You are on page 1of 93

@

ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
เล่มที่ 4 คู่มือการใช้อปุ กรณ์ควบคุมการจราจร
– บริเวณทางแยก

@
พิมพ์ครัง้ ที่ 1 (กันยายน 2554)

นั้น
โดย

เท่า
กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
ถนนศรีอยุธยา แขวงทุง่ พญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

ห้ามทําการพิมพ์เผยแพร่เพือ่ ผลประโยชน์ทางการค้า โดยมิได้รบั อนุญาตจาก กรมทางหลวง


@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
คํานํา
โครงการศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐานเครื่องหมายควบคุมการจราจรกรมทางหลวงเป็ นโครงการที่จดั ทําขึน้
ตามร่า งกฎกระทรวง “กํา หนดการจัด ทํา ป กั ติด ตัง้ ป้ า ยจราจร เครื่อ งหมายจราจร หรือ สัญ ญาณจราจร สํา หรับ
การจราจรบนทางหลวง” ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) เรื่องเสร็จที่ 880/2552
โดยโครงการมีวตั ถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเนื้อหาของคู่มอื มาตรฐาน ข้อกําหนด และเอกสารฉบับต่างๆ ทีก่ รมทางหลวง

@
ได้ใช้มาเป็ นระยะเวลานาน ให้มคี วามทันสมัยและเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวประเทศ ่
การควบคุมการจราจรให้เป็ นระเบียบ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยต่อผูข้ บั ขีย่ วดยานพาหนะนัน้ จําเป็ นต้อง

นั้น
ออกแบบและติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรประเภทต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึง่ ประกอบไปด้วย ป้ายจราจร
(Traffic Signs) เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Markings) สัญญาณไฟจราจร (Traffic Signals) ตลอดจน

เท่า
อุปกรณ์ อ่ืนๆ ที่ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ ข้างต้น เช่น เครื่องหมายนํ าทาง (Delineators) และไฟฟ้าแสงสว่างบนทางหลวง
(Road Lightings) เป็ นต้น นอกจากนี้การเลือกใช้วสั ดุและชิ้นส่วนต่างๆ รวมไปถึงกระบวนการผลิตและวิธกี ารติดตัง้

ลวง
จะต้อ งเป็ น ไปตามข้อ กํ า หนดและมาตรฐานที่ก รมทางหลวงได้ร ะบุ ไ ว้ เพื่อ ให้ไ ด้ผ ลิต ภัณ ฑ์ ง านทางที่ม ีคุ ณ ภาพ
มีความทนทานในการใช้งาน และประหยัดค่าใช้จา่ ยการซ่อมบํารุงในระยะยาว
ในการออกแบบทางแยกนัน้ จําเป็ นต้องมีการบริหารและจัดการ ทางร่วม ทางแยก การเข้า-ออก จากทางหลัก
างห
เนื่องจากมีการตัดกันของกระแสการจราจร และการไหลของกระแสจราจรที่มคี วามเร็วสูง อุปกรณ์ควบคุมการจราจร
มีบทบาทในการบริหารจัดการดังกล่าว เพื่อให้การจราจรบริเวณทางแยกสามารถเคลื่อนตัวไปได้อย่างปลอดภัย สะดวก
รมท

รวดเร็ว ผู้ใ ช้ท างไม่เ กิด ความสับ สนในการเลือ กใช้เ ส้น ทาง เนื่ อ งจากอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การจราจรบริเ วณทางแยก
ซึ่งอาจต้องใช้อุป กรณ์ ควบคุมการจราจรหลายอย่างประกอบกัน ได้แ ก่ ป้า ยจราจร เครื่องหมายจราจรบนพื้นทาง
สัญ ญาณไฟจราจร รวมถึง เครื่อ งหมายนํ า ทาง เพื่อ ให้ เ กิด ประสิท ธิภ าพสูง สุ ด และถู ก ต้ อ งตามหลัก วิศ วกรรม
องก

ดังนัน้ กรมทางหลวงจึงได้จดั ทําคู่มอื การใช้อุปกรณ์ ควบคุมการจราจรบริเวณทางแยกฉบับนี้ เพื่อให้หน่ วยงานและ


ผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องสามารถนําไปปฏิบตั ใิ ช้ได้อย่างถูกต้องและเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวประเทศ

ิทธิ์ข
ลิขส
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
สารบัญ
หน้ า

บทที่ 1 บทนํา 1
1.1 วัตถุประสงค์ของอุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณทางแยก 1
1.2 หลักการปฏิบตั โิ ดยทัวไป
่ 1

@
บทที่ 2 หลักการพืน้ ฐาน 2

นั้น
2.1 ทางแยกระดับเดียวกัน 2
2.1.1 ลําดับขัน้ ของการควบคุมทางแยก 3

เท่า
2.1.1.1 ระดับที่ 1 กฎเบือ้ งต้นของการใช้ถนน 3
2.1.1.2 ระดับที่ 2 การใช้ป้ายให้ทางหรือป้ายหยุด 5

ลวง
2.1.1.3 ระดับที่ 3 การใช้สญ ั ญาณไฟจราจร 5
2.2 ทางแยกต่างระดับ 7
างห
บทที่ 3 ป้ ายจราจรบริ เวณทางแยก 9
3.1 ป้ายจราจรบริเวณทางแยก 9
รมท

3.1.1 ป้ายบังคับ 9
3.1.1.1 ป้ายหยุด (บ.1) 9
3.1.1.2 ป้ายให้ทาง (บ.2) 10
องก

3.1.1.3 ป้ายให้ชดิ ซ้าย (บ.40) 10


3.1.2 ป้ายเตือน 11
ิทธิ์ข

3.1.2.1 ป้ายเตือนทางแยก (ต.11 – ต.20) 11


3.1.2.2 ป้ายเตือนสัญญาณจราจร (ต.53) 11
3.1.2.3 ป้ายเตือนหยุดข้างหน้า (ต.54) 12
ลิขส

3.1.2.4 ป้ายเตือนให้ทางข้างหน้า (ต.55) 12


3.1.2.5 ป้ายเครือ่ งหมายลูกศรคู่ (ต.62) 12
3.1.2.6 ป้ายเตือนสิง่ กีดขวาง (ต.71 – ต.73) 13
@

3.1.2.7 ป้ายเตือนเสริม (ตส.1 – ตส.4) 14


3.1.3 ป้ายแนะนํา 14
3.1.3.1 สีป้ายแนะนํา 14
3.1.3.2 ป้ายหมายเลขทางหลวง 15
3.1.3.3 ป้ายบอกจุดหมายปลายทาง 15
3.1.3.4 ป้ายบอกระยะทาง 15

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [i]


สารบัญ (ต่อ)
หน้ า

3.1.4 ป้ายชุด 15
3.1.4.1 ป้ายชุดระบุทศิ ทาง 15
3.1.4.2 ป้ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก 16

@
3.1.5 ป้ายจราจรมาตรฐานสูง 16
3.1.5.1 หลักเกณฑ์การติดตัง้ ป้ายจราจรมาตรฐานสูงประเภทแขวนสูง

นั้น
17
3.1.5.2 รายละเอียดบนแผ่นป้าย 18

เท่า
3.1.5.3 ป้ายจราจรมาตรฐานสูงชุดทางแยก 19
3.2 การติดตัง้ ป้ายจราจรทัวไปและการติ
่ ดตัง้ ป้ายจราจรบริเวณทางแยก 25

ลวง
3.2.1 การติดตัง้ ป้ายจราจรทัวไป
่ 25
3.2.2 ความสูงของป้ายจราจร 25
3.2.3 ระยะติดตัง้ ตามแนวขวางของป้ายจราจร 25
างห
3.2.4 การติดตัง้ ป้ายจราจรบริเวณทางแยก 26
3.2.5 การติดตัง้ ป้ายชุดบริเวณทางแยก กรณีเป็ นทางแยกระดับเดียวกัน 27
รมท

3.2.6 การติดตัง้ ป้ายชุดบริเวณ กรณีเป็ นทางแยกต่างระดับ 27

บทที่ 4 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางบริ เวณทางแยก 32


องก

4.1 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง 32


4.1.1 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทบังคับ 32
ิทธิ์ข

4.1.2 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทเตือน 33


4.2 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางแยกประเภทบังคับ 33
4.2.1 เส้นแบ่งทิศทางจราจรปกติ 33
ลิขส

4.2.2 เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซง 34
4.2.3 เส้นแบ่งช่องเดินรถ หรือเส้นแบ่งช่องจราจร 34
4.2.4 เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถ 34
@

4.2.5 เส้นหยุด 35
4.2.6 เส้นให้ทาง 36
4.2.7 เส้นทางข้าม 36
4.2.8 เส้นทแยงห้ามหยุดรถ 38
4.2.9 ปลอดภัยหรือเกาะสี 38

[ ii ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


สารบัญ (ต่อ)
หน้ า

4.2.10 ข้อความบังคับบนพืน้ ทาง 42


4.2.11 ลูกศร 44
4.2.12 ให้ทาง 49
4.3 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางแยกประเภทเตือน 50

@
4.3.1 เส้นขอบทาง (พต. 1 และ พต.3) 50

นั้น
4.3.2 เส้นแนวช่องจราจรผ่านทางแยก 53
4.3.3 เส้นชะลอความเร็ว (พต.6) 54

เท่า
4.4 ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบริเวณทางแยก 55

ลวง
บทที่ 5 สัญญาณไฟจราจรบริ เวณทางแยก 57
5.1 สัญญาณไฟจราจร 57
5.2 ตําแหน่งการติดตัง้ สัญญาณไฟจราจร 57
างห
5.3 การวางตําแหน่งโคมสัญญาณไฟจราจรและจํานวนโคมสัญญาณไฟขัน้ ตํ่า 59
5.4 ระยะการมองเห็นสัญญาณไฟ 60
รมท

5.5 ความสูงของโคมสัญญาณไฟ 60

บทที่ 6 รูปแบบการติ ดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริ เวณทางแยก 63


องก

6.1 หลักการทัวไป่ 63
6.2 การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณสามแยก 64
ิทธิ์ข

6.3 การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณสีแ่ ยก 70


6.4 การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณทางแยกต่างระดับ 76
ลิขส

บรรณานุกรม 79
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ iii ]


@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
บทที่ 1
บทนํา
1.1 วัตถุประสงค์ของอุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริ เวณทางแยก
ในการออกแบบทางแยกนัน้ จําเป็ นต้องมีการบริหารและจัดการ ทางร่วม ทางแยก การเข้า-ออก จากทางหลัก

@
เนื่องจากมีการตัดกันของกระแสการจราจร และการไหลของกระแสจราจรที่มคี วามเร็วสูง อุปกรณ์ควบคุมการจราจรมี
บทบาทในการบริห ารจัด การดังกล่า วเพื่อ ให้ก ารจราจรเป็ น ไปอย่า งมีป ระสิทธิภาพ ซึ่ง การติดตัง้ อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม

นั้น
การจราจรบริเวณทางแยกมีวตั ถุประสงค์หลักดังนี้
 เพือ่ ให้การจราจรบริเวณทางแยกสามารถเคลื่อนตัวไปได้อย่างปลอดภัย สะดวก และรวดเร็ว

เท่า
 เพื่อ แนะนํ า เส้น ทางแก่ ผู้ใ ช้ทาง ให้ไ ปยังจุดหมายปลายทาง โดยไม่เกิด ความสับ สนในการ
เลือกใช้เส้นทาง (กรณีป้ายจราจร)

1.2 หลักการปฏิ บตั ิ โดยทัวไป



ลวง
างห
1) ต้องพิจารณาถึงความจําเป็ นในการใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร ตัง้ แต่ขนั ้ ตอนการออกแบบทางและไม่
ควรหวังผลการใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรเพือ่ แก้ไขความบกพร่องของการออกแบบทาง
2) ต้องติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรทีจ่ าํ เป็ นตามจุดทีเ่ หมาะสมและถูกต้อง ตามมาตรฐานให้เรียบร้อยทุก
รมท

แห่งก่อนทีจ่ ะเปิ ดการจราจรทางหลวงใหม่ ทางเบีย่ ง หรือทางชัวคราว ่


3) อุปกรณ์ควบคุมการจราจรจะต้องสอดคล้องกับสภาพและการจราจรบนทางหลวง ฉะนัน้ ให้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์
ควบคุมการจราจรเพิม่ เติม/หรือรื้อถอนอุปกรณ์ ควบคุมการจราจรออกทันที เมื่อสภาพของทางหลวง
องก

เปลีย่ นแปลงไป
4) การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรจะต้องคํานึงถึงมาตรฐานของการออกแบบอุปกรณ์ควบคุมการจราจร
ิทธิ์ข

การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจร ตลอดจนความสมํ่าเสมอในการใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร สภาพ


การจราจรและประเภททางหลวงแบบเดียวกันใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรแบบเดียวกันติดตัง้
5) ไม่ควรติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจร เช่น ป้ายจราจรประเภทป้ายบังคับและป้ายเตือนเกินความจําเป็ น
ลิขส

เพราะแทนทีจ่ ะเป็ นผลดีขน้ึ กลับทําให้ผใู้ ช้ทางหลวงขาดความสนใจป้ายจราจร


6) การติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจร ป้ายแนะนํา ประเภทป้ายบอกจุดหมายปลายทาง และป้ายหมายเลข
ทางหลวงเป็ นระยะๆ จะทําให้เกิดประโยชน์กบั ผูใ้ ช้ทางหลวงมากขึน้
@

7) การติดตัง้ สัญญาณไฟจราจร ควรพิจารณาเกณฑ์การติดตัง้ ในคูม่ อื และมาตรฐานสัญญาณไฟจราจร


8) ในกรณีทไ่ี ม่สามารถปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ในคู่มอื เล่มนี้ ก็ให้พจิ ารณาเลือกทางปฏิบตั ใิ ห้เหมาะสมเฉพาะ
ราย

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [1]


บทที่ 2
หลักการพืน้ ฐาน
ทางแยกเป็ นบริเวณทีม่ กี ารตัดกันของกระแสจราจร และการไหลของกระแสจราจรทีม่ คี วามเร็วสูง ซึ่งในคู่มอื
เล่มนี้จะแบ่งประเภทของทางแยกตามทีม่ กี ารใช้งาน ดังนี้
1. ทางแยกระดับเดียวกัน (At-grade Intersection) ซึง่ แบ่งเป็ น สามแยก และสีแ่ ยก

@
2. ทางแยกต่างระดับ (Interchange)

นั้น
2.1 ทางแยกระดับเดียวกัน (At-Grade Intersection)
บริเวณทางแยกระดับเดียวกัน (At-Grade Intersection) เช่น บริเวณจุดตัดของถนนขนาด 2 ช่องจราจร ของสองสาย

เท่า
ทาง จะมียวดยานเข้าสูท่ างแยกสีด่ า้ น (Approach) ซึง่ แต่ละด้านนัน้ จะมียวดยานสามทิศทาง (Movement) ได้แก่ เลีย้ วซ้าย
ตรง เลี้ยวขวา ซึ่งรวมแล้วหากเป็ นสีแ่ ยกจะมียวดยานเคลื่อนที่ทงั ้ หมด 12 ทิศทาง นอกจากนี้แล้วหากมีคนข้ามถนน

ลวง
ด้วยแล้ว จะเกิดการตัดกันของกระแสจราจรด้วยกันเองและกระแสจราจรกับคนข้ามถนน
จากรูปที่ 2-1 จะเห็นว่า สําหรับบริเวณสามแยกจะเกิดการขัดแย้งกันของกระแสจราจร (Conflict) เท่ากับ 9 จุด
างห
ซึง่ ประกอบไปด้วย 3 จุดตัด (Crossing) 3 จุดรวม (Merging) และ 3 จุดแยก (Diverging) รวมถึงจุดตัดกับคนเดินข้าม
อีก 12 จุด ส่วนบริเวณสีแ่ ยกนัน้ เกิดการตัดกันของกระแสจราจรทัง้ สิน้ 32 จุด และคนเดินข้ามอีก 24 จุด ดังนัน้ จึงเป็ น
หน้าที่สาํ คัญของวิศวกรจราจรที่จะต้องควบคุมและจัดการกับการขัดแย้งเหล่านี้ เพื่อความปลอดภัยและประสิทธิภาพ
รมท

ของการเคลื่อนตัวของกระแสจราจรและคนเดินข้ามสูงสุด
องก
ิทธิ์ข

ถนน 2 ช่องจราจร
ลิขส

3 Crossing Conflict Points


@

3 Diverging Conflict Points


3 Merging Conflict Points
Pedestrians (12 Conflict Points)

รูปที่ 2-1 จุดตัดกระแสจราจร (Conflict Points) ทีบ่ ริเวณสามแยก และสีแ่ ยก

[2] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


2.1.1 ลําดับขัน้ ของการควบคุมทางแยก (Hierarchy of Intersection)
ลําดับขัน้ ของการควบคุมทางแยก สามารถแบ่งออกเป็ นได้ 3 ลําดับขัน้ ดังนี้
ระดับที่ 1 กฎเบือ้ งต้นของการใช้ถนน (Basic Rule of the Road)
ระดับที่ 2 การใช้ป้ายให้ทาง (Yield) หรือ ป้ายหยุด (Stop)
ระดับที่ 3 สัญญาณไฟจราจร (Traffic Signalization)
ซึง่ แต่ละระดับมีรายละเอียดโดยสังเขปดังนี้

2.1.1.1 ระดับที่ 1 กฎเบือ้ งต้นของการใช้ถนน (Basic Rule of the Road)

@
กฎเบือ้ งต้นของการใช้ถนน ใช้ในกรณีทไ่ี ม่มกี ารกําหนด Right-of-Way โดยใช้ป้ายให้ทาง หรือป้ายหยุด ซึง่

นั้น
หลักในการใช้ทางร่วมทางแยกมีดงั นี้ (กรมการขนส่งทางบก)
1) ถ้ามีรถอื่นอยูใ่ นทางร่วมทางแยก ผูข้ บั ขีต่ อ้ งให้รถทีอ่ ยูใ่ นทางร่วมทางแยกนัน้ ผ่านไปก่อน

เท่า
2) ถ้ามาถึงทางร่วมทางแยกพร้อมกัน และไม่มรี ถอยูใ่ นทางร่วมทางแยก ผูข้ บั ขีต่ อ้ งให้รถทีอ่ ยูท่ างด้าน
ซ้ายของตนผ่านไปก่อน เว้นแต่ในทางร่วมทางแยกใดมีทางเดินรถทางเอกตัดผ่านทางเดินรถทางโท

ลวง
ให้ผขู้ บั ขีใ่ นทางเอกมีสทิ ธิผา่ นไปก่อน
3) ถ้าสัญญาณไฟเขียวปรากฏข้างหน้า แต่ในทางร่วมทางแยกมีรถหยุดขวางอยูจ่ นไม่สามารถผ่านไปได้
ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถทีห่ ลังเส้นให้หยุดรถจนกว่าจะสามารถเคลื่อนรถผ่านไปได้
างห
4) เมือ่ อยูใ่ นทางร่วมทางแยก ผูข้ บั ขีต่ อ้ งให้รถทางตรงทีว่ งิ่ สวนมาผ่านไปก่อนแล้วจึงเลีย้ วขวาได้

ในการจะใช้ก ฎของการขับ ขี่บนท้อ งถนนนัน้ ผู้ข บั ขี่จ ะต้อ งมองเห็น ซึ่งกัน และกัน และมีเ วลาเพีย งพอที่จ ะ
รมท

ตัด สิน ใจกระทํา อย่า งใดอย่ า งหนึ่ ง เพื่อ หลีก เลี่ย งอุ บ ัติเ หตุ โดยปกติบ ริเ วณทางแยกนัน้ ระยะการมองเห็น (Sight
Distance) จะถูกจํากัดด้วยอาคารหรือสิง่ กีดขวางอื่นๆ ทีอ่ ยูใ่ กล้หวั มุมตรงทางแยก จากรูปที่ 2-2 รถ A อยูห่ ่างจากจุดที่
องก

จะชนกับรถ B เป็ นระยะทาง และรถ B อยูห่ ่างจากจุดชนเป็ นระยะทาง ซึง่ จากรูป ความสัมพันธ์ของสามเหลีย่ ม
คล้าย จะได้

ิทธิ์ข

=

= (2-1)
ลิขส

โดยที่
= ระยะทางจากรถ A ถึงจุดชน (เมตร)
@

= ระยะทางจากรถ B ถึงจุดชน (เมตร)


= ระยะทางจากรถ A ถึงสิง่ กีดขวาง วัดขนานกับการเคลื่อนทีข่ องรถ B (เมตร)
b = ระยะทางจากรถ B ถึงสิง่ กีดขวาง วัดขนานกับการเคลื่อนทีข่ องรถ A (เมตร)

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [3]


เมื่อรถเข้าสู่ทางแยกโดยไม่มอี ุปกรณ์ ควบคุมการจราจรนัน้ เพื่อความปลอดภัยคนขับรถทัง้ สองคันจะต้อง
สามารถหยุดรถได้ทนั ก่อนทีจ่ ะถึงจุดชนกัน ดังในรูปที่ 2-2 หรือระยะ และ จะต้องเท่ากับหรือมากกว่าระยะหยุด
(Stopping Sight Distance, S) จากจุดทีค่ นขับรถทัง้ สองเห็นซึง่ กันและกัน ซึง่ ระยะหยุด จะเท่ากับ

= ∗ + ( )
(2-2)
โดยที่
= ระยะหยุด (เมตร)

@
= ความเร็วรถ (เมตรต่อวินาที)
= ระยะเวลาตอบสนองต่อเหตุการณ์ (วินาที)

นั้น
g = ค่าแรงโน้มถ่วง (9.81 เมตรต่อวินาทีต่อวินาที)
f = ค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทานระหว่างล้อรถกับถนน (โดยปกติคา่ f = 0.348)

เท่า
G = ค่าความชันของถนน (เช่น ความชัน 3 %, G = 0.03)

ลวง
จากสมการ 2-1 และ 2-2 สามารถตรวจสอบว่าทางแยกมีระยะหยุดปลอดภัยหรือไม่ ตามขัน้ ตอนดังนี้
างห
1) สมมุติ รถ A อยูท่ ต่ี าํ แหน่ง ระยะหยุดปลอดภัย จากจุดชน หรือ = S โดยระยะ S หาได้โดยใช้สมการ
2-2 โดยให้รถ A อยูบ่ นถนนสายรอง (Minor Street)
2) ใช้สมการ 2-1 คํานวณหาตําแหน่ง รถ B ( , ) ซึง่ จะเป็ นตําแหน่ งทีค่ นขับรถเห็นรถอีกคันหนึ่ง
รมท

3) คํานวณระยะหยุดปลอดภัยของ รถ B โดยใช้สมการ 2-2 ( , )


4) ดังนัน้ รถ B จะสามารถหยุดได้อย่างปลอดภัย หาก , ≥ ,
องก

ทําตามขัน้ ตอน 1 ถึง 3 สําหรับทัง้ สีม่ ุมของสีแ่ ยก เพื่อตรวจสอบว่าแยกนี้รถสามารถหยุดได้อย่างปลอดภัย


หรือไม่ หากไม่มอี ุปกรณ์ควบคุมจราจรบริเวณทางแยก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 2-2 ระยะการมองทีบ่ ริเวณทางแยก

[4] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


2.1.1.2 ระดับที่ 2 การใช้ป้ายให้ทาง (Yield) หรือป้ ายหยุด (Stop)
ที่บริเวณแยกใดๆ หากตรวจสอบแล้วไม่ปลอดภัยในการใช้ Basic Rule of Road ตามหัวข้อ 2.1.1.1 นัน้
จําเป็ นต้องใช้การควบคุมทางแยกระดับที่ 2 โดยการใช้ป้ายหยุดหรือป้ายให้ทาง ซึง่ เป็ นป้ายประเภทบังคับ หรือถึงแม้วา่
แยกนัน้ จะมีค วามปลอดภัย ในการใช้ Basic Rule of Road อาจจํา เป็ น ต้อ งใช้ก ารควบคุ ม ระดับ ที่ 2 ซึ่ง ทัง้ นี้ อ าจ
เนื่องมาจากปริมาณจราจรทีม่ คี อ่ นข้างมากพอสมควร หรือทางแยกมีสภาพค่อนข้างซับซ้อน

@
นั้น
เท่า
รูปที่ 2-3 ป้ายหยุด (Stop Sign) และป้ายให้ทาง (Yield Sign)

2.1.1.3 ระดับที่ 3 สัญญาณไฟจราจร (Traffic Signalization)

ลวง
ในกรณีท่ที างแยกผ่านเกณฑ์ในการติดตัง้ สัญญาณไฟจราจร ตามคู่มอื และมาตรฐานสัญญาณไฟจราจร อาจ
พิจารณาติดตัง้ สัญญาณไฟจราจรบริเวณทางแยก ซึง่ ในการติดตัง้ สัญญาณไฟจราจรนัน้ มีทงั ้ ข้อดีและข้อเสีย ดังนี้
างห
ข้อดีของการติดตัง้ สัญญาณไฟจราจร
1) ช่วยในการจัดลําดับการเคลื่อนทีข่ องการจราจร
รมท

2) ช่วยเพิม่ ความจุของทางแยก ถ้า


 มีการวางรูปแบบทางแยกทีเ่ หมาะสม และมีการควบคุมทีด่ ี
องก

 ตัว แปรที่เ ป็ น ตัวจัด การสัญ ญาณไฟ ถูก ตรวจสอบและปรับปรุง โดยอาศัย พื้น ฐานทางด้า น
วิศวกรรมในการกําหนดนัยสําคัญของการไหลของการจราจร และ/หรือ การเปลีย่ นแปลงการใช้
พืน้ ที่ เพื่อให้เกิดความสามารถสูงสุดของสัญญาณไฟจราจรเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ิทธิ์ข

การจราจรในขณะนัน้ ได้
3) ช่วยลดความถีข่ องอุบตั เิ หตุ และความรุนแรงของอุบตั เิ หตุเมือ่ มีการชน
ลิขส

4) ช่วยให้มกี ารเคลื่อนตัวอย่างต่อเนื่องของการจราจรถ้ามีการประสานสัญญาณไฟจราจรของทางแยกต่างๆ
อย่างเหมาะสม
5) เป็ นการหยุดกระแสจราจรทีม่ ปี ริมาณมากเพือ่ ให้กระแสจราจรในทิศทางอื่น หรือคนเดินเท้าสามารถข้าม
ได้
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [5]


ข้อเสียของการติดตัง้ สัญญาณไฟจราจร
ข้อ เสีย ของการติดตัง้ สัญ ญาณไฟจราจร ซึ่ง อาจเกิด จากการออกแบบที่ไ ม่ดีข องสัญ ญาณไฟจราจร หรือ
ลักษณะกายภาพของทางแยก อาจก่อให้เกิด
1) ความล่าช้าเพิม่ ขึน้ อย่างมาก ซึง่ เกิดจากการออกแบบสัญญาณไฟไม่เหมาะสม เช่น รอบสัญญาณ (Cycle
Length ) สัน้ หรือยาวเกินไปสําหรับความต้องการทีบ่ ริเวณทางแยกนัน้ ๆ
2) การละเมิดสัญญาณไฟจราจร
3) เพิม่ การเดินทางในเส้นทางอื่นเนื่องจากผูข้ บั ขีพ่ ยายามหลีกเลีย่ งทางแยกทีต่ ดิ ตัง้ สัญญาณไฟ

@
4) เพิม่ จํานวนอุบตั เิ หตุ โดยเฉพาะชนท้าย (Rear-end Collisions)

นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก

รูปที่ 2-4 ตัวอย่างของทางสีแ่ ยกระดับเดียวกัน


ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 2-5 ตัวอย่างของทางสามแยกระดับเดียวกัน

[6] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


2.2 ทางแยกต่างระดับ (Interchange)
ทางแยกต่างระดับเป็ นลักษณะของทางแยกทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพื่อลดการขัดแย้งกันของการจราจรบนทางแยก
โดยการแยกการจราจรทีจ่ ะต้องตัดกันให้อยูใ่ นระดับทีต่ ่างกัน โดยสามารถแบ่งทางแยกต่างระดับออกเป็ น
1) ทางแยกต่างระดับที่ไม่มีทางเชื่อมขึน้ ลง (Grade-Separated without Ramps) (รูปที่ 2-6) โดยทัวไป ่
มีลกั ษณะเป็ นทางลอดหรือทางข้าม ซึ่งจะก่อสร้างในบริเวณทีม่ พี น้ื ทีจ่ าํ กัด หรือเป็ นการปรับปรุงทางแยก
ระดับเดียวกัน ส่วนใหญ่จะเป็ นทางแยกทีอ่ ยูใ่ นเขตเมือง หรือทางข้าม-ทางลอด เส้นทางรถไฟ
2) ทางแยกต่างระดับที่มีทางเชื่อมขึน้ ลง (Grade-Separated with Ramps) (รูปที่ 2-7) จะเป็ นทางแยก

@
ต่างระดับทีอ่ าศัยพืน้ ทีก่ ว้าง เนื่องจากมีทางเชื่อมขึน้ ลง โดยปกติจะก่อสร้างในพืน้ ทีน่ อกเขตเมือง

นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก

รูปที่ 2-6 ตัวอย่างของทางแยกต่างระดับทีไ่ ม่มที างเชื่อมขึน้ ลง


ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 2-7 ตัวอย่างของทางแยกต่างระดับทีม่ ที างเชื่อมขึน้ ลง

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [7]


สําหรับรายละเอียดของอุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณทางแยกและรูปแบบการติดตัง้ ทีจ่ ะกล่าวถึงในบท
ถัดไป ประกอบไปด้วย
 ป้ายจราจรบริเวณทางแยก
 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางแยก
 สัญญาณไฟจราจรบริเวณทางแยก
 รูปแบบการติดตัง้

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[8] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


บทที่ 3
ป้ ายจราจรบริเวณทางแยก
3.1 ป้ ายจราจรบริ เวณทางแยก
ประเภทของป้ายจราจรทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ บริเวณทางแยก ประกอบด้วย ป้ ายบังคับ ป้ ายเตือน และ ป้ ายแนะนํา ใช้
เพื่อควบคุมและแนะนํ าให้ผู้ใช้ทางสามารถเดินทางไปยังจุดหมายได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ดังนัน้ การอนุ ญาตให้

@
ติดตัง้ ป้ายประเภทอื่นในบริเวณทางแยก อาจก่อให้เกิดความสับสน จึงควรติดตัง้ เท่าที่จําเป็ นและได้พจิ ารณาแล้วว่า

นั้น
เหมาะสมและปลอดภัยเท่านัน้

เท่า
3.1.1 ป้ ายบังคับ
3.1.1.1 ป้ ายหยุด (บ.1)

ลวง
เนื่องจากการติดตัง้ ป้ายหยุดอาจก่อให้เกิดความไม่สะดวกต่อผูใ้ ช้รถ ดังนัน้
จึงควรใช้ป้ายนี้เฉพาะจําเป็ นและมีเหตุอนั ควร (Warrants) เท่านัน้
เหตุอนั ควร (Warrants) ในการพิจารณาเพือ่ ติดตัง้ ป้ายหยุด มีดงั นี้
างห
1) ทางแยกซี่งไม่ตดิ ตัง้ ป้ายหยุดที่ดา้ นหนึ่ง และให้การจราจรผ่านทางแยกตามสิทธิผ่านทางแยกก่อน มัก
ก่อให้เกิดอันตรายอยูเ่ สมอ
รมท

2) ถนนทีเ่ ข้าบรรจบกับทางหลวงสายหลัก
3) ทางแยกทีอ่ ยู่ในบริเวณพืน้ ทีม่ กี ารควบคุมการจราจรด้วยสัญญาณไฟ แต่ไม่ได้มกี ารติดตัง้ สัญญาณไฟที่
ทางแยกนัน้
องก

4) ทางแยกทีม่ ลี กั ษณะของทางและการจราจรประกอบกันดังนี้ คือยวดยานส่วนใหญ่ใช้ความเร็วสูง ระยะการ


มองเห็นจํากัด และมีสถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุทร่ี นุ แรงสูง ให้ตดิ ตัง้ ป้ายหยุดเพือ่ ควบคุมการจราจรทีด่ า้ นหนึ่ง
ิทธิ์ข

การติดตัง้ โดยทัวไป่ ให้ตดิ ตัง้ ป้ายหยุดบนทางหลวงทีม่ ปี ริมาณจราจรน้อยกว่า นอกจากในกรณีทเ่ี ป็ นสามแยก


ให้ตดิ ตัง้ ป้ายหยุดบนทางหลวงทีเ่ ข้าบรรจบ ไม่ว่าจํานวนยวดยานบนทางหลวงนัน้ จะมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ตาม ทัง้ นี้
เพือ่ ความปลอดภัย
ลิขส

1) ห้ามติดตัง้ ป้ายหยุดบนทางหลวงพิเศษหรือตามทางแยกต่างระดับ (Interchange) ทัง้ นี้เนื่องจากบนทาง


หลวงเหล่า นัน้ ต้อ งการให้ย วดยานไหลไปได้ส ะดวก ไม่ส มควรติด ตัง้ ป้ า ยหยุด บนทางเชื่อ มโยงเข้า
(Entrance Ramp) นอกจากบนทางเชื่อมโยงออก (Exit Ramp) ซื่งอาจจําเป็ นต้องติดตัง้ ป้ายหยุดก่อนถึง
@

จุดตัดกับทางข้างหน้าซึง่ ไม่ใช่ทางหลวงพิเศษ
2) ห้ามติดตัง้ ป้ายหยุดตรงทางแยก ซึ่งควบคุมการจราจรโดยใช้ไฟสัญญาณ เพราะจะทําให้เกิดความสับสน
ต่อผูข้ บั รถ กรณีทห่ี ยุดใช้ไฟสัญญาณควบคุมการจราจรในบริเวณทางแยกก็ให้ใช้ไฟกะพริบสีเหลืองหรือสี
แดงแทน โดยให้ใช้ไฟกะพริบสีเหลืองทางด้านทีม่ ปี ริมาณจราจรสูงกว่า และให้ใช้ไฟกะพริบสีแดงด้านทาง
หลวงทีต่ อ้ งการให้ยวดยานหยุดทีท่ างแยกก่อนทีจ่ ะผ่านเลยทางแยกนัน้ ไป

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [9]


การติดตัง้ ป้ายหยุดควรปฎิบตั ดิ งั นี้
1) ป้ายหยุดต้องติดตัง้ ใกล้แนวทีจ่ ะให้รถหยุดและควรจะใช้เส้นหยุด
2) ตรงบริเ วณทางแยก เมื่อ จะให้ติดตัง้ ป้ า ยหยุด ให้ติดตัง้ ห่า งจากขอบผิว จราจรด้า นใกล้ข องทางขวาง
ข้างหน้าในระยะไม่เกิน 10 เมตร และไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ในกรณีท่มี ที างข้าม ให้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงขอบ
ทางข้าม 1.20 เมตร
3) ความสูงและระยะตามแนวขวางของป้ายหยุด ให้ถอื ตามมาตรฐานที่กําหนดไว้ในคู่มอื และมาตรฐานป้าย
จราจร

@
4) โดยทัวไปให้
่ ตดิ ตัง้ ป้ายหยุดด้านซ้ายของทาง สําหรับทางแยกทีม่ รี ศั มีกว้าง (Wide Throat Intersection)
ป้ายหยุดที่ติดตัง้ ไว้แล้วทางด้านซ้ายอาจมองเห็นไม่ชดั เจน ควรใช้เส้นหยุดโดยมีคําว่า “หยุด” บนผิว

นั้น
จราจรช่วยและอาจติดตัง้ ป้ายหยุดเสริมด้านขวาของทางด้วยก็ได้
5) ตรงทางแยกซึง่ มีเกาะแบ่งช่องจราจร ให้ตดิ ตัง้ ป้ายหยุดบนเกาะแบ่งช่องจราจร (Chanalizing Islands)

เท่า
6) ควรระวังไม่ให้คนขับรถในทิศทางทีไ่ ม่ตอ้ งการให้หยุดมองเห็นป้ายหยุดได้ชดั เจน
7) ในกรณีทต่ี ําแหน่งของป้ายหยุดอาจมองเห็นไม่ชดั ในระยะทีร่ ถจะหยุดได้ทนั เนื่องจากถูกบดบัง หรือเป็ น

ลวง
ทางโค้ง ให้ตดิ ตัง้ ป้ายเตือน “หยุดข้างหน้า” ก่อนทีจ่ ะถึงป้ายหยุด
างห
3.1.1.2 ป้ ายให้ทาง (บ.2)
ป้ายให้ทางใช้ตดิ ตัง้ เช่นเดียวกับป้ายหยุด คือ แสดงความสําคัญของทาง
ข้างหน้า แตกต่างจากป้ายหยุดตรงทีร่ ถไม่ตอ้ งหยุดเมือ่ มาถึงทางแยก
รมท

เพื่อให้ผใู้ ช้ทางเข้าใจความหมายของป้ายดีขน้ึ ควรติดตัง้ ป้ายประกอบพืน้ ขาว ตัวอักษร และเส้นขอบป้ายสี


ดํา มีขอ้ ความ “ให้รถทางขวาไปก่อน”
ป้ายให้ทางใช้เมือ่ มีเหตุอนั ควร ดังต่อไปนี้
องก

1) บนทางโททีร่ ถสามารถเข้าทางหลวงด้วยความเร็วเกินกว่า 20 กม/ชม. อย่างปลอดภัยและการเข้าสูท่ าง


หลวงไม่จาํ เป็ นต้องให้รถหยุด ตลอดทัง้ วัน
ิทธิ์ข

2) ทีท่ างเชื่อมเข้าสูท่ างหลวงพิเศษ ซึง่ ไม่มชี อ่ งจราจรเร่งความเร็วทีเ่ พียงพอ


3) ช่องจราจรซึง่ มีเกาะแบ่งสําหรับรถเลีย้ วซ้ายบรรจบกับทางขวางข้างหน้าและไม่มชี ่องจราจรเร่งความเร็ว
ทีเ่ พียงพอ
ลิขส

3.1.1.3 ป้ ายให้ชิดซ้าย (บ.40)


ให้ใช้ป้ายให้ชดิ ซ้าย สําหรับบริเวณทางหลวงหรือถนนที่ต้องการให้ผู้
@

ขับขี่เดินรถไปทางซ้ายของอุปสรรคหรือสิง่ กีดขวางทางเดินรถ เช่น เกาะแบ่ง


ทิศ ทางการจราจร หรือ เกาะจัด ช่อ งจราจร โดยทัวไปให้่ ติด ตัง้ ป้ า ยนี้ บ ริเ วณ
จุดเริม่ ต้นของทางคู่ ช่องเปิ ดเกาะ(Median Opening) ทุกๆแห่ง โดยติดป้าย
เตือนสิง่ กีดขวาง (ต.72 ทางซ้าย) ควบคูไ่ ปด้วย

[ 10 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


3.1.2 ป้ ายเตือน
3.1.2.1 ป้ ายเตือนทางแยก (ต.11 – ต.20)
ใช้สาํ หรับเตือนผูข้ บั ขีว่ า่ ทางข้างหน้าเป็ นทางแยกตามลักษณะเครื่องหมายในป้าย ให้ตดิ ตัง้ ป้ายเตือนเหล่านี้
ในกรณีทท่ี างหลวงเข้ามาบรรจบเป็ นทางหลวง หรือทางประเภทอื่นทีเ่ ป็ นเส้นทางสําคัญและมีปริมาณจราจรมากกว่า
200 คันต่อวัน
1) ในกรณีทางแยกสามแยก 2 แห่งอยูเ่ ยือ้ งกัน โดยห่างกันน้อยกว่า 250 เมตร และทางแยกทัง้ สองแห่ง
มีเหตุอนั ควรเพียงพอสําหรับการติดตัง้ ให้ใช้ป้ายเตือนทางบรรจบกันแบบเยือ้ งกัน (ต.15 หรือ ต.16)

@
เพียงป้ายเดียว
2) ระยะติดตัง้ ให้อยู่ก่อนถึงจุดเริม่ เลี้ยวโค้งทางแยกไม่น้อยกว่า 200 เมตร สําหรับทางในเมืองระยะ
ติดตัง้ อาจลดลง หรือไม่จาํ เป็ นต้องติดตัง้ เลย

นั้น
ป้ ายเตือนทางแยกรูปแบบต่างๆ

เท่า
ต.11 ต.12 ต.13 ลวง ต.14 ต.15
างห
รมท

ต.16 ต.17 ต.18 ต.19 ต.20


องก

3.1.2.2 ป้ ายเตือนสัญญาณจราจร (ต.53)


ใช้เตือนล่วงหน้าก่อนถึงทางแยกบนทางหลวง ในทีซ่ ่งึ ผูข้ บั ขีไ่ ม่คาดว่าจะมีสญ
ั ญาณ
ิทธิ์ข

ไฟ หรือในกรณีท่มี องเห็นสัญญาณไฟได้ไม่ชดั เนื่องจากโค้งราบ โค้งตัง้ มีแสงสว่างรบกวน


หรือบริเวณชานเมืองหรือนอกเมืองที่มสี ญ ั ญาณไฟควบคุมการจราจร โดยผูข้ บั ขีไ่ ม่สามารถ
มองเห็นสัญญาณไฟได้ภายในระยะ 200 เมตร ก่อนถึงทางแยก
ลิขส

การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ระหว่างป้ายเตือนทางแยกกับป้ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก


โดยต้องติดตัง้ ก่อนถึงป้ายเตือนทางแยกไม่น้อยกว่า 100 ม. และไม่มากกว่า 150 ม. ยกเว้น
กรณีไม่มกี ารติดตัง้ ป้ายเตือนทางแยก ให้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงป้ายบอกจุดหมายปลายทางไม่น้อย
@

กว่า 100 ม. และไม่มากกว่า 150 ม.

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 11 ]


3.1.2.3 ป้ ายเตือนหยุดข้างหน้ า (ต.54)
ใช้ติดตัง้ ก่อนถึงป้ายหยุด ในกรณีท่ไี ม่สามารถมองเห็นป้ายหยุดในระยะเพียงพอ
เนื่องจากเป็ นทางในโค้งราบ โค้งตัง้ หรือมีสงิ่ กีดขวางอื่นๆ ตลอดจนความเร็วของรถที่เข้าสู่
ทางแยก จนทําให้ผขู้ บั ขีย่ วดยานไม่สามารถหยุดรถตรงแนวทีจ่ ะให้รถหยุดได้
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ระหว่างป้ายเตือนทางแยกกับป้ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก
โดยต้องติดตัง้ ก่อนถึงป้ายเตือนทางแยกไม่น้อยกว่า 100 ม. และไม่มากกว่า 150 ม. ยกเว้น
กรณีไม่มกี ารติดตัง้ ป้ายเตือนทางแยก ให้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงป้ายบอกจุดหมายปลายทางไม่น้อย

@
กว่า 100 ม. และไม่มากกว่า 150 ม.

นั้น
3.1.2.4 ป้ ายเตือนให้ทางข้างหน้ า (ต.55)
ใช้ตดิ ตัง้ บนทางทีจ่ ะเข้าสูท่ างแยกทีต่ ดิ ตัง้ ป้ายบังคับให้ทาง (บ.2) หรือในกรณีทผ่ี ขู้ บั

เท่า
ขีไ่ ม่สามารถมองเห็นป้ายให้ทางในระยะทีเ่ พียงพอ เนื่องจากเป็ นโค้งราบ โค้งตัง้ หรือมีสงิ่ กีด
ขวางการมองเห็นอื่นๆ หรือในกรณีทร่ี ถมาด้วยความเร็วสูงก่อนเข้าสูท่ างแยก จนทําให้ผขู้ บั ขี่
ไม่สามารถหยุดรถตรงแนวทีจ่ ะให้รถหยุดเพือ่ ให้ทาง

ลวง
การติดตัง้ ให้ติดตัง้ ก่อนถึงป้ายเตือนทางแยกไม่น้อยกว่า 100 ม. และไม่มากกว่า
างห
150 ม. ยกเว้น กรณี ไ ม่ม ีการติดตัง้ ป้ ายเตือนทางแยก ให้ติดตัง้ ก่ อนถึงป้ายบอกจุด หมาย
ปลายทางไม่น้อยกว่า 100 ม. และไม่มากกว่า 150 ม.
รมท

3.1.2.5 ป้ ายเตือนเครื่องหมายลูกศรคู่ (ต.62)


ป้ายเตือนเครื่องหมายลูกศรคู่แสดงด้วยลูกศร 2 อันชีล้ งทางซ้ายและทางขวา ใช้เพื่อ
องก

เตือนผูข้ บั ขีใ่ ห้ทราบตําแหน่งของเกาะ (Islands) หรือสิง่ กีดขวางอื่นอยู่ โดยยวดยานสามารถ


ไปได้ทงั ้ ทางซ้ายและทางขวา
ห้า มมิใ ห้ใ ช้ป้ ายนี้ ท่ีจุ ด แยกเส้น ทางการจราจร เช่ น เกาะแบ่ ง ช่ อ งรถเลี้ย วซ้ า ย
ิทธิ์ข

โดยทัวไปให้
่ ตดิ ตัง้ ป้ายเตือนเครื่องหมายลูกศรคู่ สูง 2.0 เมตร วัดจากส่วนล่างสุดของป้ายถึง
ระดับผิวจราจร และให้มุมนอกสุดของป้ายอยู่ห่างจากขอบของสันขอบทางไม่น้อยกว่า 30
เซนติเ มตร เพื่อ ให้ย วดยานที่วิ่ง ตามหลัง คัน อื่น มองเห็น ป้ า ยได้ช ดั เจน และไม่ก่ อ ให้เ กิด
ลิขส

อันตรายแก่ยวดยานทีผ่ า่ นไปทัง้ ทางซ้ายและทางขวาของสิง่ กีดขวาง


@

[ 12 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


3.1.2.6 ป้ ายเตือนสิ่ งกีดขวาง (ต.71- ต.73)
ป้ายเตือนสิง่ กีดขวางใช้เพือ่ เตือนผูข้ บั ขีใ่ ห้ทราบว่า มีฉนวน เกาะ หรือสิง่ กีดขวางอื่นอยู่

ถ้าต้องการให้ผขู้ บั ขีผ่ ่านไปได้ทงั ้ ถ้า ต้องการแสดงให้ผู้ขบั ขี่ท ราบ ถ้าต้องการแสดงให้ผู้ขบั ขี่ทราบ


ซ้า ยหรือ ขวาของฉนวนใน หรือ ว่ า ยวดยานสามารถผ่ า นไปได้ ว่ า ยวดยานสามารถผ่ า นไปได้
เกาะ หรือสิง่ กีดขวางนัน้ ๆ ให้ใช้ เฉพาะทางด้านซ้ายของฉนวนใน เฉพาะทางด้านขวาของฉนวนใน
ป้ า ยเตือ นสิ่ง กีด ขวาง (สองทาง หรือ เกาะ หรือ สิ่ง กีด ขวางนั น้ ๆ หรือ เกาะ หรือ สิ่ง กีด ขวางนัน้ ๆ
ต.71) ใ ห้ ใ ช้ ป้ า ย เ ตื อ น สิ่ ง กี ด ข ว า ง ใ ห้ ใ ช้ ป้ า ย เ ตื อ น สิ่ ง กี ด ข ว า ง

@
(ทางซ้าย ต.72) (ทางขวา ต.73)

นั้น
เท่า
ต.71 ต.72 ต.73

่ ้ ายเตือนสิง่ กีดขวาง (สองทาง) จะใช้


โดยทัวไปป
ควบคูก่ บั ป้ายเตือนเครือ่ งหมายลูกศรคู่ (ต.62) ลวง
างห
รมท
องก

ป้ายเตือนสิง่ กีดขวาง (ทางซ้ายหรือทางขวา) จะใช้คู่


กับป้ายให้ชดิ ซ้าย (บ.40) หรือป้ายให้ชดิ ขวา(บ.41)
แต่ในบางกรณีอาจติดตัง้ เดีย่ วได้
ิทธิ์ข
ลิขส

การติดตัง้ ป้ายเตือนสิง่ กีดขวาง ให้ตดิ ตัง้ โดยให้ขอบล่างสุดของป้ายสูงจากขอบผิวจราจร 0.50 เมตร ในกรณีท่ี


@

ไม่สามารถติดตัง้ ได้ ให้ปรับเพิม่ ขึน้ ตามความเหมาะสม แต่ไม่ควรเกิน 1.20 เมตร


ในกรณีทม่ี คี วามจําเป็ นต้องเพิม่ ขนาดของป้ายเตือนสิง่ กีดขวาง ให้เพิม่ ตามความกว้าง แต่ตอ้ งมีขนาดใหญ่สดุ
ไม่เกิน 60 x 75 เซนติเมตร

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 13 ]


3.1.2.7 ป้ ายเตือนเสริ ม
ป้ายเตือนเสริมใช้ติดตัง้ ควบคู่อยู่ข้างใต้ป้า ยเตือน
่ ้ ายเตือนเสริมจะมี
ปกติชนิดสีเ่ หลี่ยมจัตุรสั ตัง้ มุม โดยทัวไปป
ขนาดเล็กกว่าป้ายเตือนปกติ ในกรณีทจ่ี ําเป็ น ขนาดของป้าย
อาจกว้างขึน้ ได้ แต่ตอ้ งไม่กว้างกว่าป้ายเตือนปกติทต่ี ดิ คูก่ นั
ตส. 8 ตส. 9
ป้ายเตือนเสริมนี้อาจหมดความจําเป็ น เมื่อผูใ้ ช้ทาง
ส่ ว นมากเข้ า ใจป้ ายเตื อ นปกติ แ ล้ ว ป้ ายเตื อ นเสริ ม ไม่

@
จําเป็ นต้องติดตัง้ เสมอไป
การติดตัง้ ให้ติดตัง้ ในตําแหน่ งที่ระยะทางลงตัวใน

นั้น
หลัก 100 เมตร หรือมีเศษ 50 เมตร โดยติดตัง้ ด้านล่างของ
ป้ายเตือนทางแยก

เท่า
ตส.12 ตส.13
โดยปกติ ป้ายเตือนเสริม ตส.8 และ ตส.9 จะใช้ควบคู่กบั ป้ายเตือนทางร่วมซ้าย (ต.46) และ ป้ายเตือนทาง

ลวง
ร่วมขวา (ต.47) ตามลําดับ ส่วนป้ายเตือนเสริม ตส.12 และ ตส.13 จะใช้ควบคูก่ บั ป้ายเตือนสัญญาณไฟ (ต.53)

3.1.3 ป้ ายแนะนํา
างห
3.1.3.1 สีป้ายแนะนํา
ลักษณะของสีพน้ื ป้าย สัญลักษณ์ ตัวอักษร และตัวเลข จะเปลี่ยนไปตามประเภทของทางหลวง ดังแสดงใน
รมท

ตารางที่ 3-1

ตารางที่ 3-1 ลักษณะของป้ายสําหรับทางหลวงประเภทต่างๆ


องก

ประเภททางหลวง สี-พืน้ ป้ าย สี-เส้นขอบป้ าย สี-สัญลักษณ์ อักษร ตัวเลข ตัวอย่าง


ทางหลวงเอเชีย/
นํ้าเงิน ขาว ขาว
อาเซียน
ิทธิ์ข

ทางหลวง
นํ้าเงิน ขาว ขาว
พิ เศษระหว่างเมือง
ลิขส

ทางหลวง
เขียว ขาว ขาว
พิ เศษ
@

ทางหลวง
ขาว ดํา ดํา
แผ่นดิ น*
หมายเหตุ *ยกเว้นเป็ นป้ายทีแ่ นะนํ าเส้นทางเข้าสู่ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ให้ใช้สเี ช่นเดียวกับทางหลวงพิเศษ
ระหว่างเมือง

[ 14 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


3.1.3.2 ป้ ายหมายเลขทางหลวง
ใช้เพื่อแสดงหมายเลขทางหลวง อาจใช้เพื่อยํ้าถึงทางหลวงหมายเลขนัน้ ๆ
หรือใช้ร่วมกับป้ายร่วมชุดต่างๆ เพื่อระบุถงึ ทางหลวงอื่นตัดผ่านหรือแยกออกไปตาม
ทิศทางของทางหลวง โดยแสดงออกในรูปของป้ายชุดต่างๆ เช่น ป้ายชุดระบุทศิ ทาง
โดยแบ่งตามการใช้งานดังนี้
ในกรณีท่เี ป็ นทางหลวงที่มชี ่อื ทางหลวง ให้เพิม่ เติมชื่อทางหลวงลงในป้าย
หมายเลขทางหลวง และลดขนาดตัวเลขลง

@
3.1.3.3 ป้ ายบอกจุดหมายปลายทาง

นั้น
ป้ายบอกจุดหมายปลายทางมีวตั ถุประสงค์ในการบอก
ทิศทางของจุดหมายปลายทางโดยทัวไปให้ ่ ใช้เครื่องหมายลูกศร

เท่า
ชี้ข้นึ ตัง้ ฉากกับป้ายหรือขนานกับป้าย เพื่อใช้ระบุทศิ ทางของ
จุดหมายปลายทางทีอ่ ยูข่ า้ งหน้า หรือทางซ้าย หรือทางขวาของ

ลวง
สถานทีต่ ดิ ตัง้ ป้าย ในกรณีจําเป็ นอาจใช้เครื่องหมายลูกศรเอียง
ทํามุมกับป้ายเล็กน้อย เพือ่ ให้สอดคล้องกับทิศทางทีแ่ ท้จริงได้
การติดตัง้ ให้เรียงลําดับการติดตัง้ โดยให้ป้ายทีแ่ สดงจุดหมายปลายทางตรงไปอยูบ่ นสุด และตามด้วยด้านซ้าย
างห
และด้านขวา ตามลําดับ และเครื่องหมายลูกศรทีช่ ท้ี ศิ ทางตรงไป ให้อยู่ดา้ นขวาของป้าย เครื่องหมายลูกศรที่ชท้ี ศิ ทาง
ไปทางด้านซ้ายให้อยู่ทางด้านซ้ายของป้าย เครื่องหมายลูกศรที่ช้ที ศิ ทางไปทางด้านขวาให้อยู่ทางด้านขวาของป้าย
รมท

ยกเว้น เมื่อป้ ายที่ มีลูกศรตรงติ ดตัง้ คู่กบั ป้ ายที่ มีลูกศรที่ ชี้ไปทางขวาเท่ านัน้ ให้เครื่องหมายลูกศรตรงไป อยู่
ทางด้านซ้ายของป้ าย
องก

3.1.3.4 ป้ ายบอกระยะทาง
ใช้ระบุขอ้ ความแสดงถึงจุดหมายปลายทาง และตัวเลข
บอกระยะทางทีไ่ ปสูจ่ ุดหมายปลายทางนัน้ ๆ เป็ นกิโลเมตร
ิทธิ์ข
ลิขส

3.1.4 ป้ ายชุด
3.1.4.1 ป้ ายชุดระบุทิศทาง
@

ป้ายชุดระบุทิศทาง คือป้ ายหมายเลขทางหลวงซึ่งมี


ป้ายระบุทิศทาง ในลักษณะต่างๆ ติดตัง้ ประกอบอยู่ด้านล่า ง
ป้ายจะบรรจุเครือ่ งหมายลูกศรชีไ้ ปในทิศทางต่างๆ กัน

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 15 ]


3.1.4.2 ป้ ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก
ประกอบด้วยป้ายเตือนทางแยกข้างหน้า และป้ายบอก
รายละเอีย ดทางแยก การติด ตัง้ ป้ า ยให้ติด ตัง้ ที่ร ะยะ 700 ม.
ก่อนถึงทางแยก ยกเว้น กรณีทม่ี ปี ้ ายชุดทางแยกอยูใ่ นบริเวณที่
จะติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงจากป้ายชุด ไม่น้อยกว่า 200 ม.

1) ป้ ายเตือนทางแยกข้างหน้ า

@
ป้ ายเตือนทางแยกข้า งหน้ า ใช้เพื่อเตือน และแสดง

นั้น
คุณลักษณะของทางแยกแก่ผขู้ บั ขีใ่ ห้ทราบล่วงหน้าว่า ทางแยก
ที่จ ะถึง มีรูป แบบอย่า งไร เป็ น ทางแยกที่ม ีส ญ ั ญาณไฟจราจร

เท่า
ควบคุมหรือไม่ เพือ่ ทีผ่ ขู้ บั ขีจ่ ะได้เตรียมพร้อมในการเดินทางเข้า
สูท่ างแยกได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย อีกทัง้ ยังระบุระยะทาง

ลวง
เพื่อลดความสับสนในกรณีท่มี ที างแยกเล็กอยู่ระหว่างตําแหน่ ง
การติดตัง้ ป้ า ยกับทางแยกหลัก การติดตัง้ ป้ ายเตือนทางแยก
ข้างหน้านี้ให้ตดิ ควบคูก่ บั ป้ายบอกรายละเอียดทางแยก
างห
2) ป้ ายบอกรายละเอียดทางแยก
ป้ ายบอกรายละเอี ย ดทางแยก ภายในป้ ายจะระบุ จุ ด หมาย
รมท

ปลายทางในทิศทางต่างๆ และระยะทางไปสู่จุดหมายปลายทางนัน้ ๆ โดย


ลูกศรบอกทิศทางให้อยู่ทางด้านซ้ายของป้าย และระยะทางจะอยู่ด้านขวา
ของป้าย การใช้จะใช้ควบคูก่ บั ป้ายเตือนทางแยกข้างหน้า
องก
ิทธิ์ข

3.1.5 ป้ ายจราจรมาตรฐานสูง
ลิขส

ป้ายจราจรมาตรฐานสูง เป็ นป้ายแนะนําทีใ่ ช้ในทางหลวงทีม่ มี าตรฐานการออกแบบสูง ยวดยานต่างๆสามารถ


ใช้ความเร็วได้มาก การอ่านข้อความในป้ายจราจรแบบมาตรฐานไม่สามารถสื่อความหมายและแนะนําให้ผใู้ ช้ทางมุ่งสู่
จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจําเป็ นต้องมีการใช้ป้ายจราจรมาตรฐานสูง เพือ่ รองรับข้อจํากัดของ
@

ป้ายมาตรฐานทัวไป่
การติดตัง้ ป้ายจราจรมาตรฐานสูงต้องใช้งบประมาณเป็ นจํานวนมาก ดังนัน้ การติดตัง้ จึงควรคํานึงถึงประโยชน์
ใช้สอย ความจําเป็ นและความปลอดภัยเป็ นหลัก โดยปกติป้ายมาตรฐานสูง ใช้สาํ หรับติดตัง้ บนทางหลวงพิเศษ อย่างไร
ก็ตาม การนําคุณสมบัตขิ องป้ายมาตรฐานสูงมาประยุกต์ใช้กบั ทางหลวงประเภทอื่นก็สามารถทําได้เช่นกัน

[ 16 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


ประเภทของทางหลวงทีเ่ หมาะสมในการติดตัง้ ป้ายมาตรฐานสูงสามารถแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ ดังนี้
1) ทางหลวงพิเศษ
2) ทางแยกต่างระดับ
3) ทางหลวงแผ่นดิน ซึ่งมีรปู แบบและวัตถุประสงค์ท่ตี อ้ งการให้การจราจรบนทางสายหลักนัน้ เคลื่อนที่
ด้วยความเร็วสูง โดยมีรปู แบบทีม่ กี ารควบคุมทางเข้า-ออก
4) ทางหลวงแผ่นดินอื่นๆ ที่มคี ุณสมบัตเิ พียงพอในการติดตัง้ ป้ายมาตรฐานสูงประเภทแขวนสูง ทัง้ นี้
ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์การติดตัง้ ป้ายจราจรมาตรฐานสูงประเภทแขวนสูง

@
3.1.5.1 หลักเกณฑ์การติ ดตัง้ ป้ ายจราจรมาตรฐานสูงประเภทแขวนสูง
เนื่องจากการติดตัง้ ป้ายจราจรมาตรฐานสูงประเภทแขวนสูง โดยปกติจะใช้กบั ทางหลวงพิเศษ อย่างไรก็ตาม

นั้น
เนื่องจากการออกแบบทางหลวงแผ่นดินในปจั จุบนั เอื้อให้การจราจรสามารถเคลื่อนตัวด้วยความเร็วสูง ป้ายจราจร

เท่า
มาตรฐานสูงประเภทแขวนสูงจึงมีบทบาทสําคัญสําหรับระบบการติดตัง้ ป้ายจราจรบนทางหลวงแผ่นดินทัวไป ่ ทัง้ นี้ การ
เลือกใช้และการติดตัง้ จะต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์การติดตัง้ ป้ายจราจรแขวนสูง

ลวง
ป้ า ยจราจรมาตรฐานสูง ประเภทแขวนสูง ที่ส ามารถนํ า มาใช้ก ับ ทางหลวงแผ่ น ดิน ทัวไป
่ โดยปกติจ ะแบ่ง
ออกเป็ น 2 กลุม่ ได้แก่ ป้ ายจราจรแขวนสูงแบบแขนยื่น (Overhang Sign) และป้ ายจราจรแขวนสูงแบบคร่อมผิ ว
จราจร (Overhead Sign) ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั การใช้งานในแต่ละประเภทของทางหลวง หรือสภาพของทางแยก
างห
1) ป้ ายจราจรแขวนสูงแบบแขนยื่น (Overhang Sign)
ป้ายจราจรแบบแขวนสูงแบบแขนยื่น จะติดตัง้ ที่บริเวณทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจรหรือมากกว่า และที่
รมท

บริเวณทางแยกมีการขยายปรับปรุงทางแยกแล้ว รวมทัง้ มีองค์ประกอบข้อใดข้อหนึ่งตามหลักเกณฑ์ ดังนี้


 ทางหลวงทีต่ ดิ ตัง้ มีปริมาณการจราจรมากกว่า 4,000 คันต่อวัน
องก

 สภาพข้างทางไม่เอื้ออํานวยต่อการติดตัง้ ป้ายข้างทาง เช่น ถนน ที่มไี หล่ทางแคบ การติดตัง้


อาจลํ้าเข้าไปในอาคาร มีป้ายร้านค้าหรือป้ายโฆษณามาก อาจทําให้สบั สน
 ทางหลวงทีค่ วบคุม จุดเข้า-ออก
ิทธิ์ข

2) ป้ ายจราจรแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร (Overhead Sign)


ป้ายจราจรแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร การติดตัง้ จะติดตัง้ ทีบ่ ริเวณทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจรหรือมากกว่า
ลิขส

และในบริเวณทีม่ คี วามสับสนในการเข้าช่องทางให้ถูกต้อง ซึง่ อาจเป็ นป้ายเตือนล่วงหน้า ป้ายบอกทิศทางหรือป้ายบอก


ช่องทาง รวมทัง้ มีองค์ประกอบ ข้อใดข้อหนึ่งตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
 มีปริมาณการจราจรมากกว่า 8,000 คันต่อวัน
@

 เป็ นทางแยกต่างระดับ
 สภาพข้างทางไม่เอือ้ อํานวยต่อการติดตัง้ ป้ายข้างทาง เช่น ถนนทีม่ ไี หล่ทางแคบ การติดตัง้ อาจ
ลํ้าเข้าไปในอาคาร มีป้ายร้านค้าหรือป้ายโฆษณามาก อาจทําให้สบั สน
 ทางหลวงทีค่ วบคุม จุดเข้า - ออก

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 17 ]


3.1.5.2 รายละเอียดบนแผ่นป้ าย (Sign Detail)
1) สีของป้ ายจราจรมาตรฐานสูง (Color of Sign) ให้ใช้พน้ื ป้ายสีเขียว สัญลักษณ์ อักษร และตัวเลขสีขาว
ยกเว้น ป้ายทีเ่ ป็ นป้ายแนะนําเส้นทางเข้าสูท่ างหลวงสัมปทานให้ใช้สพี น้ื ป้ายเป็ นสีน้ําเงิน สัญลักษณ์
อักษร และตัวเลขสีขาว
ในกรณีทต่ี ดิ ตัง้ บนทางหลวงสัมปทาน ให้ใช้สขี องพืน้ ป้ายเป็ นสีน้ําเงิน สัญลักษณ์ อักษร และตัวเลขสีขาว
และสําหรับสัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง ให้เป็ นไปตามมาตรฐานป้ายหมายเลขทางหลวง ซึง่ แปรเปลีย่ น
ไปตามประเภทของทางหลวง

@
2) ขนาดของตัวอักษรและตัวเลข (Size of Character) ตัวอักษรและตัวเลขทีใ่ ช้บนแผ่นป้ายมาตรฐานสูง
จะต้องมีขนาดใหญ่กว่าป้ายแนะนํ าทัวไป ่ เนื่องจากทางหลวงทีม่ คี ุณสมบัตใิ นการติดตัง้ ป้ายมาตรฐานสูง

นั้น
ได้ออกแบบให้สามารถรองรับการจราจรที่ไหลอย่างต่อเนื่องด้วยความเร็วสูง ขนาดของตัวอักษรและ
ตัวเลขสามารถดูได้จากตารางที่ 3-2 สําหรับการลดขนาดของตัวอักษรและตัวเลข ให้ใช้ในกรณีจําเป็ น

เท่า
เท่านัน้ และให้เป็ นไปตามสัดส่วนของป้ายและขนาดของข้อความ ซึ่งได้กําหนดไว้ในหนังสือมาตรฐาน
ตัวอักษรและตัวเลขสําหรับป้ายจราจร

ลวง
ตารางที่ 3-2 ตารางแสดงขนาดตัวอักษรและตัวเลขของป้ ายมาตรฐานสูง (หน่วย: เซนติเมตร)
างห
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
ชนิ ดป้ าย
ปกติ กรณี จาํ เป็ น ปกติ (ตัวตาม) กรณี จาํ เป็ น ตัวอักษรนํา
Overhang 30 ไม่น้อยกว่า 25 15 ไม่น้อยกว่า 12.5
รมท

4/3 ของตัวตาม
Overhead 50 ไม่น้อยกว่า 40 25 ไม่น้อยกว่า 20
ในกรณีทเ่ี ป็ นป้ายแนะนําล่วงหน้าชนิดแผนที่ สามารถปรับลดได้ตามความเหมาะสมแต่ทงั ้ นี้ไม่ควรมีขนาดเล็ก
องก

กว่า 20 เซนติเมตร สําหรับป้ายข้างทาง และไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร สําหรับป้ายแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร

3) ชนิ ดของตัวพิ มพ์ (Type of Character)


ิทธิ์ข

 ชื่อจุดหมายปลายทาง และชื่อย่อ
- ตัวนํา เป็ นตัวพิมพ์ใหญ่
ลิขส

- ตัวตาม เป็ นตัวพิมพ์เล็ก


 ข้อความ หรือคําสัง่
- ตัวนําและตัวตาม เป็ นตัวพิมพ์ใหญ่
@

4) เครื่องหมายลูกศร (Arrow Sign) เครือ่ งหมายลูกศรบนป้ายแขวนสูง เป็ นลูกศรสีขาว และจะต้องอยู่


ส่วนล่างของป้าย อาจชีข้ น้ึ หรือชีล้ งก็ได้ ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั วัตถุประสงค์ในการใช้งาน

[ 18 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


3.1.5.3 ป้ ายจราจรมาตรฐานสูงชุดทางแยก
ป้ายจราจรมาตรฐานสูงชุดทางแยก จะเป็ น ป้ ายแนะนํ า ที่ติดตัง้ เพื่อแนะนํ าให้ผู้ขบั ขี่สามารถเดินทางไปสู่
จุดหมายปลายทาง โดยผ่านทางแยกได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ชุดป้ายสามารถแบ่งตามการใช้ได้ 3 ประเภท คือ

(1) ป้ ายแนะนําทางออกล่วงหน้ า (Advanced Guide Sign)


เป็ นป้ายจราจรที่จะให้ขอ้ มูลผู้ใช้ทาง เมื่อเข้าใกล้ทางออก หรือทางร่วมทางแยก เพื่อให้ผู้ขบั ขี่สามารถ
เตรียมพร้อมที่จะเปลี่ยนช่องทางการจราจร เพื่อไปยังจุดหมายปลายทางที่แยกออกจากกระแสจราจรหลัก โดยมี

@
รูปแบบต่างๆ ตามประเภทของการใช้งาน ดังนี้

นั้น
 ป้ ายแนะนํ า ทางออกล่ ว งหน้ า สํา หรับ ทางแยกต่ า งระดับ รายละเอีย ดของป้ า ยจะระบุ ส ญ
ั ลัก ษณ์
หมายเลขทางหลวง ชื่อถนน จุดหมายปลายทาง หรือชื่อทางแยก และระยะทางจากตําแหน่งของป้ายจนถึงทางออก

เท่า
การติด ตัง้ โดยทัว่ ไปให้ ติ ด ตัง้ ที่ร ะยะ 2
กิโลเมตร ก่อนถึงทางออกทีน่ ําไปจุดหมายปลายทาง
อย่างไรก็ตาม ตําแหน่ งป้ายอาจปรับเปลี่ยนได้ หาก
มีวตั ถุหรือโครงสร้างที่อาจบดบังป้าย เช่น สะพาน
ลวง
างห
สะพานลอยคนข้า ม หรือทางโค้ง ให้ป รับตําแหน่ ง
การติ ด ตั ้ง มาด้ า นหน้ า จุ ด ดั ง กล่ า ว แต่ ไ ม่ ค วร
เปลีย่ นแปลงเกิน 500 เมตร
รมท

ในกรณีทม่ี ที างแยกหรือทางเชื่อมอื่นๆ ทีอ่ าจก่อให้เกิดความสับสน อยูร่ ะหว่างป้ายและทางแยก หรือทางหลวง


ทีก่ ารจราจรใช้ความเร็วสูง เช่น ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หรือทางหลวงที่มชี ่องการจราจรในทิศทางเดียวตัง้ แต่ 3
ช่องจราจรขึน้ ไป อาจเพิม่ ป้ายนี้ทร่ี ะยะทาง 1 กม. อีกชุดหนึ่ง โดยการติดตัง้ สามารถติดตัง้ ได้ทงั ้ แบบป้ายข้างทาง หรือ
องก

ป้ายแขวนสูง ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ความจําเป็ น สําหรับการติดตัง้ เป็ นป้ายข้างทาง อาจไม่จาํ เป็ นต้องมีสญ
ั ลักษณ์หมายเลขทาง
หลวงในแผ่นป้าย
ิทธิ์ข

 ป้ ายแนะนําทางออกล่วงหน้ าสําหรับทางหลวงที่มีทางขนาน

ลิขส

ป้ ายแนะนําทางออกล่วงหน้ าสําหรับทางเข้าทางหลัก
รายละเอียดในแผ่นป้าย สําหรับป้ายทางเข้า จะระบุ
ข้อความ “เข้าทางหลัก”และระยะทางจากตําแหน่ งที่ติดตัง้
ป้ ายถึง ทางเข้า และใช้ร่ว มกับ ป้ ายชี้ท างเข้า สํา หรับ ทาง
@

ขนาน
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ทีร่ ะยะ 1 กิโลเมตรก่อนถึงทางเข้า
ทางหลัก อาจติดตัง้ เป็ นป้ายข้างทางหรือป้ายแขวนสูง

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 19 ]


 ป้ ายแนะนําทางออกล่วงหน้ าสําหรับทางออกทางขนาน
ป้ายทางออกจะแบ่งเป็ น 2 ส่วน ในส่วนบนจะระบุ
ข้อ ความ “ออกทางขนาน” และระยะทางจากตํ า แหน่ ง ที่
ติดตัง้ ป้ายถึงทางออก ในส่วนล่างจะระบุสถานทีท่ เ่ี ป็ นทีร่ จู้ กั
ที่ต้องใช้ทางออกนี้ โดยมีข้อ ความ 1-2 ข้อความ ในกรณี
จําเป็ นอาจเพิม่ ได้แต่ไม่ควรมีขอ้ ความมากกว่า 3 ข้อความ
ชื่อที่ใช้ต้องเป็ นชื่อที่คนทัวไปรู
่ ้จกั ไม่ใช่ช่ือที่ใช้กนั เฉพาะ

@
ท้องถิน่ และให้เรียงลําดับความสําคัญ ดังนี้ โรงพยาบาลทีม่ ี
ห้อ งฉุ ก เฉิ น สถานที่ร าชการ กิจ การของเอกชนที่เ ปิ ด ใช้

นั้น
สําหรับบุคคลทัวไป ่ และใช้รว่ มกับป้ายชีท้ างออกสําหรับทาง
ขนาน โดยชื่อในป้ายจะต้องเป็ นชื่อเดียวกันทัง้ สองป้าย

เท่า
หากทางออกนี้เป็ นทางที่นําไปสู่ทางแยกที่จําเป็ นต้องใช้ทางออกนี้สําหรับเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง

ลวง
ต่างๆ ทีแ่ ยกออกจากทางหลัก ให้ระบุช่อื จุดหมายปลายทางเป็ นอันดับแรก และให้ระบุช่อื ภาษาอังกฤษกํากับด้วย
การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ที่ระยะ 1 กิโลเมตรก่อนถึงทางออกจากทางหลัก “กรณีทางสายหลักมีช่องจราจรตัง้ แต่ 3
ช่องจราจรขึน้ ไป และการจราจรใช้ความเร็วสูง การเปลี่ยนช่องจราจรทําได้ลําบาก อาจปรับเปลี่ยนเป็ นป้ายแขวนสูง
างห
แบบคร่อมผิวจราจร”
รมท

 ป้ ายแนะนําทางออกล่วงหน้ าชนิ ดแผนที่

เป็ น ป้ ายจราจรที่ใ ช้ส ัญ ลัก ษณ์ ข องรู ป แบบจํ า ลองจากรู ป แบบทาง


องก

เรขาคณิตของทางแยก และจุดหมายปลายทางต่างๆ ตามทิศทางนัน้ ๆ จะใช้ใน


กรณีท่ขี อ้ ความที่จะระบุในป้ายมีมากทําให้ไม่สามารถสื่อความหมายได้ชดั เจน
หรือรูปแบบทางเรขาคณิตของทางแยกมีความซับซ้อนซึ่งอาจทําให้เกิดความ
ิทธิ์ข

สับสน ส่วนบนของป้ า ยจะระบุระยะทางจากตํา แหน่ งของป้ า ยจนถึงทางแยก


พร้อมทัง้ ข้อความ “ทางแยกข้างหน้า”
ลิขส

ในกรณีท่เี ป็ นทางแยกต่างระดับให้ใช้ขอ้ ความ “ทางแยกต่างระดับข้างหน้า” และระยะทางจะเป็ นระยะจาก


ตําแหน่งของป้ายจนถึงทางออกแรกของทางแยกต่างระดับ ยกเว้น เป็ นทางแยกทีม่ ชี ่อื ทางแยกทีร่ จู้ กั โดยทัวไป ่ ให้ใช้ช่อื
ทางแยกแทน
@

การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ทีร่ ะยะทาง 1 กิโลเมตรก่อนถึงทางแยกหลัก หากมีความจําเป็ นต้องเลื่อนตําแหน่งการติดตัง้


ไม่ควรเปลีย่ นแปลงเกิน 250 เมตร
การติดตัง้ สามารถติดตัง้ ได้ทงั ้ แบบป้ายข้างทาง หรือป้ายแขวนสูง ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั การใช้งาน โดยให้ใช้เป็ นป้าย
จราจรแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร เมื่อติดตัง้ กับทางแยกต่างระดับ และเป็ นป้ายข้างทางเมื่อติดตัง้ กับทางแยกทัวไป ่
ยกเว้นกรณีทไ่ี ม่สามารถติดตัง้ ป้ายข้างทางได้ให้พจิ ารณาติดตัง้ เป็ นป้ายแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจร

[ 20 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


(2) ป้ ายแนะนําการใช้ช่องจราจร
เป็ นป้ายทีแ่ นะนําการเข้าช่องจราจรก่อนถึงทางออกหรือทางแยกหลักเพื่อแนะนําผูข้ บั ขีใ่ ห้เข้าสูช่ อ่ งจราจรได้
อย่างถูกต้อง และมีระยะทีเ่ พียงพอในการเปลีย่ นช่องจราจร ระยะติดตัง้ ขึน้ อยูก่ บั จํานวนช่องจราจรทีจ่ ะต้องทําการเบีย่ ง
่ ดตัง้ ทีร่ ะยะ 400-800 เมตร ก่อนถึงทางออกหรือทางแยกหลัก รูปแบบของป้ายมี 2 รูปแบบ คือ
โดยทัวไปติ

 ป้ ายแนะนําการใช้ช่องจราจรสําหรับทางแยกต่างระดับ
ป้ ายแนะนํ า ล่ ว งหน้ า นี้ ส ามารถใช้ไ ด้ก ับ ทางแยกต่ า ง

@
ระดับ และทางแยกทัว่ ไป ข้ อ ความในป้ ายจะระบุ ส ัญ ลัก ษณ์
หมายเลขทางหลวง ชื่อทางหลวง ชื่อถนน จุดหมายปลายทาง
หรือ ชื่อ ทางแยก ทัง้ นี้ จ ะต้อ งเป็ น ชื่อ เดีย วกัน กับ ที่ร ะบุ ใ นป้ าย

นั้น
แนะนํ า ล่ ว งหน้ า ชนิ ด บอกระยะทาง ในการระบุ ส ญ ั ลัก ษณ์ เ ลข

เท่า
หมายทางหลวงจะใช้ในปายแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจรเท่านัน้
ในกรณี ท่ีม ีก ารติด ตัง้ ป้ ายแนะนํ า ล่ ว งหน้ า ชนิ ด บอก
ระยะทางทีร่ ะยะ 1 กิโลเมตรแล้ว ให้ตดิ ตัง้ ป้ายนี้เป็ นป้ายข้างทาง
ทีร่ ะยะ 750 เมตร

ลวง
างห
 ป้ ายแนะนําการใช้ช่องจราจรสําหรับทางหลวงที่มีทางขนาน
ป้ายแนะนํ าล่วงหน้าสําหรับทางขนานเป็ นป้ายจราจรที่
ใช้แนะนําให้ผขู้ บั ขีเ่ ตรียมพร้อมทีจ่ ะเข้าหรือออกทางขนาน และมี
รมท

คุณสมบัติเดียวกันกับป้ายแนะนํ าล่ว งหน้ าชนิดบอกช่องจราจร


โดยใช้ร่วมกับป้ายติดตัง้ ก่อนเข้า-ออกทางขนาน มีขอ้ ความ “เข้า
ทางหลัก” หรือ “ออกทางขนาน” พร้อมด้วยข้อความให้ ชิดซ้าย”
องก

หรือ “ชิดขวา” แล้วแต่กรณี


การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ทีร่ ะยะ 500 เมตรจากจุดเริม่ ผายของ
ิทธิ์ข

ทางเข้าหรือออก และให้ตดิ ตัง้ ชิดด้านตรงกันข้ามกับข้อความใน


ป้าย เช่น ติดตัง้ ด้านขวาทางเมือ่ ข้อความให้ “ชิดซ้าย”
ลิขส

(3) ป้ ายแนะนําชี้ทางออก
เป็ นป้ายแนะนําชีท้ างออกเป็ นป้ายบอกจุดหมายปลายทางทีต่ ดิ ตัง้ ทีจ่ ุดเริม่ ผาย หรือช่วงผายของช่องทางออก
@

หรือทางแยก อาจเป็ นป้ายเดีย่ วแขวนสูงแบบแขนยืน่ หรือเป็ นป้ายชุดกรณีเป็ นป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร


รูปแบบป้ายมี 3 รูปแบบ ดังนี้
 ป้ ายแนะนําชี้ทางออกสําหรับทางแยกต่างระดับและทางแยกทัวไป ่ (กรณี เป็ นป้ ายแขวนสูง
แบบคร่อมผิวจราจร)
เป็ นป้ายชุดทีต่ ดิ ตัง้ ทีช่ ว่ งผาย (Theoretical Gore) ของช่องทางออกหรือทางแยก ประกอบด้วย

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 21 ]


 ป้ ายชี้ช่องจราจร
ป้ายชี้ช่องจราจร เป็ นป้ ายจราจรประเภทแขวนสูง
ชนิดคร่อมผิวจราจรเพือ่ บอกช่องจราจรทีส่ ามารถเดินทางไป
ยังจุดหมายปลายทางต่างๆ โดยใช้ลูกศรชี้ช่องจราจรเป็ น
ลู ก ศรชี้ล ง แสดงถึง การชี้ช่ อ งจราจรที่จ ะไปยัง จุ ด หมาย
ปลายทางนัน้ ๆ โดยลูกศรจะต้องอยู่ก่งึ กลางของช่องจราจร

@
และให้ใช้จาํ นวนลูกศรเท่ากับจํานวนของช่องจราจร

นั้น
 ป้ ายชี้ทิศทาง
ป้ายชี้ทิศทาง เป็ นป้ายจราจรแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจรเพื่อบอกถึงทิศทางที่สามารถ

เท่า
นําไปสูจ่ ุดหมายปลายทางต่างๆ โดยลูกศรชี้ทศิ ทาง เป็ นลูกศรชี้ขน้ึ แสดงถึงทิศทางของจุดหมาย
ปลายทางนัน้ ๆ ลูกศรให้ใช้เพียงลูกศรเดียว ไม่ว่าช่องจราจรที่ไปยังจุดหมายปลายทางนัน้ จะมี

ลวง
มากกว่ า 1 ช่ อ งจราจร สํา หรับ ลูก ศรชี้ทิศ ทางจะมีอ ยู่ 2 ลัก ษณะ ทัง้ นี้ ข้ึน อยู่ก ับ ลัก ษณะทาง
เรขาคณิต และความเร็วในการออกแบบ
- แบบชี้เอียง
างห
ลูกศรชีเ้ อียง ใช้กรณีเป็ นทางแยกต่าง
ระดับ หรือสะพานยกระดับ หรือใช้เมื่อมีการแยก
รมท

ออกจากทางตรงด้ ว ยรัศ มีโ ค้ ง มากกว่ า หรือ


เท่ า กับ 40 ม. หรือ ความเร็ว โค้ง มากกว่ า หรือ
เท่ากับ 30 กม./ชม.
องก

- แบบชี้ฉาก
ิทธิ์ข

ลูกศรชีฉ้ าก ใช้เมื่อมีการแยกออกจาก
ทางตรงด้ ว ยรัศ มี โ ค้ ง น้ อ ยกว่ า 40 ม. หรื อ
ความเร็วโค้งน้อยกว่า 30 กม./ชม.
ลิขส

หมายเหตุ ตําแหน่งการติดตัง้ ทีแ่ นะนํานี้เป็ น


ตําแหน่งการติดตัง้ ในทางตรง ในกรณีทตี ่ ําแหน่ งของป้าย
อยูใ่ นโค้งราบหรือสิง่ กีดขวางอืน่ ใด อันมีผลให้มุมมองของ
@

การมองเห็ น เปลีย่ นไป ทํ า ให้ ผู้ ข ับ ขีส่ ับ สน ให้ เ ลื อ่ น


ตําแหน่งการติดตัง้ ไปยังจุดทีเ่ หมาะสม

[ 22 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


 ป้ ายแนะนําชี้ทางออกสําหรับทางแยกทัวไป ่ (กรณี เป็ นป้ ายแขวนสูงแบบ แขนยื่น)
เป็ นป้ายเดี่ยวที่ติดตัง้ บริเวณจุดเริม่ ผายของช่อง
ทางออกหรือ ทางแยก รูป แบบป้ ายเป็ น บอกทิศ ทางของ
จุ ด หมายปลายทางการเรีย งลํา ดับ จุ ด หมายปลายทางให้
จุดหมายปลายทางตรงไปอยู่บนสุด และตามด้วยด้านซ้าย
และด้ า นขวา ตามลํ า ดับ และเครื่อ งหมายลู ก ศรที่ช้ีทิศ
ทางตรงไป ให้อยู่ด้านขวาของป้าย เครื่องหมายลูกศรที่ช้ี

@
ทิ ศ ทางไปทางด้ า นซ้ า ยให้ อ ยู่ ท างด้ า นซ้ า ยของป้ าย
เครื่องหมายลูกศรที่ช้ที ศิ ทางไปทางด้านขวาให้อยู่ทางด้าน

นั้น
ขวาของป้าย
ยกเว้น เมื่อป้ ายที่มีลูกศรตรงติ ดตัง้ คู่กบั ป้ ายที่

เท่า
มีลูกศรที่ชี้ไปทางขวาเท่านัน้ ให้เครื่องหมายลูกศรตรง
ไป อยู่ทางด้านซ้ายของป้ าย

 ป้ ายชี้ทางออกสําหรับทางหลวงที่มีทางขนาน
ลวง
ป้ า ยชี้ท างออกชนิ ด ระบุจุ ด หมายปลายทาง เป็ น
างห
ป้ายจราจร ที่แนะนํ าให้ผู้ขบั ขีท่ ราบว่าเมื่อจะเดินทางไปยัง
จุ ด หมายปลายทางนั น้ ๆ จะต้ อ งออกจากทางหลัก เพื่อ
รมท

เดินทางไปยังจุดหมายปลายทางทีร่ ะบุในแผ่นป้าย
ส่วนบนของป้ายจะระบุ ข้อความ “ทางออก” และ
หมายเลขทางออก ในกรณีท่ีทางหลวงมีก ารใช้หมายเลข
องก

ทางออก ในส่วนล่างจะระบุจุดหมายปลายทาง โดยจุดหมาย


ปลายทางในป้ายจะต้องเป็ นจุดหมายปลายทางเดียวกันกับ
ิทธิ์ข

ป้ายแนะนําล่วงหน้าทีใ่ ช้รว่ มกัน


การติดตัง้ ในกรณีทเ่ี ป็ นทางออกทีช่ ดั เจนหรือเป็ นทางแยกต่างระดับ ให้ใช้ป้ายนี้แทนป้ายชีท้ างออกปกติ และ
ติดตัง้ ที่จุดแยก (Gore area) เป็ นป้ายข้างทาง เพื่อสามารถบอกรายละเอียดของจุดหมายปลายทางต่างๆ ได้ชดั เจน
ลิขส

ยิง่ ขึน้
เมื่อ ติด ตัง้ กับ ทางออกทางขนาน ให้ติด ตัง้ ที่จุ ด ผายของช่อ งทางออกหรือ ที่ร ะยะ 150-200 เมตร ก่ อ นถึง
ทางออก และใช้รว่ มกับป้ายชีท้ างออกซึง่ ติดตัง้ ทีจ่ ุดแยก (Gore area)
@

“กรณีทางสายหลักมีช่องจราจรตัง้ แต่ 3 ช่องจราจรขึ้นไป และการจราจรใช้ความเร็วสูง การเปลีย่ นช่องจราจร


ทําได้ลาํ บาก อาจปรับเปลีย่ นเป็นป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร”

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 23 ]


(4) ป้ ายชี้ทางเข้า - ออก (Entrance-Exit Direction Sign)
ป้ายชีท้ างเข้า - ออกเป็ นป้ายจราจรทีใ่ ช้ยนื ยันจุดทีเ่ ป็ นทางเข้า
- ออก ระหว่า งทางหลัก กับ ทางขนาน หรือ ทางออกที่นํ า ไปสู่จุ ด หมาย
ปลายทางที่ต้องเปลี่ยนทิศทางจากทางหลัก การติดตัง้ จะติดตัง้ ที่จุดแยก
(Gore area) เพื่อยืนยันทางเข้า และสามารถใช้ร่วมกับป้ายเตือนสิง่ กีด
ขวางเพือ่ ความปลอดภัย

@
(5) ป้ ายหมายเลขทางออก
ป้ายหมายเลขทางออก เป็ นป้ายจราจรเสริมประกอบกับป้าย

นั้น
แนะนําชีท้ างออกเพื่อให้ผขู้ บั ขีเ่ ตรียมพร้อมทีจ่ ะออกจากระบบทางหลวงได้

เท่า
อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ป้ายหมายเลขทางออก ใช้ในกรณีท่ที างหลวงมีการควบคุมการ

ลวง
เข้า -ออก อย่า งมีร ะบบ เช่น ทางหลวงพิเ ศษระหว่า งเมือ ง (Motorway)
กรุงเทพ – ชลบุรี หรือใช้กบั ทางหลวงทีม่ ที างขนานและมีระยะทางไกล เช่น
ถนนพหลโยธินช่วงกรุงเทพ-สระบุรี การติดตัง้ จะติดตัง้ อยูด่ า้ นบนของป้าย
างห
ชี้ทางออกหรือป้ายบอกจุดหมายปลายทาง หมายเลขทางออกให้ใช้เป็ น
กิโลเมตรตําแหน่งของทางออก
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 24 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


3.2 การติ ดตัง้ ป้ ายจราจรทัวไปและการติ
่ ดตัง้ ป้ ายจราจรบริ เวณทางแยก

3.2.1 การติ ดตัง้ ป้ ายจราจรทัวไป ่


1) โดยทัวไป ่ ทางหลวง 2 ช่องจราจร จะติดป้ายจราจรทางซ้ายของผิวจราจร ยกเว้นป้ายเขตห้ามแซง ที่
ติดตัง้ ทางด้านขวา
2) สําหรับทางหลวงหลายช่องจราจรที่รถวิง่ ไปในทิศเดียวกันตัง้ แต่ 2 ช่องจราจรขึ้นไป โดยมีเกาะกลาง
(Median) แบ่งทิศทางการจราจร หรือทางหลวงทีจ่ ดั ให้รถเดินทางเดียว (One Way Roadway) ควรพิจารณาติดตัง้ ป้าย
เพิม่ ในเกาะกลางแบ่งแยกช่องจราจร (Channelizing Islands) หรือเกาะกลาง (Islands) หรือฉนวนทางด้านขวา

@
เนื่องจากผูข้ บั ขีท่ อ่ี ยูบ่ นช่องจราจรด้านขวาไม่สามารถมองเห็นป้ายจราจรทางด้านซ้ายชัดเจน เพราะถูกรถทางด้านซ้าย

นั้น
บังสายตา
3) ป้ายจราจรจะต้องติดตัง้ ให้หนั หน้าเข้าหาทิศทางของยวดยานพาหนะ โดยให้เอียงออกจากแนวตัง้ ฉาก

เท่า
เล็กน้อยประมาณ 5 องศา เพือ่ ไม่ให้เกิดการสะท้อนแบบกระจกเงา (Mirror -Reflection) นอกจากนี้ การติดตัง้ ป้ายตาม
ทางโค้ง จะต้องคํานึงถึงทิศทางการมองเห็นของผูข้ บั ขีด่ ว้ ย

ลวง
4) ป้ายจราจรจะต้องติดตัง้ ให้อยู่ในแนวดิง่ นอกจากในกรณีเป็ นทางขึน้ เขาหรือทางลงเขา แผ่นป้ายจราจร
อาจจะติดตัง้ ทํามุมกับแนวดิง่ เล็กน้อย เพือ่ ช่วยให้ผขู้ บั รถมองเห็นป้ายได้ชดั เจนยิง่ ขึน้
5) ทีเ่ สาหรือทีต่ ดิ ตัง้ ป้ายสําหรับการจราจรในทิศทางหนึ่ง
างห
 ห้ามติดตัง้ ป้ายแนะนําร่วมกับป้ายประเภทอื่นนอกจากทีก่ าํ หนดไว้โดยเฉพาะ
 ไม่ควรติดตัง้ ป้ายบังคับหรือป้ายเตือนเกิน 1 ป้าย ยกเว้นป้ายเตือนความเร็วทีใ่ ช้ตดิ ตัง้
รมท

ร่วมกับป้ายเตือนอื่นๆ
 การติดตัง้ ป้ายบังคับและป้ายเตือนร่วมกันจะต้องเป็ นป้ายทีม่ คี วามหมายเสริมกัน
 ป้ายหยุดให้ตดิ ตัง้ เดีย่ ว
องก

3.2.2 ความสูงของป้ ายจราจร


ิทธิ์ข

ป้ า ยจราจรซึ่ง ติด ตัง้ ข้า งทางนอกเมือ ง จะต้อ งสูง อย่า งน้ อ ย 1.50 เมตร แต่ ถ้า ติด ตัง้ ป้ ายในแนวดิ่ง เกิน
1 ป้าย บนทีเ่ ดียวกัน ต้องให้สว่ นล่างของป้ายล่างสุด สูงจากขอบผิวจราจรไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร
สําหรับป้ายที่ตดิ ตัง้ ในเมือง บนทางหลวงพิเศษหรือในที่ซ่งึ คาดว่าอาจจะมีสงิ่ กีดขวางระดับสายตา ส่วนล่าง
ลิขส

ของป้ ายอัน ล่ า งสุ ด ที่เ ป็ น ป้ ายเดีย วหรือ เกิน 1 ป้ ายที่ติด ตัง้ บนที่เ ดีย วกัน ต้อ งสูง จากขอบผิว จราจรไม่ น้ อ ยกว่ า
2.00 เมตร ในกรณีทต่ี ดิ ตัง้ ป้ายตรงเสาไฟจราจรให้ตดิ ตัง้ ข้างใต้สญ ั ญาณไฟจราจรได้
ป้ายเตือนสิง่ กีดขวาง ให้ขอบล่างสุดของป้ายสูงจากขอบผิวจราจร 0.50 เมตร ในกรณีทไ่ี ม่สามารถติดตัง้ ได้ ให้
@

ปรับเพิม่ ขึน้ ตามความเหมาะสม แต่ไม่ควรเกิน 1.20 เมตร

3.2.3 ระยะติ ดตัง้ ตามแนวขวางของป้ ายจราจร


ป้ายจราจรข้างทางหลวงต้องติดตัง้ ป้ายห่างจากขอบไหล่ทาง สันขอบทาง (Curbs) หรือราวกัน้ (Guardrails)
ไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร และให้ห่างจากขอบผิวจราจรอย่างน้อย 4.00 เมตร นอกจากไม่สามารถจะทําการติดตัง้ ได้

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 25 ]


เนื่องจากลักษณะขอบทางหลวง
สําหรับทางหลวงพิเศษ ให้ขอบป้ายจราจรทีต่ ดิ ตัง้ ทางด้านซ้ายห่างจากขอบผิวจราจรอย่างน้อย 4.00 เมตร
และขอบป้ายของป้ายจราจรทีต่ ดิ ตัง้ ทางด้านขวาห่างจากขอบผิวจราจรอย่างน้อย 3.00 เมตร
ป้ายที่ไม่มปี ระโยชน์ต่อการจราจรโดยตรง เช่น ป้ายบอกสถานที่ ให้ตดิ ตัง้ ห่างจากขอบผิวจราจรไม่น้อยกว่า
6.00 เมตร
สําหรับทางในเมือง จะต้องมีระยะห่างจากสันขอบทางไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร
ในกรณีท่ีจะต้องใช้ราวกัน้ เสาป้ายจราจรแขวนสูง ราวกัน้ นัน้ จะต้องห่างจากขอบผิวจราจรอย่างน้ อยที่สุด

@
เท่ากับความกว้างของไหล่ทาง หรือห่างจากสันขอบทางอย่างน้อย 0.30 เมตร

นั้น
3.2.4 การติ ดตัง้ ป้ ายจราจรบริ เวณทางแยก
1) การติด ตัง้ ป้ ายชุ ด ทางแยกให้ติด ตัง้ ตามมาตรฐานที่กํ า หนดในคู่ม ือ นี้ ระยะติด ตัง้ เป็ น ระยะแนะนํ า

เท่า
ตําแหน่งอาจปรับเปลีย่ นได้ตามสภาพพืน้ ที่ เพือ่ ให้สามารถมองเห็นป้ายได้ชดั เจน
2) ตําแหน่ งที่ติดตัง้ ป้ายไม่ควรอยู่หลังอุปสรรคหรือสิง่ กีดขวางใดๆในการมองเห็น เช่น ทางโค้ง ต้นไม้

ลวง
ศาลาทางหลวง เสาไฟ ตอม่อสะพานลอยคนข้าม เป็ นต้น
3) ไม่ควรมีป้ายใดๆติดตัง้ ในบริเวณพืน้ ทีท่ ต่ี ดิ ตัง้ ป้ายชุดทางแยก
4) ป้ายสถานทีท่ ่องเทีย่ ว ป้ายหน่ วยงาน และป้ายเอกชนอื่นๆให้ตดิ ตัง้ ก่อนถึงชุดป้ายทางแยก ไม่น้อยกว่า
างห
150 เมตร และไม่ควรติดตัง้ ใกล้กนั เกินไป ในกรณีมปี ้ ายจํานวนมาก ให้รวมป้ายอยูใ่ นตําแหน่งเดียวกัน
5) ป้ายจราจรต่างๆที่ต้องการให้ผูใ้ ช้ทางตัดสินใจที่ต่างกัน จะต้องติดตัง้ ให้ห่างกันเพียงพอ เพื่อให้มเี วลา
รมท

อ่านและตัดสินใจได้ก่อนรับข้อมูลใหม่จากป้าย โดยทัวไปแล้่ วบนทางหลวงนอกเมืองป้ายจราจรไม่ควรติดตัง้ ห่างกันน้อย


กว่า 60 เมตร แต่สาํ หรับป้ายบริเวณทางแยกโดยเฉพาะป้ายแนะนําไม่ควรห่างกันน้อยกว่า 100 เมตร
6) ชื่อ จุ ด หมายปลายทาง ถือ ว่ า มีค วามสํา คัญ มาก การกํ า หนดชื่อ จุ ด หมายปลายทางให้ป ฏิบ ัติต าม
องก

หลักเกณฑ์การกําหนดชื่อจุดหมายปลายทาง อย่างเคร่งครัด
7) ป้ายบอกระยะทางเพื่อยืนยันจุดหมายปลายทางข้างหน้า จะต้องติดตัง้ หลังจากผ่านทางแยก กรณีทท่ี าง
ิทธิ์ข

แยกอยูห่ า่ งกันมากกว่า 20 กิโลเมตร ให้ตดิ ตัง้ ป้ายบอกระยะทางเพิม่ ดังต่อไปนี้


 ให้ตดิ ตัง้ ป้ายบอกระยะทางทุกๆ 15 กิโลเมตร
 หากระยะช่วงสุดท้ายมีระยะทางน้อยกว่า 10 กิโลเมตร ให้เฉลีย่ ระยะทางในสองช่วงสุดท้าย
ลิขส

ให้เท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน เช่น ช่วงสุดท้ายมีระยะทาง 8 กิโลเมตร ระยะรวมสองช่วง


สุดท้ายจะเท่ากับ 23 กิโลเมตร (15+8 กิโลเมตร) ให้ตดิ ตัง้ ทีร่ ะยะ 12 และ 11 กิโลเมตร
ตามลําดับ
@

[ 26 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


3.2.5 การติ ดตัง้ ป้ ายชุดบริ เวณทางแยก กรณี เป็ นทางแยกระดับเดียวกัน
ป้ายชุดทางแยกระดับเดียวกันสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ส่วนด้วยกัน คือ
1) ก่อนเข้าทางแยก จะประกอบด้วย
 ป้ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก
 ป้ายเตือนทางแยก
 ป้ายแนะนําชีท้ างออก
 ป้ายชุดหมายเลขทางหลวงระบุทศิ ทาง

@
2) หลังจากผ่านทางแยก
 ป้ายหมายเลขทางหลวง

นั้น
 ป้ายบอกระยะทาง

เท่า
รูปแบบการติดตัง้ จะแสดงไว้ในบทที่ 6

ลวง
3.2.6 การติ ดตัง้ ป้ ายชุดบริ เวณทางแยก กรณี เป็ นทางแยกต่างระดับ
การแสดงการติดตัง้ ป้ายจราจรในทางแยกต่างระดับ จะเป็ นการแสดงรูปแบบการติดตัง้ ในรูปแบบปกติของแต่
ละประเภทของรูปแบบทางแยกต่างระดับ เช่น เป็ น Loop Ramp, Directional Ramp หรือ Trumpet เป็ นต้น
างห
เนื่องจากการออกแบบทางแยกต่างระดับมีป จั จัยอื่น ๆ ที่มผี ลกระทบต่อรูปแบบทางด้านเรขาคณิต จึงไม่
สามารถทํา ให้ค รอบคลุ ม ในทุก ๆ รูป แบบได้ การนํ า ไปใช้จึง ต้อ งอยู่บ นพื้น ฐานของความเข้า ใจในคุ ณ สมบัติ และ
รมท

วัตถุประสงค์ต่างๆ ของป้ายแต่ละประเภท ซึ่งสามารถใช้ขอ้ มูลจากการติดตัง้ ป้ายจราจรบริเวณทางแยกระดับเดียวกัน


และป้ายมาตรฐานสูง มาประยุกต์ใช้ในกรณีทร่ี ปู แบบปกติทแ่ี สดงไม่ครอบคลุม
ป้ายชุดทางแยกสําหรับกรณีเป็ นทางแยกต่างระดับ รูปแบบการติดตัง้ จะแสดงไว้ในบทที่ 6 สามารถแบ่งได้เป็ น
องก

2 ส่วนด้วยกัน คือ
1) ก่อนเข้าทางแยก จะประกอบด้วย
ิทธิ์ข

 ป้ายแนะนําทางออกล่วงหน้า
 ป้ายแนะนําการใช้ชอ่ งจราจร
 ป้ายแนะนําชีท้ างออก
ลิขส

2) หลังจากผ่านทางแยก
 ป้ายหมายเลขทางหลวง
 ป้ายบอกระยะทาง
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 27 ]


มาตรฐานของป้ าย
แสดงความสูง และระยะตามแนวขวางของป้ ายจราจร

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 3-1 มาตรฐานระยะการติดตัง้ ป้ายจราจรบนทางหลวงทัวไป


่ (ในเมืองและนอกเมือง)

[ 28 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 3-2 มาตรฐานระยะการติดตัง้ ป้ายจราจรบนทางหลวงพิเศษ

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 29 ]


[ 30 ]
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
ระยะน้ อยที่สดุ จากแนวขอบผิ วจราจรหรือสันขอบทางถึงเสา (ม.)
างห
ชนิ ดของทางหลวง ไม่มีสนั ขอบทาง (No Curb) มีสนั ขอบทาง (Curb)

ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา


ลวง
ทางหลวงพิเศษ 5.00 3.75 1.20 1.20
ทางหลวงทัวไป
่ 4.00 2.75 1.20 1.20
เท่า
รูปที่ 3-3 มาตรฐานระยะการติดตัง้ ป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


างห
ระยะน้ อยที่สดุ จากแนวขอบผิวจราจรหรือสันขอบทางถึงเสา (ม.)

ชนิ ดของทางหลวง ไม่มีสนั ขอบทาง (No Curb) มีสนั ขอบทาง (Curb)


ลวง
ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา
ทางหลวงพิเศษ 5.00 3.75 1.20 1.20
เท่า
ทางหลวงทั ่วไป 4.00 2.75 1.20 1.20
นั้น
รูปที่ 3-4 มาตรฐานระยะการติดตัง้ ป้ายแขวนสูงแบบยืน่ ด้านข้าง

[ 31 ]
@
บทที่ 4

เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางแยก


4.1 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง
เครื่องหมายจราจรบนพื้นทางเป็ นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ควบคุมการจราจร (Traffic Control Devices) ที่ใช้

@
สือ่ สารกับผูข้ บั ขีเ่ พื่อให้ยวดยานพาหนะสามารถเคลื่อนทีไ่ ด้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีความปลอดภัย ซึ่งมีอยู่ดว้ ยกัน
หลายรูปแบบ เช่น เส้น ข้อความ ลูกศร สันขอบทาง ปุ่มบนผิวจราจร หลักนํ าทาง และเป้าสะท้อนแสง โดยสิง่ ต่างๆ
เหล่านี้ สามารถนํ าไปใช้ร่วมกับอุ ปกรณ์ ค วบคุม การจราจรประเภทอื่น เช่น ป้า ย และ สัญญาณไฟจราจร เพื่อเพิ่ม

นั้น
ประสิทธิภาพในการสือ่ สารกับผูข้ บั ขีม่ ากยิง่ ขึน้

เท่า
วัตถุประสงค์ของเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางแยก ได้แก่ การให้การแนะนําและให้ขอ้ มูลแก่ผขู้ บั ขี่
ดังนัน้ การใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางจะต้องไม่ก่อให้เกิดความสับสนแก่ผขู้ บั ขี่ และในกรณีทเ่ี ป็ นเครื่องหมายจราจร

ลวง
บนพืน้ ทางทีท่ ําด้วยสีเทอร์โมพลาสติก ควรมีการรักษาระดับค่าการสะท้อนแสง (Retroreflectivity) ไม่ให้ต่ํากว่าเกณฑ์
มาตรฐานด้วย
างห
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางแบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
รมท

4.1.1 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทบังคับ ได้แก่ เครือ่ งหมายจราจรทีม่ คี วามหมายเป็ นการบังคับให้ผใู้ ช้


ทางปฏิบตั ติ ามความหมายของเครือ่ งหมายนัน้ โดยกําหนดให้ผใู้ ช้ทางต้องกระทํา งดเว้นการกระทํา หรือ
จํากัดการกระทําในบางประการหรือบางลักษณะ
องก

 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดินรถ


 เส้นแบ่งทิศทางจราจรปกติ (พบ.1)
ิทธิ์ข

 เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซง (พบ.2 และ พบ.3)


 เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซงเฉพาะด้าน (พบ.4)
 เส้นแบ่งช่องเดินรถ หรือ เส้นแบ่งช่องจราจร (พบ.5)
ลิขส

 เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถ หรือ เส้นห้ามเปลีย่ นช่องจราจร (พบ.6)


 เส้นแบ่งช่องเดินรถประจําทาง (พบ.7 และ พบ.8)
 เครือ่ งหมายห้ามจอดรถ (พบ.9)
@

 เครือ่ งหมายห้ามหยุดรถ (พบ.10)


 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามขวาง
 เส้นหยุด (พบ.11)
 เส้นให้ทาง (พบ.12)
 เส้นทางข้าม (พบ.13 และพบ.14)

[ 32 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


 เส้นทแยงห้ามหยุดรถ (พบ.15)
 เครือ่ งหมายอื่นๆ
 ลูกศร (พบ.16)
 ให้ทาง (พบ.17)
 เขตปลอดภัย หรือเกาะสี (พบ.18)
 ช่องเดินรถมวลชน (พบ.19)
 เส้นช่องจอดรถ (พบ.20)

@
 ข้อความบังคับบนพืน้ ทาง (พบ.21)

นั้น
4.1.2 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทเตือน ได้แก่ เครือ่ งหมายจราจรทีม่ คี วามหมายเป็ นการเตือนผูใ้ ช้ทาง

เท่า
ให้ทราบล่วงหน้าถึงสภาพทางหรือข้อมูลอย่างอื่นทีเ่ กิดขึน้ ในทาง หรือทางหลวงข้างหน้าอันอาจก่อให้เกิด
อันตรายหรืออุบตั เิ หตุขน้ึ ได้ เพื่อให้ผใู้ ช้ทางใช้ความระมัดระวังในการใช้ทาง ซึง่ จะช่วยป้องกันการเกิดอันตราย

ลวง
หรืออุบตั เิ หตุดงั กล่าวได้
 เส้นขอบทาง (พต.1 พต.2 พต.3 และพต.4)

างห
เส้นแนวช่องเดินรถผ่านทางแยก (พต.5)
 เส้นชะลอความเร็ว (พต.6)
 เส้นทางรถไฟผ่าน (พต.7)
รมท

 เครือ่ งหมายขาวดํา (พต.8)


 ข้อความเตือน หรือแนะนําบนพืน้ ทาง (พต.9)
องก

4.2 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางบริ เวณทางแยกประเภทบังคับ


ิทธิ์ข

4.2.1 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรปกติ (พบ.1)


ลักษณะ เป็ นเส้นประสีเหลือง
ลิขส

ความหมาย แสดงการแบ่งแยกการจราจรของรถทีม่ ที ศิ ทางตรงกันข้าม โดยผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถทางด้านซ้ายของ


เส้น เว้นแต่ผขู้ บั ขีต่ อ้ งการเลีย้ วขวาหรือแซงขึน้ หน้ารถคันอื่น
การใช้ ใช้แบ่งทิศทางการจราจรของยวดยานที่ขบั สวนทางกันบนถนน 2 ช่องจราจร อนุ ญาตให้รถในแต่ละ
@

ทิศทางสามารถขับแซงรถคันหน้าได้ เมื่อเห็นว่าทางข้างหน้าอยูใ่ นสภาพทีป่ ลอดภัยสําหรับการแซง โดยขนาดเส้นแบ่ง


ทิศทางจราจรปกติเป็ น ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง ใช้เส้นยาว 3.0 ม. เว้นช่อง 9.0 ม.
2) ทางหลวงในเมือง ใช้เส้นยาว 1.0 ม. เว้นช่อง 3.0 ม.

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 33 ]


4.2.2 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรห้ามแซง (พบ.2 และ พบ.3)
ลักษณะ เป็ นเส้นทึบสีเหลืองเดีย่ ว หรือคู่
ความหมาย ผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถไปทางด้านซ้ายของเส้น ห้ามขับรถผ่าน หรือคร่อมเส้นโดยเด็ดขาด
การใช้ ใช้ในการแบ่งทิศทางการจราจรของยวดยานทีข่ บั สวนทางกัน ไม่อนุ ญาตให้รถในแต่ละทิศทางขับออก
ทางขวาเพือ่ แซงรถคันหน้าเพราะมีระยะมองเห็นสําหรับการแซงน้อยกว่าระยะทีป่ ลอดภัย
1) เส้นทึบเดี่ยวสีเหลือง (พบ.2) ใช้เป็ นเส้นแบ่งทิศทางจราจรในบริเวณทีห่ า้ มแซงบนทางหลวง 2
ช่องจราจร ทีม่ ผี วิ จราจรกว้างน้อยกว่า 6.00 ม. และมีปริมาณการจราจรตํ่ากว่า 500 คันต่อวัน

@
2) เส้นทึบคู่สีเหลือง (พบ.3) ใช้เป็ นเส้นแบ่งทิศทางจราจรในบริเวณทีห่ า้ มแซงทัง้ สองทิศทางบนทาง
หลวง 2 ช่องจราจร ทีม่ คี วามกว้างของผิวจราจรตัง้ แต่ 6.00 ม. ขึน้ ไป หรือบนทางหลวงมีปริมาณ

นั้น
จราจรมากกว่า 500 คันต่อวัน

เท่า
4.2.3 เส้นแบ่งช่องเดิ นรถ หรือเส้นแบ่งช่องจราจร (พบ. 5)
ลักษณะ เป็ นเส้นประสีขาว แบ่งทางเดินรถ หรือทางจราจรที่มที ศิ ทางเดียวกัน ให้เป็ นช่องเดินรถ หรือช่อง
จราจร
ลวง
ความหมาย ผูข้ บั ขีต่ ้องขับรถภายในช่องเดินรถ หรือช่องจราจร ห้ามขับรถคร่อมเส้น เว้นแต่จะเปลี่ยนช่อง
างห
เดินรถ หรือช่องจราจร
การใช้ ให้ใช้เส้นแบ่งช่องเดินรถปกติบนทางหลวงทีม่ กี ารจราจรแล่นไปในทิศทางเดียวกันตัง้ แต่ 2 ช่องจราจร
รมท

ขึน้ ไป ในบริเวณทีย่ อมให้รถเปลีย่ นช่องจราจรได้


โดยเส้นแบ่งช่องเดินรถมีขนาด ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง ใช้เส้นยาว 3.0 ม. เว้นช่อง 9.0 ม.
องก

2) ทางหลวงในเมือง ใช้เส้นยาว 1.0 ม. เว้นช่อง 3.0 ม.

4.2.4 เส้นห้ามเปลี่ยนช่องเดิ นรถ (พบ.6)


ิทธิ์ข

ลักษณะ เป็ นเส้นทึบสีขาว แบ่งทางเดินรถหรือทางจราจรในทิศทางเดียวกัน ให้เป็ นช่องเดินรถ หรือช่องจราจร


ความหมาย ผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถภายในช่องเดินรถ หรือช่องจราจร ห้ามขับรถผ่าน หรือคร่อมเส้น
ลิขส

การใช้ ให้ใช้เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถบริเวณก่อนเข้าทางแยก หรือทางข้ามไม่น้อยกว่า 36 เมตร บริเวณ


ทางโค้งราบ สําหรับเส้นทึบทีต่ ่อเนื่องกับเส้นประกว้าง บริเวณหัวเกาะทางร่วมทางแยก (Gore Area) ต่างๆ ให้ใช้ความ
กว้างเท่ากับเส้นประกว้าง
@

[ 34 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


4.2.5 เส้นหยุด (พบ. 11)
ลักษณะ เป็ นเส้นทึบสีขาวกว้าง และขวางแนวทางเดินรถ
ความหมาย เมื่อมีสญ ั ญาณจราจรบังคับหยุด หรือป้ายหยุด ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถก่อนถึงเส้นหยุด โดยไม่ล้าํ เส้น
ออกไป และเมือ่ ได้รบั สัญญาณจราจรให้ไป หรือเมือ่ ไม่เป็ นเหตุให้กดี ขวางการจราจรแล้ว ให้ผา่ นเส้นหยุดไปได้
การใช้ ให้ใช้ เส้นหยุด ประกอบกับอุปกรณ์ควบคุมการจราจรอื่นๆ ที่กําหนดให้มกี ารหยุดรถ เช่น ป้ายหยุด
ไฟสัญญาณ และเส้นทางข้าม โดยมีจุดประสงค์เพือ่ ให้ผขู้ บั ขีท่ ราบตําแหน่งทีจ่ ะต้องหยุดรถอย่างถูกต้อง
โดยแนวทางการติดตัง้ เส้นหยุดมี ดังนี้

@
 เส้นหยุด ควรตัง้ ฉากกับแนวจราจร หรือขนานกับขอบทางทีข่ วางหน้า เส้นหยุดไม่ควรทํามุมกับ
แนวตัง้ ฉากเกิน 30 องศา

นั้น
 เส้นหยุด จะต้องอยูต่ รงตําแหน่งทีต่ อ้ งการให้หยุด โดยห่างจากแนวขอบผิวจราจรของทางขวาง
หน้าไม่น้อยกว่า 1 เมตร และไม่เกิน 10 เมตร

เท่า
 ในกรณีทม่ี เี ส้นทางข้าม เส้นหยุด จะต้องอยูก่ ่อนถึงเส้นทางข้ามประมาณ 1 เมตร และขนานกัน

ลวง
กับเส้นทางข้ามนัน้
 ในกรณีทใ่ี ช้ เส้นหยุด ประกอบกับป้ายหยุด ควรติดตัง้ ป้ายหยุดใกล้ เส้นหยุด เท่าทีจ่ ะทําได้
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 4-1 มาตรฐานเส้นหยุดและเส้นให้ทาง

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 35 ]


4.2.6 เส้นให้ทาง (พบ. 12)
ลักษณะ เป็ นเส้นประสีขาว กว้าง และขวางแนวทางเดินรถ
ความหมาย ให้ผูข้ บั ขีข่ บั รถให้ชา้ ลง และให้ทางแก่รถหรือคนเดินเท้าบนทางขวางหน้าผ่านไปก่อน และเมื่อ
เห็นว่าปลอดภัยและไม่เป็ นการกีดขวางการจราจรในบริเวณนัน้ ให้ผขู้ บั ขีเ่ คลื่อนรถต่อไปได้
การใช้ เส้นให้ทาง (พบ.12) ควรใช้ร่วมกับป้ายให้ทาง (บ.2) และเครื่องหมายให้ทาง (พบ.17) เพื่อเพิม่
ประสิทธิภาพในการสือ่ สารให้ผขู้ บั ขีข่ บั ช้าลงก่อนถึงเส้นให้ทาง และรอให้รถบนทางขวางด้านหน้าผ่านไปก่อน เมื่อเห็น
ว่าปลอดภัยแล้ว จึงจะเคลื่อนรถผ่านเส้นให้ทางไปได้

@
เส้นให้ทางมีลกั ษณะเป็ นเส้นประ ยาว 0.60 ม. เว้นช่องว่าง 0.30 ม. และมีความกว้าง 0.30 ถึง 0.60 ม. ขึน้ อยู่
กับความเร็วของการจราจรก่อนถึงเส้นให้ทางทีว่ างขวางแนวทางเดินรถใน 1 ทิศทาง ในบริเวณทางแยกปกติ หรือทาง

นั้น
แยกทีม่ กี ารออกแบบทางเชื่อมโยง

เท่า
4.2.7 เส้นทางข้าม (พบ. 13 – พบ. 14)
ลักษณะ เป็ นแถบสีขาวกว้าง และยาวหลายๆ แถบประกอบกันขวางทางเดินรถ หรือเป็ นเส้นทึบสีขาวสองเส้น
ขนานกันขวางแนวทางเดินรถ และมีเส้นหยุดหรือเส้นให้ทางประกอบ

ลวง
ความหมาย ผูข้ บั ขีต่ ้องขับรถให้ชา้ ลง และพร้อมที่จะหยุดรถได้ทนั ท่วงที เมื่อมีคนเดินข้ามทาง ณ ทางข้าม
างห
นัน้ ในเขตทางข้ามที่ไม่มเี จ้าหน้าที่ หรือสัญญาณจราจร ให้คนมีสทิ ธิขา้ มทางไปก่อน ฉะนัน้ ในขณะที่คนกําลังเดินอยู่
ในทางข้าม ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถก่อนถึงเส้นหยุด หรือเส้นให้ทาง และเมือ่ คนเดินข้ามทางได้ขา้ มไปแล้ว จึงเคลื่อนรถต่อไป
ได้
รมท

การใช้ มีไว้เพื่อให้คนเดินเท้าข้ามถนนตรงแนวทีก่ ําหนดไว้ และเพื่อให้ผขู้ บั ขีไ่ ด้ระมัดระวังก่อนถึงตําแหน่ งที่


จะมีการข้ามทาง โดยทัวไปให้ ่ จดั ทํา “เส้นทางข้าม” ทีท่ างแยกซึง่ อยูใ่ นย่านชุมชน ทางแยกทีใ่ ช้ไฟสัญญาณควบคุม หรือ
องก

ทางเดินรถด้านทีต่ ดิ ตัง้ ป้ายหยุดไว้ นอกจากนี้ให้จดั ทําเส้นทางข้ามตรงตําแหน่งทีม่ ปี ริมาณคนข้ามทางมาก เช่น จุดทีม่ ี


การรับส่งคนโดยสาร และแนวทางคนเดินทีต่ ดั กับทางจราจร เป็ นต้น
เส้นทางข้ามตามปกติกว้างไม่น้อยกว่า 2.0 ม. แต่ในกรณีทย่ี วดยานส่วนมากใช้ความเร็วเกินกว่า 60 กม./ชม.
ิทธิ์ข

ให้ใช้เส้นทางข้ามกว้าง 4.0 ม. หรือถ้ามีปริมาณคนเดินข้ามมากเป็ นพิเศษให้พจิ ารณาปรับความกว้างได้มากขึน้ ตาม


ดุลพินิจทางด้านวิศวกรรม เส้นทางข้ามมีให้เลือกใช้ 2 รูปแบบ ดังนี้
ลิขส

1) แบบทางม้าลาย (พบ.13) เป็ นแถบสีขาวหลายเส้นวางขนานกันคล้ายผิวม้าลาย โดยชุดทางม้า


ลายจะวางขวางแนวทางเดินรถ
2) แบบแนวคนข้าม (พบ.14) เป็ นเส้นทึบสองเส้นวางขนานกันและขวางทางเดินรถโดยเว้น
ช่องว่างตรงกลางสําหรับให้คนเดิมข้าม ใช้บงั คับเช่นเดียวกับแบบทางม้าลาย แต่จะใช้ได้เมื่อ
@

ถนนมีการติดตัง้ สัญญาณไฟกะพริบหรือการควบคุมจราจรอย่างอื่นร่วมด้วย

[ 36 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 4-2 มาตรฐานเส้นทางข้ามบริเวณทางแยกและทางตรง

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 37 ]


4.2.8 เส้นทแยงห้ามหยุดรถ (พบ.15)
ลักษณะเป็ นเส้นทึบสีเหลือง ลากทแยงตัดกันภายในกรอบเส้นทึบสีเหลืองกรอบสีเ่ หลี่ยมมีเส้นขอบสีเหลือง
กว้าง 0.20 ม. และมีเส้นทึบสีเหลืองกว้าง 0.15 ม. ลากทแยงตัดกันด้วยมุม 45 องศา ภายใน
ความหมาย ห้ามมิให้ผขู้ บั ขีห่ ยุดรถภายในกรอบเส้นทแยง เว้นแต่รถทีห่ ยุดรอเพือ่ เลีย้ วขวา
การใช้ ใช้เส้นทแยงห้ามหยุดรถเพือ่ กําหนดบริเวณห้ามหยุดรถ เว้นแต่จะหยุดเพื่อรอเลีย้ วขวา นอกจากนี้เส้น
ทแยงห้ามหยุดรถยังช่วยสื่อสารให้ผขู้ บั ขีใ่ นทางตรงเพิม่ ความรอบคอบ ไม่ขบั ตามคันหน้าเมื่อสัญญาณไฟเขียวใกล้จะ
สิ้นสุดลง เพราะอาจไปหยุดรถในบริเวณเส้นทแยงห้ามหยุดรถเมื่อติดไฟแดง อันจะเป็ นการกีดขวางการเดินรถใน

@
ทิศทางอื่นทีไ่ ด้รบั สัญญาณไฟเขียว
ให้ใ ช้เส้นทแยงห้า มหยุดรถ ณ บริเวณทางเชื่อ มขนาดเล็ก ที่สํา คัญ ซึ่งมีป ริม าณจราจรเข้า ออกมาก และ

นั้น
การจราจรบนทางตรงติดขัดขวางทางเข้าออกนัน้ แต่ทงั ้ นี้การติดตัง้ จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากกรมทางหลวงทีด่ แู ล
พืน้ ทีน่ นั ้ ๆก่อน

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก

รูปที่ 4-3 มาตรฐานเส้นทแยงห้ามหยุดรถ


ิทธิ์ข

4.2.9 เขตปลอดภัย หรือเกาะสี (พบ. 18)


ลักษณะ เป็ นแถบ หรือเส้นทึบสีขาว หรือสีเหลืองตีทะแยงกับแนวทิศทางการจราจร หรือเป็ นลักษณะก้างปลา
ลิขส

และล้อมรอบด้วยเส้นทึบสีขาว หรือสีเหลือง
ความหมาย ห้ามขับรถลํ้าเข้าไปในพืน้ ทีด่ งั กล่าว
การใช้ ใช้แสดงบริเวณเขตปลอดภัย และแนวเกาะต่างๆ บนถนน
@

ในการตีเส้น ให้ใช้สเี หลืองในกรณีเกาะสีอยูก่ ง่ึ กลางทางเพือ่ ใช้แบ่งทิศทางการเดินรถ นอกนัน้ ให้ใช้สขี าว

[ 38 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท

หมายเหตุ
* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน
องก

รูปที่ 4-4 เขตปลอดภัยหรือเกาะสี (Island Marking)


ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 39 ]


X
สันขอบทาง
0.10*
0.10*

X = 3.0 ม. สําหรับทางหลวงในเมือง และ 9.0 ม. สําหรับทางหลวงนอกเมือง


0.10** X
0.10**

@
0.10**
0.10**

นั้น
X = 3.0 ม. สําหรับทางหลวงในเมือง และ 9.0 ม. สําหรับทางหลวงนอกเมือง มิติเปนเมตร
รูปที่ 4-5 มาตรฐานการตีเส้นบัง้ เฉียง (Cross Hatching)

เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

หมายเหตุ (รูปที ่ 4-5 และ รูปที ่ 4-6)


* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน
** ความกว้างปกติของเส้นสีเหลือง 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามตารางที ่ 2-2 ในคูม่ อื และมาตรฐาน
เครือ่ งหมายจราจรบนพื้นทางและเครือ่ งหมายนําทาง
รูปที่ 4-6 มาตรฐานการตีเส้นเกาะสี (Island Markings)

[ 40 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก

หมายเหตุ
** ความกว้างปกติของเส้นสีเหลือง 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามตารางที ่ 2-2 ในคูม่ อื และมาตรฐาน
เครือ่ งหมายจราจรบนพื้นทางและเครือ่ งหมายนําทาง
ิทธิ์ข

รูปที่ 4-7 มาตรฐานการตีเส้นบัง้ เฉียงบริเวณหัวเกาะ (Cross Hatching)


ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 41 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก

หมายเหตุ
ิทธิ์ข

* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน


รูปที่ 4-8 มาตรฐานการตีเส้นบัง้ หัวเกาะ (Chevron Hatching)
ลิขส

4.2.10 ข้อความบังคับบนพืน้ ทาง


ลักษณะ เป็ นข้อความสีขาวบนพืน้ ทาง เช่นคําว่า “หยุด” “ลดความเร็ว” “ขับช้าๆ” เป็ นต้น
ความหมาย ผูข้ บั ขีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามข้อความนัน้ ๆ
การใช้ ข้อความ “หยุด” ให้ใช้ประกอบกับป้ายหยุดหรือเส้นหยุดเพื่อเน้นความปลอดภัย ส่วนบนสุดของ
@

ข้อความจะต้องอยูห่ า่ งจากเส้นหยุดไม่น้อยกว่า 2.00 ม. และไม่เกิน 3.00 ม.


ข้อความ “ลดความเร็ว” ให้ใช้บริเวณก่อนเข้าทางแยกย่านชุมชน ประกอบป้ายเตือนทางแยกต่างๆ (ต.11- ต.
20) หรือป้ายเตือนเข้าเขตย่านชุมชนให้ลดความเร็ว
ข้อความ “ช้าๆ” หรือ “ขับช้าๆ” ให้ใช้บริเวณทีต่ อ้ งการให้ผขู้ บั รถผ่านบริเวณทางหลวงตอนนัน้ ขับไปอย่างช้าๆ

[ 42 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
0.30 .35 0.15
(0.20) (.23) (0.10)
รมท

0.70 (0.47)
0.30 (0.20)
0.70 (0.47)
0.40 (0.27)
0.70 (0.47)
องก

2.80 (1.87)
4.50 (3.00)
ิทธิ์ข

1.00 (0.67)

0.55 .30 0.80


(0.37)(.20) (0.53)

.30 .50 0.15


ทิ ศทางจราจร

(.20) (.33) (0.10)

0.70 (0.47) 4.00 (2.67)


ลิขส

0.30 (0.20)
(0.10)

0.80 (0.53)
0.15

.20 .30
(.13) (.20)
0.45 (0.30)
0.20 (0.13)
0.68 (0.45)
0.50 (0.33)

0.72 (0.48)
0.40 (0.27)
@

2.80 (1.87) 0.70 (0.47) 4.50 (3.00)

2.00 (1.33)
1.00 (0.67)
.30 (.20)
.30 (.20)
.35 (.23)

0.55 .30 0.65 1.00 (0.67)


(0.37)(.20) (0.43)
0.15
(0.10) 0.15
(0.10)
หมายเหตุ
(1) มิตเิ ป็ นเมตร
(2) ใน (......) เป็ นขนาดเทียบกับตัวอักษรสูง 3.00 เมตร

รูปที่ 4-9 มาตรฐานข้อความบังคับบนพืน้ ทาง

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 43 ]


4.2.11 ลูกศร
ลักษณะ เป็ นลูกศรสีขาว หรือสีเหลือง แสดงทิศทางการจราจรให้รถตรงไป เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา เลี้ยวกลับ
หรือร่วมกัน
ความหมาย เมื่อปรากฎในช่องเดินรถ หรือช่องจราจรใด ผู้ขบั ขี่ท่อี ยู่ในช่องเดินรถหรือช่องจราจรนัน้ ต้อง
ปฏิบตั ติ ามเครือ่ งหมายนัน้
การใช้ ใช้ตดิ ตัง้ บริเวณทางแยกเพื่อบอกทิศทางของช่องจราจร โดยปกติควรใช้เครื่องหมายลูกศร 2 ถึง 3
ตําแหน่ง ต่อเนื่องกันในแต่ละช่องจราจร มาตรฐานการจัดตําแหน่งเครือ่ งหมายลูกศร มีดงั นี้

@
1) ลูกศร 1 อัน แสดงทิศทางจราจรได้ไม่เกิน 2 ทิศทาง เช่น เลีย้ วขวา หรือ ตรงไปหรือเลีย้ วซ้าย
2) ลูกศรแรก ควรอยูห่ า่ งจากเส้นหยุดหรือแนวของทางขวางหน้า 15 - 25 ม.

นั้น
3) ลูกศรทีส่ อง ควรห่างจากลูกศรแรก 25 ม.
4) ลูกศรทีส่ าม (ถ้ามี) ควรห่างจากลูกศรทีส่ อง 50 ม.

เท่า
5) บนทางหลวงทีย่ วดยานใช้ความเร็วสูง ให้เพิม่ ระยะห่างระหว่างลูกศรได้อกี 50%
6) การใช้ลูกศรต้องสอดคล้องกับปริมาณจราจรในแต่ละทิศทาง เช่น กรณีทางเข้าแยกมีเพียง 2 ช่อง

ลวง
จราจร และมีปริมาณรถเลีย้ วขวาสูงมาก ให้ใช้ลกู ศรเลีย้ วขวาในช่องทีต่ ดิ เกาะกลางหรือเส้นแบ่งทิศทาง
จราจร และใช้ลกู ศรตรงไปหรือเลีย้ วซ้ายในช่องทีเ่ หลือด้านซ้าย
างห
7) การใช้ลกู ศรต้องสอดคล้องกับสัญญาณไฟจราจร เช่น ถ้าบริเวณทางแยกมีการใช้ลกู ศรตรงไปหรือเลีย้ ว
ขวา สัญญาณไฟจราจรในทิศทางตรงไปและเลีย้ วขวาต้องเปิดพร้อมกัน
กรณีถนนทางตรงทีม่ ที างเบีย่ งให้เข้าช่องจราจรลดความเร็ว (Deceleration Lane) จะใช้เครื่องหมายลูกศรยาว
รมท

สีขาว ซึง่ ประกอบไปด้วยลูกศรตรงไปและเบีย่ งออกซ้ายหรือขวา โดยให้ใช้ลกู ศรยาวแสดงตําแหน่งของจุดเริม่ ต้นของ


ช่องจราจรลดความเร็วเพื่อเป็ นการนําทางให้ยวดยานเข้าสูช่ ่องจราจรลดความเร็วได้เต็มระยะทางทีอ่ อกแบบไว้ ซึง่ รถ
องก

จะสามารถผ่อนชะลอความเร็วได้อย่างสบาย และไม่เป็ นการกีดขวางรถทางตรงทีจ่ ะขับเลยทางแยกออกไป โดยลูกศร


ยาวมี 2 ขนาด และมีการใช้งาน ดังนี้
1) ทางคู่ (Divided Highway) ทีร่ ถใช้ความเร็วสูง ให้ใช้ลกู ศรยาว ขนาด 20 ม.
ิทธิ์ข

2) ทางหลวงทัวไป ่ ใช้ลกู ศรยาว ขนาด 10 ม.


ลิขส
@

[ 44 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


80

80
205
205

50
75

@
50
85

นั้น 70
500

เท่า
80

ลวง 50
295
295

260
50
างห
100

70
รมท 35
องก

รูปที่ 4-10 แบบมาตรฐานเครือ่ งหมายลูกศรบนผิวทาง


ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 45 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 4-11 มาตรฐานตําแหน่งลูกศรบนช่องจราจรก่อนถึงทางแยก

[ 46 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 4-12 เครือ่ งหมายลูกศรยาว

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 47 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

รูปที่ 4-13 ตําแหน่งการติดตัง้ เครือ่ งหมายลูกศรยาวทีจ่ ุดเริม่ ต้นช่องจราจรลดความเร็ว


@

[ 48 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


170 80
85 85 80
30 1530

170
100
60

70
20

530
500

@
508
230
205

EDGE OF PAVEMENT
20๐

นั้น
100
60

เท่า
115

45๐

130
50
15 110 75 60

ลวง
200 160 50

มิตเิ ป็ นเซนติเมตร
างห
รูปที่ 4-14 เครือ่ งหมายลูกศร “กลับรถ” และ”เบีย่ งเข้า”
รมท

4.2.12 ให้ทาง (พบ. 17)


ลักษณะ เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมแหลมสีขาว โดยมุมแหลมชีส้ วนทิศทางการจราจร แสดงหรือทําให้ปรากฎบน
พืน้ ทางประกอบเส้นให้ทาง
องก

ความหมาย ผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถให้ชา้ ลง ถ้าเห็นว่าจะไม่ปลอดภัยต่อรถคันอื่น หรือคนเดินเท้าในทางขวางหน้า


หรือเป็ นการกีดขวางการจราจร ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถก่อนถึงเส้นให้ทาง
ิทธิ์ข

การใช้ ใช้ตดิ ตัง้ ทีท่ างแยกทีไ่ ม่มสี ญ


ั ญาณไฟจราจร เพือ่ ให้รถในถนนสายหลักไปก่อน
ขนาดเครือ่ งหมาย “ให้ทาง” ขึน้ อยูก่ บั ความเร็วสําคัญของถนน ดังนี้
1) น้อยกว่า 70 กม./ชม. ใช้เครือ่ งหมาย “ให้ทาง” สูง 4.0 ม.
ลิขส

2) ตัง้ แต่ 70 กม./ชม. ขึน้ ไป ใช้เครือ่ งหมาย “ให้ทาง” สูง 6.0 ม.


@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 49 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท

รูปที่ 4-15 เครือ่ งหมาย “ให้ทาง”


องก

4.3 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางบริ เวณทางแยกประเภทเตือน


ิทธิ์ข

4.3.1 เส้นขอบทาง (พต. 1 และ พต.3)


เส้นขอบทางด้านนอก (พต.1) มีลกั ษณะเป็ นเส้นทึบสีขาว เส้นขอบทางด้านใน (พต. 3) มีลกั ษณะเป็ นเส้นทึบสี
เหลือง ด้านติดกับเกาะกลาง
ลิขส

ความหมาย เป็ นแนวสุดขอบทางเดินรถ


การใช้ เส้นขอบทางสีขาว ให้ใช้เส้นขอบทางด้านนอก (พต. 1) บนทางหลวง เพื่อแสดงขอบเขตของทางเดิน
รถหรือผิวจราจร (Carriageway) ป้องกันมิให้รถขับลํ้าเข้าไปในไหล่ทางด้านซ้าย
@

เส้นขอบทางสีเหลือง ให้ใช้เส้นขอบทางด้านใน (พต.3) ด้านติดกับเกาะกลาง หรือฉนวนแบ่งทิศทาง


จราจร เพือ่ บอกขอบเขตของทางเดินรถ ไม่ให้ผขู้ บั ขีร่ ถขับเข้าไปในบริเวณเกาะกลาง หรือแนวเส้นแบ่งทิศทางจราจรที่
กลางทาง
โดยปกติเส้นขอบทางมีความกว้าง 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ เป็ น 0.15 ม. ได้ ถ้าทางหลวงมีปริมาณ
จราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน

[ 50 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
1. ทางสองช่องจราจร
ลิขส
ไหล่ทาง
ิทธิ์ข
ไหล่ทาง
เส้นแบ่งทิศทางจราจรสีเหลือง เส้นขอบด้านนอกทางสีขาว
องก
2. ทางคู่
เส้นแบ่งช่องจราจรสีขาว เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถสีขาว
รมท

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


ไหล่ทาง

ไหล่ดา้ นใน
างห

รูปที่ 4-16 มาตรฐานการตีเส้นขอบทาง


Depressed median เกาะกลาง เกาะกลาง
ไหล่ดา้ นใน
ลวง
ไหล่ทาง
เส้นขอบทางด้านนอกสีขาว เส้นขอบทางด้านในสีเหลือง เส้นทึบสีขาว
เท่า
นั้น

[ 51 ]
@
@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 4-17 มาตรฐานการตีเส้นขอบทาง (ต่อ)

[ 52 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


4.3.2 เส้นแนวช่องเดิ นรถผ่านทางแยก
ลักษณะ เป็ นเส้นประ หรือเส้นทึบสีขาว แสดงแนวช่องเดินรถหรือช่องจราจรบริเวณทางแยก
ความหมาย ควรขับรถไปตามแนวช่องเดินรถ หรือช่องจราจรดังกล่าว
การใช้ ใช้แสดงแนวต่อเนื่องของเส้นแบ่งช่องจราจรบริเวณทางแยก ใช้กบั ทางแยกทีม่ ปี ริมาณการจราจรมาก
และมีชอ่ งการจราจรทีส่ บั สน

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 4-18 ตัวอย่างการใช้เส้นแนวช่องเดินรถผ่านทางแยก (เส้นประถี)่

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 53 ]


4.3.3 เส้นชะลอความเร็ว (พต.6)
ลักษณะ เป็ นเส้นหลายๆ เส้น ขวางช่องเดินรถ ให้ผขู้ บั ขีข่ บั รถให้ชา้ ลง
ความหมาย เมื่อขับผ่านกลุ่มเส้นชะลอความเร็ว รถจะเกิดอาการสันและมี ่ เสียงสะเทือนเกิดขึน้ ทําให้ผขู้ บั ขี่
ตื่นตัวและเพิม่ ความระมัดระวังเป็ นพิเศษ
การใช้ วิธกี ารตีเส้นชะลอความเร็วทีน่ ิยมใช้ในเมืองไทย คือ วิธปี าดลาก (Screed Method) ทําโดยการหลอม
วัสดุเทอร์โมพลาสติกให้เป็ นเนื้อเดียวกัน และตีเป็ นเส้นตามขวาง กว้าง 10 หรือ 15 ซม. หนา 5 – 7 มม. ยาวอย่างน้อย
2.50 ม. โดยแต่ละเส้นวางห่างกัน 0.40- 0.80 ม. ในหนึ่งชุดจะมีเส้นชะลอความเร็วประมาณ 6 – 10 เส้น โดยจํานวน

@
เส้น รายละเอียดด้านรูปแบบ ระยะห่างระหว่างเส้น และระยะห่างระหว่างชุด ขึน้ อยู่กบั ความเร็วในการออกแบบ และ
วัตถุประสงค์ของการติดตัง้

นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

รูปที่ 4-19 ตัวอย่างการตีเส้นชะลอความเร็ว


@

[ 54 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


4.4 ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบริ เวณทางแยก
ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางคู่ (Divided Highway) และทางทีไ่ ม่ใช่ทางคู่ (Undivided Highway)

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

รูปที่ 4-20 ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางคู่ (Divided Highways)


@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 55 ]


[ 56 ]
@
เส้นหยุดสีขาว
50 ม. 25 ม.
ลิขส
ิทธิ์ข
เส้นทึบคูส่ เี หลือง เส้นประแบ่งช่องจราจรสีขาว เส้นทึบคูส่ เี หลือง เส้นขอบทางสีขาว
ยาว 3 เมตร เว้น 9 เมตร
องก
50 ม. 25 ม. เส้นหยุดสีขาว
รมท
3.00 (min)
3.00 (min)
2.20 (min)
างห
3.00 (min)
3.00 (min)

เส้นทึบคูส่ เี หลือง เส้นประแบ่งช่องจราจรสีขาว เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถสีขาว เส้นขอบทางสีขาว


ลวง
ยาว 3 เมตร เว้น 9 เมตร

รูปที่ 4-21 ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางหลวงหลายช่องจราจรทีไ่ ม่ใช่ทางคู่


ยาวไม่น้อยกว่า 36 ม.
เท่า

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


นั้น
@
บทที่ 5
สัญญาณไฟจราจรบริเวณทางแยก

5.1 สัญญาณไฟจราจร
การติดตัง้ สัญญาณไฟจราจร เพื่อเป็ นการบริหารจัดการทางแยกให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดยเกณฑ์การติดตัง้

@
สัญญาณไฟจราจร อ้างอิงตามคูม่ อื และมาตรฐานสัญญาณไฟจราจร กรมทางหลวง สามารถแบ่งได้เป็ น
1) เกณฑ์การพิจารณา โดยใช้ปริมาณจราจร 1 ชัวโมง่

นั้น
2) เกณฑ์การพิจารณา โดยใช้ขอ้ มูลอุบตั เิ หตุ
3) เกณฑ์การพิจารณา โดยใช้ขอ้ มูลคนเดินข้ามถนน

เท่า
4) เกณฑ์การพิจารณา จากโครงข่ายถนน
5) เกณฑ์การพิจารณา โดยใช้หลายปจั จัยประกอบกัน

ลวง
6) เกณฑ์การพิจารณา บริเวณหน้าโรงเรียนและสถานศึกษา
7) เกณฑ์การพิจารณาติดตัง้ สัญญาณไฟนับเวลาถอยหลัง
างห
5.2 ตําแหน่ งการติ ดตัง้ โคมสัญญาณไฟจราจร
ตําแหน่ งการติดตัง้ จะต้องกําหนดรายละเอียดบริเวณทางแยกโดยนายช่างผูค้ วบคุม ถนนแต่ละด้านจะต้องมี
รมท

ไฟสัญญาณอย่างน้อยสองชุด ดังนี้
ตําแหน่ งการติดตัง้ จะต้องกําหนดรายละเอียดบริเวณทางแยกโดยนายช่างผูค้ วบคุม ถนนแต่ละด้านจะต้องมี
องก

ไฟสัญญาณอย่างน้อยสองชุด ดังนี้
สัญญาณหลัก (Primary signal) ติดตัง้ ด้านซ้ายใกล้ ก่อนเข้าทางแยก โดยจะต้องอยูเ่ ลยเส้นหยุดไปไม่น้อย
กว่า 1.0 เมตร และไม่เลยถนนทีต่ ดั ผ่านไป และโคมสัญญาณจะต้องไม่มสี ว่ นหนึ่งส่วนใดอยูภ่ ายในระยะ 0.5 เมตร จาก
ิทธิ์ข

ขอบไหล่ทางหรือคันหิน (Curb) ถ้าถนนมีเกาะกลางอาจจะติดตัง้ สัญญาณหลักชุดทีส่ องทางขวาใกล้


สัญญาณรอง (Secondary signal) ติดตัง้ ด้านไกลของทางแยก ทัง้ นี้สญ ั ญาณไฟรองจะต้องไม่ออกนอกมุม
ลิขส

20 องศา ของแนวรถตรง 3.0 เมตร ก่อนถึงเส้นหยุด ดังแสดงในรูปที่ 5-1 และโคมสัญญาณไฟจะต้องไม่มสี ว่ นหนึ่งส่วน


ใดอยูภ่ ายใน 0.5 เมตร จากขอบไหล่ทางหรือคันหิน
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 57 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท

รูปที่ 5-1 ตําแหน่งการติดตัง้ ภายในระยะมุม 20 องศา


องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 5-2 ตําแหน่งการติดตัง้ โคมสัญญาณไฟจราจร

[ 58 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


5.3 การวางตําแหน่ งโคมสัญญาณไฟจราจร และจํานวนโคมสัญญาณไฟขัน้ ตํา่
1) ในทางแยกขนาดเล็กทีม่ จี าํ นวนช่องจราจรไม่เกิน 2 ช่องจราจรต่อทิศทาง ควรติดตัง้ โคมสัญญาณไฟจราจร
อย่างน้อย 2 ชุดต่อทิศทาง คือ โคมสัญญาณไฟจราจรหลักด้านซ้ายใกล้ กับโคมสัญญาณไฟจราจรรองด้านขวาไกล
กรณีโคมสัญญาณไฟจราจรรองเป็ นเสาสูง ให้ตดิ ตัง้ ด้านซ้ายไกล
2) ในทางแยกขนาดใหญ่ท่มี จี ํานวนช่องจราจรมากกว่า 2 ช่องต่อทิศทาง หรือมีช่องจราจรเฉพาะสําหรับรถ
เลีย้ วขวา ควรติดตัง้ โคมสัญญาณไฟจราจรอย่างน้อย 3 ชุดต่อทิศทาง คือ
 โคมสัญญาณไฟจราจรหลักด้านซ้ายใกล้ (เสาธรรมดา)

@
 โคมสัญญาณไฟจราจรรองด้านขวาไกล (เสาธรรมดา) และ
 โคมสัญญาณไฟจราจรรองด้านซ้ายไกล (เสาสูง)

นั้น
กรณีมชี ่องจราจรเลีย้ วขวาเฉพาะ (Exclusive Right Turn Lane) โคมสัญญาณไฟจราจรรองด้านขวาไกลควร

เท่า
เป็ นแบบสีด่ วง (L-Shape) และโคมสัญญาณไฟจราจรรองด้านซ้ายไกล (เสาสูง) ควรเป็ นแบบสามดวงคู่ เพื่อเพิม่
ประสิทธิภาพการมองเห็นให้แก่ผขู้ บั ขี่

ลวง
3) ไม่ควรใช้เสาสูงทัง้ สําหรับโคมสัญญาณไฟหลักและโคมสัญญาณไฟรอง เพราะจะทําให้เกิดการซ้อนทับของ
ดวงโคมเมื่อผูข้ บั ขีม่ องจากระยะไกล ทําให้เกิดความสับสนได้ โดยปกติโคมสัญญาณไฟหลักให้ใช้เสาธรรมดา และโคม
สัญญาณไฟรองด้านซ้ายไกลให้ใช้เสาสูง ยกเว้นกรณีหากการติดตัง้ ดังกล่าวแล้วก่อให้เกิดความสับสนแก่ผใู้ ช้ถนน อาจ
างห
ติดตัง้ โคมสัญญาณไฟหลักด้านใกล้โดยใช้เสาสูง และติดตัง้ โคมสัญญาณไฟรองด้านไกลโดยใช้เสาธรรมดา
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ 5-3 ตัวอย่างการติดตัง้ สัญญาณไฟจราจรบริเวณสามแยก และสีแ่ ยก

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 59 ]


5.4 ระยะการมองเห็นสัญญาณไฟ (Minimum Sight Distance for Signal Visibility)
การติดตัง้ สัญญาณไฟจราจรนัน้ ควรพิจารณาถึงความชันของถนน โค้งทางราบ โค้งทางดิง่ หรือสิง่ กีดขวาง
ต่างๆ รวมถึงมุมมองตามแนวราบ และแนวดิง่ จากระดับสายตาของผูข้ บั ขี่ เพื่อพิจารณาตําแหน่งติดตัง้ โคมสัญญาณไฟ
โดยระยะการมองเห็นสัญญาณไฟจราจรขัน้ ตํ่าของผูข้ บั ขี่ ควรเป็ นไปตามตารางที่ 5-1 หากระยะการมองเห็นสัญญาณ
ไฟจราจรตํ่ากว่าระยะการมองเห็น ขัน้ ตํ่า ควรพิจารณาติดตัง้ ป้ ายเตือน และ/หรือ ไฟกะพริบ เพื่อเตือนผู้ขบั ขี่ว่า มี
สัญญาณไฟจราจรข้างหน้า

@
ตารางที่ 5-1 ระยะมองเห็นขัน้ ตํ่าสําหรับสัญญาณไฟจราจร
ความเร็วที่ 85 เปอร์เซนต์ไทล์ ระยะมองเห็นขัน้ ตํา่

นั้น
(กิ โลเมตร/ชัวโมง)
่ (เมตร)

เท่า
30 50
40 65

ลวง
50 85
60 110
70 140
างห
80 165
90 195
รมท

100 230
หมายเหตุ : ปรับปรุงจาก MUTCD 2009
องก

5.5 ความสูงของโคมสัญญาณไฟ
1) ความสูงของโคมสัญญาณไฟแบบถาวรเมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องให้ศูนย์กลางของไฟเหลืองอยู่สงู จากระดับผิว
ิทธิ์ข

ทางไม่น้อยกว่า 2.5 เมตร และไม่เกิน 4 เมตร สําหรับโคมสัญญาณไฟชัวคราวระดั ่ บสูงดังกล่าวจะต้องไม่น้อยกว่า 1.5


เมตร และไม่เกิน 2.6 เมตร
2) โคมสัญญาณไฟแบบแขวนสูงคร่อมถนน เมือ่ ติดตัง้ แล้วจะต้องให้มชี อ่ งลอดไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร
ลิขส

3) โดยทัวไปให้
่ ตดิ ตัง้ โคมสัญญาณไฟให้ใกล้กบั ความสูงขัน้ ตํ่าเข้าไว้ นอกจากจะมีเหตุผลทีจ่ ําเป็ นจึงจะติดตัง้
ให้สงู ขึน้ ไปได้
@

[ 60 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


างห
ลวง
เท่า
รูปที่ 5-4 ความสูงของเสาสัญญาณไฟแบบ เสาธรรมดา
นั้น

[ 61 ]
@
[ 62 ]
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
รูปที่ 5-5 ความสูงของเสาสัญญาณไฟแบบ เสาแขวนสูง

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


นั้น
@
บทที่ 6
รูปแบบการติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริเวณทางแยก

6.1 หลักการทัวไป

การวางแผนและติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรในบริเวณทางแยกในแต่ละกรณีมคี วามแตกต่างกันขึน้ อยูก่ บั
ปจั จัยหลายประการ เช่น ลักษณะพื้นที่การใช้งาน เช่น การใช้งานในเขตเมือ งหรือนอกเขตเมือง ชนิ ดของถนนที่

@
ประกอบเป็ นทางแยก ชนิดของทางแยก รูปแบบของทางแยก ลักษณะการออกแบบทางกายภาพของถนน ผูใ้ ช้ถนน

นั้น
ปริมาณการจราจร ประเภทของยานพาหนะ และการจํากัดความเร็ว

เท่า
โดยการติดตัง้ ทีแ่ สดงเป็ นตัวอย่างนี้ จะแยกประเภทดังนี้
 บริเวณสามแยก

ลวง
 บริเวณสีแ่ ยก
 บริเวณทางแยกต่างระดับ
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 63 ]


6.2 การติ ดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริ เวณสามแยก

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 64 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 65 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 66 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 67 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 68 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 69 ]


6.3 การติ ดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริ เวณสี่แยก

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 70 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 71 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 72 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 73 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 74 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 75 ]


6.4 การติ ดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรบริ เวณทางแยกต่างระดับ

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 76 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 77 ]


@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 78 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


บรรณานุกรม
1. กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม, ข้อกําหนดไฟกะพริบ พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 300 ม.ม. สําหรับแจ้งเตือนบริเวณจุดกลับรถ
2. กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม, ข้อกําหนดและมาตรฐานทัวไปงานติ ่ ดตัง้ ไฟฟ้า สัญญาณจราจร และไฟ
กะพริบ บนทางหลวง ปี 2523
3. กรมทางหลวง, “คูม่ อื การติดตัง้ ป้ายจราจรบริเวณทางแยก”, กันยายน 2552

@
4. กรมทางหลวง, “คูม่ อื เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรภาค 1”, ฉบับปี พ.ศ. 2531
5. กรมทางหลวง, “คู่มอื เครื่องหมายควบคุมการจราจรภาค 2 – เครื่องหมายจราจร (MARKINGS)”, ฉบับปี พ.ศ.

นั้น
2533

เท่า
6. กรมทางหลวง, “มาตรฐานตัวอักษรและตัวเลข สําหรับป้ายจราจร ขนาด 10 ซม.”, 2521
7. กรมทางหลวง, “มาตรฐานตัวอักษรและตัวเลข”, 2526

ลวง
8. กรมทางหลวง, “มาตรฐานตัวอักษรสําหรับป้ายจราจร อักษรโรมัน Series G. และ Lower Case ขนาด 10 ซม.
อักษรไทย ชุด ก. ขนาด 5 ซม.”, 2526
9. กรมทางหลวง, “มาตรฐานป้ายจราจร ชุดที่ 1”, 2521
างห
10. กรมทางหลวง, “มาตรฐานป้ายจราจร ชุดที่ 2”, 2521
11. กรมทางหลวง, “รายละเอียดและข้อกําหนดการจัดทําเครื่องหมายจราจรบนผิวทาง (การตีเส้น ลูกศร ขีดเขียน
รมท

ข้อความ) Specification for Road Marking”, กรกฎาคม พ.ศ. 2551


12. กรมทางหลวงชนบท, “คูม่ อื และมาตรฐานความปลอดภัยในการจัดการจราจรบนทางหลวงชนบท”, พ.ศ. 2551
13. กลุ่มมาตรฐานอํานวยความปลอดภัย สํานักอํานวยความปลอดภัย กรมทางหลวง, “ข้อแนะนําและแนวทางใน
องก

การติดตัง้ เครือ่ งหมายปุม่ บนผิวจราจร (Raised Pavement Markers)”, ธันวาคม 2550


14. กองสัญญาณไฟและเครื่องหมาย สํานักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร, “รายการมาตรฐาน การทํา
เครือ่ งหมายจราจรบนผิวทางด้วยวัสดุเทอร์โมพลาสติก รายการเลขที่ กฟม. 400-13/43”
ิทธิ์ข

15. กิตติชยั ธนทรัพย์สนิ , วิศวกรรมจราจรเบือ้ งต้น, ศูนย์ผลิตตําราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า


พระนครเหนือ, ISBN 974-620-686-9, 2551
ลิขส

16. ฝา่ ยควบคุมระบบทางหลวง สํานักวางแผน กรมทางหลวง, ป้ายหมายเลขทางหลวงเอเชีย / อาเซียน (Asian /


ASEAN Highway Route Marker), สิงหาคม 2551
17. มาตรการเฉพาะหน้ า เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุบริเวณจุดตัดทางรถไฟ โดยตีเส้น ติดตัง้ ป้ายจราจรและจัดทํา
@

Rumble Strips (ตีเส้นด้วยสีเทอร์โมพลาสติก) ปี 2546, กรมทางหลวง


18. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “คู่มอื การใช้เครื่องหมายจราจรบริเวณทางแยก”,
พ.ศ. 2547
19. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, แผ่นสะท้อนแสงสําหรับควบคุมการจราจร Retroreflective
Sheeting for Traffic Control (มอก. 606 – 2549)
20. สํานักงานวิศวกรรมการจราจร กรมทางหลวง, “วิธกี ารตีเส้นห้ามแซง”, พ.ศ. 2524

เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก [ 79 ]


21. สุจณ
ิ มังนิ
่ มติ ร, สํานักอํานวยความปลอดภัย กรมทางหลวง, เอกสารบรรยายเรือ่ ง ไฟสัญญาณจราจร, 2549.
22. Akcelik, R. Guide to traffic engineering practice part 7: Traffic signals. Sydney: Austroads., 2003.
23. Department for Transport, Department for Regional Development (Northern Ireland), Scottish
Executive, Welsh Assembly Government, “Traffic Signs Manual – Chapter 5 Road Markings”, 2003.
24. Department for Transport, Department for Regional Development (Northern Ireland), Scottish
Executive, Welsh Assembly Government, “Traffic Signs Manual – Chapter 3 Regulatory Signs”, 2008.
25. Department for Transport, Department for Regional Development (Northern Ireland), Scottish

@
Executive, Welsh Assembly Government, “Traffic Signs Manual – Chapter 4 Warning Signs”, 2004.
26. Department of Highways, Thailand, “Standard Drawings for Highway Construction”, 1994

นั้น
27. Duarte, A., & Corben, B. Improvement to black spot treatment strategy (No. 132). Clayton: Monash
University Accident Research Centre, 1998.

เท่า
28. Institute of Transportation Engineers, Manual of Transportation Engineering Studies, Prentice-Hall,
Inc, 1994.

ลวง
29. Queensland Government, Australia, “Manual of Uniform Traffic Control Devices”, May 2009.
30. Queensland Government, Department of Main Roads, Australia, “Guide to Pavement Markings”,
างห
Edition 2, June 2001.
31. Roess, R. P., Elena S. P., William R., McShane. Traffic Engineering, 3rd Ed., Pearson Prentice Hall,
New Jersey, 2004.
รมท

32. U.S. Department of Transportation, Federal Highway Administration, “Manual on Uniform Traffic
Control Devices for Streets and Highways”, 2009 Edition.
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

[ 80 ] เล่มที่ 4 - คูม่ อื การใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจร – บริเวณทางแยก


คณะกรรมการกํากับโครงการศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐานเครือ่ งหมายควบคุม
การจราจรกรมทางหลวง
1. นายสุชาติ ลีรคมสัน ------------------------------------------------------------------------------------------ ประธานกรรมการ
ผูอ้ าํ นวยการสํานักมาตรฐานและประเมินผล

2. นายสุจณ
ิ มังนิ
่ มติ ร ------------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ

@
วิศวกรโยธาเชีย่ วชาญ

3. นายอาณัติ ประทานทรัพย์ --------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ

นั้น
รก.วิศวกรโยธาเชีย่ วชาญ

เท่า
4. นายสว่าง บูรณธนานุกจิ ------------------------------------------------------------------------------------------------ กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

ลวง
5. นายพลเทพ เลิศวรวนิช ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
างห
6. นายวิชติ นามประสิทธิ ์ -------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
รมท

7. นายกุลธน แย้มพลอย --------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
องก

8. นายทวีศกั ดิ ์ ชาญวรรณกุล ---------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
ิทธิ์ข

9. นางสาวภัทริน ศรุตพิ นั ธ์ ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
ลิขส

10. นายจตุรงค์ เสาวภาคย์ไพบูลย์ ---------------------------------------------------------------------- กรรมการและเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
@

11. นายนะบีลย์ เจ๊ะแว ----------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

12. นายธวัชชัย แสงรัตน์ --------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@

You might also like