You are on page 1of 6

ชื่ อเรื่ อง การเลือกวิธีการดูไก่เนื้อเพื่อให้ ได้ ประสิทธิภาพสู งสุ ด ในระยะเวลา 40 วัน

ขั้นตอนที่ 1 การสร้างกรอบการตัดสิ นใจสาหรับการวิเคราะห์


ไก่เนื้อ 1 ตัว ใช้ระยะเวลาการเลี้ยง 40-45 วัน เลี้ยงด้วยอาหารไก่อย่างเต็มที่ปริ มาณอาหารที่ใช้ต่อ
ฟาร์มประมาณ 3-4 ตัน เมื่อครบกาหนดสามารถจับไก่ออกขาย จะได้น้ าหนักตัวเฉลี่ยตัวละประมาณ 1.8-2
กิโลกรัม และทางบริ ษทั Bentagro จะจ้างให้ทางฟาร์ มเลี้ยงโดยบริ ษทั ทาการส่ งวันเวลาที่จะจับไก่ส่งโรง
เชือดของบริ ษทั ซึ่ งทางบริ ษทั จะจ่ายเงินตามน้ าหนักไก่เฉลี่ย ทางจะฟาร์ มจะต้องหาวิธีการที่ใช้ดูแลวิธีต่างๆ
เพื่อให้ได้น้ าหนักเฉลี่ยหรื อผลประโยชน์มากที่สุดต่อฟาร์ ม
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างกรอบการตัดสิ นใจสาหรับการวิเคราะห์
เป้ าหมายในการวิเคราะห์ คือ การเลือกวิธีการในการดูแลไก่ในระยะเวลา 1เดือน โดยวิธีการต่างๆ
เช่น การจัดจ้างคนงานเพิม่ ,การเลือกอาหารที่จะให้ไก่กิน,ระยะเวลาในการให้อาหารกินกี่ม้ือต่อวัน,
ประเภทของยาที่จะผสมใส่ น้ าให้ไก่
วัตถุประสงค์
-ความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายปริ มาณอาหารที่ใช้ใน 40 วัน
-ประเภทกลุ่มของอาหารที่ทาให้น้ าหนักโดยเฉลี่ยมากขึ้น
-ประเภทของยาบารุ งที่มีผลให้น้ าหนักโดยเฉลี่ยมากขึ้น

ขั้นตอนที่ 2 สร้างทางเลือก
1.ให้ปริ มาณอาหาร 4 ตัน ในระยะเวลา 37 วัน อาหารประเภท BFT3 โดยควบคุมระยะเวลาอาหารให้
กินช่วงเช้า งดช่วงบ่ายเพื่อเพิ่มความอยากอาหาร และให้ตอนเย็น ในลักษณะเลี้ยงแบบเปิ ด
2.ให้ปริ มาณอาหาร 5 ตัน ในระยะเวลา 40 วัน อาหารประเภท BFT3 โดยควบคุมระยะเวลาอาหารให้
กิน 3 ช่วงคือ เช้า บ่าย และเย็น ในลักษณะเลี้ยงแบบปิ ด
3.ให้ปริ มาณอาหาร 5 ตัน ในระยะเวลา 39 วัน อาหารประเภท BFT4 ผสม ยาประเภท BVT2 โดย
ควบคุมระยะเวลาให้กินช่วงเช้าและบ่าย ในลักษณะเลี้ยงแบบเปิ ด
4.ให้ปริ มาณอาหาร 6 ตัน ในระยะเวลา 38 วัน อาหารประเภท BFT5 ผสมยาประเภท BVT3 โดย
ควบคุมระยะเวลาให้กิน 2 ช่วงคือ เช้า และ เย็น ในลักษณะเลี้ยงแบบปิ ด
5.ให้ปริ มาณอาหาร 6 ตัน ในระยะเวลา 40 วัน อาหารประเภท BFT4 ผสมยาประเภท BVT2 โดย
ควบคุมระยะเวลาให้กิน 3 ช่วงคือ เช้า และ เย็น ในลักษณะเลี้ยงแบบปิ ด

น้ าหนัก
ทางเลือก ปริ มาณอาหาร ระยะเวลา ช่วงเวลา ประเภท ประเภท ลักษณะ รายจ่ายที่ตอ้ ง
เฉลี่ย
(ตัน) (วัน) อาหาร ยา การเลี้ยง ใช้(บาท)
(กก.)
1 4 37 เช้า บ่าย BFT3 - เปิ ด 1.8 15320
2 5 40 เช้า บ่าย เย็น BFT2 - ปิ ด 2 28520
3 5 39 เช้า บ่าย BFT4 BVT2 เปิ ด 2.3 37400
4 6 38 เช้า เย็น BFT5 BVT3 เปิ ด 2.5 45950
5 6 40 เช้า บ่าย เย็น BFT4 BVT2 เปิ ด 2.4 49950

ขั้นตอนที่ 3 การบ่งชี้ปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณา
1.ปริ มาณอาหารที่ใช้ในแต่ละวัน
ปริ มาณอาหารที่ให้จะต้องอยูใ่ นช่วงที่ทาให้ไก่สามารถกินได้ท้ งั โดยขั้นต่าเฉลี่ยอยูท่ ี่
ประมาณ 3-4 ตันต่อวัน
2.ระยะเวลาในการให้อาหาร
ระยะเวลามีผลต่อการควบคุมน้ าหนักของไก่คือการให้อาหารตลอดจนถึงเวลาส่ งโรงเชื อด
โดยเกณฑ์การให้คะแนนจะอ้างอิงจากระยะเวลาเลี้ยงจนถึงจับไก่
3.ประเภทของอาหาร
อาหารแต่ละประเภทส่ งผลต่อความอยากอาหารของไก่ซ่ ึ ง BFT3 คืออาหารแบบป่ น BFT4
อาหารแบบเม็ด และอาหารแบบ BFT5 คืออาหารแบบผสมระหว่างอาหารเม็ดกับอาหารป่ น โดยสามารถ
ตรวจสอบจากอาหารที่เหลืออยูใ่ นโรงเก็บ ซึ่ งอาหารเม็ดจะทาให้ไก่มีความอยากอาหารมากที่สุด
4.ประเภทของยา
ยาแต่ละประเภทส่ งผลต่อการเจริ ญเติบโตของไก่ BVT2 คือยาเร่ งโปรตีนแบบปกติ และ BVT3
คือยาเร่ งโปรตีนแบบพิเศษส่ วนใหญ่ใช้ในกรณี ที่ไก่ไม่กินอาหารตามปกติ
5.ลักษณะการเลี้ยง
การเลี้ยงแบบเปิ ดส่ วนใหญ่จะทาให้ไก่มีความอยากอาหารมากกว่าแบบปิ ด
6.น้ าหนักโดยเฉลี่ย
น้ าหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 1.8-2.0 แต่ตอ้ งการให้ได้น้ าเฉลี่ยสู งกว่ามาตรฐาน
7.ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จะแปรผันตรงกับ ปริ มาณอาหาร ประเภทของอาหาร ประเภทของยา
8.ช่วงเวลา
การให้อาหารแต่ละช่วงมีความสาคัญต่อการกินอาหารของไก่ ซึ่ งจะทาให้เห็นว่าการให้
อาหารแบบเว้นช่วงหรื อต่อเนื่องมีผลดีอย่างไร

ขั้นตอนที่ 4 การให้คะแนนประสิ ทธิภาพเชิงปัจจัยสาหรับแต่ละทางเลือกภายใต้แต่ละปัจจัย


ทางเลือก ปริ มาณ ระยะเวลา ช่วงเวลา ประเภท ประเภทยา ลักษณะ น้ าหนัก รายจ่ายที่ตอ้ ง
อาหาร (วัน) อาหาร การเลี้ยง เฉลี่ย ใช้(บาท)
1 ปกติ 37 แย่ กินน้อย - ดี ตามเกณฑ์ 15320
2 มาก 40 ดี กินน้อยมาก - ไม่ดี ตามเกณฑ์ 28520
3 มาก 39 แย่ กินมาก เนื้อเยอะ ดี สู ง 37400
4 มากกว่า 38 ดีมาก กินปกติ เนื้อเยอะมาก ดี สู ง 45950
5 มากกว่า 40 ดี กินมาก เนื้อเยอะ ดี สู ง 49950

ประเภท ประเภท ลักษณะ น้ าหนัก รายจ่ายที่


ทางเลือก ปริ มาณอาหาร ระยะเวลา ช่วงเวลา
อาหาร ยา การเลี้ยง เฉลี่ย ต้องใช้
1 50 51 0 0 0 100 0 100
2 75 100 50 0 0 0 50 80
3 75 83 0 100 50 100 100 60
4 100 68 100 50 100 100 100 50
5 100 100 50 100 50 100 100 45
ขั้นตอนที่ 5 การให้น้ าหนักของแต่ละปัจจัยในการตัดสิ นใจ
ประเภท ประเภท ลักษณะการ น้ าหนัก รายจ่ายที่ตอ้ ง
ทางเลือก ปริ มาณอาหาร ระยะเวลา ช่วงเวลา
อาหาร ยา เลี้ยง เฉลี่ย ใช้
1 50 0 0 0 0 100 0 100
2 75 100 50 0 0 0 50 80
3 75 0 0 100 50 100 100 60
4 100 0 100 50 100 100 100 50
5 100 100 50 100 50 100 100 45
น้ าหนักปั จจัย 20 5 5 10 20 5 25

การให้น้ าหนักปั จจัยจะให้ความสาคัญในเรื่ องค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งใช้เป็ นอันดับแรก ปริ มาณอาหารกับประเภท


ของยาเป็ นอันดับที่สอง ประเภทของอาหารเป็ นลาดับที่สาม และระยะเวลา ช่วงเวลาในการให้อาหาร
ลักษณะการเลี้ยงเป็ นอันดับที่สี่

ขั้นตอนที่ 6 การรวมคะแนนและน้ าหนักแต่ละทางเลือก


ปริ มาณ ประเภท ประเภท ลักษณะ น้ าหนัก รายจ่ายที่
ทางเลือก ระยะเวลา ช่วงเวลา รวม
อาหาร อาหาร ยา การเลี้ยง เฉลี่ย ต้องใช้
1 12.5 2.55 0 0 0 5 0 25 45.05
2 25 5 2.5 0 0 0 5 22.75 60.25
3 25 4.15 0 10 7.5 5 10 18.5 80.15
4 25 3.4 5 5 15 5 10 14.25 82.65
5 25 5 2.5 10 7.5 5 10 7.5 72.5
น้ าหนักปั จจัย 20 5 5 10 20 5 5 25 100
ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์และพิจารณาผลการประเมินทางเลือกในการตัดสิ นใจ

90

80

70

60
benefit(score)

50

40

30

20

10

0
0 10000 20000 30000 40000 50000 60000
Price(bath)

จากคะแนนรวมน้ าหนักของปั จจัยทั้งหมด ทาให้ได้พบว่าทางเลือกที่ 4 มีคะแนนมากที่สุดคือ 82.65 คะแนน


โดยมองปั จจัยด้านค่าใช้จ่ายมากที่สุด
ขั้นตอนที่ 8 การศึกษาความอ่อนไหว
90

80

70

60
benefit(score)

50

40

30

20

10

0
0 10000 20000 30000 40000 50000 60000
Price(bath)

พิจารณาโอกาสในการเลือกทางเลือก
จะเห็นว่าทางเลือกที่ 3 และ 4 มีความใกล้เคียงกัน ตามจุดประสงค์ที่ต้ งั เป้ าหมายไว้ และสรุ ปได้วา่
ทางเลือกที่ 4 เป็ นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด แต่ถา้ ให้น้ าหนักเรื่ องของปริ มาณอาหารและปริ มาณยามากกว่า
ค่าใช้จ่ายที่จะต้องใช้จะทาให้เห็นว่าทางเลือกที่ 3 และ 5 มีความใกล้เคียงกันทาให้ตอ้ งพิจารณาทางเลือกใหม่
ซึ่ งยึดตามหลักจุดประสงค์ที่ต้ งั ไว้ขา้ งต้นจะทาให้เห็นว่าทางเลือกที่ 3 มีความเหมาะสมมากกว่า ทางเลือกที่ 5
ดังตารางด้านล่าง

100

90

80

70
benefit(score)

60

50

40

30

20

10

0
0 10000 20000 30000 40000 50000 60000
Price(bath)

You might also like