You are on page 1of 87

เล่มที่ 2 คู่มือและมาตรฐานเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางและ

เครือ่ งหมายนําทาง

พิมพ์ครัง้ ที่ 1 (กันยายน 2554)

โดย
กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
ถนนศรีอยุธยา แขวงทุง่ พญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ห้ามทําการพิมพ์เผยแพร่เพือ่ ผลประโยชน์ทางการค้า โดยมิได้รบั อนุญาตจาก กรมทางหลวง


คํานํา
โครงการศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐานเครื่องหมายควบคุมการจราจรกรมทางหลวงเป็ นโครงการที่จดั ทําขึน้
ตามร่า งกฎกระทรวง “กํา หนดการจัด ทํา ป กั ติด ตัง้ ป้ า ยจราจร เครื่อ งหมายจราจร หรือ สัญ ญาณจราจร สํา หรับ
การจราจรบนทางหลวง” ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) เรื่องเสร็จที่ 880/2552
โดยโครงการมีวตั ถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเนื้อหาของคู่มอื มาตรฐาน ข้อกําหนด และเอกสารฉบับต่างๆทีก่ รมทางหลวง
ได้ใช้มาเป็ นระยะเวลานาน ให้มคี วามทันสมัยและเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวประเทศ ่
การควบคุมการจราจรให้เป็ นระเบียบ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยต่อผูข้ บั ขีย่ วดยานพาหนะนัน้ จําเป็ นต้อง
ออกแบบและติดตัง้ อุปกรณ์ควบคุมการจราจรประเภทต่างๆอย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึง่ ประกอบไปด้วย ป้ายจราจร
(Traffic Signs) เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Markings) สัญญาณไฟจราจร (Traffic Signals) ตลอดจน
อุ ปกรณ์ อ่ืนๆที่ใช้ร่วมกับอุ ป กรณ์ ข้างต้น เช่น เครื่องหมายนํ าทาง (Delineators) และไฟฟ้าแสงสว่างบนทางหลวง
(Road Lightings) เป็ นต้น นอกจากนี้การเลือกใช้วสั ดุและชิ้นส่วนต่างๆ รวมไปถึงกระบวนการผลิตและวิธกี ารติดตัง้
จะต้อ งเป็ น ไปตามข้อ กํ า หนดและมาตรฐานที่ก รมทางหลวงได้ร ะบุ ไ ว้ เพื่อ ให้ไ ด้ผ ลิต ภัณ ฑ์ง านทางที่ม ีคุ ณ ภาพ
มีความทนทานในการใช้งาน และประหยัดค่าใช้จา่ ยการซ่อมบํารุงในระยะยาว
เครื่อ งหมายจราจรที่ป รากฏบนพื้น ทางและข้า งทางสํา หรับ ใช้ใ นการควบคุ ม การจราจรให้ผ่ า นไปมาได้
อย่างเป็ นระเบียบ สะดวก และปลอดภัย มีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิด เช่น เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดินรถ
เครื่อ งหมายจราจรบนพื้น ทางตามขวาง เครื่อ งหมายจราจรบนสัน ขอบทาง เครื่อ งหมายแสดงตํ า แหน่ ง วัต ถุ
เครื่องหมายนําทาง และเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางอื่นๆ โดยในการใช้งาน อาจมีการกําหนด รูปร่าง ลักษณะ สี และ
ขนาดให้แตกต่างกัน เพื่อใช้แยกแยะลักษณะจําเพาะของเครื่องหมายแต่ละชนิด เช่น การใช้ลกั ษณะความต่อเนื่อง
ของเส้น จราจร เส้น ทึบ ใช้สํา หรับ ห้า มรถแซงหรือ เปลี่ย นช่ อ งจราจร เส้น ประใช้ใ นกรณี ท่ีอ นุ ญ าตให้ร ถแซงหรือ
เปลี่ยนช่องจราจรได้ การใช้สญ ั ลักษณ์ ส ี สีขาวบ่งบอกถึงการเดินรถทิศทางเดียวกัน สีเหลืองใช้สําหรับแบ่งทิศทาง
การจราจรที่ร ถขับ สวนทางกัน สีแ ดงหมายถึงการห้า ม สีดํา สลับ ขาวหมายถึง ตํา แหน่ ง อุ ป สรรค ขนาดเส้น จราจร
โดยทัวไปจะขึ
่ ้นอยู่กบั ปริมาณจราจรและขนาดของผิวทาง เส้นที่กว้างขึ้นจะช่วยเพิม่ ความสามารถในการมองเห็น
ด้วยความหลากหลายในด้านต่างๆดังที่ได้กล่าวในข้างต้น กรมทางหลวงจึงได้จดั ทําคู่มอื และมาตรฐานเครื่องหมาย
จราจรบนพื้น ทางและเครื่อ งหมายนํ า ทางฉบับ นี้ โดยเป็ น การกํ า หนดมาตรฐานด้า นต่ า งๆรวมถึง วิธีก ารใช้ง าน
เพือ่ ให้หน่วยงานและผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องสามารถนําไปปฏิบตั ใิ ช้ได้อย่างถูกต้องและเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวประเทศ

สารบัญ
หน้ า

บทที่ 1 รายการทัวไปของเครื
่ ่องหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครื่องหมายนําทาง 1
1.1 หน้าทีข่ องเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Markings) และเครือ่ งหมายนําทาง
(Delineators) 1
1.2 หลักการใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง และเครือ่ งหมายนําทาง 1
1.3 ประเภทเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง และเครื่องหมายนําทาง 1
1.4 สีของเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง 2
1.5 วัสดุสาํ หรับเครื่องหมายจราจร 2
1.6 การบํารุงรักษา 3

บทที่ 2 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดิ นรถ (Longitudinal Pavement Markings) 4


2.1 เส้นแบ่งทิศทางจราจร (Separation Lines) 7
2.1.1 เส้นแบ่งทิศทางจราจรปกติ (พบ.1) 7
2.1.2 เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซง (พบ.2 – พบ.3) 7
2.1.3 เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซงเฉพาะด้าน (พบ.4) 8
2.2 เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines) 9
2.2.1 เส้นแบ่งช่องเดินรถ (หรือเส้นแบ่งช่องจราจร พบ.5) 9
2.2.2 เส้นแสดงความต่อเนื่อง (Continuity Lines) หรือเส้นประกว้าง 10
2.2.3 เส้นแนวช่องเดินรถผ่านทางแยก (เส้นประถี่ พต.5) 10
2.2.4 เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถ (พบ. 6) 10
2.2.5 เส้นแบ่งช่องเดินรถประจําทาง (พบ.7 – พบ.8) 10
2.3 เส้นขอบทาง (พต.1 – พต.4 Edge Lines) 11
2.4 ตัวอย่างการใช้งานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดินรถ 12

บทที่ 3 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางตามขวาง (Transverse Pavement Markings) 18


3.1 เส้นหยุด (พบ.11 Stop Line) 18
3.2 เส้นให้ทาง (พบ.12 Give Way Line) 19
3.3 เส้นทางข้าม (พบ.13 -14 Crosswalks) 20
3.4 เส้นทแยงห้ามหยุดรถ (พบ.15 Junction Block Markings) 22

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [i]


สารบัญ (ต่อ)
หน้ า

บทที่ 4 เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางอื่นๆ 23


4.1 เส้นช่องจอดรถ (พบ.20 Parking Space Markings) 23
4.2 เขตปลอดภัย หรือเกาะสี (พบ.18 Island Marking) 24
4.3 ข้อความบนพืน้ ทาง (Word Markings) 29
4.3.1 ข้อความบังคับบนพืน้ ทาง (พบ.21) 29
4.3.2 ข้อความเตือนหรือแนะนําบนพืน้ ทาง (พต.9) 29
4.4 ลูกศร (พบ.16 Arrow Markings) 36
4.5 ให้ทาง (พบ.17 Give Way Markings) 43
4.6 ช่องเดินรถมวลชน (พบ.19 High-Occupancy Vehicle (HOV) Marking) 44
4.7 เส้นชะลอความเร็ว (พต.6 Transverse Rumble Strips) 44
4.8 เครือ่ งหมายเตือนเนินชะลอความเร็ว (Speed Hump Markings) 46
4.9 เส้นทางรถไฟผ่าน (พต.7 Railway Crossing Markings) 47

บทที่ 5 การใช้เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางเฉพาะบริ เวณ 48


5.1 เขตห้ามแซง (No Passing Zone) 48
5.2 เขตเปลีย่ นแปลงจํานวนช่องจราจร (Lane Transition Zone) 52
5.3 บริเวณจุดกลับรถ (U-Turn) และช่องเปิดเกาะกลาง (Median Opening) 55
5.4 บริเวณทางเชื่อมโยงชุมทางต่างระดับ (Interchange Ramp Control) 57

บทที่ 6 เครื่องหมายจราจรบนสันขอบทาง (Curb Markings) 59


6.1 เครือ่ งหมายห้ามหยุดรถ (พบ.10 ขาวแดง) 59
6.2 เครือ่ งหมายห้ามจอดรถ (พบ.9 เหลืองสลับขาว) 59
6.3 เครือ่ งหมายขาวดํา (พต.8) 59

บทที่ 7 เครื่องหมายแสดงตําแหน่ งวัตถุ (Object Markings) 60

บทที่ 8 เครื่องหมายนําทาง (Delineators) 62


8.1 หลักนําทาง (Guide Posts) 62
8.2 เป้าสะท้อนแสง (Reflectors) 66
8.3 ปุม่ บนผิวจราจร (Raised Pavement Markers) 67

บรรณานุกรม 75

[ ii ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


บทที่ 1
รายการทัวไปของเครื
่ อ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและ
เครือ่ งหมายนําทาง

1.1 หน้ าที่ของเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Markings) และเครื่องหมายนําทาง


(Delineators)
เครื่อ งหมายจราจรบนพื้น ทางและเครื่อ งหมายนํ า ทางเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การจราจร
(Traffic Control Devices) ทีใ่ ช้สอ่ื สารกับผูข้ บั ขีเ่ พื่อให้ยวดยานพาหนะสามารถเคลื่อนทีไ่ ด้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมี
ความปลอดภัย ซึ่งมีอยู่ดว้ ยกันหลายรูปแบบ เช่น เส้น ข้อความ ลูกศร สันขอบทาง ปุ่มบนผิวจราจร หลักนําทาง และ
เป้าสะท้อนแสง โดยสิง่ ต่างๆเหล่านี้สามารถนํ าไปใช้ร่วมกับอุปกรณ์ ควบคุมการจราจรประเภทอื่น เช่น ป้า ย และ
สัญญาณไฟจราจร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการสือ่ สารกับผูข้ บั ขีม่ ากยิง่ ขึน้

1.2 หลักการใช้เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครื่องหมายนําทาง


หลักการใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทางมีดงั ต่อไปนี้
1) ต้องจัดทําเครื่องหมายจราจรพืน้ ทางและเครื่องหมายนํ าทางให้เสร็จเรียบร้อยก่อนเปิ ดให้บริการทาง
หลวง ทางเบีย่ ง หรือทางชัวคราว
่ ทีก่ ่อสร้างหรือบูรณะใหม่
2) เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางหรือเครื่องหมายนํ าทางที่เลิกใช้แล้ว โดยอาจเกิดจากสภาพทางหรือ
การควบคุมจราจรที่เปลีย่ นแปลงไป ให้ดําเนินการปรับปรุงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมทันที ไม่ควร
ปล่อยทิง้ ไว้จนเสือ่ มสภาพ เพราะอาจทําให้ผขู้ บั ขีเ่ กิดความสับสน และส่งผลต่อความปลอดภัยได้
3) เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางหรือเครื่องหมายนํ าทางต้องมีคุณสมบัตดิ า้ นการสะท้อนแสง เพื่อให้ผู้
ขับขีส่ ามารถมองเห็นได้ชดั ทัง้ ในเวลากลางวันและในเวลากลางคืน เป็ นการสร้างความปลอดภัยบน
ทางหลวง

1.3 ประเภทเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครื่องหมายนําทาง


เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทางแบ่งออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี้
1) เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดินรถ (Longitudinal Pavement Markings)
2) เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามขวาง (Transverse Pavement Markings)
3) เครือ่ งหมายจราจรบนสันขอบทาง (Curb Markings)
4) เครือ่ งหมายจราจรแสดงตําแหน่งวัตถุหรือสิง่ กีดขวาง (Object Markings)
5) เครือ่ งหมายนําทาง (Delineators)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [1]


1.4 สีของเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง
เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางทีป่ รากฏบนถนนปกติจะใช้สขี าวและสีเหลือง โดยสีดาํ อาจนํามาใช้เป็ นสีรองพืน้
เพือ่ เพิม่ การตัดกันกับสีขาว (Contrast Markings) สรุปการใช้งานของแต่ละเฉดสีได้ ดังนี้

สีขาว
1) เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines)
2) เส้นขอบทางด้านนอก (Edge Line on Outer Side)
3) รูปบัง้ บริเวณหัวเกาะ (Chevron Hatching)
4) เส้นหยุด (Stop Line)
5) เส้นให้ทาง (Give Way Line)
6) เส้นทางข้าม (Crosswalks)
7) เส้นช่องจอดรถ (Parking Space Markings)
8) รูปเกาะบริเวณทางแยก (Island Markings)
9) ข้อความและเครือ่ งหมายบนผิวจราจร (Words and Symbols)
สีเหลือง
1) เส้นแบ่งทิศทางจราจร (Separation Lines or Center Lines)
2) เส้นขอบทางด้านในบนทางคู่ (Edge Line on Inner Side of Divided Highway)
3) เส้นเฉียงบริเวณเกาะแบ่งทิศทางจราจร (Flush Median)
4) เส้นทแยงห้ามหยุดรถ (Junction Block Markings)

ส่วนเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทอื่นๆ ให้ใช้สขี าว สีดํา สีเหลือง และสีแดง แล้วแต่ความหมายและ


การใช้งานเฉพาะแห่ง เช่น สันขอบทางทีท่ าสีแดงสลับขาว หมายความว่าห้ามหยุดรถบริเวณดังกล่าว ถ้าทาสีเหลือง
สลับขาว หมายความว่าห้ามจอดรถบริเวณดังกล่าว เว้นแต่จะหยุดรับ-ส่ง ชัวขณะ ่ ส่วนสีดําสลับขาวมีไว้เพื่อแสดง
ตําแหน่ งอุปสรรค เพื่อให้เห็นสันขอบทาง (Curb) ชัดเจนยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ สีแดงจะใช้เป็ นเครื่องหมายห้ามในทิศทาง
การจราจรทีม่ องเห็น เช่น เป้าสะท้อนแสง (Reflector) สีแดง หมายความว่าห้ามเข้า

1.5 วัสดุสาํ หรับเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง


วัสดุทใ่ี ช้ทาํ เป็ นเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง โดยทัวไปมี
่ ดงั นี้
1) สีทาหรือพ่น เช่น สีจราจร เป็ นวัสดุทม่ี อี ายุการใช้งานสัน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อใช้เป็ นเครื่องหมาย
จราจรบนพืน้ ทาง แต่เนื่องจากมีราคาถูก จึงเหมาะทีจ่ ะใช้กบั ถนนทีก่ ําลังจะต้องซ่อมบํารุงในอนาคต
อันใกล้ หรือใช้สาํ หรับทางหลวงทีม่ ปี ริมาณจราจรตํ่า
2) วัสดุเทอร์โมพลาสติ ก เป็ นวัสดุทม่ี อี ายุการใช้งานทนทานกว่าสีจราจร และมีความคงทนต่อการขัดสี
ของล้อรถ แต่มรี าคาแพงกว่าสีทาหรือสีพน่ ธรรมดา วัสดุเทอร์โมพลาสติกจึงมีความเหมาะสมในการ
ใช้เป็ นเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางสําหรับถนนทีม่ มี าตรฐานและปริมาณจราจรสูง

[2] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


3) แผ่นเทปสําเร็จรูป ใช้ติดบนผิวจราจรโดยใช้กาวหรือสารยึดแน่ นอื่น คุณสมบัตขิ องแผ่นเทปที่ใช้
จะต้องมีความทนทานต่อการขัดสีจากยางรถยนต์ มีความคงทนถาวร ไม่ซดี หรือเปลีย่ นเฉดสีเมื่อใช้
งานเป็ น เวลานาน สารยึด แน่ น จะต้อ งสามารถยึด แผ่น เทปให้ติด แน่ น กับ ผิว จราจร ไม่ห ลุ ด หรือ
เคลื่อนที่ แผ่นเทปสําเร็จรูปทีม่ ขี ายในท้องตลาดส่วนมากจะมีอายุการใช้งานได้ทดั เทียมหรือนานกว่า
วัสดุเทอร์โมพลาสติก แต่มคี ุณสมบัตทิ ด่ี กี ว่า คือสามารถเปิ ดให้บริการได้ทนั ทีหลังการติดตัง้ เสร็จ จึง
เหมาะที่จ ะใช้เ ป็ น เครื่อ งหมายจราจรบนพื้น ทางตามขวางของทางหลวงในเมือ งที่ม ีก ารจราจร
หนาแน่น
4) ปุ่ มบนผิวจราจร เมือ่ ติดตัง้ แล้วจะนูนขึน้ จากผิวทาง ความสูงและลักษณะของปุ่มจะต้องไม่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อการจราจร ข้อดีของการใช้ปุ่มบนผิวจราจรคือ ทําให้ผูข้ บั ขีม่ องเห็นเครื่องหมายจราจร
ด้วยมุมทีก่ ว้างขึน้ ซึง่ ชัดเจนกว่าเครือ่ งหมายจราจรทีแ่ บนราบกับผิวทาง และเมื่อขับรถผ่านปุ่มบนผิว
จราจร จะรูส้ กึ สะดุดเล็กน้อย ทําให้ระมัดระวังมากขึน้ การติดตัง้ ต้องทําอย่างถาวร โดยการฝงั เดือย
(Anchor Bolts) หรือใช้สารยึดแน่น เช่น อีพอกซี่ (Epoxy Resin) ปุม่ อาจทําด้วยโลหะหรืออโลหะก็ได้
แต่จะต้องมีสตี ามความหมายทีใ่ ช้งาน
5) วัสดุฝังในผิวจราจร ในการก่อสร้างหรือปูผวิ ทางใหม่ อาจใช้วสั ดุทม่ี สี ตี ่างจากผิวทางฝงั ไว้แสดงเป็ น
เครือ่ งหมายจราจรก็ได้ โดยวัสดุทใ่ี ช้ฝงั ควรมีความแข็งแรงเทียบเท่าวัสดุผวิ ทาง

1.6 การบํารุงรักษา
แนวทางบํารุงรักษาเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางมี ดังนี้
1) หน่ วยงานที่ดูแลรับผิดชอบงานบํารุงทางต้องหมันตรวจสอบเครื
่ ่องหมายจราจรบนพืน้ ทางให้อยู่ใน
สภาพเรียบร้อย มองเห็นง่าย และปลอดภัยต่อผูใ้ ช้ทาง ทัง้ นี้การตรวจสอบรวมถึงความสามารถด้าน
การสะท้อนแสงในเวลากลางคืนด้วย โดยหน่ วยงานจะต้องทํารายการเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง
ประเภทต่างๆในบัญชีการสํารวจความเสียหายผิวทาง (Road Maintenance Survey) หากตรวจพบ
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางทีเ่ สือ่ มสภาพหรือชํารุด
ก. ถ้ายังอยูใ่ นช่วงประกันผลงาน ให้แจ้งผูร้ บั จ้างเพือ่ ดําเนินการแก้ไขทันที
ข. ถ้าหมดอายุรบั ประกันแล้ว
- ถ้าส่งผลต่อความปลอดภัย ต้องดําเนินการแก้ไขให้อยูใ่ นสภาพทีใ่ ช้งานได้ทนั ที
- ถ้าไม่ส่งผลต่อความปลอดภัย ให้บนั ทึกความเสียหายและดําเนินการซ่อมตามแผนการ
บูรณะประจําปี
2) ให้จดั ทําเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางโดยเร็วทีส่ ุด หลังจากการก่อสร้างหรือปูผวิ ทางใหม่ เว้นแต่ใน
กรณีทเ่ี ครือ่ งหมายจราจรอาจถูกรถก่อสร้างทําให้สกปรกหรือชํารุด ให้จดั ทําแบบชัวคราวไปก่
่ อนและ
ทําการติดตัง้ แบบถาวรในภายหลัง
3) ในพื้นที่ท่ถี นนมีความสกปรกมาก หน่ วยงานที่ดูแลรับผิดชอบควรจัดแผนการทําความสะอาดถนน
เป็ นประจําด้วยการฉีดนํ้าและใช้แปรงขัด เพื่อขจัดสิง่ สกปรกทีส่ ะสมบนเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง
ซึง่ การทําความสะอาดจะช่วยให้ความสามารถการสะท้อนแสงกลับมาอีกครัง้

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [3]


บทที่ 2
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดินรถ
(Longitudinal Pavement Markings)

เครื่องหมายจราจรบนพื้นทางตามแนวทางเดินรถ คือเส้นที่ทอดไปตามทิศทางจราจรประกอบกันเป็ นช่อง


เพือ่ ให้ยวดยานแล่นไปโดยเรียบร้อยไม่สบั สน แบ่งออกเป็ น 3 กลุม่ ดังนี้
1) เส้นแบ่งทิศทางจราจร (Separation Lines)
2) เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines)
3) เส้นขอบทาง (Edge Lines)
ตารางที่ 2-1 อธิบายลักษณะของเส้นจราจรประเภทต่างๆ วิธกี ารใช้งานโดยย่อ และรูปแบบการตีเส้นจราจร
ตามแนวทางเดินรถ โดยลักษณะและความหมายทัวไปของเครื ่ อ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวเดินรถ สรุปได้ดงั นี้
1) สีเหลืองใช้สาํ หรับแบ่งทิศทางจราจร สีขาวใช้แบ่งช่องจราจรในทิศทางเดินรถด้านเดียวกัน และใช้เป็ น
เส้นขอบทางด้านนอก
2) เส้นประ (Broken Line) คือเส้นทีท่ อดไปตามความยาวของทางหลวง แต่มคี วามยาวไม่ตดิ ต่อกัน โดย
เว้นช่องระหว่างเส้นด้วยระยะตามทีก่ ําหนด เส้นประโดยความหมายทัวไปนั ่ น้ อนุ ญาตให้เปลีย่ นช่อง
จราจรหรือแซงได้เมื่อผูข้ บั ขีย่ วดยานนัน้ เห็นว่าปลอดภัย เส้นประปกติจะยาว 3 ม. เว้น 9 ม. หรือมี
สัดส่วนการตีเส้นและเว้นระยะ 1:3
3) เส้นทึบ (Solid Line) คือเส้นที่ทอดไปตามความยาวของทางหลวง โดยมีความยาวของเส้น
ต่อเนื่องกัน เส้นทึบโดยความหมายทัวไปนั่ น้ ไม่อนุญาตให้ยวดยานข้ามผ่านแนวเส้นโดยเด็ดขาด
4) เส้นประคูก่ บั เส้นทึบ เป็ นเส้นประทีว่ างคูข่ นานไปกับเส้นทึบ โดยเส้นทัง้ สองห่างกันเท่ากับความกว้าง
ของเส้น เส้นประคู่กบั เส้นทึบหมายความว่า รถทีเ่ ดินทางด้านเส้นประให้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับเส้นประ
ตามข้อ (2) ส่วนรถทีเ่ ดินทางด้านเส้นทึบให้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับเส้นทึบตามข้อ (3)
5) เส้นทึบคู่ (Double Solid Line) เป็ นเส้นทึบสองเส้นขนานกันไปตลอดความยาว โดยเส้นทัง้ สองห่าง
กันอย่างน้อยเท่ากับความกว้างของเส้น แต่ตอ้ งไม่เกินสีเ่ ท่า เส้นทึบคู่โดยความหมายทัวไปนั ่ น้ เน้น
ถึงการห้ามแซง หรือห้ามมิให้เปลีย่ นช่องจราจร
6) เส้นประกว้าง คือเส้นประที่มคี วามกว้างมากกว่าเส้นประปกติสองเท่า และกําหนดให้ยาว 2 ม. เว้น
ช่อง 4 ม. เส้นประกว้างใช้แบ่งช่องทางตรงกับทางทีเ่ ข้ามาร่วมหรือทางทีเ่ บีย่ งออกไปของการจราจร
(Merging and Diverging)
7) เส้นประถี่ คือเส้นที่มคี วามกว้างเท่ากับเส้นประปกติ แต่กําหนดให้มคี วามยาว 1 ม. เว้นช่อง 2 ม.
สลับกันไปตลอดความยาว เส้นประถีใ่ ช้แสดงช่องจราจรเมื่อผ่านทางแยกทีส่ บั สนซึง่ มีแนวของทางวิง่
เบีย่ งเบนจากปกติ หรือใช้แสดงแนวของการเลีย้ วรถ
8) ลักษณะอื่นๆ มีความหมาย และการใช้เฉพาะตามทีก่ าํ หนดในหัวข้อต่างๆ

[4] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


ตารางที่ 2-1 เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดินรถ
ลักษณะ การใช้งาน รูปแบบ
แบ่งทิศทางจราจรบนทางหลวง 2 ช่อง
เส้นประเดีย่ ว จราจร (นอกเมือง)
(เหลือง)
แบ่งทิศทางจราจรบนทางหลวง 2 ช่อง
จราจร (ในเมือง)

ห้ามแซงบนทางทีม่ ผี วิ จราจรแคบ หรือ


เส้นทึบเดีย่ ว
เป็ นเส้นขอบทางด้านในใช้แบ่งทิศทาง
(เหลือง)
จราจร
เส้นทึบคู่ ห้ามแซง หรือเป็ นเส้นแบ่งทิศทางบนถนน
(เหลือง) หลายช่องจราจรทีไ่ ม่มเี กาะกลาง

เส้นประ
คูก่ บั เส้นทึบ ห้ามแซงเฉพาะด้านทีเ่ ป็ นเส้นทึบ
(เหลือง)
เส้นประกว้าง
แบ่งช่องเดินรถประจําทาง
และถี่
(รถขับสวนทางกัน)
(เหลือง)
เส้นประกว้าง
แบ่งช่องเดินรถประจําทาง
และถี่
(รถขับทิศทางเดียวกัน)
(ขาว)
แบ่งช่องจราจร
เส้นประ (นอกเมือง)
(ขาว)
แบ่งช่องจราจร
(ในเมือง)

เส้นประกว้าง แบ่งช่องทางตรงกับทางทีเ่ ข้ามาร่วมหรือ


(ขาว) ทางทีเ่ บีย่ งออกไป

เส้นประถี่ แสดงแนวช่องเดินรถผ่านทางแยกทีส่ บั สน
(ขาว) หรือใช้แสดงแนวของการเลีย้ วรถ

เส้นทึบ ห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถ หรือเป็ นเส้นขอบ


(ขาว) ทางด้านนอก

หมายเหตุ
* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน
** ความกว้างปกติของเส้นสีเหลือง 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามตารางที ่ 2-2

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [5]


ตารางที่ 2-2 ความกว้างของเส้นทีใ่ ช้แบ่งทิศทางจราจร (หน่วยเป็ นเมตร)
(ก) บนทางหลวง 2 ช่องจราจร
ความกว้างของเส้นจราจร (ม.)
ปริ มาณจราจร (คัน/วัน) ผิวจราจรรวม 2 ทิ ศทาง ผิวจราจรรวม 2 ทิ ศทาง
กว้าง 7 ม. หรือน้ อยกว่า กว้างมากกว่า 7.00 ม.
4,000 หรือน้อยกว่า 0.10 0.10
มากกว่า 4,000 0.15 0.15
มากกว่า 8,000 0.15 0.20

(ข) บนทางหลวงหลายช่องจราจรทีไ่ ม่มเี กาะกลาง (เส้นทึบคู)่


ความกว้างและระยะห่างของเส้นจราจร (ม.)
ปริ มาณจราจร
ผิวจราจรรวม 2 ทิ ศทาง ผิวจราจรรวม 2 ทิ ศทาง ผิวจราจรรวม 2 ทิ ศทาง
(คัน/วัน)
กว้างน้ อยกว่า 14 ม. (1) กว้าง 14 ม. กว้างมากกว่า 14 ม.
มากกว่า 8,000 กว้าง 0.10 กว้าง 0.10 0.10
ระยะห่าง 0.10 ระยะห่าง 0.10 ระยะห่าง 0.10
มากกว่า 16,000 กว้าง 0.10 กว้าง 0.15 กว้าง 0.15
ระยะห่าง 0.10 ระยะห่าง 0.15 ระยะห่าง 0.15 – 0.60(2)
มากกว่า 32,000 กว้าง 0.15 กว้าง 0.20 กว้าง 0.20
ระยะห่าง 0.15 ระยะห่าง 0.20 ระยะห่าง 0.20 – 0.80(2)

(ค) บนทางหลวงหลายช่องจราจรทีม่ เี กาะกลาง (เส้นทึบเดีย่ ว)


ปริ มาณจราจร
ความกว้างของเส้นจราจร (ม.)
(คัน/วัน)
32,000 หรือน้อยกว่า 0.10
มากกว่า 32,000 0.15

หมายเหตุ 1. บริเวณย่านชุมชนทีม่ กี ารปรับปรุงเต็มเขตทางทีค่ วามกว้างของผิวจราจรรวม 2 ทิศทาง น้อยกว่า


13 ม. ให้ตเี ส้นแบ่งทิศทางจราจรแบบทางหลวง 2 ช่องจราจร
2. หากระยะห่างระหว่างเส้นแบ่งทิศทางจราจรกว้างตัง้ แต่ 0.40 ม. ขึ้นไป ให้ตเี ส้นเฉียงระหว่างเส้น
ทึบคูเ่ ป็นเกาะสี (Flush Median)

[6] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


2.1 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจร (Separation Lines)
เป็ นเส้นสีเหลือง อาจเป็ นเส้นประหรือเส้นทึบก็ได้ ใช้สาํ หรับแบ่งทิศทางการจราจรของยวดยานทีข่ บั สวนทาง
กัน โดยรถในแต่ละทิศทางต้องขับด้านซ้ายของเส้นแบ่งทิศทางจราจร ในกรณีเป็ นถนน 2 ช่องจราจร เส้นแบ่งทิศทาง
จราจรจะอยู่ท่ศี ูนย์กลางทางพอดี ในกรณีท่เี ป็ นถนนหลายช่องจราจร เส้นแบ่งทิศทางจราจรอาจจะอยู่หรือไม่อยู่ท่จี ุด
ศูนย์กลางก็ได้ ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั วิธกี ารจัดจํานวนช่องจราจรให้เหมาะสมกับสภาพการเดินรถในแต่ละพืน้ ที่ เช่น ถนนอาจมี
การเพิม่ จํานวนช่องจราจรสําหรับรถวิง่ ช้าในบริเวณทางขึน้ เขาทีม่ คี วามลาดชันมาก ทําให้มจี ํานวนช่องจราจรมากกว่า
ในทิศทางทีส่ วนกัน ถนนทางหลวงต้องมีเส้นแบ่งทิศทางจราจรเพือ่ ความปลอดภัยในการเดินทาง ทําให้ผขู้ บั ขี่
1) ทราบว่าเป็ นถนนทีร่ ถสวนทางกันได้ หรือเป็ นถนนทีเ่ ดินรถทางเดียว
2) มีเส้นจราจรอย่างน้อย 1 เส้น ใช้ในการนําทางยามคํ่าคืน
อาจยกเว้นการตีเส้นแบ่งทิศทางจราจรในกรณีทผ่ี วิ จราจรมีความกว้างน้อยกว่า 5.00 ม. เมื่อพิจารณาเห็นว่า
รถอาจขับชิดขอบทางด้านนอกมากเกินไป ซึง่ อาจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุได้
ตารางที่ 2-1 (เส้นสีเหลืองส่วนบน) แสดงมาตรฐานการตีเส้นแบ่งทิศทางจราจรสีเหลืองในลักษณะต่างๆ เช่น
เส้นประเดีย่ ว เส้นทึบเดีย่ ว เส้นทึบคู่ เส้นประคู่กบั เส้นทึบ และเส้นประกว้างและถี่ (สําหรับแบ่งช่องเดินรถประจําทาง)
โดยเส้นมีความกว้างปกติ 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามปริมาณจราจรและความกว้างผิวจราจร ดังระบุไว้ใน
ตารางที่ 2-2 ยกเว้นเส้นประกว้างและถีท่ ม่ี ขี นาดความกว้างคงที่ 0.20 ม.
เมื่อพิจารณาตามลักษณะที่ใช้ในการควบคุมการจราจรแล้ว เส้นแบ่งทิศทางจราจรสามารถแบ่งออกได้เป็ น
3 กลุม่ ดังนี้

2.1.1 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรปกติ (พบ.1)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นเส้นประสีเหลือง แสดงการแบ่งแยกการจราจรของรถที่ม ี
ทิศทางตรงกันข้าม โดยผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถทางด้านซ้ายของเส้น เว้นแต่ผขู้ บั ขีต่ อ้ งการเลีย้ วขวาหรือแซงขึน้ หน้ารถคันอื่น
ใช้แบ่งทิศทางการจราจรของยวดยานทีข่ บั สวนทางกันบนถนน 2 ช่องจราจร อนุ ญาตให้รถในแต่ละทิศทาง
สามารถขับแซงรถคันหน้าได้ เมื่อเห็นว่าทางข้างหน้าอยูใ่ นสภาพทีป่ ลอดภัยสําหรับการแซง โดยขนาดเส้นแบ่งทิศทาง
จราจรปกติเป็ น ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง ใช้เส้นยาว 3.0 ม. เว้นช่อง 9.0 ม.
2) ทางหลวงในเมือง ใช้เส้นยาว 1.0 ม. เว้นช่อง 3.0 ม.

2.1.2 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรห้ามแซง (พบ.2 – พบ.3)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบสีเหลืองเดีย่ วหรือคู่ โดยผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถทางด้าน
ซ้ายของเส้น ห้ามขับรถผ่านหรือคร่อมเส้นโดยเด็ดขาด
ใช้ในการแบ่งทิศทางการจราจรของยวดยานทีข่ บั สวนทางกัน ไม่อนุ ญาตให้รถในแต่ละทิศทางขับออกทางขวา
เพือ่ แซงรถคันหน้าเพราะมีระยะมองเห็นสําหรับการแซงน้อยกว่าระยะทีป่ ลอดภัย
เส้นทึบเดีย่ วสีเหลือง (พบ.2) ใช้เป็ นเส้นแบ่งทิศทางจราจรในบริเวณทีห่ า้ มแซงบนทางหลวง 2 ช่องจราจร ทีม่ ี
ผิวจราจรกว้างน้อยกว่า 6.00 ม. และมีปริมาณการจราจรตํ่ากว่า 500 คันต่อวัน

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [7]


เส้นทึบคู่สเี หลือง (พบ.3) ใช้เป็ นเส้นแบ่งทิศทางจราจรในบริเวณทีห่ า้ มแซงทัง้ สองทิศทางบนทางหลวง 2 ช่อง
จราจร ทีม่ คี วามกว้างของผิวจราจรตัง้ แต่ 6.00 ม. ขึน้ ไป หรือบนทางหลวงทีม่ ปี ริมาณจราจรมากกว่า 500 คันต่อวัน
สําหรับทางหลวง 2 ช่องจราจรสองทิศทาง บริเวณทีส่ มควรใช้เส้นจราจรห้ามแซง (พบ.2 – พบ.3) มีดงั นี้
1) บริเวณทางลาดชัน ทางโค้งตัง้ ทางโค้งราบ ที่มรี ะยะการมองเห็นไม่เพียงพอสําหรับการแซงอย่าง
ปลอดภัย (ตารางที่ 2-3)
2) ในระยะอย่างน้อย 30 ม. ก่อนถึงทางข้าม ทางร่วม/ทางแยก วงเวียน หรือเริม่ ต้นเกาะทางคู่ หรือทาง
รถไฟตัดผ่าน
3) ในบริเวณทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงความกว้างของทางเดินรถจาก 2 ช่องจราจร เป็ น 3 ช่องจราจรหรือ
มากกว่า
4) บริเวณย่านชุมชนทีม่ กี ารสัญจรของคนเดินเท้ามาก
5) บริเวณทีม่ สี ถิตอิ ุบตั เิ หตุสงู
สําหรับถนน 4 ช่องจราจรขึน้ ไปทีไ่ ม่ใช่ทางคู่ (Undivided Road) และไม่มเี กาะกลาง (Recess Median) ช่วย
ในการแบ่งทิศทางการเดินรถ ต้องใช้เส้นทึบคู่สเี หลือง (พบ.3) เป็ นเส้นแบ่งทิศทางจราจรตลอดความยาวถนน โดยมี
ระยะห่างระหว่างเส้นทึบทัง้ สองอย่างน้อย 1 เท่า แต่ไม่เกิน 4 เท่า ของความกว้างเส้นทึบดังกล่าว

2.1.3 เส้นแบ่งทิ ศทางจราจรห้ามแซงเฉพาะด้าน (พบ.4)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบสีเหลืองคู่กบั เส้นประสีเหลือง โดยห้ามผูข้ บั ขีร่ ถที่
อยู่ทางด้านเส้นทึบขับรถผ่านหรือคร่อมเส้นทึบโดยเด็ดขาด ส่วนผูข้ บั ขีร่ ถที่อยู่ทางด้านเส้นประ หากเห็นว่าปลอดภัย
อาจแซงขึน้ หน้ารถคันอื่น หรือข้ามเส้นดังกล่าวได้
เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซงเฉพาะด้านควรนํามาใช้ในบริเวณทางลาดชัน ทางโค้งตัง้ หรือ ทางโค้งราบ ทีม่ ี
ระยะมองเห็น (Sight Distance) น้อยกว่าระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัย (Safe Passing Sight Distance) โดย
ระยะมองเห็นบนทางโค้งราบหรือทางโค้งตัง้ คือระยะที่ไกลที่สุดที่ผู้ขบั ขีส่ ามารถมองเห็นรถที่แล่นสวนมาได้ โดยใช้
ระดับความสูงของคนขับที่ 1.15 ม.จากผิวจราจร ในขณะทีร่ ะยะมองเห็นตํ่าสุดสําหรับการแซงอย่างปลอดภัย คํานวณได้
จากความเร็วสําคัญ (Prevailing Speed) ของการจราจรทีใ่ ช้ในบริเวณนัน้ และสมมุตฐิ านความเร็วทีต่ ่างกันระหว่างรถที่
ขับแซงกับรถที่ถูกแซง รวมทัง้ การรับรูแ้ ละตัดสินใจของคนขับรถปกติ โดยความสัมพันธ์ระหว่างระยะมองเห็นตํ่าสุด
สําหรับการแซงอย่างปลอดภัยกับความเร็วสําคัญได้แสดงไว้ในตารางที่ 2-3

[8] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


ตารางที่ 2-3 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัยกับความเร็วสําคัญ
ความเร็วสําคัญ(1) ระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัย
(กม./ชม.) (ม.)
50 150
60 180
70 210
80 240
90 275
100 315
110 345
120 380
หมายเหตุ (1) ความเร็วสําคัญ (Prevailing Speed) คือความเร็วส่วนมากของยวดยานทีเ่ ปอร์เซ็นไทล์ 85 หรือ ให้ใช้
เท่ากับความเร็วออกแบบ (Design Speed) สําหรับทางทีอ่ อกแบบก่อสร้างใหม่

2.2 เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines)


เป็ นเส้นสีขาว อาจมีลกั ษณะประหรือทึบก็ได้ ใช้ควบคุมการจราจรบนท้องถนนทีม่ อี ย่างน้อย 2 ช่องจราจรใน
ทิศทางเดียวกัน เพือ่ ให้การเคลื่อนทีข่ องรถมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
ตารางที่ 2-1 (เส้น สีขาวส่วนล่า ง) แสดงมาตรฐานการตีเส้นแบ่งช่องจราจรในลักษณะต่า งๆ เช่น เส้นทึบ
เส้นประ เส้นประกว้าง เส้นประถี่ เส้นประกว้างและถี่ (สําหรับแบ่งช่องเดินรถประจําทาง) โดยเส้นทึบและเส้นประมี
ความกว้างปกติ 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ เป็ น 0.15 ม. ได้ สําหรับถนนที่มปี ริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/
วัน ส่วนเส้นประกว้าง เส้นประถี่ และเส้นประกว้างและถี่ มีขนาดคงทีด่ งั แสดงในตาราง 2-1
เมื่อพิจารณาตามลักษณะทีใ่ ช้ในการควบคุมการจราจรแล้ว เส้นแบ่งช่องจราจรสามารถแบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม
ดังนี้

2.2.1 เส้นแบ่งช่องเดิ นรถ (หรือเส้นแบ่งช่องจราจร พบ.5)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นประสีขาว แสดงการแบ่งการจราจรของรถที่มที ศิ ทาง
เดียวกันให้เป็ นช่องเดินรถ ผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถภายในช่องเดินรถ ห้ามขับรถคร่อมเส้น เว้นแต่ผขู้ บั ขีป่ ระสงค์จะเปลีย่ นช่อง
เดินรถ
ใช้ควบคุมการเคลื่อนทีข่ องรถบนถนนทีส่ ามารถขับได้หลายช่องจราจรในทิศทางเดียวกัน โดยผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถ
ให้อยู่ภายในช่องจราจร ห้ามขับคร่อมเส้น แต่สามารถเปลี่ยนไปใช้ช่องจราจรอื่นได้ เมื่อเห็นว่าปลอดภัย โดยเส้นแบ่ง
ช่องเดินรถมีขนาด ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง ใช้เส้นยาว 3.0 ม. เว้นช่อง 9.0 ม.
2) ทางหลวงในเมือง ใช้เส้นยาว 1.0 ม. เว้นช่อง 3.0 ม.

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [9]


2.2.2 เส้นแสดงความต่อเนื่ อง (Continuity Lines) หรือเส้นประกว้าง
มีลกั ษณะเป็ นเส้นประกว้างสีขาว โดยมีความกว้างเป็ น 2 - 3 เท่าของความกว้างปกติ (0.10 ม.) คือ กว้าง
0.20 - 0.30 ม. ยาว 2 ม. เว้นช่อง 4 ม. เป็ นเส้นทีแ่ สดงความต่อเนื่องของทางตรงตามแนวเส้นขอบทาง ซึง่ จะแบ่งช่อง
ทางตรงกับช่องทางที่จะเข้ามาบรรจบหรือช่องทางที่จะแยกออกไป เพื่อเตือนให้ผูข้ บั ขีเ่ พิม่ ความระมัดระวังมากขึน้ ใน
บริเวณดังกล่าว
ให้ใช้เส้นประกว้างในบริเวณช่องจราจรเร่งหรือลดความเร็ว (Acceleration or Deceleration Lane) เช่น
บริเวณทางต่อเชื่อม (Ramp) ทีม่ กี ารจราจรเข้ามารวมหรือแยกออกจากกัน (Merging - Diverging)

2.2.3 เส้นแนวช่องเดิ นรถผ่านทางแยก (เส้นประถี่ พต.5)


มีความหมายว่า เครือ่ งหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบหรือเส้นประสีขาว เพื่อแสดงแนวช่องเดินรถบริเวณ
ทางแยก ให้ผขู้ บั ขีข่ บั รถไปตามแนวช่องเดินรถ
โดยทัวไปนิ
่ ยมใช้เส้นประถี่สขี าว ซึ่งมีความถี่การตีเส้นสูงกว่าเส้นแบ่งช่องเดินรถ โดยมีความกว้าง 0.10 ม.
ยาว 1.00 ม. และเว้นช่อง 2.00 ม. ใช้ในการกํากับและแนะนําแนวทางการเดินรถผ่านทางแยกทีม่ ลี กั ษณะซับซ้อน เพื่อ
ลดความสับสนของผูข้ บั ขีข่ ณะขับเข้าบริเวณทางแยก เช่น
1) ทางแยกขนาดใหญ่ ทีอ่ นุญาตให้รถเลีย้ วซ้ายหรือเลีย้ วขวาพร้อมๆกันหลายช่องจราจร
2) ทางแยกทีแ่ นวช่องจราจรก่อนและหลังทางแยกเยือ้ งไม่ตรงกัน

2.2.4 เส้นห้ามเปลี่ยนช่องเดิ นรถ (พบ.6)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบสีขาว แสดงการแบ่งการจราจรของรถที่มที ศิ ทาง
เดียวกันให้เป็ นช่องเดินรถ ผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถภายในช่องเดินรถ ห้ามขับรถผ่านหรือคร่อมเส้นโดยเด็ดขาด
ใช้ควบคุมการเคลื่อนทีข่ องรถบนถนนทีส่ ามารถขับได้หลายช่องจราจรในทิศทางเดียวกัน โดยผูข้ บั ขีต่ อ้ งขับรถ
ให้อยูภ่ ายในช่องจราจร ห้ามขับคร่อมเส้น และห้ามเปลีย่ นช่องจราจร เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถควรนํามาใช้ในบริเวณ
1) ก่อนเข้าทางแยกหรือทางข้ามไม่น้อยกว่า 36 ม.
2) บริเวณทางลาดชัน ทางโค้งตัง้ ทางโค้งราบ ทีก่ ารเปลีย่ นช่องจราจรอาจก่อให้เกิดอันตรายได้
นอกจากนี้ เส้นทึบทีล่ ากต่อจากเส้นแสดงความต่อเนื่อง (เส้นประกว้าง) เข้าไปในบริเวณหัวเกาะทางร่วมทาง
แยก (Gore Area) ให้ใช้ความกว้างเท่ากับเส้นแสดงความต่อเนื่องซึง่ มีขนาด 0.20 – 0.30 ม.

2.2.5 เส้นแบ่งช่องเดิ นรถประจําทาง (พบ.7 – พบ.8)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นเส้นประ โดยกรณีกําหนดให้สวนทางการจราจรปกติ จะ
เป็ นเส้นประสีเหลือง กว้างและถี่ ส่วนกรณีกาํ หนดให้เป็ นทิศทางเดียวกับการจราจรปกติ จะเป็ นเส้นประสีขาว กว้างและ
ถี่ โดยมีลกู ศรสีเหลือง และอาจมีคาํ ว่า “รถโดยสารประจําทาง” หรือ “BUS” สีเหลืองประกอบด้วยในช่องเดินรถประจํา
ทาง โดยห้ามผูข้ บั ขีข่ บั รถประเภทอื่นเข้าไปในช่องเดินรถประจําทาง

[ 10 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


เส้นแบ่งช่องเดินรถประจําทางมีความกว้าง 0.20 ม. ยาว 0.60 ม. และเว้นช่อง 0.60 ม. โดยปกติควรใช้รว่ มกับ
เครือ่ งหมายลูกศรตรงไปสีเหลือง และข้อความ “BUS” สีเหลืองบนพืน้ ทาง (รูปที่ 2-1) นอกจากนี้ ควรเพิม่ ประสิทธิภาพ
การสือ่ สารกับผูใ้ ช้ทางหลวงโดยการติดตัง้ ป้ายบังคับและป้ายแนะนํา ดังนี้
1) ป้ายแนะนําเริม่ ช่องเดินรถประจําทาง (น.14) ก่อนถึงจุดเริม่ ต้นของการบังคับใช้เส้นแบ่งช่องเดินรถ
ประจําทาง เพือ่ แจ้งให้ผขู้ บั ขีท่ ราบว่าทางข้างหน้าจะมีชอ่ งเดินรถประจําทาง
2) ป้ายบังคับช่องเดินรถประจําทาง (บ.49) ณ.ตําแหน่ งเริม่ ต้นของการบังคับใช้เส้นแบ่งช่องเดินรถ
ประจําทาง เพือ่ แจ้งให้ผขู้ บั ขีท่ ราบถึงการเริม่ บังคับใช้ชอ่ งเดินรถประจําทางในทางหลวง
3) ป้ายแนะนําช่องเดินรถประจําทาง (น.15) กํากับสายทางเป็ นระยะๆ เพื่อแนะนําให้ผใู้ ช้ทางทราบว่ามี
ช่องเดินรถประจําทางร่วมอยูด่ ว้ ยในทางหลวง
4) ป้ายแนะนําสิน้ สุดช่องเดินรถประจําทาง (น.17) ณ. ตําแหน่ งสิน้ สุดการบังคับใช้เส้นแบ่งช่องเดินรถ
ประจําทาง เพือ่ แจ้งให้ผขู้ บั ขีท่ ราบว่า การบังคับใช้ชอ่ งเดินรถประจําทางได้สน้ิ สุดลงแล้ว

(ก) สวนทางกัน

(ข) ทิศทางเดียวกัน

รูปที่ 2-1 เส้นแบ่งช่องเดินรถประจําทาง (ก) สวนทางกัน (พบ.7) (ข) ทิศทางเดียวกัน (พบ.8)

2.3 เส้นขอบทาง (พต.1 – พต.4 Edge Lines)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบ หรือเส้นประสีขาว เว้นแต่เส้นขอบทางด้านติดกับ
เกาะกลางหรือฉนวนแบ่งช่องเดินรถ ให้เป็ นเส้นทึบหรือเส้นประสีเหลือง เป็ นเครื่องหมายจราจรที่แสดงแนวสุดขอบ
ทางเดินรถ

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 11 ]


ตารางที่ 2-1 แสดงมาตรฐานการตีเส้นทึบสําหรับขอบทางในตําแหน่ งต่างๆ เช่น เส้นขอบทางด้านนอกสีขาว
(พต.1) และเส้นขอบทางด้านในสีเหลือง (พต.3) โดยมีความกว้างปกติ 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ เป็ น 0.15 ม. ได้
ถ้าทางหลวงมีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน
เส้นขอบทางใช้แสดงขอบเขตของทางเดินรถหรือผิวจราจร (Carriageway) ป้องกันมิให้รถขับลํ้าเข้าไปในไหล่
ทางด้านซ้าย หรือเกาะกลางทางด้านขวา หรือพืน้ ที่อ่นื ๆซึ่งอาจออกแบบผิวทางไม่แข็งแรงเท่ากับผิวจราจร หรือพืน้ ที่
อื่นๆทีอ่ าจส่งผลต่อความปลอดภัยได้ โดยการตีเส้นขอบทางให้พจิ ารณาตามเหตุอนั ควร ดังแสดงในตารางที่ 2-4

ตารางที่ 2-4 เหตุอนั ควรในการตีเส้นขอบทาง


จํานวน ความกว้าง ปริ มาณจราจร
ช่องจราจร ผิ วจราจร เฉลี่ยต่อวัน บริ เวณที่ควรใช้เส้นขอบทาง
ทัง้ สองทิ ศทาง (เมตร) คัน/วัน
4 หรือมากกว่า ทุกขนาด ทางนอกเมือง และทางทีก่ ารจราจร
ใช้ความเร็วสูง
2 7 หรือมากกว่า 4,000 ขึน้ ไป ทางนอกเมือง และทางทีก่ ารจราจร
ใช้ความเร็วสูง
2 6 หรือมากกว่า 2,000-4,000 (1) ก่อนถึงจุดทีไ่ หล่ทางแคบลง
150 ม. เช่น ก่อนถึงสะพาน
(2) บริเวณทางแยกทีม่ ไี หล่ทางและ
ภายในระยะทาง 150 ม. จาก
ทางแยก
(3) ทางโค้งราบรัศมีน้อยกว่า 300
ม. และก่อนถึงโค้ง 150 ม.
(4) ทางเนินทีเ่ ป็ นเขตห้ามแซง
(5) บริเวณทีไ่ หล่ทางมีลกั ษณะ
เหมือนผิวจราจร
(6) บริเวณทีม่ อี ุบตั เิ หตุบอ่ ยครัง้

2.4 ตัวอย่างการใช้งานเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวทางเดิ นรถ


เพื่อความเข้าใจในการใช้งานเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางตามแนวเดินรถอย่างถูกต้อง จะยกตัวอย่างการใช้
งานใน 4 กรณีหลัก ดังนี้
1) รูปที่ 2-2 แสดงตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางคู่ (Divided Highways)
2) รูปที่ 2-3 แสดงตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางหลวงหลายช่องจราจรทีไ่ ม่ใช่ทางคู่
3) รูปที่ 2-4 แสดงตัวอย่างการใช้เส้นแนวช่องเดินรถผ่านทางแยก (เส้นประถี)่

[ 12 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


4) รูปที่ 2-5 แสดงตัวอย่างมาตรฐานการตีเส้นขอบทาง
ก. ทาง 2 ช่องจราจร
ข. ทางคู่
ค. ทางคู่ พร้อมทางขนานรถวิง่ ทางเดียว
ง. ทางคู่ พร้อมทางขนานรถวิง่ สวนทาง

รูปที่ 2-2 ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางคู่ (Divided Highways)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 13 ]


[ 14 ]
เส้นหยุดสีขาว
50 ม. 25 ม.

เส้นทึบคูส่ เี หลือง เส้นประแบ่งช่องจราจรสีขาว เส้นทึบคูส่ เี หลือง เส้นขอบทางสีขาว


ยาว 3 เมตร เว้น 9 เมตร

50 ม. 25 ม. เส้นหยุดสีขาว

3.00 (min)
3.00 (min)
2.20 (min)
3.00 (min)
3.00 (min)

รูปที่ 2-3 ตัวอย่างการตีเส้นจราจรบนทางหลวงหลายช่องจราจรทีไ่ ม่ใช่ทางคู่


เส้นทึบคูส่ เี หลือง เส้นประแบ่งช่องจราจรสีขาว เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถสีขาว เส้นขอบทางสีขาว
ยาว 3 เมตร เว้น 9 เมตร ยาวไม่น้อยกว่า 36 ม.

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 2-4 ตัวอย่างการใช้เส้นแนวช่องเดินรถผ่านทางแยก (เส้นประถี)่

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 15 ]


[ 16 ]
1. ทางสองช่องจราจร

ไหล่ทาง

ไหล่ทาง
เส้นแบ่งทิศทางจราจรสีเหลือง เส้นขอบด้านนอกทางสีขาว

2. ทางคู่
เส้นแบ่งช่องจราจรสีขาว เส้นห้ามเปลีย่ นช่องเดินรถสีขาว
ไหล่ทาง

ไหล่ดา้ นใน

รูปที่ 2-5 มาตรฐานการตีเส้นขอบทาง


Depressed median เกาะกลาง เกาะกลาง
ไหล่ดา้ นใน

ไหล่ทาง
เส้นขอบทางด้านนอกสีขาว เส้นขอบทางด้านในสีเหลือง เส้นทึบสีขาว

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 2-5 มาตรฐานการตีเส้นขอบทาง (ต่อ)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 17 ]


บทที่ 3
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามขวาง
(Transverse Pavement Markings)

เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางตามขวาง เป็ นเส้นทีว่ างขวางแนวทางเดินรถ โดยทัวไปเส้


่ นจะมีขนาดกว้างกว่า
เส้นจราจรตามแนวทางเดินรถ เพื่อชดเชยมุมมองของผู้ขบั ขี่ท่จี ะเห็นเส้นตามขวางแคบกว่าเส้นตามแนวทางเดินรถ
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางตามขวางทีน่ ิยมใช้บนทางหลวงมี 4 รูปแบบ ดังนี้
1) เส้นหยุด (Stop Line)
2) เส้นให้ทาง (Give Way Line)
3) เส้นทางข้าม (Crosswalks)
4) เส้นทแยงห้ามหยุดรถ (Junction Block Markings)

3.1 เส้นหยุด (พบ.11 Stop Line)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบสีขาว กว้าง และขวางแนวทางเดินรถ ซึง่ เมื่อมีป้าย
จราจร เครือ่ งหมายจราจร หรือสัญญาณจราจรบังคับให้หยุดรถ ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถก่อนถึงเส้นหยุด โดยไม่ล้าํ เส้นออกไป
เส้นหยุดมีความกว้าง 0.30 ถึง 0.60 ม. ขึน้ อยู่กบั ความเร็วของการจราจรก่อนถึงเส้นหยุด วางขวางแนวทาง
เดินรถใน 1 ทิศทาง ซึ่งอาจมากกว่า 1 ช่องจราจร ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถทีเ่ ส้นหยุดหรือก่อนถึงเส้นหยุดเล็กน้อย เมื่อได้รบั
สัญญาณให้ไป จึงจะสามารถขับผ่านเส้นหยุดต่อไปได้ ดังแสดงในรูปที่ 3-1 นอกจากนี้ เส้นหยุดอาจใช้ร่วมกับอุปกรณ์
ประเภทอื่นๆเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการสื่อสาร เช่น สัญญาณไฟจราจร ป้ายหยุด (บ.1) หรือเส้นทางข้าม (พบ.13)
โดยแนวทางการติดตัง้ เส้นหยุดมี ดังนี้
1) เส้นหยุดควรตัง้ ฉากกับแนวจราจร หรือขนานกับขอบทางที่ขวางหน้ า เส้นหยุดไม่ควรทํามุมกับ
แนวตัง้ ฉากเกิน 30 องศา
2) เส้นหยุดจะต้องอยู่ตรงตําแหน่ งทีต่ อ้ งการให้หยุด โดยห่างจากแนวขอบผิวจราจรของทางขวางหน้า
ไม่น้อยกว่า 1 ม. และไม่เกิน 10 ม.
3) ในกรณีทม่ี เี ส้นทางข้าม เส้นหยุดจะต้องอยู่ก่อนถึงเส้นทางข้ามประมาณ 1 ม. และขนานกับเส้นทาง
ข้ามนัน้
4) ในกรณีทใ่ี ช้เส้นหยุดประกอบกับป้ายหยุด ควรติดตัง้ ป้ายหยุดใกล้แนวเส้นหยุดเท่าทีจ่ ะทําได้

[ 18 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


เส้นหยุดสีขาว กว้าง 30–60 ซม.

(บ.2) เส้นทึบต่อเนื่องหัวเกาะสีขาว

(บ.1) เส้นให้ทางสีขาว กว้าง 30–60 ซม.


เส้นให้ทางสีขาว กว้าง 30–60 ซม. ยาว 60 ซม. เว้นระยะ 30 ซม.
ยาว 60 ซม. เว้นระยะ 30 ซม.

เส้นทึบต่อเนื่องหัวเกาะสีขาว (บ.2)

เส้นแสดงความต่อเนื่องสีขาว
(เส้นประกว้าง)

รูปที่ 3-1 มาตรฐานเส้นหยุดและเส้นให้ทาง

3.2 เส้นให้ทาง (พบ.12 Give Way Line)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นประสีขาว กว้าง และขวางแนวทางเดินรถ ให้ผขู้ บั ขีข่ บั
รถให้ชา้ ลง และให้ทางแก่รถหรือคนเดินเท้าบนทางขวางหน้าผ่านไปก่อน และเมื่อเห็นว่าปลอดภัยและไม่เป็ นการกีด
ขวางการจราจรในบริเวณนัน้ ให้ผขู้ บั ขีเ่ คลื่อนรถต่อไปได้
เส้นให้ทางมีลกั ษณะเป็ นเส้นประ ยาว 0.60 ม. เว้นช่องว่าง 0.30 ม. และมีความกว้าง 0.30 ถึง 0.60 ม. ขึน้ อยู่
กับความเร็วของการจราจรก่อนถึงเส้นให้ทางทีว่ างขวางแนวทางเดินรถใน 1 ทิศทาง ซึ่งอาจมากกว่า 1 ช่องจราจร ใน
บริเวณทางแยกปกติ หรือทางแยกทีม่ กี ารออกแบบทางเชื่อมโยง ดังแสดงในรูปที่ 3-1
เส้นให้ทาง (พบ.12) ควรใช้ร่วมกับป้ายให้ทาง (บ.2) และเครื่องหมายให้ทาง (พบ.17) เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพ
ในการสื่อสารให้ผขู้ บั ขีข่ บั ช้าลงก่อนถึงเส้นให้ทาง และรอให้รถบนทางขวางด้านหน้าผ่านไปก่อน เมื่อเห็นว่าปลอดภัย
แล้ว จึงจะเคลื่อนรถผ่านเส้นให้ทางไปได้

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 19 ]


หมายเหตุ เส้นให้ทางมีลกั ษณะค่อนข้างคล้ายกับเส้นแสดงความต่อเนื่อง (Continuity Lines หรือเส้นประ
กว้าง) ซึง่ มีความกว้าง 0.20 - 0.30 ม. ยาว 2 ม. เว้นระยะ 4 ม. เนื่องจากเส้นทัง้ สองอาจถูกนํามาใช้งานในบริเวณ
เดียวกัน ตรงทางแยกทีม่ เี กาะจัดช่องจราจร (Channelizing Island) แต่มขี อ้ แตกต่างในการใช้งานคือ เส้นแสดงความ
ต่อเนื่องจะแบ่งช่องจราจรของทางหลักและช่องจราจรเร่งความเร็วทีเ่ ข้ามาทาบต่อ ในขณะทีเ่ ส้นให้ทางจะวางขวางถนน
ทีจ่ ะเข้าสูท่ างหลัก ในกรณีทท่ี างหลักมีพน้ื ทีเ่ พียงพอและสามารถเพิม่ ช่องจราจรเร่งความเร็วสําหรับรถทีเ่ ลีย้ วออกจาก
ทางแยก ต้องเปลีย่ นเส้นให้ทางเป็ นเส้นแสดงความต่อเนื่องแทน

3.3 เส้นทางข้าม (พบ.13 – พบ.14 Crosswalks)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแถบสีขาว กว้าง และยาวหลาย ๆ แถบประกอบกันขวาง
แนวทางเดินรถ หรือเป็ นเส้นทึบสีขาวสองเส้นขนานกันขวางแนวทางเดินรถ อาจมีเส้นหยุดหรือเส้นให้ทางประกอบ ให้ผู้
ขับขีข่ บั รถให้ชา้ ลง และพร้อมจะหยุดรถได้ทนั ท่วงทีเมือ่ มีคนเดินข้ามทางข้ามนัน้ โดยไม่ล้าํ เข้าไปในเส้นหยุดหรือเส้นให้
ทาง แต่ในทางทีไ่ ม่มเี จ้าหน้าทีห่ รือสัญญาณจราจร ให้คนเดินเท้ามีสทิ ธิขา้ มทางไปก่อน และเมื่อคนเดินเท้าได้ขา้ มทาง
ไปแล้ว ให้ผขู้ บั ขีเ่ คลื่อนรถต่อไปได้
เส้นทางข้ามตามปกติกว้างไม่น้อยกว่า 2.0 ม. แต่ในกรณีทย่ี วดยานส่วนมากใช้ความเร็วเกินกว่า 60 กม./ชม.
ให้ใช้เส้นทางข้ามกว้าง 4.0 ม. หรือถ้ามีปริมาณคนเดินข้ามมากเป็ นพิเศษให้พจิ ารณาปรับความกว้างได้มากขึน้ ตาม
ดุลพินิจทางด้านวิศวกรรม เส้นทางข้ามมีขนาดมาตรฐานดังแสดงในรูปที่ 3-2 ซึง่ มีอยูด่ ว้ ยกัน 2 รูปแบบ ดังนี้
1) แบบทางม้าลาย (พบ.13) เป็ นแถบสีขาวหลายเส้นวางขนานกันคล้ายผิวม้าลาย โดยชุดทางม้าลาย
จะวางขวางแนวทางเดินรถ
2) แบบแนวคนข้าม (พบ.14) เป็ นเส้นทึบสองเส้นวางขนานกันและขวางทางเดินรถ โดยเว้นช่องว่าง
ตรงกลางสําหรับให้คนเดินข้าม ใช้บงั คับเช่นเดียวกับแบบทางม้าลาย แต่จะใช้ได้เมื่อถนนมีการติดตัง้
สัญญาณไฟกะพริบหรือการควบคุมจราจรอย่างอื่นร่วมด้วย
หลักเกณฑ์การจัดทําเส้นทางข้ามมี ดังนี้
1) โดยทัวไป ่ ให้จดั ทําเส้นทางข้ามในบริเวณทางแยกย่านชุมชน ทางแยกที่มสี ญ ั ญาณไฟจราจร หรือ
ทางเดินรถด้านทีต่ ดิ ตัง้ ป้ายหยุดไว้
2) ให้จดั ทําเส้นทางข้ามตรงตําแหน่ งที่มปี ริมาณคนข้ามทางจํานวนมาก เช่น จุดรับส่งผู้โดยสาร และ
แนวทางคนเดินทีต่ ดั กับทางจราจร
3) ไม่ควรจัดทําเส้นทางข้ามบนถนนที่มปี ริมาณจราจรน้ อยที่คนไม่ได้ขา้ มถนนตรงจุดเดียวกันมากๆ
เพราะคนเดินเท้าจะไม่ปฏิบตั ติ าม ทําให้เส้นทางข้ามสูญเสียความสําคัญไป
4) ไม่ควรจัดทําเส้นทางข้ามบนถนนทีก่ ารจราจรมีความเร็วสูง นอกจากจะมีมาตรการลดความเร็วอย่าง
ได้ผลเพือ่ ความปลอดภัย
5) การจัดทํา เส้น ทางข้า มหน้ า โรงเรีย นจะต้อ งพิจ ารณาอย่า งรอบคอบ โดยครูห รือนัก เรีย นจะต้อ ง
สามารถควบคุมการข้ามถนนของเด็กนักเรียนได้ เช่น การใช้สญ ั ญาณธง หรือการใช้อาสาสมัครใน
การควบคุมการข้ามทางในช่วงเวลาก่อนเข้าเรียนและเวลาหลังเลิกเรียน เพื่อความปลอดภัยยิง่ ขึน้
ควรติดตัง้ ป้ายเตือนโรงเรียนระวังเด็ก (ต.57) ไว้ลว่ งหน้าก่อนถึงเส้นทางข้ามด้วย
6) การจัดทําเส้นทางข้ามโดยไม่มสี ญ ั ญาณไฟจราจรหรือป้ายหยุดควบคุม ผูข้ บั ขีจ่ ะไม่คาดหมายว่ามี
เส้นทางข้าม จึงควรติดป้ายเตือนคนข้ามถนน (ต.56) ล่วงหน้าด้วย

[ 20 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 3-2 มาตรฐานเส้นทางข้ามบริเวณทางแยกและทางตรง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 21 ]


3.4 เส้นทแยงห้ามหยุดรถ (พบ.15 Junction Block Markings)
มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบสีเหลือง ลากทแยงตัดกันภายในกรอบเส้นทึบสี
เหลือง โดยห้ามมิให้ผขู้ บั ขีห่ ยุดรถภายในกรอบเส้นทแยง เว้นแต่รถทีห่ ยุดรอเพือ่ เลีย้ วขวา
กรอบสีเ่ หลีย่ มมีเส้นขอบสีเหลืองกว้าง 0.20 ม. และมีเส้นทึบสีเหลืองกว้าง 0.15 ม. ลากทแยงตัดกันภายใน ดัง
แสดงในรูป 3-3 ใช้เส้นทแยงห้ามหยุดรถเพื่อกําหนดบริเวณห้ามหยุดรถ เว้นแต่จะหยุดเพื่อรอเลีย้ วขวา นอกจากนี้เส้น
ทแยงห้ามหยุดรถยังช่วยสื่อสารให้ผขู้ บั ขีใ่ นทางตรงเพิม่ ความรอบคอบ ไม่ขบั ตามคันหน้าเมื่อสัญญาณไฟเขียวใกล้จะ
สิ้นสุดลง เพราะอาจไปหยุดรถในบริเวณเส้นทแยงห้ามหยุดรถเมื่อติดไฟแดง อันจะเป็ นการกีดขวางการเดินรถใน
ทิศทางอื่นทีไ่ ด้รบั สัญญาณไฟเขียว
ให้ใ ช้เส้นทแยงห้า มหยุด รถ ณ บริเวณทางเชื่อ มขนาดเล็ก ที่สํา คัญ ซึ่งมีป ริม าณจราจรเข้า ออกมาก และ
การจราจรบนทางตรงติดขัดกีดขวางทางเข้าออกนัน้ แต่ทงั ้ นี้การติดตัง้ จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากกรมทางหลวงที่
ดูแลพืน้ ทีน่ นั ้ ๆก่อน

รูปที่ 3-3 มาตรฐานเส้นทแยงห้ามหยุดรถ

[ 22 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


บทที่ 4
เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางอื่นๆ

นอกจากเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางตามแนวทางเดินรถและตามขวางแล้ว ยังมีเครื่องหมายจราจรบนพื้น
ทางอื่นๆทีส่ ามารถนํามาใช้เพือ่ เสริมความหมายของอุปกรณ์ควบคุมการจราจรประเภทอื่นๆ หรือช่วยในการนําทางแก่ผู้
ขับขี่ ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เครือ่ งหมายเหล่านี้ได้แก่
1) เส้นช่องจอดรถ (Parking Space Markings)
2) เขตปลอดภัย หรือเกาะสี (Island Markings)
3) ข้อความบนพืน้ ทาง (Word Markings)
4) ลูกศร (Arrow Markings)
5) ให้ทาง (Give Way Markings)
6) ช่องเดินรถมวลชน (HOV Markings)
7) เส้นชะลอความเร็ว (Transverse Rumble Strips)
8) เครือ่ งหมายบนเนินชะลอความเร็ว (Speed Hump Markings)
9) เส้นทางรถไฟผ่าน (Railway Crossing Markings)

4.1 เส้นช่องจอดรถ (พบ.20 Parking Space Markings)


มีความหมายว่า เครือ่ งหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นทึบสีขาว แสดงขอบเขตของช่องจอดรถ ผูข้ บั ขีต่ อ้ งจอด
รถภายในกรอบเส้นช่องจอดรถ ห้ามมิให้ผขู้ บั ขีจ่ อดรถคร่อมเส้น หรือทําให้สว่ นใดของรถลํ้าออกไปจากแนวทีก่ าํ หนด
เส้นช่องจอดรถใช้เพื่อให้รถจอดเรียงกันอย่างเป็ นระเบียบ มีพน้ื ทีด่ า้ นข้างเพียงพอสําหรับให้ผโู้ ดยสารเข้าหรือ
ออกจากรถได้ ในกรณีท่ีถนนมีป ริมาณจราจรสูงหรือมีค วามหนาแน่ นมาก มิค วรทําเส้นช่องจอดรถข้างทางหลวง
ดังกล่าว ควรพิจารณาจัดทําทีจ่ อดรถโดยเฉพาะ
มาตรฐานเส้นช่องจอดรถใช้เส้นทึบสีขาว กว้าง 10 ซม. อาจวางแนวเฉียงกับขอบทางโดยทํามุมไม่เกิน 60
องศา เป็ นรูปตัวทีเอียง หรือวางตัง้ ฉากเป็ นรูปตัวทีตรงก็ได้ (รูปที่ 4-1)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 23 ]


2.50

5.50

รูปที่ 4-1 เส้นช่องจอดรถ (แบบตัวทีเอียง และแบบตัวทีตรง)

4.2 เขตปลอดภัย หรือเกาะสี (พบ.18 Island Marking)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแถบ หรือเส้นทึบสีขาวหรือสีเหลืองตีทแยงกับแนวทางเดิน
รถ หรือ เป็ น ลัก ษณะก้า งปลา ล้อ มรอบด้ว ยเส้น ทึบ สีข าวหรือ สีเ หลือ ง โดยห้า มมิใ ห้ผู้ข บั ขี่ข บั ลํ้า เข้า ไปในทางที่ม ี
เครือ่ งหมายดังกล่าว
เขตปลอดภัยหรือเกาะสี จัดทําขึ้นเพื่อประโยชน์ ในการแบ่งทิศทางการจราจรและจัดช่องการเดินรถ โดยมี
วัตถุประสงค์สาํ คัญ 4 ประการ ดังนี้
1) ควบคุมทิศทางการจราจรสําหรับเลีย้ ว
2) แยกการจราจรทีส่ วนทางกัน (Cross Hatching) หรือแยกการจราจรทีว่ งิ่ ทิศทางเดียวกัน (Chevron
Hatching)
3) ให้เป็ นทีพ่ กั สําหรับคนเดินข้ามทาง
4) ป้องกันการชนหัวเกาะ หรืออุปสรรคในการเดินรถ
ในการตีเส้น ให้ใช้สเี หลืองในกรณีเกาะสีอยู่ก่ึงกลางทางเพื่อใช้แบ่งทิศทางการเดินรถ นอกนัน้ ให้ใช้สขี าว
มาตรฐานการตีเส้นเกาะสีประเภทต่างๆได้แสดงไว้ในรูปที่ 4-2 ถึง 4-6

[ 24 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 4-2 เขตปลอดภัยหรือเกาะสี (Island Marking)
หมายเหตุ
* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 25 ]


0
0.5

0.5
0
รูปที่ 4-3 มาตรฐานการตีเส้นบัง้ เฉียง (Cross Hatching)

รูปที่ 4-4 มาตรฐานการตีเส้นเกาะสี (Island Markings)


หมายเหตุ (รูปที ่ 4-3 และ รูปที ่ 4-4)
* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน
** ความกว้างปกติของเส้นสีเหลือง 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามตารางที ่ 2-2

[ 26 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


หมายเหตุ
** ความกว้างปกติของเส้นสีเหลือง 0.10 ม. แต่สามารถปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามตารางที ่ 2-2

รูปที่ 4-5 มาตรฐานการตีเส้นบัง้ เฉียงบริเวณหัวเกาะ (Cross Hatching)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 27 ]


หมายเหตุ
* ความกว้างปกติของเส้นสีขาว 0.10 ม. แต่ปรับเพิม่ เป็น 0.15 ม. ได้ ถ้ามีปริมาณจราจรมากกว่า 32,000 คัน/วัน

รูปที่ 4-6 มาตรฐานการตีเส้นบัง้ หัวเกาะ (Chevron Hatching)

[ 28 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


4.3 ข้อความบนพืน้ ทาง (Word Markings)
เป็ นข้อความสีขาวบนพืน้ ทาง ใช้บงั คับ เตือน หรือแนะนํ า ให้ผู้ขบั ขีท่ ําตามข้อความดังกล่าว โดยข้อความที่
เขียนมีลกั ษณะเป็ นตัวอักษรยืด (Elongate) ตามทิศทางการเดินรถ ทัง้ นี้เพื่อให้ผูข้ บั ขีส่ ามารถอ่านข้อความได้ในมุม
แหลมทีว่ ดั จากสายตาผูข้ บั ขีไ่ ปยังข้อความบนพืน้ ทางข้างหน้า โดยข้อความต่างๆให้ใช้ขนาดตัวอักษร ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง หรือบริเวณทีย่ วดยานส่วนมากใช้ความเร็วสูง ใช้ตวั อักษรสูง 4.50 ม.
2) ทางหลวงในเมือง หรือย่านชุมชน ใช้ตวั อักษรสูง 3.00 ม.

หลักการเขียนข้อความมี ดังนี้
1) ใช้คาํ ทีส่ นั ้ กระชับ และเข้าใจง่าย
2) ถ้าข้อความยาวเกิน 1 บรรทัด ภายใน 1 ช่องจราจร ให้แบ่งข้อความออกเป็ นคําๆ คําละหนึ่งบรรทัด
แต่ไม่เกิน 3 บรรทัด และจัดวางข้อความ ดังนี้
ก. ข้อความไม่เกิน 2 บรรทัด ให้จดั วางข้อความเหมือนการอ่านหนังสือปกติ เช่น “ขับ” อยู่
ด้านบน “ช้าๆ” อยูด่ า้ นล่าง
ข. ข้อความ 3 บรรทัด ให้เรียงตามลําดับการมองเห็นของผูข้ บั ขี่ เช่น “ลด”........“ความ”.......“เร็ว”
3) ต้องใช้แบบมาตรฐานในการเขียนข้อความบนพืน้ ทาง ซึง่ มีอยูด่ ว้ ยกัน 2 กลุม่ ดังนี้
ก. ข้อความบังคับบนพืน้ ทาง
ข. ข้อความเตือนหรือแนะนําบนพืน้ ทาง

4.3.1 ข้อความบังคับบนพืน้ ทาง (พบ.21)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นข้อความสีขาวบนพื้นทาง ให้ผู้ขบั ขีป่ ฏิบตั ติ ามข้อความ
นัน้ ๆ
ข้อความ “หยุด” (รูปที่ 4-7) ให้ใช้ประกอบกับป้ายหยุดหรือเส้นหยุดเพื่อเน้นความปลอดภัย ส่วนบนสุดของ
ข้อความจะต้องอยูห่ า่ งจากเส้นหยุดไม่น้อยกว่า 2.00 ม. และไม่เกิน 3.00 ม.
ข้อความ “ลดความเร็ว” (รูปที่ 4-8) ให้ใช้บริเวณก่อนเข้าทางแยกย่านชุมชน ประกอบป้ายเตือนทางแยกต่างๆ
(ต.11-ต.20) หรือป้ายเตือนเข้าเขตย่านชุมชนให้ลดความเร็ว
ข้อความ “ช้า ๆ” หรือ “ขับช้า ๆ” (รูปที่ 4-9) ให้ใช้บริเวณทีต่ อ้ งการให้ผขู้ บั รถผ่านบริเวณทางหลวงตอนนัน้ ขับ
ไปอย่างช้าๆ

4.3.2 ข้อความเตือนหรือแนะนําบนพืน้ ทาง (พต.9)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่แสดงอักษร ข้อความ หรือสัญลักษณ์ให้ปรากฏบนพืน้ ทาง หรืออาจใช้
ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย เพื่อให้ผู้ขบั ขี่ระมัดระวังสภาพการจราจรข้างหน้ าและปฏิบตั ิตามข้อความนัน้ ๆ ได้อย่าง
ถูกต้อง
ข้อความเตือนบนพืน้ ทาง ใช้เตือนผูข้ บั ขีใ่ นกรณีต่างๆ เช่น ข้อความ “โรงเรียน” (รูปที่ 4-10) ให้ใช้ประกอบ
ป้ายเตือนโรงเรียนระวังเด็ก (ต.57) เพือ่ ให้ผขู้ บั ขีเ่ พิม่ ความระมัดระวังก่อนจะขับผ่านโรงเรียน

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 29 ]


ข้อความบนผิวจราจรอีกประเภทหนึ่ง เป็ นชื่อจุดหมายปลายทางกํากับลงบนช่องจราจรต่อท้ายเครื่องหมาย
ลูกศร (Lane Destination Marking) เพื่อช่วยเสริมป้ายแนะนําในบริเวณทางแยกทีม่ ชี ่องจราจรหลายช่อง และสภาพ
การจราจรสับสน เพื่อให้ยวดยานสามารถแล่นตามช่องจราจรนัน้ ไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการได้ ตําแหน่ งของ
ข้อความนี้ให้อยูท่ ต่ี าํ แหน่งก่อนถึงตําแหน่งทีร่ ถติดในช่วงเวลาการจราจรคับคัง่ แต่ตอ้ งไม่ห่างมากไปจนถึงทางแยกก่อน
หน้านี้ ชื่อของจุดมุง่ หมายปลายทางควรสัน้ ทีส่ ดุ และเข้าใจง่ายทีส่ ดุ
การเขียนตัวเลขบนพืน้ ทาง ให้ใช้แบบมาตรฐานดังแสดงในรูปที่ 4-11 และใช้ความสูงของตัวเลขเช่นเดียวกับ
ตัวอักษร ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง หรือบริเวณทีย่ วดยานส่วนมากใช้ความเร็วสูง ใช้ตวั เลขสูง 4.50 ม.
2) ทางหลวงในเมือง หรือย่านชุมชน ใช้ตวั เลขสูง 3.00 ม.

[ 30 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 4-7 มาตรฐานข้อความ “หยุด” บนผิวทาง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 31 ]


รูปที่ 4-8 มาตรฐานข้อความ “ลดความเร็ว” บนผิวทาง

[ 32 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


0.30 .35 0.15
(0.20) (.23) (0.10)
0.70 (0.47)
0.30 (0.20)
0.70 (0.47)
0.40 (0.27)
0.70 (0.47)

2.80 (1.87)
4.50 (3.00)

1.00 (0.67)

0.55 .30 0.80


(0.37)(.20) (0.53)

.30 .50 0.15

ทิ ศทางจราจร
(.20) (.33) (0.10)

0.70 (0.47) 4.00 (2.67)

0.30 (0.20)
(0.10)

0.80 (0.53)
0.15

.20 .30
(.13) (.20)
0.45 (0.30)
0.20 (0.13)
0.68 (0.45)
0.50 (0.33)
0.72 (0.48)
0.40 (0.27)
2.80 (1.87) 0.70 (0.47) 4.50 (3.00)

2.00 (1.33)
1.00 (0.67)
.30 (.20)
.30 (.20)
.35 (.23)

0.55 .30 0.65 1.00 (0.67)


(0.37)(.20) (0.43)
0.15
(0.10) 0.15
(0.10)
หมายเหตุ
(1) มิตเิ ป็ นเมตร
(2) ใน (......) เป็ นขนาดเทียบกับตัวอักษรสูง 3.00 เมตร
รูปที่ 4-9 มาตรฐานข้อความ “ขับช้าๆ” บนผิวทาง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 33 ]


1.10
(0.73)

0.70 (0.47)
0.30 (0.20)
0.70 (0.47)
0.80 .55 .30
0.45 (0.30) (0.53) (.33) (.20)

0.70 (0.47)
0.30 (0.20)
0.70 (0.47)

0.80 (0.53) 11
4.50 (3.00)

1.00 (0.67)

1.00 (0.67)

0.80 .3 .65 .3 .3 .40 0.15


(0.53) (.2) (.43) (.2) (.2) (.27) (0.10)

ทิ ศทางจราจร
.15 .3 .65 .15
(.10) (.2) (.43) (.10) 4.00 (2.67)
0.50 (0.33)
.15
(.10) .15
(.10)
1.00 (0.67) .3 .3 .35 .3 .40 .15
(.2) (.2)(.23) (.2) (.27) (.10)
0.45 (0.30)

0.70 (0.47)
0.30 (0.20)
0.70 (0.47) 2.50 (1.67)

0.50 (0.33)
4.50 (3.00)

1.30 (0.87)

2.00 (1.33)
1.00 (0.67)

.3 .50 .3 .3 .80 .3 .40 .3


(.2) (.33) (.2) (.2) (.53) (.2) (.27) (.2)
0.15 0.15
(0.10) (0.10)
หมายเหตุ
(1) มิตเิ ป็ นเมตร
(2) ใน (......) เป็นขนาดเทียบกับตัวอักษรสูง 3.00 เมตร

รูปที่ 4-10 มาตรฐานข้อความ “โรงเรียน” บนผิวทาง

[ 34 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


4.50 ม.

หมายเหตุ
1. ขนาดช่องตาราง (grid size) มีความกว้าง 0.10 ม. และสูง 0.10 ม. ซึง่ จะได้ตวั เลขสูง 4.50 ม. สําหรับทาง
หลวงนอกเมือง หรือทีบ่ ริเวณซึง่ ยวดยานส่วนมากใช้ความเร็วสูง
2. สําหรับทางหลวงในเมือง ให้ยอ่ เฉพาะความสูงลงมาด้วยอัตราส่วน 2/3 ซึง่ จะได้ตวั เลขสูง 3.00 ม.
รูปที่ 4-11 มาตรฐานตัวเลขบนผิวทาง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 35 ]


4.4 ลูกศร (พบ.16 Arrow Markings)
มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นลูกศรสีขาว หรือสีเหลือง เพื่อแสดงทิศทางการจราจรให้รถ
ตรงไป เลีย้ วซ้าย เลีย้ วขวา ย้อนกลับหรือร่วมกัน เมื่อปรากฏอยูใ่ นช่องเดินรถใด ให้ผขู้ บั ขีท่ อ่ี ยูใ่ นช่องเดินรถต้องปฏิบตั ิ
ตามเครือ่ งหมายนัน้
เครื่องหมายลูกศรโดยทัวไปใช้
่ สขี าว (ยกเว้นลูกศรนําหน้าคําว่า “BUS” ทีเ่ ป็ นสีเหลือง) ลูกศรทําหน้าทีส่ ่อื สาร
ทิศทางการเคลื่อนที่ของรถบริเวณทางแยก เช่น ตรงไป เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา หรือได้ทงั ้ สองทิศทาง เช่น ตรงไปหรือ
เลี้ยวขวา เป็ นต้น โดยขนาดและมิตขิ องลูกศรได้แสดงไว้ในรูปที่ 4-12 เครื่องหมายลูกศรใช้กํากับช่องจราจรบริเวณ
ก่อนเข้าทางแยกทีม่ หี ลายช่องจราจร ทําให้ผขู้ บั รถสามารถเข้าช่องจราจรในทิศทางทีต่ อ้ งการเดินทางได้ถูกต้องและไม่
สับสน และผูข้ บั รถทีอ่ ยูใ่ นช่องจราจรทีม่ ลี ูกศรแสดงทิศทางใดจะต้องบังคับรถให้เคลื่อนทีไ่ ปในทิศทางนัน้ โดยปกติควร
ใช้เครื่องหมายลูกศร 2 ถึง 3 ตําแหน่ ง ต่อเนื่องกันในแต่ละช่องจราจร มาตรฐานการจัดตําแหน่ งเครื่องหมายลูกศร
เป็ นไปตามรูปที่ 4-13 โดยที่
1) ลูกศร 1 อัน แสดงทิศทางจราจรได้ไม่เกิน 2 ทิศทาง เช่น เลีย้ วขวา หรือ ตรงไปหรือเลีย้ วซ้าย
2) ลูกศรแรก ควรอยูห่ า่ งจากเส้นหยุดหรือแนวของทางขวางหน้า 15 - 25 ม.
3) ลูกศรทีส่ อง ควรห่างจากลูกศรแรก 25 ม.
4) ลูกศรทีส่ าม (ถ้ามี) ควรห่างจากลูกศรทีส่ อง 50 ม.
5) บนทางหลวงทีย่ วดยานใช้ความเร็วสูง ให้เพิม่ ระยะห่างระหว่างลูกศรได้อกี 50%
6) การใช้ลูกศรต้องสอดคล้องกับปริมาณจราจรในแต่ละทิศทาง เช่น กรณีทางเข้าแยกมีเพียง 2 ช่อง
จราจร และมีปริมาณรถเลี้ยวขวาสูงมาก ให้ใช้ลูกศรเลี้ยวขวาในช่องที่ติดเกาะกลางหรือเส้นแบ่ง
ทิศทางจราจร และใช้ลกู ศรตรงไปหรือเลีย้ วซ้ายในช่องทีเ่ หลือด้านซ้าย
7) การใช้ลูกศรต้องสอดคล้องกับสัญญาณไฟจราจร เช่น ถ้าบริเวณทางแยกมีการใช้ลูกศรตรงไปหรือ
เลีย้ วขวา สัญญาณไฟจราจรในทิศทางตรงไปและเลีย้ วขวาต้องเปิดพร้อมกัน
กรณีถนนทางตรงทีม่ ที างเบีย่ งให้เข้าช่องจราจรลดความเร็ว (Deceleration Lane) จะใช้เครื่องหมายลูกศรยาว
สีขาว ซึ่งประกอบไปด้วยลูกศรตรงไปและเบี่ยงออกซ้ายหรือขวา (รูปที่ 4-14) โดยให้ใช้ลูกศรยาวแสดงตําแหน่ งของ
จุดเริม่ ต้นของช่องจราจรลดความเร็วเพื่อเป็ นการนํ าทางให้ยวดยานเข้าสู่ช่องจราจรลดความเร็วได้เต็มระยะทางที่
ออกแบบไว้ (รูปที่ 4-15) ซึง่ รถจะสามารถผ่อนชะลอความเร็วได้อย่างสบาย และไม่เป็ นการกีดขวางรถทางตรงทีจ่ ะขับ
เลยทางแยกออกไป โดยลูกศรยาวมี 2 ขนาด และมีการใช้งาน ดังนี้
1) ทางคู่ (Divided Highway) ทีร่ ถใช้ความเร็วสูง ให้ใช้ลกู ศรยาว ขนาด 20 ม.
2) ทางหลวงทัวไป ่ ใช้ลกู ศรยาว ขนาด 10 ม.
นอกจากนี้ยงั มีลกู ศรประเภทอื่นทีส่ ามารถใช้ควบคุมการจราจรให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ลูกศรกลับ
รถ (U-Turn) ใช้บอกช่องทางทีส่ ามารถเลีย้ วกลับรถได้ และลูกศรเบีย่ งเข้า (Merging Arrow) ซึง่ โดยทัวไปจะใช้ ่ ในกรณี
ทีม่ กี ารลดจํานวนช่องจราจรบนทางหลวงทีย่ วดยานใช้ความเร็วตัง้ แต่ 70 กม./ชม. ขึน้ ไป แต่จะไม่ใช้กบั ช่องจราจรเร่ง
ความเร็ว (Acceleration Lane) ซึ่งมีความเร็วตํ่ากว่า 70 กม/ชม ในกรณีช่องจราจรเร่งความเร็วมีระยะทางยาวและมี
ความเร็วตัง้ แต่กว่า 70 กม./ชม ขึน้ ไป การใช้เครื่องหมายลูกศรทางเบีย่ งขึน้ อยูก่ บั ดุลพินิจทางด้านวิศวกรรม โดยขนาด
และมิตขิ องลูกศรกลับรถและลูกศรทางเบีย่ งได้แสดงไว้ในรูปที่ 4-16

[ 36 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


เครื่อ งหมายลูก ศรตรงไปและข้อความ “BUS” สีเหลือง ที่ใ ช้ร่วมกับ เส้น แบ่ ง ช่อ งเดิน รถประจํา ทาง
(พบ.7 – พบ.8) ได้แสดงไว้ในรูปที่ 4-17 โดยมีหลักการใช้ ดังนี้
1) ทางหลวงนอกเมือง หรือบริเวณทีย่ วดยานส่วนมากใช้ความเร็วสูง ให้ใช้ขอ้ ความ “BUS” สูง 4.50 ม.
ลูกศรตรงไปสูง 5.00 ม. ระยะห่างระหว่างข้อความ “BUS” และลูกศรตรงไป เท่ากับ 4.00 ม.
2) ทางหลวงในเมือง หรือย่านชุมชน ให้ใช้ขอ้ ความ “BUS” สูง 3.00 ม. ลูกศรตรงไปสูง 3.60 ม.
ระยะห่างระหว่างข้อความ “BUS” และลูกศรตรงไป เท่ากับ 2.67 ม.

รูปที่ 4-12 แบบมาตรฐานเครือ่ งหมายลูกศรบนผิวทาง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 37 ]


รูปที่ 4-13 มาตรฐานตําแหน่งลูกศรบนช่องจราจรก่อนถึงทางแยก

[ 38 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 4-14 เครือ่ งหมายลูกศรยาว

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 39 ]


รูปที่ 4-15 ตําแหน่งการติดตัง้ เครือ่ งหมายลูกศรยาวทีจ่ ุดเริม่ ต้นช่องจราจรลดความเร็ว

[ 40 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


170 80
85 85 80
30 1530

170
100
60

70
20

530
500

508
230
205

EDGE OF PAVEMENT
20๐

100
60
115

45๐

130
50
15 110 75 60
200 160 50

มิตเิ ป็ นเซนติเมตร

รูปที่ 4-16 เครือ่ งหมายลูกศร “กลับรถ” และ ”เบีย่ งเข้า”

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 41 ]


รูปที่ 4-17 เครือ่ งหมายลูกศรตรงไปและข้อความ “BUS”

[ 42 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


4.5 ให้ทาง (พบ.17 Give Way Markings)
มีความหมายว่า เครือ่ งหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นรูปสามเหลีย่ มสีขาว มุมแหลมชีส้ วนทิศทางการจราจร โดย
แสดงหรือทําให้ปรากฏบนพืน้ ทางประกอบเส้นให้ทาง ให้ผขู้ บั ขีข่ บั รถให้ชา้ ลง หากเห็นว่าจะไม่ปลอดภัยต่อรถคันอื่น
หรือคนเดินเท้าในทางขวางหน้า หรือเป็ นการกีดขวางการจราจร ผูข้ บั ขีต่ อ้ งหยุดรถก่อนถึงเส้นให้ทาง
ขนาดเครือ่ งหมาย “ให้ทาง” (รูปที่ 4-18) ขึน้ อยูก่ บั ความเร็วสําคัญของถนน ดังนี้
1) น้อยกว่า 70 กม./ชม. ใช้เครือ่ งหมาย “ให้ทาง” สูง 4.0 ม.
2) ตัง้ แต่ 70 กม./ชม. ขึน้ ไป ใช้เครือ่ งหมาย “ให้ทาง” สูง 6.0 ม.

รูปที่ 4-18 เครือ่ งหมาย “ให้ทาง”

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 43 ]


4.6 ช่องเดิ นรถมวลชน (พบ.19 High-Occupancy Vehicle (HOV) Marking)
มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปี ยกปูนสีขาว ซึง่ ภายในรูปสีเ่ หลีย่ มขนม
เปี ยกปูน อาจมีตวั เลขแสดงจํานวนขัน้ ตํ่าของคนบนรถ โดยแสดงหรือทําให้ปรากฏบนพื้นทาง เป็ นช่องเดินรถที่ม ี
เครือ่ งหมายสําหรับรถตามชนิดหรือประเภททีก่ าํ หนด หรือรถทีม่ จี าํ นวนคนบนรถไม่น้อยกว่าตัวเลขทีก่ าํ หนด
ช่องเดินรถมวลชน (รูปที่ 4-19) มีขนาดกว้าง 1.80 ม. ยาว 4.00 ม. หนา 0.15 ม. อาจมีตวั เลขทีก่ ่งึ กลางเพื่อ
ระบุจํานวนขัน้ ตํ่าของผูร้ ่วมเดินทางทีอ่ นุ ญาตให้รถคันดังกล่าวใช้ช่องเดินรถมวลชนได้ นอกจากนี้อาจติดตัง้ ป้ายแสดง
ช่องเดินรถมวลชน (น.18) ไว้ขา้ งทางด้วยเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการสือ่ สารกับผูข้ บั ขี่

รูปที่ 4-19 ช่องเดินรถมวลชน

4.7 เส้นชะลอความเร็ว (พต.6 Transverse Rumble Strips)


มีความหมายว่า เครือ่ งหมายจราจรทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเส้นหลายๆเส้น ขวางช่องเดินรถ ให้ผขู้ บั ขีข่ บั รถให้ชา้ ลง
เมื่อขับผ่านกลุ่มเส้นชะลอความเร็ว รถจะเกิดอาการสันและมี
่ เสียงสะเทือนเกิดขึน้ ทําให้ผขู้ บั ขีต่ ่นื ตัวและเพิม่
ความระมัดระวังเป็ นพิเศษ
วิธกี ารตีเส้นชะลอความเร็วที่นิยมใช้ในเมืองไทย คือ วิธปี าดลาก (Screed Method) ทําโดยการหลอมวัสดุ
เทอร์โมพลาสติกให้เป็ นเนื้อเดียวกัน และตีเป็ นเส้นตามขวาง กว้าง 10 หรือ 15 ซม. หนา 5 – 7 มม. ยาวอย่างน้อย
2.50 ม. โดยแต่ละเส้นวางห่างกัน 0.40- 0.80 ม. ในหนึ่งชุดจะมีเส้นชะลอความเร็วประมาณ 6 – 10 เส้น (ดังตัวอย่าง
การตีเส้นในรูปที่ 4-20) โดยจํานวนเส้น รายละเอียดด้านรูปแบบ ระยะห่างระหว่างเส้น และระยะห่างระหว่างชุด ขึน้ อยู่
กับความเร็วในการออกแบบ และวัตถุประสงค์ของการติดตัง้

[ 44 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


ควรพิจารณาติดตัง้ เส้นชะลอความเร็วในบริเวณก่อนเข้าสู่พน้ื ทีท่ ่จี ําเป็ นต้องลดความเร็ว ซึ่งการใช้ป้ายเตือน
เพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อความปลอดภัย และเป็ นบริเวณทีม่ สี ถิตอิ ุบตั เิ หตุอนั เกี่ยวเนื่องจากความเร็วหรือเกิด
จากการหลับในบ่อยครัง้ ตัวอย่างของบริเวณดังกล่าว ได้แก่ จุดตัดทางรถไฟระดับราบ (At Grade) โค้งอันตราย เป็ น
ต้น โดยมีขอ้ แนะนําในการติดตัง้ ดังนี้
1) ควรคํานึงถึงระดับเสียงทีเ่ กิดจากการสันสะเทื่ อนของรถทีว่ งิ่ ผ่านเส้นชะลอความเร็ว ซึ่งอาจรบกวน
พืน้ ทีโ่ ดยรอบ เช่น ทีพ่ กั อาศัย สถานศึกษา วัด โรงพยาบาล
2) ควรใช้ควบคูก่ บั ป้ายเตือนเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการสือ่ สารให้ผขู้ บั ขีเ่ พิม่ ความระมัดระวังและชะลอ
ความเร็วลง

40-50ม. 40-50ม. 100ม. 40-50ม. 40-50ม. 60-100ม.

4.00 ม.

40-80 10-15 ซม.


ซม.

10-15 ซม. 5-7มม. 40-80 ซม.

รูปที่ 4-20 ตัวอย่างการตีเส้นชะลอความเร็ว

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 45 ]


4.8 เครื่องหมายเตือนเนิ นชะลอความเร็ว (Speed Hump Markings)
เป็ นเครื่องหมายรูปสามเหลี่ยมสีขาวซ้อนกัน 2 รูป บนเนินชะลอความเร็ว มีหน้ าที่เตือนผู้ขบั ขีใ่ ห้ลดความ
ความเร็วลงก่อนถึงเนินชะลอความเร็ว ใช้ควบคุมความเร็วของรถในบริเวณย่านชุมชน ในการใช้งาน ต้องติดตัง้ ป้าย
เตือนรถกระโดด (ต.35) ไว้ลว่ งหน้า และอาจติดเพิม่ อีก 1 จุด ทีเ่ นินชะลอความเร็ว
เครือ่ งหมายเตือนเนินชะลอความเร็ว (Speed Hump Marking) มีความกว้างของฐานสามเหลีย่ ม 1.80 ม. และ
มีความสูง 1.80 ม. โดยเส้นของสามเหลีย่ มแต่ละชัน้ หนา 0.30 ม.
เนินชะลอความเร็ว (Speed Hump) มีความกว้างเท่ากับความกว้างผิวจราจร มีความสูงของเนินระหว่าง
7.5 – 10.0 ซม. ส่วนขนาดตามแนวทางเดินรถขึน้ อยูก่ บั ประเภทของเนินชะลอความเร็วดังแสดงในรูปที่ 4-21 ดังนี้
1) ขนาด 3.60 ม. สําหรับ เนินชะลอความเร็วแบบปกติ (ไม่มคี นข้าม)
2) ขนาด 6.60 ม. สําหรับ เนินชะลอความเร็วแบบทางคนข้าม
โดยปกติไม่ควรติดตัง้ เนินชะลอความเร็วบนทางหลวงหรือถนนทัวไป ่ แต่อาจพิจารณาติดตัง้ บนถนนภายใน
หมูบ่ า้ นจัดสรร เขตโรงพยาบาล เขตมหาวิทยาลัย หรือพืน้ ทีเ่ ฉพาะ

รูปที่ 4-21 เครือ่ งหมายเตือนเนินชะลอความเร็ว

[ 46 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


4.9 เส้นทางรถไฟผ่าน (พต.7 Railway Crossing Markings)
มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นกากบาทสีขาว ลากทแยงตัดกัน และมีอกั ษรโรมัน RR
ประกอบ เป็ นเครือ่ งหมายจราจรทีแ่ สดงว่าทางข้างหน้ามีทางรถไฟตัดผ่าน ให้ผขู้ บั ขีข่ บั รถให้ชา้ ลง
เครื่องหมายกากบาทมีขนาดกว้าง 2.40 ม. สูง 6.0 ม. และหนา 0.5 ม. ตัวอักษร R สูง 5.0 ม. ในการใช้งาน
ให้ใช้ป้ายเตือนทางรถไฟตัดผ่าน ป้ายเตือนสิง่ กีดขวาง ตีเส้นห้ามแซง และติดตัง้ เครื่องหมาย “เส้นทางรถไฟผ่าน” ดัง
แสดงในรูปที่ 4-22

รูปที่ 4-22 เครือ่ งหมาย “เส้นทางรถไฟผ่าน”

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 47 ]


บทที่ 5
การใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางเฉพาะบริเวณ

บทที่ 1 ถึง 4 ได้อธิบายการใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทต่างๆ และในบทที่ 5 นี้ จะกล่าวถึงการใช้


เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางเฉพาะบริเวณซึง่ มีอยูด่ ว้ ยกัน 4 กรณี ดังนี้
1) เขตห้ามแซง (No Passing Zone)
2) เขตเปลีย่ นแปลงจํานวนช่องจราจร (Lane Transition Zone)
3) บริเวณจุดกลับรถ (U-turn) และช่องเปิดเกาะกลาง (Median Opening)
4) บริเวณทางเชื่อมโยงชุมทางต่างระดับ (Interchange Ramp Control)

5.1 เขตห้ามแซง (No Passing Zone)


คือระยะทางตามยาวบนทางหลวงตอนใดตอนหนึ่งที่ได้ตรวจสอบสภาพและลักษณะทางวิศวกรรมจราจรแล้ว
เห็นว่าการแซงอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น
1) บริเวณทางแคบ สะพานแคบ ทางโค้ง ทางแยก
2) บริเวณทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงจํานวนช่องจราจร
3) บริเวณทีม่ วี ตั ถุกดี ขวางบนผิวจราจรและต้องการให้รถทุกคันวิง่ ไปทางซ้ายของวัตถุทก่ี ดี ขวางนัน้
4) บริเวณทีม่ ที างรถไฟตัดผ่านทางหลวงในระดับเดียวกัน
การห้ามแซงบนถนน 2 ช่องการจราจรเฉพาะทิศทางใดทางหนึ่ง ให้ใช้เส้นทึบคู่กบั เส้นประสีเหลือง ถ้าต้องการ
ห้ามแซงทัง้ สองทิศทาง ให้ใช้เส้นทึบเดีย่ วสีเหลือง หรือเส้นทึบคูส่ เี หลือง ตามวิธกี ารใช้งานทีก่ ล่าวไว้แล้วในหัวข้อ 2.1.2
นอกจากนี้ อาจพิจารณาติดตัง้ ป้ายห้ามแซง (บ.4) ที่จุดเริม่ ต้นทัง้ สองข้างของเขตห้ามแซง เพื่อเพิม่
ประสิทธิภาพในการสือ่ สาร ส่วนการใช้ป้ายเตือนเขตห้ามแซง (ต.61) ให้พจิ ารณาใช้ในบริเวณทีม่ คี วามจําเป็ นเท่านัน้
เส้นห้ามแซงบริเวณทางโค้งราบหรือทางโค้งตัง้ ให้พจิ ารณาใช้เมื่อระยะมองเห็น (Sight Distance) ในภูม ิ
ประเทศน้อยกว่าระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัย (Safe Passing Sight Distance)
ระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัยบนทางโค้งราบหรือทางโค้งตัง้ คือระยะไกลทีส่ ดุ ทีผ่ ขู้ บั รถสามารถมองเห็น
รถทีแ่ ล่นสวนทางมา ในการคํานวณหาระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัยให้ใช้ความสูงของระดับตา 1.15 เมตร จากผิว
จราจรทีก่ ง่ึ กลางทางทัง้ ของผูข้ บั รถและรถทีแ่ ล่นสวนทาง
มาตรฐานการตีเส้นห้ามแซงและวิธกี ารกําหนดระยะของเส้นห้ามแซงบริเวณทางโค้งราบและทางโค้งตัง้ ได้
แสดงไว้ในรูปที่ 5-1 และ 5-2 ตามลําดับ ซึง่ ทัง้ สองมีขนั ้ ตอนทีเ่ หมือนกัน ดังนี้
1) หาความเร็ว สํา คัญ ของช่ ว งถนนที่พิจ ารณา ซึ่ง อาจเป็ น ความเร็ว ส่ว นมากที่เ ปอร์เ ซ็น ไทล์ 85
(85 Percentile Speed) หรืออาจเป็ นความเร็วออกแบบ (Design Speed) สําหรับทางทีอ่ อกแบบ
ก่อสร้างใหม่
2) กําหนดระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัยจากความเร็วสําคัญโดยใช้ตารางที่ 2-3 ในหัวข้อ 2.1.3

[ 48 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


3) เตรียมเครือ่ งมือ ดังแสดงในรูปที่ 5-3 ซึง่ ประกอบไปด้วย
ก. หลักเป้า 2 ตัว
ข. เชือก 1 เส้น
ค. เทปวัดระยะ 1 ตลับ
ง. ดินสอสีเคลยอง 2 อัน (หรือสีสเปรย์ 2 กระป๋อง)
4) ดึงเชือกระหว่างหลักเป้าทัง้ สองให้ตงึ (เส้น A) และเท่ากับระยะมองเห็นแซงได้อย่างปลอดภัย
5) ให้คนถือเป้าทัง้ สองเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา โดยให้จุดหัวท้ายอยู่บนเส้นแบ่งทิศทางจราจรทัง้ สอง
ด้าน ระดับความสูงของเป้าเท่ากับระดับสายตาของผูข้ บั ขีท่ ่ี 1.15 ม. ถ้าเริม่ มองไม่เห็นเป้าหรือถูกบด
บังด้วยอุปสรรค ให้ใช้ดนิ สอสีเคลยองทําเครื่องหมาย a ทีท่ า้ ยเส้น A ซึง่ จะเป็ นตําแหน่งเริม่ ต้นของ
เขตห้ามแซง
6) ทําการเคลื่อนต่อไปเรื่อยๆทางขวา เมื่อจุดหัวท้ายเริม่ มองเห็นกันอีกครัง้ ให้ใช้ดนิ สอสีเคลยองทํา
เครือ่ งหมาย b ทีท่ า้ ยเส้น A ซึง่ จะเป็ นตําแหน่งสิน้ สุดเขตห้ามแซง
7) ใช้เทปวัดระยะการตีเส้นห้ามแซงตัง้ แต่ตาํ แหน่ง a ถึง b
8) ในทํานองเดียวกัน ให้เคลื่อนทีเ่ ส้น A จากขวาไปซ้าย และดําเนินการตามข้อ 4 - 7 โดยใช้สญ ั ลักษณ์
a’ สําหรับตําแหน่งเริม่ ต้นของเขตห้ามแซง และ b’ สําหรับตําแหน่งสิน้ สุดเขตห้ามแซง และวัดระยะ
การตีเส้นห้ามแซง a’ ถึง b’
9) พิจารณาระยะห้ามแซง (a-b หรือ a’-b’)
ก. ถ้าระยะห้ามแซงน้อยกว่า 25 ม. ไม่ตอ้ งตีเส้นห้ามแซง
ข. ถ้าระยะห้ามแซงมากกว่า 25 ม. แต่น้อยกว่า 150 ม. ให้ตเี ส้นห้ามแซงยาว 150 ม.
ค. ถ้าระยะห้ามแซงเกิน 150 ม. ให้ตเี ส้นห้ามแซงตามระยะทีว่ ดั ได้จริง
ง. ในกรณีท่เี ส้นห้ามแซง 2 ช่วงอยู่ใกล้กนั ถ้าจุดปลายของเขตห้ามแซงทัง้ สองอยู่ห่างกันน้อย
กว่า 125 ม. ให้ตเี ส้นห้ามแซงทัง้ 2 ช่วงติดต่อกันไป

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 49 ]


รูปที่ 5-1 มาตรฐานการตีเส้นห้ามแซงบริเวณโค้งราบ

[ 50 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


b' b
E E
B B
a a'
E E
PROFILE
C
D
(บ.4) (ต.61)

PLAN
(ต.61) หมายเหตุ (บ.4)
A = ระยะมองเห็นต่ําสุดสําหรับการแซงอย่างปลอดภัย (ดูตารางที่ 2-3)
B = แนวสายตา
C = บริเวณห้ามแซง a ถึง b
D = บริเวณห้ามแซง a' ถึง b'
E = 1.15 ม.
a,a' = จุดเริ่มต้นบริเวณห้ามแซง
b,b' = จุดปลายบริเวณห้ามแซง

รูปที่ 5-2 มาตรฐานการตีเส้นห้ามแซงบริเวณโค้งตัง้


20 ซม.

115 ซม.

รูปที่ 5-3 การใช้อุปกรณ์ในการกําหนดเขตห้ามแซง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 51 ]


5.2 เขตเปลี่ยนแปลงจํานวนช่องจราจร (Lane Transition Zone)
เป็ นบริเวณทีถ่ นนมีการเปลีย่ นแปลงจํานวนช่องจราจร จําเป็ นต้องตีเส้นห้ามแซงทีก่ ่งึ กลางทาง เพื่อห้ามมิให้
รถขับแซงขึน้ หน้ากันตลอดระยะทางในการสอบเข้า (Transition Taper Length, Lt) จากผิวจราจรทีก่ ว้างไปยังผิวจราจร
ทีแ่ คบลง ซึง่ สามารถคํานวณได้จากสูตร

Lt = 0.0065WS2 สําหรับความเร็ว น้อยกว่า 70 กม./ชม.


Lt = 0.62WS สําหรับความเร็ว ตัง้ แต่ 70 กม./ชม. ขึน้ ไป

โดยที่
Lt = ระยะทางตามยาวทีใ่ ช้ในการสอบเข้าจากผิวทางทีก่ ว้างไปยังผิวทางทีแ่ คบ (ม.)
W = ระยะเยือ้ งตามขวางของ Lt ทีท่ าํ ให้ผวิ ทางแคบลง (ม.)
S = ความเร็วสําคัญ (กม./ชม.) หรือความเร็วออกแบบ (เลือกค่าทีม่ ากทีส่ ดุ )
นอกจากนี้ ต้องติดตัง้ ป้ายเตือนทางแคบ (ต.23-ต.24) ทีร่ ะยะ 200 ถึง 250 ม. ก่อนถึงจุดทีค่ วามกว้างของผิว
จราจรเริม่ ลดลง ตีเส้นขอบทางตัง้ แต่จุดทีต่ ดิ ตัง้ ป้ายเตือนถึงจุดทีเ่ ลยตําแหน่งทีค่ วามกว้างของผิวจราจรลดลงไปอีก 50
เมตร ทําเครือ่ งหมายลูกศรเบีย่ งเข้า 3 อัน ระหว่างป้ายเตือนทางแคบถึงจุดทีค่ วามกว้างของผิวจราจรเริม่ ลดลง โดยวาง
ลูกศรให้ห่างเท่าๆกัน ติดตัง้ ราวกันอันตราย และหลักนํ าทาง หรือเป้าสะท้อนแสงทุกระยะ 6 ม. ในทิศทางที่ผวิ จราจร
แคบลง ดังตัวอย่างในรูปที่ 5-4

[ 52 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รูปที่ 5-4 มาตรฐานการใช้เครือ่ งหมายจราจรลดจํานวนช่องจราจร

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 53 ]


รูปที่ 5-4 มาตรฐานการใช้เครือ่ งหมายจราจรลดจํานวนช่องจราจร (ต่อ)

[ 54 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


5.3 บริ เวณจุดกลับรถ (U-Turn) และช่องเปิ ดเกาะกลาง (Median Opening)
บริเวณจุดกลับรถและช่องเปิ ดเกาะกลางเป็ นจุดอันตรายบนทางหลวงที่รถส่วนใหญ่ใช้ความเร็วสูง เนื่องจาก
เป็ นบริเวณที่อาจมีรถชะลอตัวเพื่อเตรียมเลี้ยวกลับ ซึ่งเป็ นการกีดขวางรถที่วิ่งทางตรง ดังนัน้ จําเป็ นต้องมีการใช้
เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางและป้ายจราจรบางประเภทเพื่อช่วยควบคุมการเคลื่อนที่ของรถในบริเวณดังกล่าวให้ม ี
ประสิทธิภาพและปลอดภัยมากขึ้น หรือแม้กระทังใช้ ่ สญ
ั ญาณไฟจราจร เช่น ไฟกะพริบ เพิม่ เติม ในบริเวณที่มสี ถิติ
อุบตั เิ หตุบ่อยครัง้ รูปที่ 5-5 และ 5-6 แสดงมาตรฐานการตัง้ ติดเครื่องหมายจราจรบริเวณจุดกลับรถและบริเวณช่องเปิ ด
เกาะกลางตามลําดับ (บ.6)

(น.11)

(ต.50)
รูปที่ 5-5 มาตรฐานการติดตัง้ เครือ่ งหมายจราจรบริเวณจุดกลับรถ (U-Turn)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 55 ]


รูปที่ 5-6 มาตรฐานการติดตัง้ เครือ่ งหมายจราจรบริเวณช่องเปิดเกาะกลาง (Median Opening)

[ 56 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


5.4 บริ เวณทางเชื่อมโยงชุมทางต่างระดับ (Interchange Ramp Control)
เครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทางประเภทต่างๆอาจนํามาใช้ทจ่ี ุดแยก ณ บริเวณทางเชื่อมโยงออก (Exit Ramp)
และทางเชื่อมโยงเข้า (Entrance Ramp) ของชุมทางต่างระดับ เพื่อใช้ควบคุมทิศทางของการจราจรทีเ่ ข้าสูห่ รือออกจาก
ทางหลวงทีต่ ดั กันด้วยมุมทีเ่ หมาะสม โดยให้จุดแยกอยูห่ ่างจากหัวเกาะด้วยระยะเพียงพอทีจ่ ะเตือนผูข้ บั ขีใ่ ห้ระมัดระวัง
มิให้ชนสันขอบทาง หรือออกนอกผิวจราจร โดยรูปที่ 5-7 และ 5-8 แสดงมาตรฐานการตีเส้นบนทางแยกระดับเดียวกัน
(At Grade Intersection)

รูปที่ 5-7 มาตรฐานการใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางเชื่อมโยงออก (Exit Ramps)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 57 ]


รูปที่ 5-8 มาตรฐานการใช้เครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางบริเวณทางเชื่อมโยงเข้า (Entrance Ramps)

[ 58 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


บทที่ 6
เครือ่ งหมายจราจรบนสันขอบทาง
(Curb Markings)
เครื่องหมายจราจรบนสันขอบทางมีลกั ษณะเป็ นแถบสีต่างๆสลับกับสีขาวบนสันขอบทาง (Curb) ดังแสดงใน
รูปที่ 6-1 โดยแต่ละแถบสี (รวมทัง้ สีขาวด้วย) มีความกว้างแถบละ 30 ซม. สําหรับทางหลวงในเมือง และ 60 ซม.
สําหรับทางหลวงนอกเมือง

รูปที่ 6-1 เครือ่ งหมายจราจรบนสันขอบทาง

6.1 เครื่องหมายห้ามหยุดรถ (พบ.10 ขาวแดง)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นแถบสีแดงสลับสีขาว แสดงที่ขอบคันหิน หรือขอบทาง
ด้านซ้ายของทางเดินรถหรือที่อ่นื ๆ โดยห้ามมิให้ผูข้ บั ขีห่ ยุดรถหรือจอดรถทุกชนิดระหว่างแนวเขตที่กําหนดเป็ นอัน
ขาด

6.2 เครื่องหมายห้ามจอดรถ (พบ.9 เหลืองสลับขาว)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นแถบสีเหลืองสลับสีขาว แสดงที่ขอบคันหินหรือขอบทาง
ด้านซ้ายของทางเดินรถหรือทีอ่ ่นื ๆ โดยห้ามมิให้ผขู้ บั ขีจ่ อดรถทุกชนิดระหว่างแนวเขตทีก่ ําหนด เว้นแต่เพื่อหยุดรับส่ง
คนหรือสิง่ ของชัวขณะ
่ แต่ตอ้ งกระทําโดยมิชกั ช้า

6.3 เครื่องหมายขาวดํา (พต.8)


มีความหมายว่า เครื่องหมายจราจรที่มลี กั ษณะเป็ นแถบสีขาวสลับสีดํา แสดงหรือทําให้ปรากฏที่ขอบคันหิน
หรือขอบทาง เพือ่ ให้ผขู้ บั ขีเ่ ห็นขอบคันหินหรือขอบทาง ได้ชดั เจนยิง่ ขึน้
เครื่องหมายขาวดําใช้เพื่อแสดงตําแหน่ งอุปสรรคในบริเวณหัวเกาะ ขอบวงเวียน ทางแยก ขอบทางทีเ่ ปลีย่ น
แนวทางเดินรถ และบริเวณอื่นๆทีต่ อ้ งการความเด่นชัดของสันขอบทางเพือ่ แสดงตําแหน่งอุปสรรค

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 59 ]


บทที่ 7
เครือ่ งหมายแสดงตําแหน่ งวัตถุ
(Object Markings)

เครือ่ งหมายแสดงตําแหน่งวัตถุ เช่น แถบสลับสี (Striped Markers) ถูกนํามาใช้เพื่อบ่งบอกให้ผขู้ บั รถทราบถึง


ตําแหน่งของวัตถุหรือสิง่ กีดขวางในเขตทางหลวงทีอ่ ยูใ่ กล้กบั แนวทางเดินรถ อันจะช่วยลดโอกาสการเกิดอุบตั เิ หตุลงได้
แถบสลับสีมลี กั ษณะเป็ นแถบสีขาวสะท้อนแสงสลับกับสีดํา อาจทาสีเฉียงทํามุม 45 องศา ลงมาทางด้านที่
ยวดยานวิง่ ผ่าน ดังแสดงในรูปที่ 7-1 หรือในกรณีเป็ นสิง่ กีดขวางทีอ่ ยูเ่ หนือทางเดินรถ เช่น ท้องคานสะพาน ให้ทาสีขาว
สะท้อนแสงสลับกับสีดาํ ในแนวตัง้ ฉากกับทิศทางเดินรถ ดังแสดงในรูป ที่ 7-2

รูปที่ 7-1 มาตรฐานการใช้เครือ่ งหมายแถบสลับสีทห่ี วั สะพาน

[ 60 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


หลักการใช้งานแถบสลับสีม ี ดังนี้
1) วัตถุหรือตําแหน่ งอุปสรรคทีม่ พี น้ื ทีพ่ อทีจ่ ะทาสีได้ ให้ทาสีขาวสะท้อนแสงสลับสีดาํ เป็ นแถบเฉียง 45
องศา ลงมาทางด้านที่ยวดยานวิง่ ผ่าน ให้ใช้แถบสีขาวและสีดํากว้างประมาณ 10 ซม. การให้แถบสี
ดํากว้างกว่าเล็กน้อยจะช่วยให้การมองเห็นดีขน้ึ สําหรับหัวสะพาน แต่ถ้าเป็ นวัตถุใหญ่ มีพ้นื ที่มาก
เช่น เสาตอม่อ หรือกําแพง ให้ใช้แถบสีกว้างขึน้ อีกเป็ น 20 ซม. หรือ 30 ซม.ขึน้ อยูก่ บั ขนาดของวัตถุ
และความเร็วของรถ ถ้ามีป้ายจราจรติดตัง้ อยู่บนวัตถุทจ่ี ะทาแถบสี ให้เว้นช่องว่างห่างจากขอบป้าย
จราจรประมาณ 7.5 ซม.
2) ที่ซ่งึ มีช่องลอดตํ่ากว่า 4.00 ม. นอกจากจะต้องติดตัง้ ป้ายบังคับจํากัดความสูง (บ.35) แล้ว ให้ทาสี
ขาวสะท้อนแสงสลับกับสีดาํ ด้วย แต่ให้ทาเป็ นแนวตัง้ จากท้องคานขึน้ ไป 40 ซม. ความกว้างของแถบ
สีใ ห้ใ ช้ห ลัก เกณฑ์เดีย วกับข้อ (1) นอกจากนี้ อ าจทํา การติดตัง้ ป้ า ยเตือนช่อ งลอดตํ่า (ต.32) ไว้
ล่วงหน้าก่อนถึงช่องลอดตํ่าด้วย
3) วัตถุท่ไี ม่สูงมากนักหรือมีพ้นื ที่ทาสีน้อยไม่เพียงพอต่อการทําแถบเฉียงสลับสี เช่น หัวเกาะ หรือ
อุปกรณ์ปิดเปิดรัว้ กัน้ ทางรถไฟตัดผ่าน ให้ตดิ ตัง้ ป้ายเตือนแนวทาง (ต.72-ต.73) สีเหลืองสลับดํา โดย
ให้ขอบล่างของป้ายอยูส่ งู จากผิวทาง 0.5 - 1.20 ม.
4) เมื่อมีอุปสรรคหรือสิง่ กีดขวางในผิวทาง เช่น เกาะกลาง นอกจากจะติดตัง้ ป้ายเตือนแนวทาง (ต.72-
ต.73) สีเหลืองสลับดําแล้ว ต้องติดตัง้ ป้ายให้ชดิ ซ้าย (บ.40) หรือป้ายให้ชดิ ขวา (บ.41) หรือป้าย
เตือนแนวทาง (เครื่องหมายลูกศรคู่ ต.62) ด้วย โดยป้ายที่จะติดตัง้ ขึน้ อยู่กบั ทิศทางการจราจรที่
เหมาะสม
5) ช่องลอดทางนํ้าทีม่ กี ารจราจรทางนํ้าสูง ให้ทาสีทเ่ี สาตอม่อสะพานตามข้อ (1) และคานตามข้อ (2)

รูปที่ 7-2 ตัวอย่างการใช้เครือ่ งหมายแถบสลับสีทช่ี อ่ งลอดตํ่า

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 61 ]


บทที่ 8
เครือ่ งหมายนําทาง
(Delineators)

เครื่องหมายนํ าทางมิได้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อเตือนให้ผู้ขบั ขีเ่ พิม่ ความระวัง แต่มไี ว้เพื่อช่วยให้ผู้ขบั ขี่สามารถ


มองเห็นแนวของถนน (Road Alignment) ได้ดขี น้ึ ทัง้ ในยามคํ่าคืนหรือในยามทีส่ ภาพอากาศมืดมัวหรือฝนตก ทําให้
การเดินทางมีความปลอดภัยมากขึน้ การใช้สญ ั ลักษณ์สขี องเครื่องหมายนําทางต้องสอดคล้องกับการใช้สขี องเส้นจราจร
ตามแนวทางเดินรถ
ตามมาตรฐานการออกแบบงานทาง เครื่องหมายนําทางจะต้องเป็ นอุปกรณ์สะท้อนแสง ติดตัง้ ทีร่ มิ ทางและอยู่
เหนือพืน้ ทาง เรียงเป็ นแถวติดต่อกันไป เพือ่ แสดงถึงแนวของถนน สามารถสะท้อนไฟสูงจากหน้ารถให้เห็นเครื่องหมาย
นํ าทางได้อย่างชัดเจนในระยะ 300 ม. ในสภาวะอากาศปกติ โดยทัวไปเครื ่ ่องหมายนํ าทางจะถูกติดตัง้ ในบริเวณ
ดังต่อไปนี้
1) บริเวณทางโค้งราบและทางโค้งตัง้
2) บริเวณทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงความกว้างของผิวจราจรหรือเปลีย่ นแนวช่องจราจร
3) บริเวณทีต่ อ้ งการนําทางเป็ นพิเศษเพือ่ มิให้ยานพาหนะขับหลุดออกไปจากคันทาง
4) บริเวณอื่นๆทีแ่ นวถนนแลดูสบั สน เพือ่ ป้องกันการขับชนอุปกรณ์งานทาง และช่วยในการนําทาง
ประเภทของเครือ่ งหมายนําทางทีใ่ ช้ทวไปมี
ั่ ดังนี้
1) หลักนําทาง (Guide Posts)
2) เป้าสะท้อนแสง (Reflectors)
3) ปุม่ บนผิวจราจร (Raised Pavement Markers)

8.1 หลักนําทาง (Guide Posts)


เป็ นเสาขนาดสัน้ ติดวัสดุสะท้อนแสง หรือทาสีสะท้อนแสง เพื่อช่วยให้ผูข้ บั ขีส่ ามารถมองเห็นหลักนํ าทางได้
อย่างชัดเจนในเวลากลางคืนเมือ่ เปิดไฟสูงมาตรฐานของรถยนต์ทวไป ั ่ โดยวัสดุทใ่ี ช้ทาํ ตัวเสาอาจเป็ น คอนกรีต ไม้ หรือ
พลาสติก (รูปที่ 8-1) หลักนําทางทีน่ ิยมใช้โดยทัวไปมี
่ 2 รูปแบบ ดังนี้
1) แบบคอนกรีต ขนาดหน้าตัด 15 ซม. x 15 ซม. ยาว 1.30 ม. โดยทัวไปติ ่ ดตัง้ ทีฝ่ งซ้ั ่ ายของทางเดินรถ
โดยให้สว่ นบนอยู่เหนือระดับผิวจราจร 80 ซม. ทาสีขาวสลับดําตามแนวขวาง โดยให้แถบสีขาวกว้าง
25 ซม. และสีดาํ กว้าง 15 ซม. บริเวณหัวเสาด้านหน้า (ด้านทีห่ นั เข้าหาผูข้ บั ขี)่ ให้ทาแถบสีขาวสะท้อน
แสงในแนวตัง้ กว้าง 3 ซม. สูง 15 ซม. ส่วนด้านหลังของเสาให้ทาสีขาวสะท้อนแสงเป็ นรูปวงกลม 2 วง
โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 ซม. และวางห่างกัน 13 ซม. เนื่องจากเสาคอนกรีตมีลกั ษณะแข็งและไม่
ยืดหยุ่น ในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุรถพลัดหลุดโค้งและชนหลักนํ าทางคอนกรีตจะเกิดความเสียหายอย่าง

[ 62 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


รุนแรงต่อผูข้ บั ขี่ ดังนัน้ เพื่อความปลอดภัย ควรเลือกใช้หลักนําทาง “แบบอ่อนตัวได้” ดังจะได้กล่าวใน
หัวข้อถัดไป
2) แบบอ่อนตัวได้ ทําจากวัสดุพลาสติกแบบยืดหยุ่นได้ ติดตัง้ โดยให้สว่ นบนอยู่เหนือระดับผิวจราจรไม่
น้อยกว่า 0.80 ม. หัวเสาด้านหน้าติดแถบสะท้อนแสงสีขาวหรือสีเหลือง

การใช้หลักนํ าทางเพื่อแสดงแนวโค้งราบและโค้งตัง้ ต้องให้วสั ดุสะท้อนแสงอยู่สงู กว่าระดับผิวจราจรไม่น้อย


กว่า 70 ซม. และไม่เกิน 125 ซม. และปกั หลักนําทางให้หา่ งจากขอบไหล่ทาง 30 ซม. การติดตัง้ ทีบ่ ริเวณใดบริเวณหนึ่ง
หลักนําทางต้องสูงจากผิวจราจรเท่ากันและห่างจากขอบทางเดินรถเท่ากันโดยตลอด โดยระยะห่างในการติดตัง้ หลักนํา
ทางสามารถคํานวณได้จากสูตร ดังนี้

S = 1.7(R-15)0.5 S1 = 2S S2 = 3S S3 = 6S

โดยที่ R คือ รัศมีโค้งของถนน (ม.) S คือ ระยะห่างระหว่างหลักนําทางเมื่ออยูใ่ นโค้ง (ม.) S1, S2 และ S3 คือ
ระยะห่างระหว่างหลักนําทางเมือ่ อยูน่ อกโค้งตัวแรก ตัวทีส่ อง และตัวทีส่ าม ตามลําดับ โดยระยะ S, S1, S2, และ S3 ต้อง
ไม่น้อยกว่า 6 ม. แต่ตอ้ งไม่เกิน 90 ม. เมื่อทําการคํานวณตามสมการดังกล่าว ระยะการติดตัง้ หลักนําทางตามรัศมีโค้ง
ต่างๆเป็ นไปตามตารางที่ 8-1 ในกรณีท่รี ศั มีโ ค้งไม่เป็ นไปตามค่าที่แสดงไว้ในตารางให้ใช้วธิ ีประมาณการเชิงเส้น
(Linear Interpolation) ในกรณีทท่ี างหลวงมีรศั มีโค้งเกิน 300 ม. ให้พจิ ารณาการติดตัง้ หลักนําทางเท่าทีจ่ าํ เป็ นเท่านัน้
นอกจากหลักนําทางจะใช้เพือ่ แสดงแนวโค้งราบหรือโค้งตัง้ แล้ว ยังสามารถใช้นําทางให้รถเคลื่อนทีเ่ ข้าสูถ่ นนที่
แคบลงหรือมีอุปสรรคข้างทางได้อย่างปลอดภัย เช่น การเคลื่อนทีเ่ ข้าสูส่ ะพาน ให้ใช้หลักนําทาง 3 อัน โดยวางตัวแรก
ห่างจากตําแหน่งหัวสะพาน 5 ม. วางตัวทีส่ องห่างจากตัวแรก 10 ม. และวางตัวทีส่ ามห่างจากตัวทีส่ อง 15 ม. ดังแสดง
ในรูปที่ 8-2

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 63 ]


รูปที่ 8-1 หลักนําทาง (Guide Post)

[ 64 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


ตารางที่ 8-1 ระยะห่างของหลักนําทางบนทางโค้งราบ
ระยะห่างของหลักนําทางในช่วงต่างๆ (ม.)
รัศมีโค้ง
ในโค้ง นอกโค้งตัวที่ 1 นอกโค้งตัวที่ 2 นอกโค้งตัวที่ 3
(ม.)
(S) (S1) (S2) (S3)
15 6 12 18 36
75 13 26 39 78
100 16 32 48 90
150 20 40 60 90
200 23 46 69 90
300 29 58 87 90
400 33 66 90 90
500 37 74 90 90

รูปที่ 8-2 การติดตัง้ หลักนําทางก่อนถึงสะพาน

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 65 ]


8.2 เป้ าสะท้อนแสง (Reflectors)
เป็ นอุปกรณ์ งานทางอย่างหนึ่งที่ใช้วสั ดุสะท้อนแสงเป็ นส่วนประกอบหลัก ใช้ติดที่ราวกันอันตราย (Guard
Fence) ราวสะพานยาว หรือสะพานทีอ่ ยูใ่ นทางโค้ง ต้นไม้ หรืออุปสรรคข้างทางอื่นๆ เพื่อช่วยในการนําทางให้ขบั ขีไ่ ด้
อย่างปลอดภัย มีการใช้สญ ั ลักษณ์สเี พือ่ ช่วยแยกแยะตําแหน่งอุปสรรคข้างทางได้ถกู ต้องรวดเร็ว ดังนี้
1) สีขาว ใช้สาํ หรับติดทีด่ า้ นซ้ายของคันทาง
2) สีเหลือง ใช้สาํ หรับติดทีส่ นั ขอบเกาะกลางหรืออุปสรรคทีอ่ ยูบ่ นเกาะกลางทีแ่ บ่งทิศทางจราจร
ในการติดตัง้ เป้าสะท้อนแสงที่ราวกันอันตรายตามแนวโค้งราบ ให้ใช้ระยะห่างเช่นเดียวกับหลักนํ าทางที่อยู่
ในช่วงโค้ง (ระยะทาง S ในตารางที่ 8-1) ถ้าราวกันอันตรายอยูใ่ นบริเวณโค้งตัง้ หรือทางตรง ให้ตดิ ทุกๆ 24 ม. ส่วนการ
ติดตัง้ ทีส่ นั ขอบทางในบริเวณทางแยกทีส่ บั สน ให้ตดิ ตามตําแหน่งทีเ่ หมาะสมแต่ควรมีระยะห่างไม่เกิน 12 ม.
การติดตัง้ เป้าสะท้อนแสงที่บริเวณใด ให้ใช้เป้าสะท้อนแสงลักษณะเดียวกัน ติดที่ความสูงและระยะห่างจาก
ขอบทางเดินรถเดียวกันโดยตลอด ตัวอย่างการติดตัง้ เป้าสะท้อนแสงบนอุปกรณ์งานทางและอุปสรรคข้างทางได้แสดงไว้
ในรูปที่ 8-3
เป้ าสะท้อ นแสงสูง ให้ใ ช้ใ นทางหลวงที่ม ีป ริม าณการจราจรสูง เช่น ทางหลวงพิเ ศษ ส่ว นทางหลวงที่ม ี
มาตรฐานตํ่ากว่านี้ ให้ใช้การสะท้อนแสงธรรมดา ซึง่ อาจใช้แผ่นสะท้อนแสงได้

รูปที่ 8-3 ตัวอย่างการติดตัง้ เป้าสะท้อนแสง ก) เป้าสะท้อนแสงสีขาว ข) เป้าสะท้อนแสงสีเหลือง

[ 66 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


8.3 ปุ่ มบนผิวจราจร (Raised Pavement Markers)
เป็ นอุปกรณ์งานทางอย่างหนึ่งทีต่ ดิ ตัง้ บนผิวจราจรโดยให้ปุ่มโผล่เหนือผิวจราจรเพียงเล็กน้อย โดยปุ่มอาจทํา
จากโลหะหรื อ อโลหะก็ ไ ด้ มี ท ั ง้ แบบสะท้ อ นแสงกลั บ (Retroreflective) และแบบไม่ ส ะท้ อ นแสงกลั บ (Non
Retroreflective) ใช้ตดิ ตัง้ เพื่อให้ผขู้ บั ขีส่ ามารถมองเห็นช่องจราจรได้ดแี ม้ในสภาพทีม่ ที ศั นวิสยั ตํ่า อีกทัง้ ยังช่วยเตือนผู้
ขับ ขี่ใ ห้รู้ว่า ยวดยานกํา ลัง ไม่อ ยู่ใ นช่อ งจราจรเมื่อล้อ สะดุ ดกับ ปุ่ม นู น ดัง กล่า ว การใช้ปุ่ม สีข าวหรือ สีเ หลือ งต้อ งให้
สอดคล้องกับการใช้สญ ั ลักษณ์สขี องเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง
ปุ่มบนผิวจราจรที่นิยมใช้ในกรมทางหลวงเป็ นแบบ Road Stud ดังแสดงในรูปที่ 8-4 ซึ่งอาจมีลกั ษณะเป็ น
สีเ่ หลีย่ มจัตุรสั หรือเป็ นวงกลมก็ได้ โดยปุม่ ประเภทนี้มขี นาดเล็กกว่าแบบ Chatter Bar / City Stud ซึง่ อาจเป็ นอันตราย
ต่อผู้ขบั ขี่รถจักรยานยนต์เมื่อขับสะดุดปุ่มดังกล่าว การใช้งานปุ่มบนผิวจราจร จะติดตัง้ ประเภทสะท้อนแสงบนเส้น
จราจรตามแนวทางเดินรถ และจะใช้แบบไม่สะท้อนแสงตามแนวขวาง การใช้สญ ั ลักษณ์สาํ หรับสีและทิศทางการสะท้อน
แสงได้แสดงไว้ในตารางที่ 8-2
เพื่อให้ปุ่มบนผิวจราจรสื่อความหมายได้ตามวัตถุประสงค์ เจ้าหน้ าที่จะต้องหมันดู ่ แลทําความสะอาดเป็ น
ประจํา โดยปดั กวาดฝุน่ ทราย หรือวัสดุอ่นื ๆทีก่ องปิ ดอยูโ่ ดยรอบ ในกรณีทางหลวงทีม่ ผี วิ จราจรกว้างน้อยกว่า 6.00 ม.
ไม่ควรใช้ปมุ่ บนผิวจราจร เนื่องจากปุม่ บนผิวจราจรจะถูกรถกดทับจนจมใต้ผวิ ในเวลาอันสัน้
หลักเกณฑ์ทวไปในการพิ
ั่ จารณาติดตัง้ เครือ่ งหมายปุม่ บนผิวจราจร (Warrant) มีดงั ต่อไปนี้
1) บริเวณทีม่ ฝี นตกชุก หรือมีหมอกลงจัดในบางฤดูกาล
2) บริเวณทีม่ อี ุบตั เิ หตุการชนแบบประสานงาบ่อยครัง้
3) บริเวณทางแยกทางร่วม ทีม่ ชี อ่ งจราจรสับสน และไม่มไี ฟฟ้าแสงสว่าง
4) บริเวณทางแยกต่างระดับทีม่ ปี ริมาณการจราจรสูง แม้จะได้ตงั ้ ไฟฟ้าแสงสว่างแล้ว
5) บริเวณโค้งอันตราย หรือ หัวเกาะกลางของทางคู่ (Divided Highway) ทีม่ กี ารเปลีย่ นแนวช่องจราจร

รูปที่ 8-4 ตัวอย่างเครือ่ งหมายปุม่ บนผิวทางแบบ Road Stud

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 67 ]


ั ลักษณ์สาํ หรับสีและทิศทางการสะท้อนแสงกลับของปุม่ บนผิวจราจร
ตารางที่ 8-2 การใช้สญ
ทิ ศทางการสะท้อนแสงและสี สัญลักษณ์
สะท้อนแสงทิ ศทางเดียว (Unidirectional)
ขาว

เหลือง

สะท้อนแสงสองทิ ศทาง (Bidirectional)


ขาว

เหลือง

มาตรฐานการติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรสําหรับ 5 บริเวณ โดยมีรายละเอียด ดังนี้


1. ช่วงทางตรง ได้แสดงไว้ในตารางที่ 8-3
ก. ทางนอกเมือง : ระยะการติดตัง้ ปุ่มบนเส้นแบ่งทิศทางจราจร เส้นแบ่งช่องจราจร และเส้นขอบ
ทาง (รูปที่ 8-5)
ข. ทางในเมือง : ระยะการติดตัง้ ปุ่มบนเส้นแบ่งทิศทางจราจร เส้นแบ่งช่องจราจร และเส้นขอบ
ทางได้ (รูปที่ 8-6)
2. ช่วงทางโค้ง ได้แสดงไว้ในตารางที่ 8-4
3. บริเวณทีใ่ ช้เส้นบัง้ เฉียง (Cross Hatching) ได้แสดงไว้ในตารางที่ 8-5 และ รูปที่ 8-7
4. บริเวณเกาะสี (Island Markings) ประเภทต่างๆ ได้แสดงไว้ในรูปที่ 8-8
5. บริเวณหัวเกาะ ได้แสดงไว้ในรูปที่ 8-9

[ 68 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


ตารางที่ 8-3 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรในช่วงทางตรง
ระยะห่าง (ม.)
ประเภทเส้นจราจร สี ทางนอก ทางใน ตําแหน่ งการติ ดตัง้ ปุ่ ม
เมือง เมือง
เส้นแบ่งทิ ศทางจราจร
เส้นประเดีย่ ว เหลือง 24 12 ระหว่างเว้นช่องของเส้นประ
เส้นทึบเดีย่ ว เหลือง 12 4 บนเส้นทึบ
เส้นทึบคู่ เหลือง 12 4 ระหว่างเส้นทึบคู่
เส้นประคูก่ บั เส้นทึบ เหลือง 12 4 ระหว่างแนวเส้นประกับแนวเส้นทึบ
เส้นแบ่งช่องจราจร
เส้นประ ขาว 24 12 ระหว่างเว้นช่องของเส้นประ
เส้นทึบ ขาว 12 6 บนเส้นทึบ
เส้นขอบทาง
ขอบทางด้านใน เหลือง 24 12 ถัดไปทางขวาของเส้นทึบ
ขอบทางด้านนอก ขาว 48 24 ถัดไปทางซ้ายของเส้นทึบ
หมายเหตุ 1. Road Studs บนเส้นแบ่งทิศทางจราจร ให้ใช้แบบ Bi-directional Type คือมองเห็นได้ชดั เจนจาก
ทัง้ สองทิศทางจราจร ส่วนอืน่ ๆ ให้ใช้แบบ Uni-directional Type คือ มองเห็นด้านเดียว
2. ตําแหน่งติดตัง้ ปุม่ “ถัดไปทางซ้าย” หรือ “ถัดไปทางขวา” คืออยูท่ างซ้ายหรืออยูท่ างขวาของทิศ
ทางการเดินรถ โดยให้หา่ งจากขอบเส้นจราจรประมาณ 2.5 – 5.0 ซม.

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 69 ]


เส้นแบ่งทิศทางจราจร (Separation Lines)
24.00 24.00

เส้นประเดี่ยว
3.0 9.00

12.00 12.00

เส้นทึบเดี่ยว

12.00 12.00

เส้นทึบคู่

12.0 12.0 12.0


เส้นประคู่กับเส้นทึบ
3.0 9.00

เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines)


24.00 24.00
เส้นประ 3.00 9.00

12.00 12.00
เส้นทึบ

เส้นขอบทาง (Edge Lines)


24.00
เส้นขอบทางด้านใน
เกาะกลางหรือไหล่ทางด้านใน

48.00

เส้นขอบทางด้านนอก
ไหล่ทางด้านนอก

รูปที่ 8-5 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรสําหรับทางนอกเมือง

[ 70 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


เส้นแบ่งทิศทางจราจร (Separation Lines)

12.00 12.00
เส้นประเดี่ยว
1.00 3.00

4.00 4.00 4.00


เส้นทึบเดี่ยว

4.00 4.00 4.00


เส้นทึบคู่

4.00 4.00 4.00


เส้นประคู่กับเส้นทึบ

เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines)


12.00 12.00
เส้นประ
1.00 3.00

6.00 6.00 6.00


เส้นทึบ

เส้นขอบทาง (Edge Lines)


12.00 12.00
เส้นขอบทางด้านใน
เกาะกลางหรือไหล่ทางด้านใน

24.00
เส้นขอบทางด้านนอก
ไหล่ทางด้านนอก

รูปที่ 8-6 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรสําหรับทางในเมือง

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 71 ]


ตารางที่ 8-4 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรในช่วงทางโค้ง
ระยะห่าง (ม.)
ประเภทเส้นจราจร สี รัศมีโค้ง รัศมีโค้ง ตําแหน่ งการติ ดตัง้ ปุ่ ม
ตํา่ กว่า 100 ม. 100 – 300 ม.
เส้นแบ่งทิ ศทางจราจร
เส้นประเดีย่ ว เหลือง - 12 ระหว่างเว้นช่องของเส้นประ
เส้นทึบเดีย่ ว เหลือง 4 12 บนเส้นทึบ
เส้นทึบคู่ เหลือง 4 12 ระหว่างเส้นทึบคู่
เส้นประคูก่ บั เส้นทึบ เหลือง 4 12 ระหว่างแนวเส้นประกับแนวเส้นทึบ
เส้นแบ่งช่องจราจร
เส้นประ ขาว - 12 ระหว่างเว้นช่องของเส้นประ
เส้นทึบ ขาว 4 12 บนเส้นทึบ
เส้นขอบทาง
ขอบทางด้านใน เหลือง 4 12 ถัดไปทางขวาของเส้นทึบ
ขอบทางด้านนอก ขาว 4 12 ถัดไปทางซ้ายของเส้นทึบ
หมายเหตุ 1) ควรเริม่ ติดตัง้ ก่อนถึงจุดต้นโค้ง (PC) และเลยจุดปลายโค้ง (PT) เป็นระยะประมาณ 65 ม.
2) ทางโค้งทีม่ รี ศั มีเกิน 300 ม. ให้ตดิ ตัง้ ตามแบบทางตรง
3) ตําแหน่งติดตัง้ ปุม่ “ถัดไปทางซ้าย” หรือ “ถัดไปทางขวา” คืออยูท่ างซ้ายหรืออยูท่ างขวาของทิศ
ทางการเดินรถ โดยให้หา่ งจากขอบเส้นจราจรประมาณ 2.5 – 5.0 ซม.

ตารางที่ 8-5 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรสําหรับบริเวณทีใ่ ช้เส้นบัง้ เฉียง(Cross Hatching)


ระยะห่าง
สภาพพืน้ ที่ ตําแหน่ งการติ ดตัง้ ปุ่ ม
(ม.)
กรณีทวไป
ั่ 24 สําหรับการติดตัง้ ปุม่ ตามทิศทางเดิน
บริเวณทีม่ รี ศั มีโค้งตํ่ากว่า 400 ม. รถ เป็ นไปตามรูปที่ 8-7
บริเวณช่วงต้นและช่วงปลาย 12
บริเวณอื่นๆทีเ่ ห็นว่าควรจะมีการเพิม่ ความชัดเจนยิง่ ขึน้
หมายเหตุ 1) ปุม่ ทีต่ ดิ ตัง้ เดีย่ วตามทิศทางเดินรถจะเป็นปุม่ หลัก ส่วนปุม่ ทีว่ างตัวในแนวเฉียงจะเป็นปุม่ เสริม
(Optional)
2) ตําแหน่งติดตัง้ ปุม่ “ถัดไปทางซ้าย” หรือ “ถัดไปทางขวา” คืออยูท่ างซ้ายหรืออยูท่ างขวาของทิศ
ทางการเดินรถ โดยให้หา่ งจากขอบเส้นจราจรประมาณ 2.5 – 5.0 ซม.

[ 72 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


ดูตารางที่ 8-5
สันขอบทาง
0.10

ดูตารางที่ 8-5 ทิศทางสะท้อนแสง

ดูตารางที่ 8-5
0.10

ดูตารางที่ 8-5 ทิศทางสะท้อนแสง

รูปที่ 8-7 บริเวณทีใ่ ช้เส้นบัง้ เฉียง (Cross Hatching)

รูปที่ 8-8 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรบริเวณเกาะสี (Island Markings)

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 73 ]


(ก) แบบที่ 1 การจราจรแยกออกจากกัน (Diverging)

(ข) แบบที่ 2 การจราจรรวมกัน (Merging)

สะท้อนแสงทิศทางเดียว @ 6.00 ม.

สะท้อนแสงสองทิศทาง

ทิศทางจราจร
สะท้อนแสงทิศทางเดียว @ 6.00 ม.

(ค) แบบที่ 3 การจราจรสวนทางกัน

รูปที่ 8-9 การติดตัง้ ปุม่ บนผิวจราจรบริเวณหัวเกาะ

[ 74 ] เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง


บรรณานุกรม
1. กรมทางหลวง, “คู่มอื เครื่องหมายควบคุมการจราจรภาค 2 – เครื่องหมายจราจร (MARKINGS)”, ฉบับปี พ.ศ.
2533
2. กรมทางหลวง, “รายละเอียดและข้อกําหนดการจัดทําเครื่องหมายจราจรบนผิวทาง (การตีเส้น ลูกศร ขีดเขียน
ข้อความ) Specification for Road Marking”, กรกฎาคม พ.ศ. 2551
3. กรมทางหลวงชนบท, “คูม่ อื และมาตรฐานความปลอดภัยในการจัดการจราจรบนทางหลวงชนบท”, พ.ศ. 2551
4. กรมทางหลวงชนบท, “คูม่ อื และมาตรฐานอุปกรณ์อาํ นวยความปลอดภัยบนทางหลวงชนบท”, พ.ศ. 2551
5. กลุ่มมาตรฐานอํานวยความปลอดภัย สํานักอํานวยความปลอดภัย กรมทางหลวง, “ข้อแนะนําและแนวทางใน
การติดตัง้ เครือ่ งหมายปุม่ บนผิวจราจร (Raised Pavement Markers)”, ธันวาคม 2550
6. กองสัญญาณไฟและเครื่องหมาย สํานักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร, “รายการมาตรฐาน การทํา
เครือ่ งหมายจราจรบนผิวทางด้วยวัสดุเทอร์โมพลาสติก รายการเลขที่ กฟม. 400-13/43”
7. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “เกริน่ นํา เอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองเกีย่ วกับคู่มอื
และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจร, Self Study Manual of Traffic Control Devices Standard”, พ.ศ. 2547
8. สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.), “คู่มอื และมาตรฐานเครื่องหมายจราจรบนพืน้ ทาง
Markings Standard and Manual”, พ.ศ. 2547
9. สํานักงานวิศวกรรมการจราจร กรมทางหลวง, “วิธกี ารตีเส้นห้ามแซง”, พ.ศ. 2524
10. Department for Transport, Department for Regional Development (Northern Ireland), Scottish
Executive, Welsh Assembly Government, “Traffic Signs Manual – Chapter 5 Road Markings”, 2003.
11. Department of Highways, Thailand, “Standard Drawings for Highway Construction”, 1994
12. Queensland Government, Department of Main Roads, Australia, “Guide to Pavement Markings”,
Edition 2, June 2001.
13. Queensland Government, Australia, “Manual of Uniform Traffic Control Devices – Part 2 Traffic
Control Devices for General Use”, May 2009.
14. U.S. Department of Transportation, Federal Highway Administration, “Manual on Uniform Traffic
Control Devices for Streets and Highways – Part 3. Markings”, 2009 Edition.

เล่มที่ 2 - คูม่ อื และมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรบนพืน้ ทางและเครือ่ งหมายนําทาง [ 75 ]


คณะกรรมการกํากับโครงการศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรฐานเครือ่ งหมายควบคุม
การจราจรกรมทางหลวง
1. นายสุชาติ ลีรคมสัน ------------------------------------------------------------------------------------------ ประธานกรรมการ
ผูอ้ าํ นวยการสํานักมาตรฐานและประเมินผล

2. นายสุจณ
ิ มังนิ
่ มติ ร ------------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาเชีย่ วชาญ

3. นายอาณัติ ประทานทรัพย์ --------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


รก.วิศวกรโยธาเชีย่ วชาญ

4. นายสว่าง บูรณธนานุกจิ ------------------------------------------------------------------------------------------------ กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

5. นายพลเทพ เลิศวรวนิช ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

6. นายวิชติ นามประสิทธิ ์ -------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

7. นายกุลธน แย้มพลอย --------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

8. นายทวีศกั ดิ ์ ชาญวรรณกุล ---------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

9. นางสาวภัทริน ศรุตพิ นั ธ์ ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

10. นายจตุรงค์ เสาวภาคย์ไพบูลย์ ---------------------------------------------------------------------- กรรมการและเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

11. นายนะบีลย์ เจ๊ะแว ----------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

12. นายธวัชชัย แสงรัตน์ --------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

You might also like