัดหนอนเจาะ
ลําตน กับฮอรโมนเรงการเจริญเติบโตเชือ่ วาออกดอกติดผลดกวันที่ 29 ในการตรวจดูแมลงพบหนอน
เจาะลําตนบางสวนโรคไมคอ ยมี เมือ่ โตเต็มทีต่ น ถัว่ สูงประมาณ 50 ซม. วันที่ 5 สิงหาคม ทําการสุม ตัว
อยางเก็บผลผลิตแปลงละ 5 จุด แตละจุดกวาง 2 เมตรยาว 4 เมตร แปลง ปลูกเปนแถวไดเมล็ดถัว่ รวม
6.7 กก. เมือ่ คํานวณตอไรได 268 กก. สวนแปลงหวานรวม 7.3 กก. ได 292 กก. ตอไร พอคาทองถิน่
ใหราคากก.ละ 9 บาทเมื่อเปรียบเทียบรายจายรายไดตอไรไดผลลัพท คือ

รายการ การปลูกเปนแถว การปลูกแบบหวาน


(บาท) (บาท)
1. คาจางรถไถดะ 100.00 100.00
2. คาจางรถไถแปร 100.00 100.00
3. คาจางรถปลูก 100.00 -
4. คาเมล็ดพันธุ 300.00 300.00
5. คาเชื้อไรโซเบียม 15.00 15.00
6. คาจางรายรุน หรือ
ใชสารกําจัดวัชพืช 329.14 128.57
7. คาสารฆาแมลง 43.84 43.84
8. คาสารฮอรโมน 8.96 8.96
9. คาจางเหมาเกี่ยว 200.00 200.00
10.คาจางรถนวดฝดเสร็จ 116.67 121.67
รายการ การปลูกเปนแถว การปลูกแบบหวาน
(บาท) (บาท)
รวมรายจายที่จายเปนเงินสด 1,315.67 1,018.04
รายไดขายเมล็ดถัว่ 2,412.00 2,628.00
รายไดเมื่อหักรายจาย 1,098.39 1,609.96

นอกจากผลผลิตการปลูกแบบหวานมากกวาแบบปลูกเปนแถวแลว และการทีร่ ายไดตอ ไรมาก


กวาก็เนื่องจากไมตอ งเสียคาจางรถปลูกกับคาแรงงานคายรุน มาก เหมือนปลูกแบบเปนแถว

การทดสอบยืนยันครัง้ นีไ้ ดผลเปนทีน่ า พอใจ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากใชเทคโนโลยีพนั ธุด อี ายุสน้ั รวมทัง้ ใช
เชื้อไรโซเบียมทีม่ อี ยูใ นขณะนีด้ ว ย อนึ่งปจจัยที่สําคัญที่สุด คือ ปริมาณนํ้าฝน 3 เดือนชวงดังกลาวเพียง
พอต อการปลู ก ถั่ว เหลื อง จากขอมู ลของกองแผนงาน กรมสงเสริ มการเกษตร แล ว ร ว มกั นได
6,599,547 ไร นอกจากนีย้ งั ไดตรวจดูปริมาณนํ้าฝน 3 เดือนในอําเภอทีไ่ มไดปลูกถัว่ เหลืองใน 22
จังหวัด ของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา ปรากฏวามีปริมาณนํ้าฝนเพียงพอเหมือนกันใน 9 จังหวัด 26 อําเภอ ดัง
นี้
1. อําเภอคลองลาน จังหวัดกําแพงเพชร
2. อําเภอเมืองฝาง แมรนิ จอมทอง ดอยสะเก็ด พราว อมกอย สะเมิง ฮอค สารภี สันทราย
หางดง สันกําแพง เชียงดาว กิ่งเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม
3. อําเภอเมือง จังหวัดแพร
4. อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
5. อําเภอเมือง หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ
6. อําเภอเมือง จังหวัดแมฮอ งสอน
7. อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง
8. อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
9. อําเภอชัยบาดาล พัฒนานิคม บานหมี่ จังหวัดลพบุรี

เมื่อรวมพืน้ ทีน่ าทัง้ สองนีไ้ ดใน 22 จังหวัด 86 อําเภอ มีพน้ื ทีน่ ารวมทัง้ หมด 8,086,201 ไร
ถาหักพืน้ ทีน่ าเขตชลประทานออกรอยละ 20 จะเหลือพืน้ ทีน่ าเขตนํ้าฝน 6,468,201 ไร ซึง่ ใชเปน
แนวทางสานตอหรือตอยอดพิจาร หาพื้นที่ที่เหมาะสมขยายผลตอไป

จากเอกสารวิชาการคูมือแนวทางการจัดการกิน สําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจตามกลุม ดินในภาค


ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต ของกลุม วินจิ ฉัยและประเมินกําลังผลิตของดิน กอง
สํารวจและจําแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน พบวา มีกลุม ดิน 10 กลุม และชุดดินนา 46 ชุด ที่มีความ
เหมาะสมปลูกถัว่ เหลืองในนา ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้
1. กลุม ดินที่ 1 ไดแกชุดดินนาชองแค ทาเรือ โคกกระเทียม บานหมี่ ลพบุรี-ตํ่า บุรรี มั ย-
ตํา่ บางเลน วัฒนา ใหผลผลิต 180-250 กก. ตอไร
2. กลุมที่ 4 ไดแกชุดดินนาชัยนาท ราชบุรี ทาพล สระบุรี บางมูลนาค ใหผลผลิต 165-
197 กก.ตอไร
3. กลุมที่ 5 ไดแกชดุ ดินนาหางดง พาน ละงู ใหผลผลิต 162-244 กก. ตอไร
4. กลุมที่ 6 ไดแกชุดดินนามโนรมย เชียงราย นครพนม ปากทอ แกลง บางนรา ใหผล
ผลิต 199-261 กก.ตอไร
5. กลุมที่ 7 ไดแกชุดดินนานครปฐม อุตรดิตถ ทาตูม เดิมบาง สุโขทัย พิจิตร ผักกาดใหผล
ผลิต 140-298 กก.ตอไร
6. กลุมที่ 15 ไดแกชุดดินนานาน แมสาย แมทะ เฉลียงลับ ลับแล หลมสัก ใหผลผลิต 166-
298 กก. ตอไร
7. กลุมที่ 17 ไดแกชดุ ดินนาหลมเกา รอยเอ็ด เรณู บุณฑริก สายบุรี่ ใหผลผลิต
8. กลุมที่ 18 ไดแกชดุ ดินนาเขายอย ชลบุรี โคกสําโรง ใหผลผลิต 180-200 กก. ตอไร
9. กลุมที่ 21 ไดแกชดุ ดินนาสรรพยา เพชรบุรี ใหผลผลิต 156-184 กก. ตอไร
10. กลุมที่ 22 ไดแกชดุ ดินนาสันทราย สีทน ใหผลผลิต 170-216 กก. ตอไร

ขอมูลผลผลิตตอไรขางหนาไดจากการสุมตัวอยางในแปลงของเกษตรกร สวนขางหลังเปนผล
ผลิตตอไรที่เขาไปจัดการใสปุยพรวนดินคายหญาในแปลงของเกษตรกร หรือไดจากการทดลอง เมือ่
ประมวลชุดดินนาขางตนทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ จากรายงานสํารวจดินของกองสํารวจและจําแนกดิน กรม
พัฒนาที่ดิน ที่พื้นที่รวมประมาณ 49.5 ลานไร คิดเปนรอยละ 79 ของพื้นที่นาทั้งประเทศ 62.68 ลาน
ไร ดั งนั้ นการทดสอบปลูกถั่วเหลืองครั้งนี้เปนการจุดประกายความคิดมานานแลวฉีกมุมมองหนึ่ง
สามารถเพิม่ ปริมาณ การผลิตโดยไมตอ งแขงขันกับพืชอืน่ ได ใชสภาพภูมิอากาศนํ้าฝน ทีเ่ อือ้ อํานวยอยู
แลวใหเปนประโยชน ประจักษความจริง วาทําได สมควรทีน่ กั บริหาร นักวิชาการ นักสงเสริม รับชวงไว
พิจารณาดําเนินการตอไป เพือ่ ผลประโยชนของประเทศชาติทไ่ี มตอ งใชพชื ตัดแตงพันธุก รรม (GMDs)
ทดแทนการนําเขา อีกทัง้ ไมตอ งเสียเงินตราตางประเทศ การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เกษตรกรมีรายได
เพิ่มขึ้น รวมทั้งปรับปรุงดินนาใหคงความอุดมสมบูรณ และผลผลิตขาวนาปเพิม่ ขึน้ อีกดวย

จัดทําเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สํานักสงเสริมและฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

You might also like