You are on page 1of 57

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.

2561-2565)
ของเทศบาลตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง
จังหวัดสงขลา
ส่วนที่ 1
------------------------
สภาพทั่วไปและข้อมูล
พื้นฐาน
๑.ด้าย
กายภาพ
1.๑ ที่ตงั ้ /ประวัติความเป็ นมา
ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา เป็ นตำบล
หนึง่ ในอำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ซึง่ เดิมนัน
้ ขึน
้ กับอำเภอรัตภูมิ
จังหวัดสงขลา “บางเหรียง” เป็ นคำที่เพีย
้ นมาจากคำว่า “บางเรียง”
กล่าวคือ การตัง้ ชื่อบ้านในอดีตนัน
้ เริ่มต้นมาจากอำเภอหาดใหญ่ที่มีช่ อ

ชุมชนหนึง่ ว่า บ้านบางแฟบ แล้วไล่เรียงกันมาเป็ น บางกล่ำ บางหยี บาง
ทีง เรียงกันมาจนถึงบางสุดท้ายคือ บางเรียง ก็คือตำบลบางเหรียงใน
ปั จจุบันซึ่งในตำบลบางเหรียงมีหมู่บ้านที่ใช้ช่ อ
ื บางเหรียงถึง 3 หมู่บ้าน คือ
หมู่ที่ 3 บ้านบางเหรียงตก เพราะตัง้ อยู่ ทางฝั่ งตะวันตกของคลองบาง
เหรียง หมู่ที่ 4 บ้านบางเหรียงบน เพราะตัง้ อยู่ต้นน้ำของคลองบางเหรียง
และ คลองบางกล่ำ และหมู่ที่ 5 บ้านบางเหรียงใต้ เพราะ
อยู่ล่างสุด อาณาเขตติดต่อกับทะเลสาบ
สำหรับชุมชนของตำบลบางเหรียงนัน
้ ถ้าหากดูตามลักษณะ
อาคารบ้านเรือนก็คาดว่าชุมชนแรกในตำบลบางเหรียง คือชุมชนที่อยู่
2

อาศัยริมคลองบางเหรียง เนื่องจากยังมีสภาพอาคารบ้านใต้ถุนสูงซึ่งเป็ น
รูปทรงอาคารบ้านเรือนในอดีตและประชาชนกลุ่มแรกที่มาตัง้ ถิ่นอาศัย
เป็ นคนไทยเชื้อสายจีน ที่มาทำมาค้าขายโดยการปลูกละมุด (สะหวา) ส้ม
โอ และพลู เพราะในสมัยก่อนนัน
้ ประชาชนส่วนใหญ่นิยมกินหมาก
เป็ นการต้อนรับแขกที่มาเยี่ยมบ้าน และในระยะต่อมาก็กลายมาเป็ นสวน
ผักที่มีช่ อ
ื เสียง ในอดีตประชาชนในตำบล บางเหรียงได้ค้าขาย
โดยทางเรือไปมาหาสูค
่ ้าขายกับชุมชนบ้านเกาะยอ และเมื่อมีการก่อตัง้
สถานีรถไฟก็มีการนำผักไปขายบนรถไฟโดยเริ่มต้นที่สถานีบ้านเกาะใหญ่
ไปสิน
้ สุดสถานีรถไฟหาดใหญ่และบางส่วนก็ไปสิน
้ สุดที่สถานีรถไฟบ้าน
ปากคลอง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง และส่งสินค้าไปขายต่อที่จังหวัด
ตรัง ถ้าหากยังมีผักเหลือผู้ค้าก็จะนำผักไปขายบริเวณตลาดรถไฟ จนทำให้
ผูท
้ เ่ี ดินทางด้วยรถไฟรูจ
้ ก
ั ตำบลบางเหรียงเป็ นอย่างดี
การติดต่อราชการของประชาชนในตำบลบางเหรียงในอดีต
ในอดีตที่ว่ากิ่งอำเภอรัตภูมิตงั ้ อยู่ที่ หมู่ที่ 3 ตำบลรัตภูมิ (ปาก
บางภูมี) เมื่อทางกำนัน ผู้ใหญ่บ้านหรือประชาชนมีความจำเป็ นต้องติดต่อ
ราชการกับอำเภอ ต้องอาศัยเรือพาย เรือแจวหรือเรือ หางยาวใช้ล่องไป
ตามลำคลองบางเหรียง หรือคลองบางกล่ำ ออกไปสู่ทะเลสาบสงขลาแล้ว
เข้าสู่คลองปากบางภูมี และจากนัน
้ ก็เดินเท้าไปอำเภอรัตภูมิเพื่อติดต่อ
ราชการ ส่วนการติดต่อราชการกับจังหวัด ก็ใช้เรือแจว เรือยนต์ เรือ
หางยาวไปทางคลองบางเหรียงหรือคลองบางกล่ำ ล่องออกไปสู่ทะเลสาบ
สงขลาและล่องต่อเข้าช่องเขาเขียวและไปขึน
้ ท่าเทียบเรือเพื่อไปติดต่อ
ราชการจังหวัดในสถานที่ต่างๆ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลจังหวัด
3

แผนที่ตงั ้ ของหมู่บ้านในเขตพื้นที่ตำบลบางเหรียง

หมู่ 12

หมู่ 2 หมู่ 5
หมู่ 1
หมู่ 3
หมู่ 10 หมู่ 8 หมู่ 6

หมู่ 4
หมู่ 7
หมู่ 11
หมู่ 9

หมู่ 13

2
4

หมู่ ่ 62
๑.๒ ลักษณะภูมิประเทศ หมู
หมู
หมู ่4
หมู่่ 53
มีสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็ นเนิน ที่ราบ และที่ลุ่ม มีความเหมาะ
สมกับการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร เช่น สวนยางพารา สวนผัก
และเป็ นพื้นที่ชายฝั่ งทะเลสาบสงขลาเหมาะสำหรับประมงชายฝั่ งทะเล
และเหมาะสำหรับพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และสถานที่พัก
ผ่อนหย่อนใจ จำแนกได้ ดังนี ้
1. ที่เนิน ประกอบด้วย หมู่ที่ 11 และ 13 เหมาะสมแก่
การปลูกยางพารา
2. ที่ราบ ประกอบด้วย หมู่ที่ 1,2,3,4,6,7,8,9 และ 10
เหมาะสมแก่การทำสวนผักและปลูกยางพารา
3. ที่ลุ่ม ประกอบด้วย หมู่ที่ 1,2, 5, 6,8,9,10 และ 12
เหมาะสมแก่การทำสวนผัก เลีย
้ งปลาและประมงชายฝั่ ง
๑.๓ ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอ ากาศโดยทั่วไปของตำบลบางเหรียงเป็ นอากาศ
ร้อนชื้น มี ๒ ฤดู คือ
-ฤดูร้อน เริ่มตัง้ แต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือน
กันยายน
-ฤดูฝน เริ่มตัง้ แต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์
ซึง่ จะเป็ นระยะมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือจะทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวจะมีฝนตกชุก
๑.๔ ลักษณะของดิน
ลักษณะของดิน พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลบางเหรียงเป็ นดิน
ร่วนและดินร่วนปนทราย เหมาะแก่การทำการเกษตร เช่น
ปลูกยางพารา ปลูกผักเศรษฐกิจ
5

2. ด้านการเมือง/การ
ปกครอง

การปกครองตำบลบางเหรียงตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบัน มีผู้


ปกครองซึ่งเป็ นกำนันประจำตำบล จำนวน 9 คน ดังนี ้
1. หมื่นแย้ม พวงแก้ว 2. ขุนฤทธิ ์
ฤทธิบูรณ์
3. กำนันฤทธิ ์ บุญมะโน 4. กำนันห้องฤทธิ ์
กันตะพงษ์
5. กำนันชำนาญ (ซู้) รจนาสุวรรณ (อิว้ หะซัว้ ) 6.
กำนันสงค์ รักจิตร
7. กำนันช่วน ไชยงาม 8. กำนันบุญศิลป์
เกิดศรี
9. กำนันกำชัย แสลิ่ม (ปั จจุบัน)

เมื่อปี พ.ศ.2537 กระทรวงมหาดไทยได้ออกพระราชบัญญัติ


สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลมีผลให้มีการยกฐานะทางด้าน
การพัฒนาตำบลจากสภาตำบลบางเหรียงเป็ นองค์การบริหาร
ส่วนตำบลบางเหรียง และผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลบางเหรียง
คนแรกเป็ นโดยตำแหน่ง คือ นายบุญศิลป์ เกิดศรี
คนที่ 2 คือ นายนิกร ยางทอง และได้จัดตัง้ จากองค์การบริหารส่วนตำบล
เป็ นเทศบาลตำบล เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2554 โดยนายเวียง จันทฤทธิ ์
เป็ นนายกเทศมนตรีตำบลบางเหรียง คนแรกและคนปั จจุบัน
6

2.1 เขตการปกครอง
อาณาเขต
เทศบาลตำบลบางเหรียง มีเนื้อที่โดยประมาณ 69.97 ตาราง
กิโลเมตร (43,731 ไร่) (เขต 1 พื้นที่ 47.84 ตร.กม. เขต 2 พื้นที่
22.13 ตร.กม) อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของที่ว่าการอำเภอควนเนียง
จังหวัดสงขลา ระยะทางห่างจากที่ว่าการอำเภอควนเนียงประมาณ 8
กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสงขลา ประมาณ 72 กิโลเมตร มีอาณาเขต
ดังนี ้
ทิศเหนือ จด อบต.รัตภูมิ อำเภอควนเนียง
ทิศใต้ จด อบต.บางกล่ำและ เทศบาลตำบลท่าช้าง
อำเภอบางกล่ำ
ทิศตะวันออก จด อบต.บางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ และทะเลสาบ
สงขลา
ทิศตะวันตก จด เทศบาลเมืองกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ

ตามเขตลักษณะการปกครองท้องที่ตำบลบางเหรียง มี
จำนวน ๑๓ หมู่บ้าน ได้แก่
7
หมู่ ชื่อบ้าน กำนัน/ผูใ้ หญ่บ้าน เบอร์โทรศัพท์
ที่
1 บ้านคลอง นายทรงศักดิ ์ 08 7968 0147
คล้า เสาวคนธ์
2 บ้านยางหัก นายเผียน อินทะ
จันทร์
3 บ้านบางเหรี นายกิตติ ฤทธิบูรณ์ 08 1542 7956
ยง
4 บ้านบางเหรี นายประสาน บุญมะโน 08 1957 8475
ยงบน
5 บ้านบางเหรี นายพิทักษ์ ตระกูลกำจาย 08 6287 0578
ยงใต้
6 บ้านเกาะน้ำ นายสุธี แก้วประกอบ 08 9287 0096
รอบ
7 บ้านบางทีง นายกำชัย แสลิ่ม (ก 08 1766 1086
ำนัน)
8 บ้านเกาะ นายถาวร น้าวประจุล
ใหญ่
9 บ้านคลอง นายบรรจง นกแก้ว 08 4198 0837
ช้าง
10 บ้านโหล๊ะ นายเอกชัย บริเพชร 08 6285 0696
หนุน
11 บ้านแพรก นายอำมอญ โสภิกุล 09 3575 4933
สุวรรณ
12 บ้านโคก นายอุดม ฮิ่นเซ่ง 08 1388 2607
เมือง
13 บ้านหน้า นายศุภสิน นกแก้ว 08 9877 0789
ควน
8

2.2 การเลือกตัง้
เทศบาลตำบลบางเหรียงมีการแบ่งเขตการเลือกตัง้ จำนวน ๒
เขต ดังนี ้
-เขตที่ ๑ ประกอบด้วย หมู่ที่ ๑,๙,๑ o,๑๑,๑๒,๑๓
-เขตที่ ๒ ประกอบดัวย หมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๗,8
ข้อมูลผู้บริหารและสมาชิกสภาเทศบาลตำบลบางเหรียง
ฝ่ ายบริหาร

ลำดับ ชื่อ – สกุล ตำแหน่ง


ที่
1 นายเวียง จันทฤทธิ ์ นายกเทศมนตรีตำบลบางเห
รียง
2 นายนันท์ อินทะจันทร์ รองนายกเทศมนตรีตำบล
บางเหรียง
3 นายจักร ชูช่วย รองนายกเทศมนตรีตำบล
บางเหรียง
4 นายไพบูลย์ น้าวประจุล เลขานุการนายกเทศมนตรี
ตำบลบางเหรียง
๕ นายนิกร ยางทอง ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

ฝ่ ายนิติบัญญัติ

ลำดับ ชื่อ – สกุล


ตำแหน่ง
ที่
นาย วิชัย แก้วบุตร ประธานสภา/สมาชิกสภา
1
เทศบาล เขต 1
9

ลำดับ ชื่อ – สกุล


ตำแหน่ง
ที่
นางจุฑามาศ ณ เชียงใหม่ รองประธานสภา/สมาชิกสภา
2
เทศบาล เขต 2
3 นายประพาส แก้วห่อทอง สมาชิกสภาเทศบาล เขต 1
4 นายไสว เซ่งฉิม สมาชิกสภาเทศบาล เขต 1
5 นายปรีชา ภู่เกียรติกุลศิริ สมาชิกสภาเทศบาล เขต 1
6 นายวรวุฒิ พรหมจรรย์ สมาชิกสภาเทศบาล เขต 1
7 นายอนันต์ ขวัญสง่า สมาชิกสภาเทศบาล เขต 1
8 นายบัญชา ฤทธิบูรณ์ สมาชิกสภาเทศบาล เขต ๒
9 นายณรงค์ แซ่ซั่ว สมาชิกสภาเทศบาล เขต ๒
นายดำรง ศรีวิจิตร สมาชิกสภาเทศบาล เขต ๒
10
ศักดิ ์
11 นายประจวบ รัตนพงษ์ สมาชิกสภาเทศบาล เขต ๒
10
3.ประชาก

3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับประชากร (ย้อนหลัง 3 ปี ) และการคาดการณ์ในอนาคต

จำนวน จำนวนประชากร จำนว จำนวนประชากร จำนว จำนวนประชากร


เนื้อที่
ครัว นครัว นครัว
ห โดย
เรือน เรือน เรือน
มู่ ชื่อบ้าน ประมา ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
(หลัง) (หลัง) (หลัง)
ที่ ณ (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)
พ.ค.25 (พ.ค. (พ.ค.
(ไร่)
60 2561 2562
1 คลองคล้า 1,896 245 337 360 697 252 333 354 687 256 326 352 678
2 ยางหัก 1,370 167 268 306 574 169 266 309 575 171 266 305 571
3 บางเหรียง - 387 617 662 1279 397 620 666 1,28 405 613 674 1287
ตก 6
4 บางเหรียง - 160 230 230 460 166 224 232 456 170 230 233 463
บน
5 บางเหรียง - 179 276 293 569 182 267 290 557 187 271 295 566
ใต้
11

6 เกาะน้ำ 1,330 93 141 131 272 94 140 130 270 95 138 132 270
รอบ
7 บางทีง 1,730 145 258 272 530 149 258 273 531 150 252 267 519
8 เกาะใหญ่ 2,536 254 437 485 922 259 444 490 934 259 440 486 926
9 คลองช้าง - 239 308 357 665 242 312 354 666 249 314 356 670
10 โหล๊ะหนุน 1,570 410 719 752 1471 415 735 758 1,49 425 738 761 1499
3
11 แพรก 1,730 230 398 381 779 235 408 382 790 235 402 379 781
สุวรรณ
12 โคกเมือง - 164 293 288 581 167 286 288 574 170 285 284 569
13 หน้าควน - 197 282 266 548 199 280 262 542 201 274 267 541
รวมทัง้ หมด - 2,870 4,564 4,783 9,347 2,926 4,573 4,78 9,36 2,973 4,54 4,79 9,34
8 1 9 1 0

ที่มา: สำนักทะเบียนอำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ข้อมูลของเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562

6
12

การคาดการณ์ในอนาคต จากตารางข้างต้น สถิติจำนวนครัว


เรือนในพื้นที่ตำบลบางเหรียงตัง้ แต่ พ.ศ.2560-2562 มีแนวโน้มจำนวน
ครัวเรือนเพิ่มขึน
้ อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่ใน
ตำบลบางเหรียง เพศชายมีอัตราการขยายตัวเพิ่มสูงขึน
้ ในปี พ.ศ.2561
และลดลงในปี พ.ศ.2562 ประชากรเพศหญิงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึน
้ อย่างต่อ
เนื่องตัง้ แต่ปี พ.ศ.2560 เป็ นต้นมา ประกอบกับตำบล บางเหรียง
เป็ นพื้นที่ใกล้กับเมืองหาดใหญ่ มีสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์ โดยมีลักษณะ
พื้นที่เป็ น “ควน สวน เล” ทำให้ในอนาคตคาดการณ์ว่าจะมีประชาชนเข้า
มาอยู่ในอาศัยในพื้นที่ตำบลบางเหรียงมากขึน

3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร
ช่วงอายุ ชาย หญิง รวม หมายเหตุ
อายุ 0-18 ปี 1,101 960 2,061 จำนวนประชากรเยาวชน
อายุ 19-60 ปี 2,821 2,977 5,798 จำนวนประชากร
อายุ 61 ปี 624 853 1,477 จำนวนประชากรผู้สูงอายุ
ขึน
้ ไป
รวมทัง้ สิน
้ 4,546 4,790 9,336
ที่มา: สำนักทะเบียนอำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ข้อมูลของเดือนพฤษภาคม
พ.ศ. 2562
๔. สภาพทาง
สังคม

๔.๑ การศึกษา
13

การบริการด้านการศึกษา ในเขตเทศบาลตำบลบางเหรียง
ประกอบด้วย
4.1.1 โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ตำบลบางเห
รียง
ที่ตงั ้ สถานศึกษา การจัดการศึกษา ผู้อำนวยการ หมายเห
สถานศึกษา ตุ
ระดับอนุบาล ถึง มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หมู่ที่ ๑ โรงเรียนบ้าน ระดับอนุบาล/ นายมิตร ศิริ
คลองคล้า ประถมศึกษา ธรรม
หมู่ที่ 3 โรงเรียนบ้าน ระดับอนุบาล/ นางนันทิกา ตัน
บางเหรียง ประถมศึกษา/ ประสงค์
มัธยมศึกษา ปี ที่ 1-
3
หมู่ที่ 7 โรงเรียนวัดบาง ระดับอนุบาล/ นายสุรินทร์ สังกัด
ทีง ประถมศึกษา ชนะดัสกร สพฐ.
หมู่ที่ 8 โรงเรียนบ้าน ระดับอนุบาล/ นางเยาวพา นุ่ม
เกาะใหญ่ ประถมศึกษา คง
หมู่ที่ 9 โรงเรียนบ้าน ระดับอนุบาล/ นางเต็มศิริ บุญชู
คลองช้าง ประถมศึกษา ช่วย
หมู่ที่ โรงเรียนบ้าน ระดับอนุบาล/ นางกุหลาบ
10 หน้าควน ประถมศึกษา ศักดิเ์ จริญผล
หมู่ที่ โรงเรียนบ้าน ระดับอนุบาล/ นางวิลาวรรณ
12 โคกเมือง ประถมศึกษา แก่นจันทร์
ระดับปฐมวัย
หมู่ที่ 1 ศูนย์อบรมเด็ก อายุ 3-5 ปี นางอัญชุลก
ี ร สังกัดกรม
14

ก่อนเกณฑ์วัด ถมยา การศาสนา


แสงอรุณ
หมู่ที่ ศูนย์พัฒนาเด็ก อายุ 3-5 ปี นางกนกอร
10 เล็ก มุณแ
ี นม สังกัด
บ้านคลองคล้า เทศบาล
หมู่ที่ ศูนย์พัฒนาเด็ก อายุ 3-5 ปี นางนวลลดา ตำบลบาง
12 เล็ก ศาลางาม เหรียง

บ้านบางเหรียง

๔.๒ สาธารณสุข
การบริการด้านสาธารณสุข ในเขตเทศบาลตำบลบางเหรียง
ประกอบด้วย
4.2.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2
แห่ง
-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเหรียง หมู่ที่ 3
-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะใหญ่ หมู่ที่ 10
4.2.3 ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน จำนวน 13
แห่ง
-หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 13
๔.๓ อาชญากรรม

ฐานความผิด เกิด ผู้ ผู้ รวม


จำนวน ต้องหา ต้องหา (คน)
(คดี) (ชาย) (หญิง)
ฆ่าผู้อ่ น
ื 0 0 0 0
พยายามฆ่า 1 1 0 1
15

ทำร้ายร่างกาย 0 0 0 0
ข่มขืน 0 0 0 0
ปล้น/ชิงทรัพย์ 0 0 0 0
ลักทรัพย์ 2 2 0 2
ยักยอก 0 0 0 0
ฉ้อโกง 0 0 0 0
การพนัน 1 1 0 1
อาวุธปื น 3 3 0 3
ขับเสพฯ 2 2 0 2
ขับรถขณะเมา 1 1 0 1
สุรา
รวม 20 24 1 25

๔.๔ ยาเสพติด
ฐานความผิด เกิด จับ ผู้ หลบหนี
จำนวน (คดี) ต้องหา (คดี)
(คดี) (คน)
ยาเสพติด 10 14 1 15

ที่มา: ข้อมูลจากสถานีตำรวจภูธรควนเนียง ณ เดือนพฤษภาคม 2562

๔.5 การสังคมสงเคราะห์
เทศบาลตำบลบางเหรียงได้ดำเนินการสงเคราะห์ผู้สงู อายุ คน
พิการ ผู้ป่วยติดเตียงที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก เช่น การซ่อมแซมที่อยู่
อาศัย มอบเครื่องอุปโภค บริโภคที่จำเป็ น อุปกรณ์กายพิการ และดำเนิน
16

การตามโครงการสร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุ(เบีย
้ ยังชีพผู้สูง
อายุ )โครงการสนับสนุนการเสริมสร้างสวัสดิการสังคมให้แก่คนพิการหรือ
ทุพลภาพ( เบีย
้ ความพิการ) การจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพผู้ป่วย
เอดส์

4.5.1 การบริการด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
การบริการด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ประกอบ
ด้วย
4.5.1.1 ที่ทำการตำรวจชุมชน จำนวน
2 แห่ง
-ตำรวจชุมชนบ้านบางเหรียง หมู่ที่ 5
-จุดตรวจแพรกสุวรรณ หมู่ที่ 11
4.5.1.2 ศูนย์อาสากู้ชีพ จำนวน 1
ศูนย์
4.5.1.3 ศูนย์อำนวยการ อปพร. จำนวน
1 ศูนย์
4.5.2 การบริการด้านอาชีพ
4.5.2.1 ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
ตำบล จำนวน 1 ศูนย์
-ตัง้ อยู่ที่หมู่ที่ 5 ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง
จังหวัดสงขลา

5.ระบบบริการ
พื้นฐาน
๕.1 การคมนาคมขนส่ง
17

-การคมนาคมขนส่งทางบก
เทศบาลตำบลบางเหรียง มีเส้นทางการขนส่งเพื่อเข้าสู่ตัวเมือง
หาดใหญ่โดยรถโดยสารประจำทาง 2 เส้นทาง

ลำดั ประเภทรถโดยสาร เส้นทาง หมายเหตุ



1 -รถโดยสารสาธารณะ(สาย -ปากพะยูน
704) -ควนเนียง
-รถตู้โดยสารสาธารณะ -หาดใหญ่
2 -รถโดยสารสาธารณะ(สาย -ควนเนียง
45) -หาดใหญ่

-การคมนาคมขนส่งทางราง
เทศบาลตำบลบางเหรียง มีเส้นทางการขนส่งทางรางโดยมี
สถานีรถไฟบ้านเกาะใหญ่ เป็ นสถานีเชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟ
บางกล่ำและสถานีรถไฟควนเนียง การเดินทางโดยรถไฟมีความสะดวก
และเชื่อมโยงเส้นทางไปยังเมืองหลวงและภูมิภาคต่างๆของประเทศไทย
เส้นทางคมนาคมในเขตเทศบาลตำบลบางเหรียง มีถนนสาย
หลักสามารถติดต่อกันได้อย่างสะดวก ทุกหมู่บ้านมีถนนลาดยางและถนน
ลูกรัง ดังนี ้
- ถนนลาดยาง จำนวน 18 สาย
- ถนนคอนกรีต จำนวน 12 สาย
- ถนนลูกรัง จำนวน 64 สาย
- ถนนที่รับโอนมาจากหน่วยงานอื่น (ระบุช่ อ
ื หน่วยงาน)
จำนวน 11 สาย
18

ที่มา : กองช่าง ทต.บางเหรียง เดือนมิถุนายน 2562

๕.๒ การไฟฟ้ า
- ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบางเหรียง มีไฟฟ้ าใช้ทงั ้ 13
หมู่บ้าน
5.3 การประปา
ในพื้นที่ตำบลบางเหรียงใช้น้ำประปาจากระบบประปาหมู่บ้าน
ซึง่ มีน้ำใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างทั่วถึง จำนวน 15 แห่ง
- ข้อ มูล ด้า นแหล่ง น้ำกิน น้ำใช้ (หรือ น้ำเพื่อ การอุป โภค
บริโภค)
ตำบลบางเหรียงมีแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภคจากระบบประปา
หมู่บ้านและการประปานครหลวง ดังนี ้
ลำ หมู่ ชื่อประปา แบบ ความ ครัวเรือนที่
ดับ ที่ บาดาล/ จุ ได้รับ
ผิวดิน (ลบ.ม. ประโยชน์
)
1 1 บ้านคลองคล้า บาดาล 45 240
2 2 บ้านยางหัก บาดาล 20 160
3 3 บ้านบางเหรียงตก บาดาล 15 371
4 4 บ้านบางเหรียงบน บาดาล 45 156
5 5 บ้านบางเหรียงใต้ บาดาล 20 -
6 6 บ้านเกาะน้ำรอบ บาดาล 12 90
7 7 บ้านบางทีง บาดาล 45 141
8 8 บ้านเกาะใหญ่ บาดาล 20 249
19

9 9 บ้านคลองช้าง (ควนเสรี) บาดาล 15 100


10 9 บ้านคลองช้าง บาดาล 15 128
(ศาลาอเนกประสงค์)
11 10 บ้านโหล๊ะหนุน(เกาะ บาดาล 20 70
ปี ก)

12 10 บ้านโหล๊ะหนุน บาดาล 15 100


(กศน.เก่า)
13 10 บ้านหน้าควน (รร.บ้าน บาดาล 15 231
หน้าควน)
14 11 บ้านแพรกสุวรรณ บาดาล 15 100
(ศาลาอเนกประสงค์)
15 12 บ้านแพรกสุวรรณ (สาย บาดาล 20 120
เอเชีย)
16 12 บ้านโคกเมือง บาดาล 10 156
17 13 บ้านหน้าควน บาดาล 20 -

ที่มา : กองช่าง เดือน มิถุนายน ๒๕ 62

5.4 โทรศัพท์
ในพื้นที่ตำบลบางเหรียง มีการสื่อสารที่สำคัญ ได้แก่
โทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยมีเครือข่ายของ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ AIS, DTAC, TRUE
20

5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ


ครุภัณฑ์
บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด จำนวน 1 แห่ง ตัง้ อยู่ในเขต ตำบล
รัตภูมิ อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
5.5.1 การโทรคมนาคม
- หอกระจายข่าว / ระบบเสียงตามสาย จำนวน
13 แห่ง

ลำดั ที่ตงั ้ สถานที่ตงั ้ ผู้รับผิดชอบ


1 หมู่ท ี่ 1 ตำบลบาง ป้ อมยามหน้า โรงเรีย น น า ย ท ร ง ศ ัก ด ิ ์


เหรียง บ้านคลองคล้า เสาวคนธ์

2 หมู่ท ี่ 2 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ นายอ้วน ยางทอง


เหรียง ที่ 2

3 หมู่ท ี่ 3 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ น า ย ก ิต ต ิ ฤ ท ธ ิ ์


เหรียง ที่ 3 บูรณ์

4 หมู่ท ี่ 4 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ น า ย ป ร ะ ส า น


เหรียง ที่ 4 บุญมะโน

5 หมู่ท ี่ 5 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ น า ย ป ร ะ ส ิท ธ ิ ์


เหรียง ที่ 5 ปั ตตะพัฒน์

6 หมู่ท ี่ 6 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ น า ย ส ุธ ี แ ก ้ว


เหรียง ที่ 6 ประกอบ

7 หมู่ท ี่ 7 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ นายธีรวัฒน์ โขย


เหรียง ที่ 7 หวั่นเซ่ง
21

8 หมู่ท ี่ 8 ตำบลบาง ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ นายจิต รันตพงษ์


เหรียง ที่ 8

9 หมูท ี่ 9 ตำบลบาง ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ นายรุ่ง ทองศรี


เหรียง ที่ 9

10 หมู่ที่ 10 ตำบลบาง ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน นายเอกชัย บริ


เหรียง เพชร

11 หมู่ที่ 11 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ นายอำมอญ โสภิ


เหรียง ที่ 11 กุล

12 หมู่ที่ 12 ตำบลบาง ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ นายอุดม ฮิ่นเซ่ง


เหรียง ที่ 12

13 หมู่ที่ 13 ตำบลบาง ศาลเอกนกประสงค์ หมู่ น า ยศ ุภ ส ิน น ก


เหรียง ที่ 13 แก้ว
22

6.ระบบเศรษฐกิจ

6.1 การเกษตร ข้อมูลการประกอบอาชีพด้านการเกษตรของประชาชนตำบลบางเหรียง

ห ม ู่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ ค ร ัว ค ร ัว ประช น้ำเพื่อ การใช้พ้น


ื ที่เพื่อการเกษตร (ไร่)
ที่ ทัง้ ห ถือ ครอง เรือน เรือน ากร การเกษ
มด ครอง เพื่อ ทัง้ หม ตร (๑=
ทัง้ หม เ ก ษ ต
การเกษ ด (คน พอ)
(ไร่) (ไร่) ด รกร
ตร/ )
(๒=ไม่
พื้นที่
พอ)
ทำการ
เกษตร
(ไร่)

พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ปลูกไม้ พื้นที่ พื้นที่


ปลูก ปลูกไม้ ปลูก ปลูก ดอก นา อื่นๆ
ทำน
ยืนต้น ร้าง
า ไม้ผล พืชไร่ พืชผัก ไม้ประดับ

12
23

1 1,40 1,148 1,148 256 160 682 2 8 10 1,071 0 10 0 10 39


0

2 712 616 616 171 104 573 2 14 0 505 0 50 2 15 30

3 3,20 2,335 2,335 404 208 1,279 2 7 0 1,348 0 594 0 60 326


0

4 981 767 767 170 33 462 2 0 5 311 0 80 0 0 371

5 2,50 2,300 1,998 187 92 561 2 0 0 194 0 415 5 0 1,384


0

6 1,80 1,500 609 95 40 267 2 0 10 129 0 120 0 0 350


0

7 2,90 2,508 2,508 150 160 524 2 18 0 1,892 0 30 0 10 558


0

8 4,58 3,094 3,094 259 188 927 2 39 30 1,260 0 590 0 200 975
0
24

ห ม ู่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ ครัว ค ร ัว ประช น้ำเพื่อ การใช้พ้น


ื ที่เพื่อการเกษตร (ไร่)
ที่ ทัง้ หม ถือ ครอง เรือน เรือน ากร การเกษ
ด ครอง เพื่อ ทัง้ หม ตร (๑=
ทัง้ หม เกษต
การเกษ ด (คน พอ)
(ไร่) (ไร่) ด รกร
ตร/ )
(๒=ไม่
พื้นที่
พอ)
ทำการ
เกษตร
(ไร่)

พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่นา พื้นที่


ปลูก ปลูกไม้ ปลูก ปลูก ปลูก ร้าง อื่นๆ
ทำน
ยืนต้น ไม้
า ไม้ผล พืชไร่ พืชผัก
ดอก

ไม้
ประดั

9 6,230 6,050 6,050 249 170 676 2 0 0 5,571 0 40 0 60 379

10 6,125 5,842 5,842 420 388 1,490 2 0 40 5,284 0 150 0 0 368


25

11 3,926 3,839 3,839 235 67 779 2 0 0 3,076 0 311 0 0 452

12 2,200 1,078 1,078 168 54 570 2 10 0 923 0 30 0 1 103

13 5,000 4,332 4,332 200 129 539 2 0 0 3,856 0 95 0 0 381

รวม 41,55 35,40 34,216 2,964 1,793 9,329 2 96 95 25,420 0 2,515 7 367 5,716
4 9

ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอควนเนียง ณ เดือนพฤษภาคม 2562

13
6.2 การประมง
ตำบลบางเหรียงมีจำนวนเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพประมงที่ขน
ึ ้ ทะเบียนกับสำนักงานประมงอำเภอควน
เนียง จำนวน 52 ราย
โดยสามารถจำแนกประเภท ดังนี ้
26

เลข
ประจำ
กำลัง
ตัว จำน
ล ประเภ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ ประเ ผลิต
เลข ประชา เนื้อที่ กลุ่ม ประเภ วน
ำ ชื่อเกษตรกร/ชื่อ ท (ต.บางเหรียง ภท พันธุ์ โดย
ทะเบีย ชน/เลข ที่ตงั ้ ฟาร์ม ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม อ.ควนเนียง ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง จ.สงขลา) ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลข มู่
ที่ ที่
1 90010 ด.ต.ประยูร ฮิ่นเซ่ง 39599 ยังชีพ 3/1 1   ประยูร 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50041 00469 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
701 เดี่ยว
2 90010 น.ส.จันทรา วรร 39009 ยังชีพ 109 1   จันทรา 0.005 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50054 ละออง 00520 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
449 เดี่ยว
3 90010 นางจรรยา นภา 39599 ยังชีพ 98  4    จรรยา 1.000 ฟาร์ ปลา ปลา ร่องสวน 1 0.00
35277 พงษ์  00383 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก
415 เดี่ยว
27

4 90010 นางจำนงลักษณ์ 39009 ยังชีพ 22 1   จำนง 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50062 ยางทอง 00517 2 ลักษณ์ 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
758 ฟาร์ม เดี่ยว
5 90010 นางดวงจันทร์ สุคน
ั ธ 39009 ยังชีพ 158 1   ดวงจันทร์ 0.005 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50070 พันธ์ 00521 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
909 เดี่ยว
6 90010 นางนพรัตน์ สุเมธิ 39601 ยังชีพ 6/1 1 085- นพรัตน์ 0.100 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 3 0.00
50078 นทกุล 00384 1 892519 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด นิล
630 8 เดี่ยว
7 90010 นางประไพ ไพร 39011 ยังชีพ 99/1  4    ประไพ 3.000 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 3 0.00
35279 สุวรรณ  01115 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก
676 เดี่ยว

14
ลำ เลข ชื่อเกษตรกร/ชื่อ เลข ประเภ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ ที่ตงั ้ ฟาร์ม เนื้อที่ ประเ กลุ่ม พันธุ์ ประเภ จำน กำลัง
ดับ ทะเบีย นิติบุคคล ประจำ ท (ต.บางเหรียง ฟาร์ม ภท สัตว์ หลัก ทการ วน ผลิต
นฟาร์ม ตัว ฟาร์ม อ.ควนเนียง /เลีย
้ ง ฟาร์ น้ำ เลีย
้ ง หน่ว โดย
ประชา เลีย
้ ง จ.สงขลา) ม ย เฉลี่ย
ชน/เลข เลีย
้ ง ต่อ
ทะเบีย ปี (กก.)
28


นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลข มู่
ที่ ที่
8 90010 นางป้ อม นกแก้ว 39009 ยังชีพ 24 1   ป้ อมฟาร์ม 0.005 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50047 00522 2 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
409 เดี่ยว
9 90010 นางเผอิน
้ แก้วมณี 39009 ยังชีพ 47/1 1 064- เผอิน
้ ฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50066 00612 2 219760 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
335 5 เดี่ยว
10 90010 นางพีรดา มาสู่สุข 39009 ยังชีพ 156/ 1 089- พีรดา 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 2 0.00
50083 00527 1 2 2970204 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
630 เดี่ยว
11 90010 นางพึงพิศ รัตตนะ 39009 ยังชีพ 3/1 1 084- พึงพิศ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50053 00525 2 3129325 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
980 เดี่ยว
12 90010 นางเพชรินทร์ พวง 33407 ยังชีพ 52 1 093- เพชรินทร์ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50069 แก้ว 00369 2 7408756 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
246 เดี่ยว
29

13 90010 นางเพ็ญศรี แก้ว 28206 ยังชีพ 38/2 1 064- เพ็ญศรี 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50075 รัตน์ 00002 2 1319461 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
194 เดี่ยว
14 90010 นางยินดี ฮิ่นเซ่ง 39009 ยังชีพ 31 1 085- ยินดีฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
50076 00491 2 6722354 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
317 เดี่ยว

เลข
ประจำ
กำลัง

15
ตัว จำน
ล ประเภ ประเ ผลิต
เลข ประชา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ เนื้อที่ กลุ่ม ประเภ วน
ำ ชื่อเกษตรกร/ชื่อ ท ภท พันธุ์ โดย
ทะเบีย ชน/เลข (ต.บางเหรียง อ.ควน ที่ตงั ้ ฟาร์ม ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย เนียง จ.สงขลา) /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลขที่ มู่
ที่
1 90010 นางวรรณา พงษ์จีน  39009 ยังชีพ 89  4    วรรณา 2.000 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 1 0.00
5 35270 00543 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก
163 เดี่ยว
30

1 90010 นางศรีจันทร์ อินธิ 33003 ยังชีพ 35/3 1 087- ศรีจันทร์ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
6 50104 รัตน์ 00262 2 752900 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
266 9 เดี่ยว
1 90010 นางสมมาต อารมณ์ 39011 พาณิช 152 1 819635 ฟาร์ม 1.000 ฟาร์ สัตว์ จระเ บ่อ 530 0.00
7 42422 ฤทธิ ์ 00262 ย์ 3 261 จระเข้บ้าน 0 ม น้ำ ข้น้ำ ซีเมนต์
829 ควนไทร เดี่ยว อื่นๆ จืด
1 90010 นางสาวรวิวรรณ ณ 19098 ยังชีพ 5 1 063- รวิวรรณ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
8 50103 แฉล้ม 00011 2 073236 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
439 0 เดี่ยว
1 90010 นางอัมพร ช่วยพัฒน์ 31602 ยังชีพ 162 1   อัมพร 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
9 50056 00184 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
966 เดี่ยว
2 90010 นางอำนวย บุญเลิศ 39009 ยังชีพ     087- อำนวย 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
0 50059 00518 288957 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก พลาสติ
002 6 เดี่ยว ก
2 90010 นางอำไพ นกแก้ว 39009 พาณิช 4 9 093- อำไพฟาร์ม 0.140 ฟาร์ สัตว์ จระเ บ่อ 236 0.00
1 42515 00562 ย์ 584108 0 ม น้ำ ข้น้ำ ซีเมนต์
478 2 เดี่ยว อื่นๆ จืด
2 90010 นายจรัญ ลำดวน 39009 ยังชีพ 156/ 1 084- จรัญฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
2 50067 00527 2 2 750955 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
648 7 เดี่ยว

16
31

เลข
ประจำ
กำลัง
ตัว จำน
ล ประเภ ประเ ผลิต
เลข ประชา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ เนื้อที่ กลุ่ม ประเภ วน
ำ ชื่อเกษตรกร/ชื่อ ท ภท พันธุ์ โดย
ทะเบีย ชน/เลข (ต.บางเหรียง อ.ควน ที่ตงั ้ ฟาร์ม ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย เนียง จ.สงขลา) /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลขที่ มู่
ที่
2 90010 นายจิตต์ ฮิน
่ เซ่ง 39009 ยังชีพ 150 1   จิตต์ฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
3 50044 00527 2 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
346 เดี่ยว
2 90010 นายจิรวัฒน์ ภิกขุ 39103 ยังชีพ 99 1 084- จิรวัฒน์ 0.006 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
4 50065 วาโย 00272 2 965939 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
096 7 เดี่ยว
2 90010 นายธานินทร์ แก้ว 31002 ยังชีพ 38/1 1 089- ธานินทร์ 0.200 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
5 50057 รัตน์ 02800 2 976823 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
656 8 เดี่ยว
2 90010 นายธานินทร์ แก้ว 31002 ยังชีพ 38/1 1 089- ธานินทร์ 0.200 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 1 0.00
32

6 50057 รัตน์ 02800 2 976823 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด นิล


656 8 เดี่ยว
2 90010 นายนิกร ทองย้อย 39201 พาณิช 64/8 2   นิกรฟาร์ม 17.00 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 4 0.00
7 42945 00100 ย์ 1 00 ม ทะเล ขาว/
178 เดี่ยว แวน
นาไ

2 90010 นายนิยม ลำดวน 39009 ยังชีพ 156 1   นิยมฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
8 50043 00527 2 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
621 เดี่ยว
2 90010 นายบรรเจิด อินทะ 59013 ยังชีพ 166 1   บรรเจิด 0.006 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
9 50048 โร 99001 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
160 เดี่ยว

ล เลข ชื่อเกษตรกร/ชื่อ เลข ประเภ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ ที่ตงั ้ ฟาร์ม เนื้อที่ ประเ กลุ่ม พันธุ์ ประเภ จำน กำลัง
ำ ทะเบีย นิติบุคคล ประจำ ท (ต.บางเหรียง อ.ควน ฟาร์ม ภท สัตว์ หลัก ทการ วน ผลิต

17
ดั นฟาร์ม ตัว ฟาร์ม เนียง จ.สงขลา) /เลีย
้ ง ฟาร์ น้ำ เลีย
้ ง หน่ว โดย
บ ประชา เลีย
้ ง ม ย เฉลี่ย
ชน/เลข เลีย
้ ง ต่อ
ทะเบีย ปี (กก.)
33


นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลขที่ มู่
ที่
3 90010 นายบุญทิพย์ ไชย 39011 พาณิช 12/2  8    บุญทิพย์ 3.000 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 1 12,000.
0 30483 วรรณ  01188 ย์ ฟาร์ม 0 ม ทะเล ขาว/ 00
894 เดี่ยว แวน
นาไ

3 90010 นายบุญนาค มาสู่ 39009 พาณิช 156/ 1   บุญนาค 25.00 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 12 100,00
1 04990 สุข  00547 ย์ 1  2  ฟาร์ม 00 ม ทะเล ขาว/ 0.00
720 เดี่ยว แวน
นาไ

3 90010 นายประสิทธิ ์ คงรอด 39009 ยังชีพ 12 1   ประสิทธิ ์ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
2 50072 00518 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
444 เดี่ยว
34

3 90010 นายไมตรี ณ แฉล้ม 39009 ยังชีพ 2 1   ไมตรีฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
3 50068 00517 2 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
774 เดี่ยว

เลข
ประจำ

18
กำลัง
ตัว จำน
ล ประเภ ประเ ผลิต
เลข ประชา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ เนื้อที่ กลุ่ม ประเภ วน
ำ ชื่อเกษตรกร/ชื่อ ท ภท พันธุ์ โดย
ทะเบีย ชน/เลข (ต.บางเหรียง อ.ควน ที่ตงั ้ ฟาร์ม ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย เนียง จ.สงขลา) /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลขที่ มู่
ที่
3 90010 นายไมตรี ณ แฉล้ม 39009 ยังชีพ 2 1   ไมตรีฟาร์ม 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
3 50068 00517 2 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
774 เดี่ยว

34 9001 นายยุทธพงษ์ ยาง 39009 ยังชีพ 37 1 095- ยุทธพงษ์ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
35

0500 ทอง 00517 2 4394271 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์


58 791 เดี่ยว
35 9001 นายราเชนท์ รุกข 19098 พาณิช 7     ราเชนท์ 85.00 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 16 0.00
0501 พันธ์ 00471 ย์ ฟาร์ม 00 ม ทะเล ขาว/
55 324 เดี่ยว แวน
นาไ

36 9001 นายวรัญญู หวด 59001 ยังชีพ 118 1 095- วรัญญู 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
0500 สวัสดิ ์ 00004 2 1369059 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
73 612 เดี่ยว
37 9001 นายวิชาญ รัตตนะ 39009 ยังชีพ 51 1   วิชาญ 0.041 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
0500 00525 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
55 971 เดี่ยว
38 9001 นายวิชาญ รัตตนะ 39009 ยังชีพ 51 1   วิชาญ 0.041 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 1 0.00
0500 00525 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด นิล
55 971 เดี่ยว

19
ล เลข ชื่อเกษตรกร/ชื่อ เลข ประเภ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ ที่ตงั ้ ฟาร์ม เนื้อที่ ประเ กลุ่ม พันธุ์ ประเภ จำน กำลัง
36

ประจำ
ตัว
ผลิต
ประชา วน
ำ ท ภท โดย
ทะเบีย ชน/เลข (ต.บางเหรียง อ.ควน ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย เนียง จ.สงขลา) /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            
เลข มู่
ที่ ที่
3 90010 นายวิริยะ พะสริ  39009 พาณิช 59  5    วิริยะฟาร์ม 6.250 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 3 10,000.
9 37626 00546 ย์ 0 ม ทะเล ขาว/ 00
685 เดี่ยว แวน
นาไ

4 90010 นายศราวุฒิ น้าว 39009 ยังชีพ 58  4    ศราวุฒิ 0.750 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 2 0.00
0 35250 ประจุล  00541 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด นิล
659 เดี่ยว
4 90010 นายสมควร พะสิริ  39009 พาณิช 89  5    สิรฟ
ิ าร์ม 20.00 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 5 0.00
1 22590 00545 ย์ 00 ม ทะเล ขาว/
37

221 เดี่ยว แวน


นาไ

4 90010 นายสมใจ ไชยชาย 39009 ยังชีพ 153/ 1   สมใจฟาร์ม 0.006 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
2 50082 00150 1 2 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
980 เดี่ยว
4 90010 นายสมชาติ สุวรรณ 39011 พาณิช 106/ 5   สมชาติ 0.300 ฟาร์ สัตว์ จระเ บ่อ 280 0.00
3 42519 ชาตรี 00263 ย์ 1 ฟาร์ม 0 ม น้ำ ข้น้ำ ซีเมนต์
728 เดี่ยว อื่นๆ จืด
4 90010 นายสายัณห์ พวง 39009 ยังชีพ 118/ 1   สายัณห์ 0.010 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
4 50052 แก้ว 00525 1 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์
467 เดี่ยว
เลข

20
ประจำ
กำลัง
ตัว จำน
ล ประเภ ประเ ผลิต
เลข ประชา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ เนื้อที่ กลุ่ม ประเภ วน
ำ ชื่อเกษตรกร/ชื่อ ท ภท พันธุ์ โดย
ทะเบีย ชน/เลข (ต.บางเหรียง อ.ควน ที่ตงั ้ ฟาร์ม ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย เนียง จ.สงขลา) /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

38

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อฟาร์ม (ไร่)            


เลข มู่
ที่ ที่
4 90010 นายสุเทพ ไชยชนะ  59013 พาณิช 86/1  4    สุเทพ 14.50 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 2 0.00
5 35240 00028 ย์ ฟาร์ม 00 ม ทะเล ขาว/
478 เดี่ยว แวน
นาไ

4 90010 นายสุเทพ ไชยชนะ  59013 พาณิช 86/1  4    สุเทพ 14.50 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อดิน 2 0.00
6 35240 00028 ย์ ฟาร์ม 00 ม น้ำจืด บึก
478 เดี่ยว
4 90010 นายสุเทพ ไชยชนะ  59013 พาณิช 86/1  4    สุเทพ 13.00 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 4 0.00
7 36962 00028 ย์ ฟาร์ม 00 ม ทะเล ขาว/
478 เดี่ยว แวน
นาไ

4 90010 นายสุเทพ นัครา 39011 พาณิช 89/1  5    สุเทพ 7.000 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 2 0.00
8 39852 บัณฑิตย์  00191 ย์ ฟาร์ม 0 ม ทะเล ขาว/
140 เดี่ยว แวน
นาไ

39

4 90010 นายสุเทพ รัตนะ  39009 ยังชีพ 135  1   สุเทพ 1.000 ฟาร์ สัตว์ กบ บ่อ 18 0.00
9 35180 00526 2  ฟาร์ม 0 ม น้ำ พลาสติ
455 เดี่ยว อื่นๆ ก

21
เลข
ประจำ
กำลัง
ตัว จำน
ล ประเภ ประเ ผลิต
เลข ประชา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ (ต.บาง เนื้อที่ กลุ่ม ประเภ วน
ำ ชื่อเกษตรกร/ชื่อ ท ที่ตงั ้ ภท พันธุ์ โดย
ทะเบีย ชน/เลข เหรียง อ.ควนเนียง ฟาร์ม สัตว์ ทการ หน่ว
ดั นิติบุคคล ฟาร์ม ฟาร์ม ฟาร์ หลัก เฉลี่ย
นฟาร์ม ทะเบีย จ.สงขลา) /เลีย
้ ง น้ำ เลีย
้ ง ย
บ เลีย
้ ง ม ต่อ
น เลีย
้ ง
ปี (กก.)
นิติบุคค

          บ้าน ห โทรศัพท์ ชื่อ (ไร่)            
เลข มู่ ฟาร์ม
ที่ ที่
5 90010 นายสุพัด ประวัติ 39009 พาณิช 18 9 081- สุพัด 0.220 ฟาร์ สัตว์ จระเ บ่อ 356 0.00
0 42516 00563 ย์ 9637978 ฟาร์ม 0 ม น้ำ ข้น้ำ ซีเมนต์
342 เดี่ยว อื่นๆ จืด
5 90010 นายอดุล มิดดำ 39009 ยังชีพ 15/1 1   อดุล 0.005 ฟาร์ ปลา ปลา บ่อ 1 0.00
40

1 50063 00077 2 ฟาร์ม 0 ม น้ำจืด ดุก ซีเมนต์


871 เดี่ยว
5 90010 ว่าที่ร.ต.สามารถ 39009 พาณิช 87/1  1    สามารถ 12.00 ฟาร์ กุ้ง กุ้ง พัฒนา 3 0.00
2 01984 ศรีจันทร์งาม  00550 ย์ ฟาร์ม 00 ม ทะเล ขาว/
674 เดี่ยว แวน
นาไ

ที่มา: ข้อมูลจากสำนักงานประมงอำเภอควนเนียง ณ เดือน พฤษภาคม 2562

22
41

ข้อมูลเกษตรกรที่ครอบครองสัตว์ป่าที่ได้จากการ
เพาะพันธุ์ (จระเข้)ปี 2562

จำนว
ลำดั น
บ ชื่อ-สกุล ที่อยู่ (ตัว)
นางสมมาตร์ อา 153 หมู่ที่ 13 ตำบลบางเหรียง
1 รมณ์ฤทธิ อ.ควนเนียง จ.สงขลา 353
13/1 หมู่ที่ 9 ตำบลบางเหรียง
2 นายยศ อิสรโชติ อ.ควนเนียง จ.สงขลา 342
นายศุภกร ขวัญ 165 หมู่ที่ 13 ตำบลบางเหรียง
3 เอียด อ.ควนเนียง จ.สงขลา 59
นายสมชาติ หมู่ที่ 13 ตำบลบางเหรียง อ.ควน
4 สุวรรณชาตรี เนียง จ.สงขลา 150
18 หมู่ที่ 9 ตำบลบางเหรียง อ.ควน
5 นายสุพัด ประวัติ เนียง จ.สงขลา 100

6.3 การปศุสัตว์
ในพื้นที่ตำบลบางเหรียง มีจำนวนเกษตรกรผู้เลีย
้ งสัตว์ที่ขน
ึ้
ทะเบียนกับปศุสัตว์ จำนวน คน โดยสามารถจำแนก
ประเภทได้ ดังนี ้

หมู่บ้ เกษตร โค สุกร ไก่ เป็ ด แพะ นก สัตว์ พืช


าน ผู้เลีย
้ ง เนื้อ (ตัว) (ตัว) (ตัว) (ตัว) กระ อื่น( อาหา
สัตว์ (ตัว) ทา( ตัว) ร
42

(ราย) ตัว) สัตว์(


ตัว)
1 45 156 173 1,118 40 59 0 15 0
2 86 441 78 4,363 414 5 0 31 11
3 107 399 34 3,041 301 39 0 87 10
4 37 154 509 2,285 238 2 0 32 0
5 67 276 0 1,229 299 0 0 22 12
6 36 130 0 789 46 0 0 3 0
7 40 101 254 1,257 0 7 0 21 4
8 118 347 109 2,893 230 0 0 49 0
9 30 133 14 3,091 15 0 600 34 0
0
10 63 221 6 11,73 167 0 0 44 0
3
11 19 55 23 15,94 160 0 600 39 0
1 0
12 72 299 12 1,429 128 0 0 66 3
13 35 103 0 121,31 320 0 0 11 0
3
รวม 755 2,81 1,21 170,4 2,35 112 0 454 40
5 2 82 8

ที่มา: ข้อมูลจากสำนักงานปศุสัตว์อำเภอควนเนียง ณ เดือนพฤษภาคม 2562


43

6.4 การบริการ/หน่วยธุรกิจในพื้นที่ จำนวน ๑ 3 แห่ง


ประกอบด้วย

ลำ หน่วยบริการ ที่ตงั ้ หมายเหตุ


ดับ
1 สถานีบริการน้ำมัน หมู่ที่ 1
2 โรงสีข้าว หมู่ที่ 8
3 ฟาร์มเลีย
้ งหมู หมู่ที่ 3
4 ร้านติดตัง้ จานดาวเทียม หมู่ที่ 3
5 สถานที่ผลิตน้ำดื่ม หมู่ที่
1,6,7,9,11
6 ร้านประกอบอาหาร (จำนวน หมู่ที่ 1 – หมู่ที่
15 แห่ง) 13
7 ฟาร์มเลีย
้ งไก่ (จำนวน 5 หมู่ที่ 9,11,13
แห่ง)
8 ร้านขายของชำ (จำนวน 75 หมู่ที่ 1 – หมู่ที่
แห่ง) 13
9 ร้านซ่อมรถ (จำนวน 5 แห่ง) หมู่ที่
1,3,10,11
10 ร้านเสริมสวย (จำนวน 7 หมู่ที่ 1,3,10
แห่ง)
11 ร้านตัดผ้า (จำนวน 1 แห่ง) หมู่ที่ 12
๑ 2 รีสอร์ท (ริมน้ำรีสอร์ท,โฮม หมู่ที่ 4,5
สเตย์บางเหรีย)
13 ร้านคาร์แคร์ หมู่ที่ 3
44

ที่มา : ฝ่ ายจัดเก็บรายได้ เทศบาลตำบลบางเหรียง ณ เดือนพฤษภาคม 2562

๖.5 การท่องเที่ยว

ประเภทสถาน ที่ตงั ้ ประเภท เจ้าของ ที่ตงั ้


ที่พักผ่อน/ เกษตร
เชิงธรรมชาติ ทฤษฎีใหม่
ชายทะเล หมู่ที่ 5 สวนเกษตร นายเจียร ยางทอง หมู่ที่
ตำบลบาง 1
เหรียง
ชายทะเล (ฟาร์ม หมู่ที่ ๑๒ ส ว น พ อ น า ง เ ข ม ว ัน ต ์ ศ ร ี หมู่ที่
ทะเล) ตำบลบาง เพียง นราธิวัฒน์ 9
เหรียง
- - สวนสมรม น า ย ป ร ีช า ภ ู่ หมู่ที่
เกียรติกุลศิริ ๑0
- - บ้านตู้เย็น นายวิจ ิต ร อิน ทะ หมู่ที่
โร 10
45

๖.๖ อุตสาหกรรม
ในตำบลบางเหรียงมีโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 9 แห่ง ดังนี ้

ลำ ชื่อสถานประกอบการ ที่ตงั ้
ดับ
1 บริษัทไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด 98 หมู่ที่ 13 ตำบลบาง
2 บริษัทซันเทรดพาราวูด จำกัด เหรียง
3 บริษัทยูนิเซ้าท์เคมี จำกัด 83/1 หมู่ที่ 9 ตำบล
4 บริษัทซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด บางเหรียง
5 มหาชน 190 หมู่ที่ 9 ตำบล
6 บริษัทเอสพริน
้ ท์ (2004) จำกัด มหาชน บางเหรียง
7 บริษัทเอเชียยิปซั่ม โปรดักส์ 206 หมู่ที่ 11 ตำบล
8 บริษัทเอเซียนเทคโนโลจิคอนปลาสเตอร์ บางเหรียง
9 จำกัด มหาชน 48/1 หมู่ที่ 11 ตำบล
บริษัทเอเชียนออนไลน์ ปลาสเตอร์ จำกัด บางเหรียง
มหาชน 32/2 หมู่ที่ 11 ตำบล
บริษัทเอเชียปลาสเตอร์โปรดักส์ (ประเทศไ บางเหรียง
ทย) จำกัด มหาชน 32/1 หมู่ที่ 11 ตำบล
บางเหรียง
32 หมู่ที่ 11 ตำบล
บางเหรียง
32/3 หมู่ที่ 11 ตำบล
บางเหรียง
ที่มา : ฝ่ ายจัดเก็บรายได้ เทศบาลตำบลบางเหรียง ณ เดือนพฤษภาคม 2562
46

6.๗ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
ประชากรในเขตเทศบาลตำบลบางเหรียง มีการรวมกลุ่มต่างๆ
ดังนี ้
หมู่ ชื่อกลุ่ม ประธาน ห ชื่อกลุ่ม ประธาน
มู่
๑ กลุ่มออมทรัพย์ นายณรงค์ ลอง ๘ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ นายเมี่ยน ไชย
เพื่อการผลิต พิชัย การผลิตบ้านปลายนา ณรงค์
๑ กองทุนแม่ของ นายทรงศักดิ ์ ๘ กองทุนหมู่บา้ น นายกาญจน์ สุ
แผ่นดิน เสาวคนธ์ วรรณโณ
๑ กลุ่มแม่บ้าน นางมณฑา ลัพกิต ๘ กลุ่มออมทรัพย์วัดป่ า นายกาญจน์ สุ
โร กันตพงษ์ วรรณโณ
๑ กองทุนหมู่บา้ น นายสมบัติ ขวัญ ๘ กลุ่มสัจจะและ นายถาวร น้าว
เกลีย
้ ง สวัสดิการ กศน. ประจุล
ต.บางเหรียง
๑ กลุ่มน้ำยางบ้าน นายใจ บุญมะโน ๘ กลุ่มสตรี นางหนูเขียน
คลองคล้า น้าวประจุล
1 กลุ่มสตรี นางทัศนีย์ ศรี 8 กลุ่มข้าวสารซ้อมมือ นายเมี่ยน ไชย
สุวรรณ เพื่อสุขภาพวัดป่ ากัน ณรงค์
ตพงษ์
๒ กลุ่มออมทรัพย์ นายวัยวุฒิ จันจิต ๙ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ นายอภิชาต จัน
เพื่อการผลิต จริงใจ การผลิต ทฤทธิ ์
๒ กลุ่ม กขคจ. นายวัยวุฒิ จันจิต ๙ กองทุนหมู่บา้ น นายดรุณ สุ
จริงใจ ขยะกฤษ์
๒ กลุ่มน้ำยาง นางสุวิมล ยาง ๙ กลุ่มสตรี นางอำภา
ทอง ประวัติ
๒ กลุ่มร้านค้า นางเผือน แก้ว 9 สกย. หมู่ที่ 9 นายโยธิน อิสร
สวัสดิการ บุตร โชติ
๒ กลุ่มแม่บ้าน นางยุพาภรณ์ สุ 9 กองทุนสวัสดิการ นายวิชิต แซ่
47

พรรณ์พิมพ์ ชุมชนตำบล บาง แต้


เหรียง (สัจจะวันละ 1
บาท) ระดับตำบล
๓ กลุ่มออมทรัพย์ นายเขียว ศรีทวี ๑ กลุ่มออมทรัพย์ นายแสวง ยาง
เพื่อการผลิตบ้าน กูล 0 ทอง
บางเหรียงตก
๓ กองทุนหมู่บา้ น นายนรินทร์ พาหุ 10 สกย. หมู่ที่ 10 นายสุชาติ บริ
มันโต เพชร
๓ กลุ่มสตรี นางอุบล ศรี ๑ กลุ่มออมทรัพย์ นายถวิล บริ
เกษตรกุล 0 เพชร
๓ กลุ่ม รพช. นางอุบล ศรี ๑ กลุ่มน้ำยาง นายถวิล บริ
เกษตรกุล 0 เพชร
หมู่ ชื่อกลุ่ม ประธาน ห ชื่อกลุ่ม ประธาน
มู่
๓ กลุ่มประมง นายสงัด เฉ้งเหา ๑ กองทุนแม่ของแผ่น นางชะอุ่น ยาง
0 ดิน ทอง
๓ กลุ่มผักปลอดสาร นายอรุณ แก้ว ๑ กองทุนหมู่บา้ น นายสุทิน เกิด
พิษ บุญส่ง 0 ศรี
๔ กลุ่มออมทรัพย์ นายประสาน ๑ กลุ่มผู้เลีย
้ งวัว นายวิราช ยาง
เพื่อการผลิต บุญมะโน 0 ทอง
๔ กองทุนหมู่บา้ น นายเท้ง อิสระ ๑ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ นางละมัย ขวัญ
โชติ ๑ การผลิต สง่า
๔ กลุ่มสตรี นายสมจิตร ๑ กลุ่มรับซื้อน้ำยาง นายเผด็จ ศรี
โลธร ๑ ทะไวย
๕ กลุ่มออมทรัพย์ นายอนันต์ ไชย ๑ กลุ่มรับซื้อน้ำยาง นายระรวย ตรี
เพื่อการผลิต ชนะ ๑ วัย
๕ กองทุนหมู่บา้ น นายอนันต์ ไชย ๑ กลุ่มสตรี นางละมัย
ชนะ ๑ ขวัญสง่า
๕ กองทุนแม่ของ นายพิทักษ์ ๑ กองทุนหมู่บา้ น นายอำมอญ
48

แผ่นดิน ตระกูลกำจาย ๑ โสภิกุล


๕ กลุ่มทำปุ๋ยหมัก นายจำรูญ ช่วย ๑ กลุ่มออมทรัพย์ นายอุดม ฮิ่น
ประสม ๒ เซ่ง
๕ กลุ่มปลูกผักปลอด นายจรูญ ช่วย ๑ กองทุนหมู่บา้ น นายยุทธพงศ์
สารพิษ ประสม ๒ ยางทอง
๕ กลุ่มอนุรักษ์ป่า นายวิชัย มนตรี ๑ กองทุนแม่ของแผ่น นายอุดม ฮิ่น
ชายเลน/ประมง ๒ ดิน เซ่ง
๕ กลุ่มสตรี นางนิภา แก้ว ๑ สถาบันการเงิน นายยุทธพงศ์
ประกอบ ๒ ยางทอง
๖ กลุ่มออมทรัพย์ นายอ่วม ทิพย์ ๑ กลุ่มแม่บ้าน นางยินดี ฮิ่น
เพื่อการผลิต แก้ว ๒ เซ่ง
๖ กองทุนหมู่บา้ น นายอ่วม ทิพย์ ๑ กลุ่มแปรรูปสัตว์น้ำ นายวรัญญู หาด
แก้ว ๒ สวัสดิ ์
๗ กลุ่มออมทรัพย์ นายจรูญ พัสระ ๑ กลุ่มน้ำยาง นายจิตต์ ฮิ่น
เพื่อการผลิต ๒ เซ่ง
๗ กองทุนหมู่บา้ น นายธีรวัฒน์ โขย ๑ กลุ่มประมง นายธานินทร์
หวั่นเซ่ง ๒ แก้วรัตน์
๗ กลุ่มผลิตน้ำดื่ม นายนุกูล พันธ์ ๑ กลุ่มป่ าชายเลน นายธานินทร์
มณี ๒ แก้วรัตน์
๗ กลุ่มสตรี นางธัญชนก แซ่ ๑ กลุ่มนายไฟฟ้ า นายอุดม ฉิ่น
ซั่ว ๒ เซ่ง
ชื่อ ชื่อกลุ่ม ประธาน ชื่ ชื่อกลุ่ม ประธาน

๗ สถาบันการเงิน นางธัญชนก แซ่ ๑ กลุ่มเครื่องแกง นางเพ็ญ แก้ว
ซั่ว ๓ เจริญ
๗ กลุ่มร้านค้าเพื่อ นายกำชัย แสลิ่ม ๑ กลุ่มน้ำยางควนเสรี นายประชา
การตลาด ๓ หนูชนะ
- - - ๑ กองทุนแม่ของแผ่น นายศุภสิน
๓ ดิน นกแก้ว
49

๑ กองทุนหมู่บา้ น นายสมเศียร
๓ วรรณโร
๑ ร้านค้าชุมชน นายแดง
๓ สุวรรณชาตรี
๑ กลุ่มสตรี นางเพ็ญ แก้ว
๓ เจริญ
๑ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ นายชัชรินทร์
๓ การผลิต ไม่คด

๖.๘ แรงงาน
ประชากรในตำบลบางเหรียงส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกรีด
ยางพารา ทำสวนผักและแรงงานบางส่วนไปทำงานในเขตอำเภอหาดใหญ่
และทำงานในโรงงานในเขตพื้นที่

7. ศาสนา ประเพณี
วัฒนธรรม
50

7.๑ การนับถือศาสนา

ศาสนา เพศชาย ร้อย เพศหญิง ร้อย รวม ร้อยละ


(คน) ละ (คน) ละ (คน)
พุทธ 3,379 48.3 3,561 50.9 6,940 99.33
6 7
คริสต์ 1 0.01 0 0 1 0.01
อิสลาม 16 0.23 27 0.37 43 0.62
ซิกส์ 0 0.00 0 0.00 0 0.00
ฮินดู 0 0.00 0 0.00 0 0.00
อื่นๆ 3 0.04 0 0.00 3 0.04

ที่มา : ข้อมูล จปฐ. ปี 2562

สถาบันและองค์กรทางศาสนา
สถาบันและองค์กรทางศาสนา ในเขตเทศบาลตำบลบางเหรียง
ประกอบด้วย

ชื่อ/หมู่ที่ตงั ้ ชื่อ/หมู่ที่ตัง้
วัดแสงอรุณ 1 ที่พักสงฆ์พวงเพ็ญอุทิศ 3
วัดบางเหรียง 3 ที่พักสงฆ์บ้านเกาะน้ำ 6
รอบ
วัดบางทีง 7 ที่พักสงฆ์ป่าคลองช้าง 9
วัดป่ ากันตพงษ์ 8 ที่พักสงฆ์ธรรมเจริญ 10
51

วัดแพรกสุวรรณ 11
วัดโคกเมือง 12

7.๒ ประเพณีและงานประจำปี
- ประเพณีแห่เทียนพรรษา
- ประเพณีวันสารทเดือนสิบ (กิจกรรมแห่หมรับ)
- ประเพณีชักพระ
- ประเพณีวันรดน้ำดำหัว (สงกรานต์)
- ประเพณีตักบาตรอาหารแห้งในวันขึน
้ ปี ใหม่

7.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น


ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญในตำบลบางเหรียง จำนวน ๙
ด้าน ได้แก่

ลำ ประเภท กิจกรรม ผู้ดำเนินการ หมายเ


ดับ ย่อย หตุ
1 ภูมิปัญญาด้านการ 1.หมอนวด นายบัณฑิต วิระ
ดูแลสุขภาพ ด้วยน้ำมัน เกียรติ
มะพร้าว หมู่ที่ 3 ตำบลบาง
2.ยา เหรียง
52

สมุนไพร
2 ด้านประติมากรรม 1.ประเภท นายอุทัย สุคันธ
ลายกนก พันธ์
2.ประเภท 158 หมู่ที่ 12
จิตกรรมฝา ตำบลบางเหรียง
ผนัง
3.ประเภท
แกะสลักรูป
เหมือน
4.ประเภท
แกะสลัก
แท่นลององค์
พระ

3 ด้านหัตถกรรม 1.ประเภท นายนภดล พงษ์


เข็มขัด จีน
2.ประเภท หมู่ที่ 4 ตำบลบาง
กระเป๋า เหรียง
4 ด้านขนมไทย 1.ขนมซัง้ นางสุจิตรา จัน
ทกูล
2.ขนมต้ม หมู่ที่ 1 ตำบลบาง
เหรียง
3.ขนมมอชี่ นางเฉลียว ศิริ
บูรณ์
หมู่ที่ 10 ตำบล
53

บางเหรียง
นางกานดา ร่วม
สุข
หมู่ที่ 1 ตำบลบาง
เหรียง
5 ด้านการแปรรูป 1.ผักกาด นางอุบล ศรี
อาหาร ดอง เกษตรกุล
หมู่ที่ 3 ตำบลบาง
2.เครื่องแกง เหรียง
นางเพ็ญ แก้ว
เจริญ
หมู่ที่ 13 ตำบล
บางเหรียง
6 ด้านอาชีพ/ด้าน 1.การเลีย
้ ง นายเจียร ยาง
เกษตรกรรม ผึง้ หีบ ทอง
หมู่ที่ 1 ตำบลบาง
2.มะนาวท่อ เหรียง
นายอุดม ฮิ่นเซ่ง
หมู่ที่ 12 ตำบล
บางเหรียง
3.ไผ่ทาง นายวิจิตร อินทะ
เลือก โร
หมู่ที่ 12 ตำบล
4.เผาถ่าน บางเหรียง
นายโกญจนาท
54

รจนาสุวรรณ
หมู่ที่ 10 ตำบล
บางเหรียง
นายวิจิตร อินทะ
โร
หมู่ที่ 12 ตำบล
บางเหรียง

ลำ ประเภท กิจกรรม ผู้ดำเนินการ หมายเ


ดับ ย่อย หตุ
7 ด้านสิง่ แวดล้อม 1.แก๊ส นายอุดม ฮิ่นเซ่ง
ชีวภาพ หมู่ที่ 12 ตำบล
บางเหรียง
นายปรีชา ภู่
2.ฟาร์มทะเล เกียรติกุลศิริ
นายธานินทร์
แก้วรัตน์
หมู่ที่ 12 ตำบล
บางเหรียง

8 ด้านศิลปะวัฒนธรรม 1.เทริด นายชิต ไชยพูน


มโนราห์ หมู่ที่ 10 ตำบล
บางเหรียง
9 ด้านวรรณกรรม 1.บทกลอน/ นายสวัสดิ ์ ยาง
55

เพลงเรือ/ ทอง
เพลงบอก หมู่ที่ 10 ตำบล
บางเหรียง

ภาษาถิ่น ประชาชนในพื้นที่ตำบลบางเหรียงใช้สำเนียงของชาวสงขลา
ร้อยละ ๙ 9% พูดภาษาใต้
7.๔ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

ขนมพื้นบ้าน ที่ตงั ้ ของฝากและที่ระลึก ที่ตงั ้


ขนมซัง้ (ข้าวต้มน้ำวุ้น) หมู่ที่ 1 เครื่องแกงส้ม เครื่อง กลุ่มเครื่อง
แกงกะทิ เครื่องแกง แกงบ้าน
เผ็ด หน้าควน
หมู่ที่ 13
ขนมม่อชี่ หมู่ที่ 4 ข้าวสารซ้อมมือเพื่อ หมู่ที่ 8
สุขภาพ
ข้าวเกรียบปากหม้อ หมู่ที่ 4 ปลาดุกร้า แกงไตปลา หมู่ที่ 12
แห้ง น้ำบูดูข้าวยำ
สาคูไส้หมู หมู่ที่ 4 ของที่ระลึกจากลูกตีน หมู่ที่ 12
เป็ ดทะเล
ขนมจาก หมู่ที่ 5 กระเป๋าแฮนด์เมค หมู่ที่ 12

8.ทรัพยากรธรร
มชาติ
56

8.๑ น้ำ ในเขตพื้นที่ตำบลบางเหรียงมีน้ำใช้เพื่อการอุปโภค


บริโภคเพียงพอต่อความต้องการประชาชน แต่แหล่งน้ำเพื่อ
การเกษตรยังมีใช้ไม่เพียงพอตลอดปี
8.๒ ป่ าไม้ ในเขตพื้นที่ตำบลบางเหรียงไม่มีป่าไม้
8.๓ ภูเขา ในเขตพื้นที่ตำบลบางเหรียงไม่มีภูเขา
8.๔ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ของตำบลบางเหรียงส่วนมากเป็ นพื้นที่สำหรับปลูก
ยางพารา ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ และมีพ้น
ื ที่ที่เป็ นพื้นที่
สาธารณะประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้
อากาศที่ไม่มีมลพิษ และมีพ้น
ื ที่บางส่วนติดชายทะเลเหมาะสำหรับเป็ น
แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล

9.ข้อมูลอื่นๆ

จุดเด่นของพื้นที่
(1) สภาพภูมิประเทศเหมาะสำหรับอาชีพทางด้านการเกษตร
และมีช่ อ
ื เสียงทางด้านการเกษตรปลูกผักปลอดสารพิษ
(2) อาณาเขตติดต่อกับทะเลสาบสงขลา เหมาะสำหรับ
ประชาชนประกอบอาชีพทำการประมง การท่องเที่ยว
(3) มีเส้นทางคมนาคมที่หลากหลาย และสะดวกรวดเร็ว คือ
การสัญจรทางรถไฟ การสัญจรทางบก
(4) มีโรงงานตัง้ อยู่ในพื้นที่ทำให้ประชาชนมีอาชีพมีรายได้
57

You might also like