You are on page 1of 19

ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-1

1.ข้อใดตรงกับความหมายของระดับการให้บริการ (Level of Service) บนถนนตามหลักวิศวกรรมจราจรใน


เรื่องสภาพการเคลื่อนตัวของการจราจร
1.ผู้ขับขี่ยวดยานสามารถใช้ความเร็วได้สูงสุด
2.ความสัมพันธ์ของความหนาแน่นและปริมาณการจราจรบนถนน
3.ยวดยานสามารถเคลื่อนที่ได้อิสระ ด้วยความเร็วอิสระ
4.ผิดทุกข้อ
2.จากภาพการเคลื่อนตัวของยานพาหนะจัดอยู่ในระดับการให้บริการ (Level of Service) ใด

1.ระดับ A สภาพอิสระความเร็วสูง ปริมาณจราจรน้อย


2.ระดับ B สภาพอยู่ตัว ผู้ขับขี่สามารถเลือกใช้ความเร็วได้ตามสมควร
3.ระดับ C สภาพอยู่ตัว แต่อิสรภาพในการเลือกใช้ความเร็วถูกจากัดลง
4.ระดับ D สภาพไม่อยู่ตัว ผู้ขับขี่จาเป็นต้องขับรถตามคันหน้าไปด้วยความเร็วต่า ความสะดวกสบายต่า
3.ระยะหยุดปลอดภัย (Stopping Sight Distance) หมายถึงระยะใดต่อไปนี้
1. ระยะเบรก
2. ระยะปฏิกิริยา
3. ระยะเบรกและระยะปฏิกิริยา
4. ระยะหยุดยานพาหนะ
4.ข้อใดตรงกับความหมายของ (Time Headway) ที่มา: วัฒนวงศ์ รัตนวราห และสราวุธ จริตงาม, วิศวกรรม
ขนส่ง 2554
1. ระยะห่างของยวดยานกับเส้นหยุด
2. ช่วงเวลาของยวดยานที่ผ่านสัญญาณไฟจราจร
3. ระยะห่างของยวดยานคันหน้าที่จอดรอสัญญาณไฟกับคันหลัง
4. ช่วงเวลาของยวดยานที่วิ่งตามกันซึ่งผ่านจุดอ้างอิงที่กาหนด
5.ความเร็วออกแบบปลอดภัยที่สุด เมื่อผู้ขับขี่ใช้ความเร็วเกินกว่านี้จะไม่ปลอดภัยและความเร็วนี้จะใช้ในการ
กาหนดความเร็วสูงสุดบนถนน ความเร็วออกแบบนิยมใช้ความเร็วที่ Percentile เท่าใด
ที่มา: วัฒนวงศ์ รัตนวราห และสราวุธ จริตงาม, วิศวกรรมขนส่ง 2554
1. 15
2. 50
หน้า1/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-2

3. 85
4. 100
6.ความจุของทางหลวง เมื่ออยู่ในสภาพสมบูรณ์แบบ ควรต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
1. มีอย่างน้อย 4 ช่องจราจร ที่รถเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกัน
2. รถทุกคันต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสม่าเสมอ ด้วยอัตราเร็ว 60-80 กม. /ชม.
3. ความลาดชันถูกต้องตามมาตรฐาน ไม่มีทางแยกหรือคนข้ามถนนตัดผ่าน อันจะก่อให้เกิดการกีดขวาง
การจราจร
4. ยานพาหนะมีรถยนต์นั่งเป็นส่วนใหญ่
7.จงระบุจานวนข้อบกพร่องที่พบจากทางแยก

1. 1 จุด ไม่มีเส้นจรจราจร
2. 2 จุด ไม่มีเส้นจราจร และไม่มีป้ายหยุด
3. 3 จุด ไม่มีเส้นจราจร ไม่มีป้ายหยุด และไม่มีเส้นหยุด
4. ทางแยกนี้ไม่มีข้อใดที่บกพร่อง
8.ระยะเบรก (Braking Distance) ของยานพาหนะที่ความเร็ว 50 กม. /ชม. มีระยะกี่เมตร
ความเร็ ว (กม/ชม) ความเร็ ว (กม/ชม)
สูตร X
10 10
ที่มา: FAHREN LERNEN 2008
1. 5 เมตร
2. 10 เมตร
3. 15 เมตร
4. 20 เมตร
9.ระยะหยุด (Stopping distance) ของยานพาหนะที่ความเร็ว 60 กม. /ชม. มีระยะกี่เมตร
สูตร Reaction Distance + Braking Distance
ที่มา: FAHREN LERNEN 2008 ความเร็ว (กม/ชม) x ความเร็ว (กม/ชม) + ความเร็ว (กม/ชม) x 3
1. 51 เมตร 10 10 10

2. 52 เมตร

หน้า2/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-3

3. 53 เมตร
4. 54 เมตร
10.ระดับการให้บริการบนถนน (Level of Service) ในประเทศไทย สามารถแบ่งระดับได้ถึงระดับใด
ที่มา: ณรงค์ กุหลาบ, วิศวกรรมการทาง 2556
1. ระดับ C
2. ระดับ D
3. ระดับ E
4. ระดับ F
11.เวลาที่สูญเสียไป (Lost time) ในบริเวณแยกสัญญาณไฟหมายความว่าอะไร
ที่มา: วัฒนวงศ์ รัตนวราห และสราวุธ จริตงาม, วิศวกรรมขนส่ง 2554
1.เวลาที่สูญเสียไปบนถนน
2.เวลาที่รอสัญญาณไฟเขียวบนถนน
3.เวลาที่เร่งรถและชะลอรถเพื่อหยุด
4.เวลาที่สัญญาณไฟเป็นสีเหลือง
12.จากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วและมุมมองที่เห็นสามารถนาไปประยุกต์ใช้เรื่องใดได้บ้าง

ที่มา: วิศวกรรมจราจร, สานักอานวยความปลอดภัย กรมทางหลวง 2549


1. ทฤษฏีอุโมงค์
2. การมองเห็นป้ายจราจร และสัญญาณจราจร
3. การเฝ้าระวังปัญหาการเกิดอุบัติเหตุบริเวณทางแยก
4. ถูกทุกข้อ
13.ระดับการให้บริการ (Level of Service) ใดที่การขับขี่ไม่สะดวกเพราะปริมาณการจราจรเข้าใกล้หรือถึง
ความจุ การไหลไม่คงที่ อาจผสมกับการหยุดเป็นครั้งคราว
ที่มา: ณรงค์ กุหลาบ, วิศวกรรมการทาง 2556
1. LOS C
2. LOS D
3. LOS E
4. LOS F

หน้า3/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-4

14.ทางประเภทใดสันนิษฐานได้ว่ามีความเร็วในการสัญจรน้อยที่สุด
ที่มา: วัฒนวงศ์ รัตนวราห และสราวุธ จริตงาม, วิศวกรรมขนส่ง 2554
1. ทางด่วน (Expressway)
2. ถนนสายประธาน (Arterial)
3. ถนนสายรอง (Collector)
4. ถนนท้องถิ่น (Local Road
15.จงระบุจุดบกพร่องที่พบจากภาพ

1. ความกว้างถนนไม่เพียงพอ
2. ป้ายจราจรถูกบดบังการมองเห็น
3. ไม่มีเครื่องหมายจราจรบนผิวทาง
4. ไม่มีข้อใดถูก

16.ระยะปฏิกิริยา (Reaction distance) ของยานพาหนะที่ความเร็ว 60 กม./ชม. มีระยะกี่เมตร


ความเร็ว (กม/ชม)
สูตร X3
10

ที่มา: FAHREN LERNEN 2008


1. 15 เมตร
2. 16 เมตร
3. 18 เมตร
4. 19 เมตร
17.ระยะปฏิกิริยา (Reaction distance) ของยานพาหนะที่ความเร็ว 80 กม./ชม. มีระยะกี่เมตร
ความเร็ว (กม/ชม)
สูตร 10
X3
ที่มา: FAHREN LERNEN 2008
1. 22 เมตร
2. 23 เมตร
3. 24 เมตร
4. 25 เมตร
18. จากการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลได้ศึกษาระดับแอลกอฮอล์ในเลือด
หลังสิ้นสุดการดื่มสุราขณะท้องว่าง ระดับแอลกอฮอล์จะขึ้นสูงสุดภายในเวลากี่นาทีหลังดื่มสุรา
1. 5-10 นาที

หน้า4/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-5

2. 10-15 นาที
3. 30-45 นาที
4. 60 นาที
19. ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ต่อการกดประสาทในระยะที่ 2 ออกฤทธิ์ต่อสมองโดยตรงโดยไปกดประสาทส่วนที่ทา
หน้าที่ใด
1. ออกฤทธิ์ที่ศูนย์ควบคุมการได้ยิน
2. ออกฤทธิ์ต่อสมองส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวและการพูด
3. ออกฤทธิ์ที่ศูนย์ควบคุมการหายใจ โดยจะไปกดสมองส่วนที่ควบคุมการหายใจ
4. ออกฤทธิ์ต่อสมองโดยตรงโดยไปกดประสาทส่วนที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับความคิด
20. ปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือดจะทาให้ผู้ที่ดื่มมีลักษณะอาการเมาแตกต่างกัน ถ้าหากมี
ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดปริมาณ 150-300 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ผู้ดื่มจะมีลักษณะอาการอย่างไร
1. ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อต่าลง
2. ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อต่าลง การตัดสินใจเริ่มช้าลง
3. ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อต่าลงมาก การตัดสินใจช้าลง พูดไม่ชัด
4. ตามีอาการพร่ามัว เห็นภาพซ้อน ระดับน้าตาลในเลือดต่า อุณหภูมิในร่างกายต่า แขนและขา เกิดอาการเกร็ง
21. มีระดับแอลกอฮอล์ในเลือด 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ความสามารถในการขับขี่จะลดลงกี่เปอร์เซ็นต์
1. มีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีผลเลย
2. 4 เปอร์เซ็นต์
3. 8 เปอร์เซ็นต์
4. 12 เปอร์เซ็นต์
22. มีระดับแอลกอฮอล์ในเลือด 80 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โอกาสเกิดอุบัติเหตุเป็นกี่เท่าของคนที่ไม่ดื่มสุรา
1. 2 เท่า
2. 3 เท่า
3. 5 เท่า
4. 6 เท่า
23. ข้อใดเป็นผลกระทบต่อสุขภาพของการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อตับ
1. ตับแข็ง
2. เลือดออกในตับ
3. ตับเป็นสีเหลือง
4. ตับฉีก
24. ข้อใดตรงกับความหมายของระดับการให้บริการ (Level of Service) บนถนนตามหลักวิศวกรรมจราจรใน
เรื่องสภาพการเคลื่อนตัวของการจราจร
1.ผู้ขับขี่ยวดยานสามารถใช้ความเร็วได้สูงสุด
2.ความสัมพันธ์ของความหนาแน่นและปริมาณการจราจรบนถนน

หน้า5/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-6

3.ยวดยานสามารถเคลื่อนที่ได้อิสระ ด้วยความเร็วอิสระ
4.ผิดทุกข้อ
25. ระดับการให้บริการบนถนน (Level of Service) ในประเทศไทย สามารถแบ่งระดับได้ถึงระดับใด
1. ระดับ C
2. ระดับ D
3. ระดับ E
4. ระดับ F
26.ผู้ขับรถที่ดื่มสุราเมื่อวัดระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจจะต้องไม่เกินเท่าใด
1.ไม่เกิน 60 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
2.ไม่เกิน 70 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
3.ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
4.ไม่เกิน 80 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
27.ผู้ขับขี่ที่ได้รับใบอนุญาตขับรถแบบชั่วคราว ตรวจปริมาณแอลกอฮอล์เท่าใดถือว่าเมาสุรา
1. มีปริมาณแอลกอฮอล์ถือว่ามีความผิดเนื่องจากใบอนุญาตขับรถเป็นแบบชั่วคราว
2. มีปริมาณแอลกอฮอล์เกินว่า 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
3. มีปริมาณแอลกอฮอล์เกินกว่า 20 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
4. มีปริมาณแอลกอฮอล์เกินกว่า 25 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
28.รถชนิดใดบ้างที่ตารวจสามารถยึดได้จากผู้ขับขี่เมาแล้วขับ
1. รถโดยสารประจาทาง
2. รถจักรยานยนต์รับจ้าง
3. รถบรรทุกตั้งแต่หกล้อขึ้นไป
4. ถูกทุกข้อ
29.เมื่อผู้ขับขี่ทาผิดกฎหมายจราจรตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก ท่านสามารถยึดกุญแจรถได้หรือไม่
1. ได้เนื่องจากอยู่ในอานาจหน้าที่เพื่อป้องกันผู้ขับขี่หลบหนี
2. ไม่ได้เนื่องจากไม่อยู่ในอานาจหน้าที่
3. ไม่ได้เนื่องจากไม่สามารถยึดแต่เพียงกุญแจรถได้ต้องยึดรถด้วย
4. ได้ถ้าอยู่ในดุลพินิจเจ้าพนักงาน
30.ใครมีอานาจแต่งตั้งผู้ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่จะกาหนดและผ่านการอบรมตามหลักสูตรอาสาจราจร เพื่อให้ทา
หน้าที่ช่วยเหลือการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
1. สารวัตจราจร
2. รองผู้กากับการ
3. ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ
4.รัฐมนตรี

หน้า6/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-7

31.สัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรที่ทา ติดตั้ง หรือทาให้ปรากฏในทางโดยฝ่าฝืนมาตรา 28 หรือมาตรา


29 มีอานาจยึด รื้อถอน ทาลาย หรือทาให้สิ้นไปซึ่งสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรนั้นได้ ถามว่ามาตรา
28 บัญญัติไว้ว่าอย่างไร
1. ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากพนักงานเจ้าหน้าที่หรือเจ้าพนักงาน ทา ติดตั้ง หรือทาให้ปรากฏซึ่งสัญญาณจราจร
2. ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากผู้กับกับการ ทา ติดตั้ง หรือทาให้ปรากฏซึ่งสัญญาณจราจร
3. ห้ามมิให้ผู้ใดนอกผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ ทา ติดตั้ง หรือทาให้ปรากฏซึ่งสัญญาณจราจร
4. ห้ามมิให้ผู้ใดนอกสารวัตงานจราจร ทา ติดตั้ง หรือทาให้ปรากฏซึ่งสัญญาณจราจร
32.ปลัดอาเภอและฝ่ายปกครองตั้งด่านบนทางหลวง หากไม่ขออนุญาต มีความผิดตามกฎหมายหรือไม่
1. ไม่มีความผิดทางกฎหมายเนื่องจากอานาจหน้าที่คนละส่วนกัน
2. มีความผิดทางกฎหมายตามกฎหมายจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 114
3. ไม่มีความผิดเพราะพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 ได้กาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน
4. ไม่มีความผิดเพราะ พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 มาตรา 38 ประกอบกับมาตรา 72 ให้อานาจ
33.กฎหมายให้อานาจผู้ตรวจการ และเจ้าพนักงานทางหลวง เรียกรถให้หยุดเพื่อทาการตรวจสอบ เมื่อพบว่า
ผู้กระทาความผิดทาความผิดจริง เจ้าพนักงานมีอานาจจับกุมผู้กระทาความผิดส่งตัวให้ใครเพื่อทาการดาเนินคดี
1. เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง
2. ตารวจ
3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกฎหมาย
4. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2
34.ข้อใดหมายถึง “สัญญาณจราจร” ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522
1. สัญญาณไฟ
2. ออกท่าทางด้วยมือหรือแขน
3. ส่งสัญญาณด้วยธง
4. ถูกทุกข้อ
35.เจ้าหน้าที่จราจรยืนให้สัญญาณอยู่บริเวณทางแยกต้องการให้รถที่อยู่ด้านหลังของตนเองขับผ่านไปได้
เจ้าหน้าที่จราจรต้องให้สัญญาณจราจรด้วยท่าทางแบบใด
1. ยืนและเหยียดแขนขวาท่อนล่างตั้งฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือขึ้นแล้วโบกมือไปข้างหน้า
2. ยืน และยกแขนขวาท่อนล่างตั้งฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือขึ้นกลับฝ่ามือแล้วโบกไปด้านหลัง
3. ยืนและเหยียดแขนซ้ายออกไปลดแขนซ้ายลงและโบกมือไปข้างหน้า
4. ยืนและเหยียดแขนซ้ายออกไปเสมอระดับไหล่แล้วโบกมือไปข้างหน้าหลัง
36.ใบขับขี่เป็นทรัพย์สิน ปกติคนอื่นเอาทรัพย์สินเราไปโดยไม่มีสิทธิ ย่อมเป็นความผิดในฐานลักทรัพย์ตาม
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 334 ได้ ซึ่งวางหลักว่า “ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นไป ย่อมมีความผิดฐานลักทรัพย์”
โดยการเอาไปในที่นี้ต้องเป็นการเอาไปโดยไม่มีสิทธิหรือไม่มีอานาจตามกฎหมาย ดังนั้น หากผู้เอาไปซึ่ง
ทรัพย์สินมีสิทธิหรืออานาจตามกฎหมาย ผู้เอาไปย่อมไม่มีความผิดฐานลักทรัพย์ เช่นนี้ถ้าผู้ขับขี่จะแจ้งความต่อ
ตารวจหากถูกยึดรถหรือใบขับขี่โดยไม่ยินยอมในฐานลักทรัพย์ได้หรือไม่

หน้า7/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-8

1. ได้เนื่องจากผู้ขับขี่ไม่ยินยอมสามารถไปต่อสู้ในชั้นศาลได้
2. ได้เนื่องจากเจ้าหน้าที่ของรัฐจะใช้อานาจหน้าที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของบุคคลไม่ได้
3. ไม่ได้เนื่องจากตารวจจราจรได้รับอานาจแห่งกรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
4. ไม่ได้เนื่องจากตารวจไม่ได้ลักทรัพย์
37.สัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 เมื่อมี
เหตุอันสมควร ใครมีอานาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
1. สารวัตจราจร
2. รองผู้กากับการ
3. ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ
4. รัฐมนตรี
38.ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตร 43 ทวิ และมาตรา 43 ตรี ให้ผู้ตรวจการ ต้องกระทาสิ่งใด ซึ่งออกตาม
กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกหรือกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ต่อผู้ซึ่งเกี่ยวข้อง
1. แสดงบัตรประจาตัวของตน
2. ตั้งข้อกล่าวหา
3. สั่งให้มีการทดสอบตามมาตรา 142
4. ควบคุมตัวผู้กระทาผิด
39.เจ้าพนักงานจราจร มีอานาจในการสั่งให้ผู้ขับขี่หยุดรถหรือไม่
1. ไม่มีอานาจใดทางกฎหมายที่อนุญาตให้ตารวจทางหลวงเรียกหยุดรถ
2. มีอานาจตามกฎหมายจราจรทางบก มาตรา 142
3. มีอานาจตามกฎหมายจราจรทางบก มาตรา 138
4. มีอานาจทางกฎหมายจราจรทางบก มาตรา 140
40.ผู้ที่มีอานาจตรวจบัตรประจาตัวประชาชน ต้องมีตาแหน่งใด
1. ตาแหน่งใดก็ได้
2. ตาแหน่งชั้นประทวนขึ้นไป
3. ตาแหน่งชั้นสัญญาบัตรขึ้นไป
4. ตาแหน่งรองสารวัตรขึ้นไป
41.เมื่อท่านเป็นผู้ให้สัญญาณจราจรให้ผู้ขับขี่รถผ่านไปได้ท่านต้องให้สัญญาณนกหวีดอย่างไร
1. ให้สัญญาณนกหวีดยาวสองครั้งติดต่อกัน
2. ให้สัญญาณนกหวีดสั้นสองครั้งติดต่อกัน
3. ให้สัญญาณนกหวีดยาวหนึ่งครั้ง
4. ให้สัญญาณนกหวีดสั้นหนึ่งครั้ง
42.เจ้าหน้าที่จราจรยืนให้สัญญาณอยู่ทางแยกต้องการให้รถที่หยุดอยู่ด้านหน้าของตนเองขับผ่านไปได้
เจ้าหน้าที่จราจรต้องให้สัญญาณจราจรด้วยท่าทางแบบใด
1. ยืนและเหยียดแขนขวาท่อนล่างตั้งฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือขึ้นแล้วโบกมือไปข้างหน้า

หน้า8/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-9

2. ยืน และยกแขนขวาท่อนล่างตั้งฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือขึ้นกลับฝ่ามือแล้วโบกไปด้านหลัง
3. ยืนและเหยียดแขนซ้ายออกไปลดแขนซ้ายลงและโบกมือไปข้างหน้า
4. ยืนและเหยียดแขนซ้ายออกไปเสมอระดับไหล่แล้วโบกมือไปข้างหน้าหลัง
43.ผู้ใดไม่มีหน้าที่ให้สัญญาณจราจรตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
1.ผู้ขับขี่รถยนต์
2.พนักงานจราจร
3.ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์
4.คนเดินเท้า
44.นายขวัญขับรถบรรทุกอ้อยโดยที่อ้อยยื่นเกินความยาวของตัวรถโดยไม่มีโคมไฟแสงแดง ขณะที่อยู่ในทางเดิน
รถ และถนนที่เกิดเหตุมีแสงสว่างเพียงพอที่จะทาให้มองเห็นรถจาเลยได้โดยชัดแจ้งภายในระยะไม่น้อยกว่า 150
เมตร จนเป็นเหตุให้รถยนต์ที่นายดาขับพุ่งชนท้ายรถบรรทุกอ้อยจนนายดาได้รับบาดเจ็บสาหัส จากเหตุการณ์ที่
กล่าวมาข้างต้น นายขวัญมีความผิดหรือไม่
1.ไม่มีความผิดเนื่องจากนายขวัญก็ขับรถไปในทางของตนเองปกติ
2.ไม่ผิดเนื่องจากนายดาขับรถโดยประมาท
3.มีความผิดเนื่องจากนายขวัญขับรถโดยประมาทโดยไม่มีโคมไฟแสงแดงส่องออกท้ายรถ
4.ไม่มีความผิดเนื่องจากถนนมีแสงสว่างเพียงพอ
45. เจ้าหน้าที่ตั้งด่านตรวจ พบแผ่นป้ายทะเบียนเลือนรางเป็นสีขาวผู้ขับขี่มีความผิดหรือไม่
1. ผิดเพราะมีและแสดงแผ่นป้ายและเครื่องหมายไม่ครบถ้วนถูกต้องตามกาหนดในกฎกระทรวง
2. ไม่ผิดเพราะรถเก่าแผ่นป้ายทะเบียนก็เก่าตามเวลา
3. ผิดเพราะทาให้ผู้พบเห็นอ่านไม่ออก
4. ไม่ผิด เพราะตาม พ.ร.บ. ไม่ได้กาหนดข้อบังคับเกี่ยวกับป้ายทะเบียนรถ
46. การติดตั้งป้ายเตือนทางแยก พิจารณาจากองค์ประกอบอะไรบ้าง
1. เขตชุมชน
2. ความเร็วออกแบบ ระยะการมองเห็น
3. ขนาดของช่องจราจร
4. ความเร็วออกแบบ ขนาดของไหล่ทาง
47. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการทราบปริมาณการจราจรเฉลี่ยต่อปี (Average Daily Traffic)
1. ทราบตาแหน่งของยานพาหนะบนถนน
2. ทราบตาแหน่งของสถานีตารวจในพื้นที่
3. ทราบสัดส่วนของยานพาหนะแต่ละประเภท
4. ทราบสถานการณ์ในการเฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุบนถนน
48. ข้อใดเป็นความหมายของอัตราการไหล (Rate of Flow)
1. จานวนยานพาหนะสูงสุดในเวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง
2. จานวนการจราจรที่วิ่งผ่านจุดใดจุดหนึ่งในเวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง

หน้า9/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-10

3. จานวนยานพาหนะที่ได้จากการสารวจปริมาณการจราจรทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมง


4. ถูกทุกข้อ
49. ข้อใดตรงกับความหมายของการใช้อุปกรณ์ตรวจจับความเร็วของเจ้าหน้าที่ตารวจ
1. เป็นการตรวจจับความเร็วสูงสุดบนถนน
2. เป็นการตรวจจับความเร็วต่าสุดบนถนน
3. เป็นการตรวจจับความเร็วเฉพาะจุดบนถนน
4. เป็นการตรวจจับความเร็วเฉลี่ยบนถนน
50. เหตุการณ์ใดมีความสอดคล้องกับทฤษฏีอุโมงค์มากที่สุด
1. การสารวจความเร็วที่ปลอดภัยบนถนน
2. การสารวจปริมาณการจราจรแต่ละประเภท
3. การกาหนดความเร็วปลอดภัยบนถนน
4. การหาสัดส่วนยานพาหนะบนถนน
51. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการทราบความหมายของระยะห่างและเวลาห่าง (Space Headway) ของรถ 2 คัน
1. การขับขี่ยานพาหนะขณะมึนเมาสุรา
2. การขับขี่ยานพาหนะโดยไม่สวมหมวกนิรภัย
3. การขับขี่ยานพาหนะเกินความเร็วจากัดทางกฎหมาย
4. การขับขี่ยานพาหนะด้วยความเร็วในชุมชนบริเวณทางแยกจนทาให้เกิดอุบัติเหตุ
52. ตามมาตรา 43 ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคสองเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้องระวางโทษ
ใด
1. จาคุกตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปี ปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 100,000 บาท และสั่งให้สารเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่
2. จาคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 10 ปี ปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 200,000 บาท และสั่งให้สารเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่
3. จาคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 10 ปี ปรับตั้งแต่ 60,000 บาท ถึง 200,000 บาท และสั่งให้สารเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่
4. จาคุกตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปี ปรับตั้งแต่ 60,000 บาท ถึง 100,000 บาท และสั่งให้สารเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่
53. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ตามมาตรา 9 กล่าวไว้ว่าอย่างไร
1. ห้ามมิให้ผู้ใดนารถที่มีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรง หรืออาจเกิดอันตราย หรืออาจทาให้เสื่อมเสียสุขภาพอนามัยแก่
ผู้ใช้ คนโดยสารหรือประชาชนมาใช้ในทางเดินรถ
2. ห้ามมิให้ผู้ใดนารถที่มิได้ติดแผ่นป้ายเลขทะเบียน แผ่นป้ายเครื่องหมายเลขทะเบียนหรือป้ายประจารถ ตาม
กฎหมายว่าด้วยรถยนต์ กฎหมายว่าด้วยการขนส่ง กฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน กฎหมายว่าด้วยรถลาก หรือกฎหมาย
ว่าด้วยรถจ้าง มาใช้ในทางเดินรถ
3. ห้ามมิให้ผู้ใดนารถที่ผู้ขับขี่ไม่อาจแลเห็นทางพอแก่ความปลอดภัยมาใช้ในทางเดินรถ
4. ห้ามมิให้ผู้ใดนารถที่เกิดเสียงอื้ออึงหรือมีสิ่งลากถูไปบนทางเดินรถมาใช้ในทางเดินรถ
54. จาเลยที่ 1 ขับ จาเลยที่ 2 และที่ 3 นั่งซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ที่จาเลยที่ 1 ขับโดยนั่งโยกตัวไปมาเพื่อ
ไม่ให้รถเสียหลักล้มย่อมเป็นการอานวยความสะดวกให้จาเลยที่ 1 สามารถขับรถจักรยานยนต์ด้วยความเร็วสูง
แซงซ้ายแซงขวารถคันอื่นในลักษณะน่าหวาดเสียว ซึ่งเป็นการขับรถที่ไม่คานึงถึงความปลอดภัยหรือความ

หน้า10/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-11

เดือดร้อนของผู้อื่น ตามบทบัญญัติของ พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตราใด


1. มาตรา 43 (5)
2. มาตรา 43 (8)
3. มาตรา 44 (5)
4. มาตรา 44 (8)
55. ท่านกาลังตั้งด่านตรวจขันวินัยจราจรพบผู้ขับขี่ย้อนศรไม่ขับไปในทิศทางที่กาหนดไว้ท่านสามารถแจ้งข้อหาใด
และมาตราอะไร
1. มาตรา 41 ระบุให้ผู้ขับขี่รถไปตามทิศทางที่กาหนด ใครฝ่าฝืน (ขับย้อนศร) มีโทษปรับ
2. มาตรา 44 ระบุให้ผู้ขับขี่รถไปตามทิศทางที่กาหนด ใครฝ่าฝืน (ขับย้อนศร) มีโทษปรับ
3. มาตรา 46 ระบุให้ผู้ขับขี่รถไปตามทิศทางที่กาหนด ใครฝ่าฝืน (ขับย้อนศร) มีโทษปรับ
4. มาตรา 48 ระบุให้ผู้ขับขี่รถไปตามทิศทางที่กาหนด ใครฝ่าฝืน (ขับย้อนศร) มีโทษปรับ
56.นายหมื่นมีรถหลายคันที่บ้านซึ่งได้รับการจดทะเบียนทุกคัน แต่นายหมื่นใช้เพียงแค่กระบะคันเดียว รถที่นาย
หมื่นไม่ได้นามาใช้ต้องชาระภาษีประจาปีหรือไม่ ตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522
1. ไม่จาเป็นต้องชาระภาษี ถึงแม้เป็นผู้ครอบครองแต่รถมิได้ใช้
2. ต้องชาระภาษีทุกคัน
3. ชาระภาษีแต่คันที่ใช้ประจาเท่านั้น
4. ไม่จาเป็นต้องชาระภาษีตามมาตรา 33
57.รถที่ไม่เสียภาษีประจาปีภายในกาหนดจะต้องเสียเงินเพิ่มเท่าใด
1. ร้อยละ 1 ต่อเดือน
2. ร้อยละ 1 ต่อปี
3. ร้อยละ 10 ต่อเดือน
4. ร้อยละ 7 ต่อปี
58.ผู้ขับรถกระทาผิดตามกฎหมายจราจรทางบกและได้รับใบสั่งจากเจ้าพนักงานจราจรต้องไปติดต่อชาระ
ค่าปรับภายในกี่วัน
1. 10 วัน
2. 7 วัน
3. 15 วัน
4. 30 วัน
59.ผู้ขับรถใช้ใบอนุญาตขับรถที่สิ้นอายุมีความผิดอย่างไร
1.ปรับไม่เกินห้าพันบาท
2.ปรับไม่เกินสองพันบาท
3.ปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
4.จาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน

หน้า11/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-12

60.ใบขับขี่รถจักรยานยนต์สามารถทาได้ตั้งแต่อายุเท่าไร ตาม พ.ร.บ.ใด


1. อายุ 15 ปี พ.ร.บ.จราจรทางบก
2. อายุ 15 ปี พ.ร.บ.รถยนต์
3. อายุ 18 ปี พ.ร.บ.รถยนต์
4. อายุ 18 ปี พ.ร.บ.จราจรทางบก
61.รถในข้อใดต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียน
1.รถของสานักพระราชวังที่จดทะเบียนและมีเครื่องหมายตามระเบียบที่เลขาธิการ พระราชวังกาหนด
2.รถสาหรับเฉพาะพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3.รถของกรมตารวจที่จดทะเบียนและมีเครื่องหมายตามระเบียบที่อธิบดีกาหนด
4.รถที่เจ้าของรถแจ้งการไม่ใช้รถ
1. ข้อ 1
2. ข้อ 1, 2
3. ข้อ 1, 2, 3
4. ข้อ 1, 2, 3, 4
62.ข้อใดถูกต้องในขณะขับรถ
1.ผู้ขับรถต้องมีสาเนาใบอนุญาตขับรถ และใบคู่มือจดทะเบียนรถ
2.ผู้ขับรถต้องมีใบอนุญาตขับรถ และใบคู่มือจดทะเบียนรถ
3.ผู้ขับรถต้องมีใบอนุญาตขับรถ และสาเนาภาพถ่ายใบคู่มือจดทะเบียนรถ
4.ผู้ขับรถต้องมีสาเนาใบอนุญาตขับรถ และสาเนาใบคู่มือจดทะเบียนรถ
63.รถในข้อใดต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเว้นแต่ค่าธรรมเนียมแผ่นป้ายทะเบียนรถ
1.รถของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต
2.รถของมูลนิธิร่วมกตัญญู
3.รถของวัด
4.รถของมูลนิธิสายใจไทย
64. เมื่อผู้ขับขี่ถูกเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ไว้เป็นการชั่วคราวและได้รับใบรับแทนใบอนุญาตขับขี่ ใบรับแทน
ใบอนุญาตขับขี่ที่ผู้ขับขี่นามาแสดงต่อท่านมีอายุไม่เกินกี่วัน
1. 7 วัน
2. 15 วัน
3. 30 วัน
4. ไม่กาหนดจนกว่าผู้ขับขี่จะเสียค่าปรับ
65. การต่ออายุใบอนุญาตขับรถส่วนบุคคล (5 ปี) สามารถต่อก่อนล่วงหน้าได้กี่เดือน
1. 3 เดือน
2. 2 เดือน
3. 1 เดือน

หน้า12/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-13

4. 4 เดือน
66. รถในข้อใดต่อไปนี้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียน
1. รถที่ผู้ผลิตหรือประกอบเพื่อจาหน่ายหรือที่ผู้นาเข้าเพื่อจาหน่าย ผลิต ประกอบหรือนาเข้า และยังมิได้
จาหน่ายให้แก่ผู้อื่น
2. รถสามล้อส่วนบุคคล
3. รถจักรยานยนต์นามาใช้ในหมู่บ้าน
4. รถของวัด
67. ข้อใดถูกต้อง
1.ใบอนุญาตขับรถยนต์สาธารณะ ใช้แทน ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลได้
2.ใบอนุญาตขับรถยนต์สาธารณะ ใช้แทน ใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคลได้
3.ใบอนุญาตขับรถยนต์สาธารณะ ใช้แทน ใบอนุญาตขับรถยนต์สามล้อส่วนบุคคลได้
4.ใบอนุญาตขับรถยนต์สามล้อสาธารณะ ใช้แทน ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลได้
68. เมื่อท่านตรวจขันวินัยจราจรพบผู้ขับขี่รถสาธารณะโดยไม่ได้รับใบอนุญาต ผู้ขับรถจะมีโทษอย่างไร
1.จาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
2.ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
3.จาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
4.ปรับไม่เกิน 2,000 บาท
69. กรณีถูกเพิกถอนใบอนุญาตขับรถมีสิทธิอุทธรณ์ได้ภายในกี่วัน นับตั้งแต่วันได้รับคาสั่งฯ
1. 15 วัน
2. 30 วัน
3. 45 วัน
4. 60 วัน
70. หากนารถที่มีอุปกรณ์ส่วนควบไม่ครบ ถูกต้อง (ล้อยื่นเกินกว่าตัวรถ) มาใช้ในทาง มีอัตราโทษปรับไม่เกิน
เท่าใด
1. 1,000 บาท
2. 2,000 บาท
3. 3,000 บาท
4. 4,000 บาท
71. แมวใช้รถยนต์อื่นนอกจากรถยนต์ โดยสารประจาทางรับจ้างคนโดยสารรายทาง โดยมิได้รับอนุญาตมีอัตรา
โทษปรับเท่าใด ตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522
1. 1,000 บาท
2. 2,000 บาท
3. 5,000 บาท
4. 10,000 บาท

หน้า13/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-14

72. รถจักรยานยนต์บรรทุกของได้ ต้องไม่เกินกี่กิโลกรัม


1. 50 กิโลกรัม
2. 100 กิโลกรัม เทียบเท่าคนสองคน
3. 80 กิโลกรัม
4. 60 กิโลกรัม
73. นายโชคขับรถด้วยความเร็วชนรถยนต์นายดวงได้รับความเสียหาย กรณีดังกล่าวนายดวงจะต้องเรียก
ค่าเสียหายทางแพ่งภายในกาหนดเวลาเท่าใด
1. 1 ปี นับแต่วันที่ผู้เสียหายรู้ถึงละเมิด และรู้ตัวผู้จะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
2. 10 ปี นับแต่วันทาละเมิด
3. ไม่มีกาหนดระยะเวลา
4. ถูกทั้งข้อ 1. และ 2.

74. เครื่องหมายนี้ คือเครื่องหมายอะไร

1. ห้ามจอดรถทุกชนิด
2. ห้ามหยุดรถทุกชนิด
3. ห้ามแซง
4. ให้จอดได้
75. ป้ายทรงกลม พื้นหลังสีน้าเงิน ตัวหนังสือหรือรูปภาพสีขาว เป็นลักษณะของป้ายชนิดใด
1. ป้ายเตือน
2. ป้ายแนะนา
3. ป้ายบังคับ
4. ป้ายบอกทาง
76. ป้ายทรงสี่เหลี่ยมพื้นหลังสีน้าเงิน รูปภาพหรือตัวอักษรสีขาว เป็นลักษณะของป้ายประเภทใด
1. ป้ายเตือน
2. ป้ายแนะนา
3. ป้ายบังคับ
4. ป้ายบอกทาง
77. บริเวณย่านชุมชน ป้ายเตือนคนข้ามถนนต้องติดตั้งก่อนจะถึงบริเวณที่มีคนข้ามหรือทางคนข้ามเป็นระยะไม่
น้อยกว่าเท่าใด
1. 125 เมตร
หน้า14/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-15

2. 200 เมตร
3. 250 เมตร
4. 300 เมตร
78. เจ้าพนักงานจราจรปฏิบัติหน้าที่อยู่บริเวณถนนที่มีทางรถไฟตัดผ่านและไม่มีที่กั้น เมื่อรถไฟได้ส่งสัญญาณ
ท่านจะปฏิบัติอย่างไร
1. โบกรถให้หยุดรถห่างจากทางรถไฟ 5 เมตร
2. โบกรถให้หยุดรถห่างจากทางรถไฟ 3 เมตร
3. โบกรถให้รีบขับผ่านทางรถไฟ
4. ปิดถนนเส้นนั้นชั่วคราว
79.ผู้ประกอบการใช้รถประกอบการขนส่งผิดประเภท มีอัตราโทษปรับไม่เกินเท่าใด ตามตามพระราชบัญญัติ
ขนส่งทางบก พ.ศ. 2522
1. 10,000 บาท
2. 20,000 บาท
3. 30,000 บาท
4. 40,000 บาท
80. การยินยอมให้บุคคลอื่นใช้รถที่ได้รับอนุญาตทาการขนส่ง ออกนอกเส้นทางโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ
จากนายทะเบียน มีอัตราโทษปรับไม่เกินเท่าใด ตามตามพระราชบัญญัติขนส่งทางบก พ.ศ. 2522
1. คันละ 5,000 บาท ต่อหนึ่งวันจนกว่าจะดาเนินการให้ถูกต้อง
2. คันละ 20,000 บาท ต่อหนึ่งวันจนกว่าจะดาเนินการให้ถูกต้อง
3. คันละ 30,000 บาท ต่อหนึ่งวันจนกว่าจะดาเนินการให้ถูกต้อง
4. คันละ 40,000 บาท ต่อหนึ่งวันจนกว่าจะดาเนินการให้ถูกต้อง
81.การกาหนดความเร็วมีในกฎหมายฉบับใดบ้าง
1. กฎหมายรถยนต์ กฎหมายจราจรทางบก
2. กฎหมายจราจรทางบก กฎหมายทางหลวง
3. กฎหมายขนส่ง กฎหมายทางหลวง
4. กฎหมายรถยนต์ กฎหมายทางหลวง
82. การกาหนดความเร็วบนทางหลวงพิเศษสาหรับรถยนต์นั่งส่วนบุคคล กาหนดความเร็วไว้ที่เท่าใด
1. ไม่เกิน 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
2. ไม่เกิน 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
3. ไม่เกิน 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4. ไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

หน้า15/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-16

83.จากสถานการณ์บนถนนผู้ขับขี่รถบรรทุกไม่สามารถมองเห็น (Blind Spot)


รถคันใด
1. คันสีแดง
2. คันสีเหลือง
3. คันสีน้าเงิน
4. คันสีส้ม
84.จากสถานการณ์ รถคันสีส้มควรเว้นระยะห่างปลอดภัยกี่วินาที

1. 2 วินาที
2. 3 วินาที
3. 4 วินาที
4.5 วินาที

85.จากสถานการณ์บนถนนผู้ขับขี่รถบรรทุกไม่สามารถมองเห็น (Blind Spot) รถคันใด


1. คันสีส้ม
2. คันสีแดง
3. คันสีเขียว
4. คันสีเหลือง

86.จากสถานการณ์ รถคันใดต้องให้ทาง
1. คันสีส้ม
2. คันสีน้าเงิน
3. มีสิทธิ์ทั้งคู่
4. ไม่มีข้อใดถูก

87.จากมารยาทในการขับขี่รถคันใดมีสิทธิ์จอด
1. คันสีขาว
2. คันสีแดง
3. ทั้งสองคัน
4. ไม่มีข้อถูก

หน้า16/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-17

88.หากผู้ขับขี่ต้องการแซงขวาต้องปฏิบัติตัวอย่างไร

1. ให้สัญญาณไฟเลี้ยวขวาและเร่งเครื่องเพื่อแซงรถจักรยาน
2. ให้สัญญาณไฟเลี้ยวขวาและขับคู่กับรถจักรยาน
3. ไม่สามารถแซงได้เนื่องจากระยะแซงไม่ปลอดภัย
4. ไม่มีข้อใดถูก

89. จากสถานการณ์ รถคันใดได้สิทธิ์ไปก่อน


1. คันสีน้าเงิน
2. คันสีส้ม
3. คันสีแดง
4. ไม่มีข้อใดถูก

90. กรณีที่รถสีส้มต้องการเดินทางผ่านวงเวียนต้องปฏิบัติอย่างไร
1. เปิดไฟเลี้ยวและเคลื่อนที่ผ่านวงเวียน
2. เปิดไฟเลี้ยวขวาและชะลอให้รถคันสีน้าเงินไปก่อน
3. เปิดไฟเลี้ยวและเปลี่ยนช่องทางจราจรอย่างรวดเร็ว
4. ไม่มีข้อใดถูก

91. จากสถานการณ์ รถคันสีส้มต้องทาอย่างไร


1. เร่งเครื่องแล้วแซงจักรยานให้เร็วที่สุด
2. เปิดไฟเลี้ยวให้สัญญาณแล้วเปลี่ยนเลนทันที
3. ขับในช่องจราจรเดิมด้วยความเร็วที่กฎหมายกาหนดและแซงเมื่อปลอดภัย
4. ขับด้วยความเร็วที่กฏหมายกาหนดแล้วแซงเมื่อมีระยะประมาณ 1 เมตร

92. หากผู้ขับขี่ต้องการขับตรงไปควรปฏิบัติตัวอย่างไร
1. แซงทางซ้ายเนื่องจากช่องทางจราจรว่าง
2. เร่งเครื่องและใช้สัญญาณไฟสูงเพื่อให้รถคันข้างหน้าทราบว่าเรากาลังมา
3. ชะลอความเร็วและให้รถคันข้างหน้าเปลี่ยนช่องทางจราจร
4. บีบแตรเพื่อให้รถข้างหน้าทราบว่ารถข้างหลังมีสิทธิ์ไปก่อน

หน้า17/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-18

93. จากสถานการณ์ ผู้ขับขี่ต้องปฏิบัติตัวอย่างไร


1. ชะลอความเร็วเนื่องจากเป็นชุมชน
2. ระมัดระวังเด็กหรือผู้คนเดินข้ามถนน
3. ระมัดระวังรถที่จอดอยู่ข้างทางเปิดประตู
4. ถูกทุกข้อ
94. การตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ผู้ขับขี่ตรวจได้โดยวิธีใด
1. ตรวจจากเลือด
2. ตรวจวัดด้วยลมหายใจ
3. ตรวจวัดปัสสาวะ
4. ถูกทุกข้อ
95. ระยะหยุดปลอดภัย (Stopping sight distance) หมายถึงระยะใดต่อไปนี้
1. ระยะเบรก
2. ระยะปฏิกิริยา
3. ระยะเบรกและระยะปฏิกิริยา
4. ระยะหยุดยานพาหนะ
96. จากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วและมุมมองส่งผลต่อผู้ขับขี่อย่างไร

1. ความเร็วมาก มุมมองยิ่งแคบ
2. ความเร็วมาก ระยะการตัดสินใจยิ่งมีน้อย
3. การเฝ้าระวังปัญหาการเกิดอุบัติเหตุบริเวณทางแยก
4. ถูกทุกข้อ
97. ความเร็วออกแบบปลอดภัยที่สุด เมื่อผู้ขับขี่ใช้ความเร็วเกินกว่านี้จะไม่ปลอดภัยและความเร็วนี้จะใช้ในการ
กาหนดความเร็วสูงสุดบนถนน ความเร็วออกแบบนิยมใช้ความเร็วที่ Percentile เท่าใด
1. 15
2. 50
3. 85
4. 100

หน้า18/19
ภาคผนวก ค ชุดที่ 4-19

98. ระยะปลอดภัย (Safety distance) แบบใช้จุดอ้างอิงควรให้เวลาห่างจากรถคันหน้ากี่วินาที


1. 1 วินาที
2. 2 วินาที
3. 3 วินาที
4. 4 วินาที
99.ปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือดจะทาให้ผู้ที่ดื่มมีลักษณะอาการเมาแตกต่างกัน ถ้าหากมี
ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดปริมาณ 300-500 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ผู้ดื่มจะมีลักษณะอาการอย่างไร
1. ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อต่าลง
2. ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อต่าลง การตัดสินใจเริ่มช้าลง
3. ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อต่าลงมาก การตัดสินใจช้าลง พูดไม่ชัด
4. ตามีอาการพร่ามัว เห็นภาพซ้อน ระดับน้าตาลในเลือดต่า อุณหภูมิในร่างกายต่า แขนและขา เกิดอาการเกร็ง
100. มีระดับแอลกอฮอล์ในเลือด 150 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ โอกาสเกิดอุบัติเหตุเป็นกี่เท่าของคนที่ไม่ดื่มสุรา
1. 10 เท่า
2. 20 เท่า
3. 30 เท่า
4. 40 เท่า

หน้า19/19

You might also like