You are on page 1of 14

โครงการสอน (Course Outline)

สาระการเรียนรู้รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32201

ครูผู้สอน มิสกีรติ วงศ์ผะดาย


ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-3 ภาคเรียนที่ 1 / 2566
ลักษณะวิชา  สาระพื้นฐาน  สาระเพิ่มเติม  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน  อื่น ๆ

1) คำอธิบายรายวิชา (ภาคเรียนที่ 1)
สังเกตและอธิบาย คำนวณ ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับแสง
รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ คำนวณ ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับ แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ศึกษาหลักการของคลื่ นในเรื่อง องค์ประกอบของคลื่นและการเคลื่อนที่ของคลื่น
สมบัติของคลื่น ธรรมชาติของเสียง สมบัติของคลื่นเสียง การอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับคลื่นเสียง การสั่นพ้องของเสียง บีตส์ ปรากฏการดอปเพลอร์และคลื่นกระแทก หูและการได้ยิน ความเข้มของเสียงและมลพิษทางเสียง
ธรรมชาติของแสง แสงเชิงเรขาคณิต กระจกเงาโค้ง เลนส์บางหนาและหลักการของทัศนอุปกรณ์บางชนิด การรับรู้สีของนัยน์ตาคน แสงเชิงฟิสิกส์และอธิบายปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับคลื่นแสง โดยใช้ทักษะกระบวนการาง
วิทยาศาสตร์ การสืบคนข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ทดลองและอธิบายการทำวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต อธิบาย และคำนวณแรง
ไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ในสนามไฟฟ้า รวมทั้งสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระ บบจุดประจุโดยรวมแบบเวกเตอร์ พลังงานศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์
ระหว่างสองตำแหน่งใด ๆอธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุความสัมพันธ์ระหว่างประจุไฟฟ้า ความต่างศักย์และความจุของตัวเก็บประจุ และอธิ บายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงนำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม อธิบายการเคลื่อนที่ของ
อิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแ น่นของอิเล็กตรอนในลวดตัวนำและพื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ และคำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาวพื้นที่หน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนำโลหะ ที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอธิบายและคำนวณ
ความต้านทานสมมูล เมื่อนำตัวต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนานคำนวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งอธิบายและคำนวณพลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้าอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบ ตเตอรี่แบบ
อนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งประกอบด้วยแบตเตอรี่และตัวต้านทาน และอธิบายก ารเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับ
เทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
โดยการใช้กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสร้างความคิดวิจารณญาณ กระบวนการวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเชี่อมโยง
เพื่อให้มีความใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย มีภาวะผู้นำ มีจิตอาสา รักความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และอยู่อย่ างพอเพียง
2) ผลการเรียนรู้ (รายวิชา )
ผลการเรียนรู้ (ภาคเรียนที่ 1) ความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
1. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง และ อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 2 ม.5/1-2
เกิดการสั่นพ้อง
2. อธิบายปรากฏการคลื่น ชนิดของคลื่น ส่วนประกอบคลื่น การแผ่ของหน้าคลื่น ด้วยหลักการของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ้อนทับ พร้อมทั้งคำนวณอัตราเร็ว ความถี่ และ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 2 ม.5/3-4
ความยาวคลื่น รวมถึงสังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง
3. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่น การกระจัดของอนุภาคกับคลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสี ยงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน่วยองศา ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 2 ม.5/5-7
เซลเซียส สมบัติของคลื่นได้แก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน รวมทั้งคำนวณปริมาณต่ าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน
คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้งสังเกตและอธิบายการเกิดบีต
คลื่นนิ่ง ปรากฎการดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
4. ทดลอง และอธิบายการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่และเกรตติง การเลี้ยงเบนและการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตเดี่ยว รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยงข้องทดลองและอธิบายการ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 2 ม.5/8-10
สะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคำนวณตำแหน่งของขนาดภาพของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทั้งอธิบายการนำความรู้
เรื่องการสะท้อนของแสงจาการจกเงาราบ และกระจกเองทรงกลมไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเห รวมทั้งอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
5. ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 2 ม.5/11-13
ๆ ที่เกี่ยวข้อง และอธิบายการนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสง เช่ น รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการ
เห็นท้องฟ้าเป็นสีต่าง ๆ ในช่วงเวลาต่างกัน รวมถึงสังเกต และอธิบายการมองเห็นแสงสีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมทั้งอธิบายสาเหตุของการบอดสี
6. ทดลองและอธิบายการทำวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต และคำนวณแรงไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/1-2
7. อธิบายและคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ในสนามไฟฟ้า รวมทั้งสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมแบบเวกเตอร์ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/3
8. อธิบาย และคำนวณพลังงานศักย์ไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างสองตำแหน่ งใด ๆ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/4
9. อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุความสัมพันธ์ระหว่างประจุไฟฟ้า ความต่างศักย์และความจุของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตั วเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคำนวณ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/5
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
10. นำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/6
11. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิ เล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/7-9
อิเล็กตรอนในลวดตัวนำและพื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อธิบายกฎของโอห์ม อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาวพื้นที่หน้าตัด และ
สภาพต้านทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอธิบายและคำนวณความต้านทานสมมูล เมื่อนำตัวต้ านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน และ
คำนวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งอธิบายและคำนวณพลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้า
12. ทดลองและคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งประกอบด้วยแบตเตอรี่แ ละตัว ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.5/10-11
ต้านทาน และอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองค วามต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยเน้น
ด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย
3) รายละเอียดการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1
3.1 ภาคเรียนที่ 1 ก่อนกลางภาค (คะแนนเก็บก่อนกลางภาค 20 คะแนน + Portfolio 5 คะแนน รวมเป็น 25 คะแนน)
ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 2 คลื่นกล
เพิ่มเติม ➢ การเกิดคลื่น ตัวชี้วัดที่ 2
ข้อที่ 2 ➢ ลักษณะคลื่น -ชิ้นงานแบบฝึกหัดเรื่อง
ม.5/3-4 ➢ ส่วนประกอบของคลื่น คลื่นกล 5
➢ กฎของ Snall เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง คลื่นกล
➢ การสะท้อน
➢ การหักเห
➢ การแทรกสอด
➢ การเลี้ยวเบน
2. ฟิสิกส์ 3 เสียงและการได้ยิน
เพิ่มเติม ➢ อัตราเร็วเสียง ตัวชี้วัดที่ 3
ข้อที่ 2 ➢ การสะท้อนเสียง -ส่งสรุปเรื่องเสียง 5
ม.5/5-7 ➢ ความเข้มเสียงและการได้ยิน
เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง เสียง
➢ หูกับการได้ยิน
และการได้ยิน
➢ บีตส์และคลื่นนิ่งของเสียง
➢ การสั่นพ้องของเสียง
➢ ปรากฏการดอปเพลอร์ และคลื่นกระแทก
➢ การประยุกความรู้เรื่องเสียง
3. ฟิสิกส์ 4 แสง เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แสง
ตัวชี้วัดที่ 4
เพิ่มเติม ข้อ ➢ การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดผ่านสลิตคู่และเกรตติง
➢ การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาระนาบ -ใบงานการเกิดภาพ 2
ที่ 2 ม.5/8-
10 ➢ การสะท้อนของกระจกโค้งทรงกลม
➢ การหักเหของแสงที่ผิวโค้งวงกลมของเลนส์
➢ ดรรชนีหักเห
➢ มุมตกกระทบ
➢ มุมหักเห
➢ ลึกจริงลึกปรากฏ
➢ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด
4. ฟิสิกส์ 5 ทัศนอุปกรณ์ (เลนส์) เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ทัศนอุปกรณ์
เพิ่มเติม ➢ การเกิดภาพ (เลนส์)
ข้อที่ 2 ➢ ชนิดของภาพ ตัวชี้วัดที่ 5 3
ม.5/11-13 ➢ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส -ชิ้นงานทัศนอุปกรณ์
➢ การหักเหของแสงผ่านเลนส์
➢ ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติเกีย่ วกับแสง
➢ การมองเห็นแสงสี
➢ การผสมสารสี และการผสมแสงสี
5. ฟิสิกส์ 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์ เอกสารประกอบการเรียน
เพิ่มเติม เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์ ตัวชี้วัดที่ 1 5
ข้อที่ 2 -ชิ้นงานสรุปเรื่องการ
ม.5/1-2 เคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิก

Portfolio (5 คะแนน)
6. ฟิสิกส์ 2 คลื่นกล 1.เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง คลื่น 1. Mind mapping เรื่อง 5
เพิ่มเติม ➢ การเกิดคลื่น 2.หนังสือเสริมเพิ่มเติม คลื่น
ข้อที่ 2 ➢ ลักษณะคลื่น 3.ความรู้ทางเว็ปไซต์ 2. โจทย์เรื่องคลื่น
ม.5/3-4 ➢ ส่วนประกอบของคลื่น
➢ กฎของ Snall
➢ การสะท้อน
➢ การหักเห
➢ การแทรกสอด
➢ การเลีย้ วเบน
3.2 ภาคเรียนที่ 1 กลางภาค (คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน) (กำหนดเนื้อหาการสอบ/รูปแบบการสอบ ให้ชัดเจน)
ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 2 คลื่นกล สอบกลางภาค -แบบทดสอบเรื่อง คลื่นกล 5
เพิ่มเติม ➢ การเกิดคลื่น
ข้อที่ 2 ➢ ลักษณะคลื่น
ม.5/3-4 ➢ ส่วนประกอบของคลื่น
➢ กฎของ Snall
➢ การสะท้อน
➢ การหักเห
➢ การแทรกสอด
➢ การเลี้ยวเบน
2. ฟิสิกส์ 3 เสียงและการได้ยิน สอบกลางภาค -แบบทดสอบเรื่อง เสียงและ 5
เพิ่มเติม ➢ อัตราเร็วเสียง การได้ยิน
ข้อที่ 2 ➢ การสะท้อนเสียง
ม.5/5-7 ➢ ความเข้มเสียงและการได้ยิน
➢ หูกับการได้ยิน
➢ บีตส์และคลื่นนิ่งของเสียง
➢ การสั่นพ้องของเสียง
➢ ปรากฏการดอปเพลอร์ และคลื่นกระแทก
➢ การประยุกความรู้เรื่องเสียง
3. ฟิสิกส์ 4 แสง สอบกลางภาค แบบทดสอบเรื่อง แสงและ
เพิ่มเติม ข้อ ➢ การเลีย้ วเบนและการแทรกสอดผ่านสลิตคู่และเกรตติง ทัศนอุปกรณ์ 2
ที่ 2 ม.5/8- ➢ การสะท้อนของแสงบนกระจกเงาระนาบ -แบบทดสอบเรื่อง แสง
10 ➢ การสะท้อนของกระจกโค้งทรงกลม
➢ การหักเหของแสงที่ผิวโค้งวงกลมของเลนส์
➢ ดรรชนีหักเห
➢ มุมตกกระทบ
➢ มุมหักเห
➢ ลึกจริงลึกปรากฏ
➢ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมด
4. ฟิสิกส์ 5 ทัศนอุปกรณ์ (เลนส์) สอบกลางภาค - แบบทดสอบเรื่อง ทัศน 3
เพิ่มเติม ➢ การเกิดภาพ อุปกรณ์
ข้อที่ 2 ➢ ชนิดของภาพ
ม.5/11-13 ➢ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส
➢ การหักเหของแสงผ่านเลนส์
➢ ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติเกีย่ วกับแสง
➢ การมองเห็นแสงสี
➢ การผสมสารสี และการผสมแสงสี
5. ฟิสิกส์ 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์ สอบกลางภาค -แบบทดสอบ เรื่อง ฮาร์มอ 5
เพิ่มเติม นิกส์
ข้อที่ 2
ม.5/1-2

3.3 ภาคเรียนที่ 1 ก่อนปลายภาค (คะแนนเก็บก่อนปลายภาค 20 คะแนน + Portfolio 5 คะแนน รวมเป็น 25 คะแนน)


ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 6. ไฟฟ้าสถิต ตัวชี้วัดที่ 6 4
เพิ่มเติมข้อ ➢ ประจุไฟฟ้า -ใบงานไฟฟ้าสถิต เรื่องแรง
ที3่ ม.5/1-2 แรงระหว่างประจุไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ ระหว่างประจุ

2. ฟิสิกส์ 7. ไฟฟ้าสถิต
เพิ่มเติม ➢ สนามไฟฟ้า ตัวชี้วัดที่ 7
ข้อที่ 3 สนามไฟฟ้าของตัวนำทรงกลม และแรงกระทำต่อประจุไฟฟ้าที่ เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ไฟฟ้าสถิต -ใบงานไฟฟ้าสถิต เรื่อง 2
ม.5/3 อยู่ในสนามไฟฟ้า สนามไฟฟ้า
3. ฟิสิกส์ 8. ไฟฟ้าสถิต
เพิ่มเติม ข้อ ➢ ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า ตัวชี้วัดที่ 8
ที่ 3 ม.5/4 ➢ ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ -ใบงานไฟฟ้าสถิต เรื่อง 2
➢ ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุบนตัวนำทรงกลม ศักย์ไฟฟ้าและความต่าง
➢ งานในการเคลื่อนประจุไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า
➢ ความต่างศักย์ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ
การถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างตัวนำ
4. ฟิสิกส์ 9. ไฟฟ้าสถิต
เพิ่มเติม ข้อ ➢ ตัวเก็บประจุ ตัวชี้วัดที่ 9 2
ที่ 3 ม.5/5 ➢ ความจุไฟฟ้าในตัวเก็บไฟฟ้า -ใบงานไฟฟ้าสถิต เรื่องตัว
การต่อตัวเก็บประจุ เก็บประจุ

5. ฟิสิกส์ 11. ไฟฟ้ากระแส ตัวชี้วัดที่ 11 5


เพิ่มเติม ➢ ไฟฟ้ากระแสตรง - ใบงานไฟฟ้ากระแส
ข้อที่ 3 ➢ แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและแรงเคลื่อนไฟฟ้า
ม.5/7-9 ➢ ไฟฟ้ากระแสในตัวนำ
➢ การนำไฟฟ้าของตัวนำ
ปริมาณกระแสไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในโลหะ
6. ฟิสิกส์ 12. ไฟฟ้ากระแส
เพิ่มเติม ➢ กฎของโอห์ม
ข้อที่ 3 ➢ แรงเคลื่อนไฟฟ้า ตัวชี้วัดที่ 12 5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ไฟฟ้ากระแส - แบบฝึกหัดไฟฟ้ากระแส
ม.5/7-9 ➢ การต่อเซลล์ไฟฟ้า
➢ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้า เรื่อง กฏของโอมห์
➢ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด
➢ การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
➢ พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า
3. ฟิสิกส์ 12. ไฟฟ้ากระแส
เพิ่มเติม ➢ ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อที่ 3 เครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส
ม.5/10-11
Portfolio (5 คะแนน)
5. ฟิสิกส์ 10. ไฟฟ้าสถิต 1.เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ไฟฟ้าสถิต 1. Mind mapping เรื่อง 5
เพิ่มเติม ข้อ การนำหลักการของไฟฟ้าสถิตไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2.หนังสือเสริมเพิ่มเติม ไฟฟ้าสถิต
ที่ 3 ม.5/6 3.ความรู้ทางเว็ปไซต์ 2. โจทย์เรื่องไฟฟ้าสถิต
3.4 ภาคเรียนที่ 1 ปลายภาค (คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน) (กำหนดเนื้อหาการสอบ/รูปแบบการสอบ ให้ชัดเจน)
ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 6. ไฟฟ้าสถิต สอบปลายภาค -แบบทดสอบเรื่องไฟฟ้า
เพิ่มเติมข้อ ➢ ประจุไฟฟ้า สถิต
ที3่ ม.5/1-2 แรงระหว่างประจุไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ ตชว 6 4
2. ฟิสิกส์ 7. ไฟฟ้าสถิต
เพิ่มเติม ➢ สนามไฟฟ้า ตชว 7 2
ข้อที่ 3 สนามไฟฟ้าของตัวนำทรงกลม และแรงกระทำต่อประจุไฟฟ้าที่อยู่ใน
ม.5/3 สนามไฟฟ้า
3. ฟิสิกส์ 8. ไฟฟ้าสถิต ตชว 8 2
เพิ่มเติม ข้อ ➢ ศักย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
ที่ 3 ม.5/4 ➢ ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ
➢ ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุบนตัวนำทรงกลม
➢ งานในการเคลื่อนประจุไฟฟ้า
➢ ความต่างศักย์ในสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ
การถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างตัวนำ ตชว 9 2
4. ฟิสิกส์ 9. ไฟฟ้าสถิต
เพิ่มเติม ข้อ ➢ ตัวเก็บประจุ
ที่ 3 ม.5/5 ➢ ความจุไฟฟ้าในตัวเก็บไฟฟ้า
➢ การต่อตัวเก็บประจุ
5. ฟิสิกส์ 11. ไฟฟ้ากระแส สอบปลายภาค -แบบทดสอบเรื่องไฟฟ้า
เพิ่มเติม ➢ ไฟฟ้ากระแสตรง กระแส
ข้อที่ 3 ➢ แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและแรงเคลื่อนไฟฟ้า ตชว 11 5
ม.5/7-9 ➢ ไฟฟ้ากระแสในตัวนำ
➢ การนำไฟฟ้าของตัวนำ
ปริมาณกระแสไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในโลหะ
6. ฟิสิกส์ 11. ไฟฟ้ากระแส
เพิ่มเติม ➢ กฎของโอห์ม
ข้อที่ 3 ➢ แรงเคลื่อนไฟฟ้า
ม.5/7-9 ➢ การต่อเซลล์ไฟฟ้า
➢ ความต่างศักย์ไฟฟ้า
➢ การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
➢ พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า
7. ฟิสิกส์ 12. ไฟฟ้ากระแส
เพิ่มเติม ➢ ไฟฟ้ากระแสสลับ ตชว 12 5
ข้อที่ 3 เครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส
ม.5/10-11
หมายเหตุ คะแนนรวมทุกรายวิชาจะเท่ากับ 90 คะแนน และทุกวิชาจะมีคะแนนจิตพิสัย 10 คะแนน
(คะแนนจิตพิสัยจะมาจาก 1. สมุด Leader ship notebook 4 คะแนน 2. จิตอาสา 4 คะแนน 3. ความร่วมมือของผู้ปกครอง 2 คะแนน)
สำหรับคุณครู Course Outline ระดับมัธยมจัดทำรายภาค
เมื่อคุณครูกำหนดชิ้นงาน/ภาระงาน ลงใน Course Outline ขอให้คุณครูกำหนด เกณฑ์การประเมิน (Rubrics) ด้วย
โครงการสอน (Course Outline)
สาระการเรียนรู้รายวิชา ฟิสิกส์ รหัสวิชา ว32202

ครูผู้สอน มิสกีรติ วงศ์ผะดาย


ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปีที่ 5/1-3 ภาคเรียนที่ 2 / 2566
ลักษณะวิชา  สาระพื้นฐาน  สาระเพิ่มเติม  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน  อื่น ๆ

1) คำอธิบายรายวิชา (ภาคเรียนที่ 2)
สังเกต และอธิบาย คำนวณ เส้นสนามแม่เหล็กฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กำหนดรวมทั้งสังเกตและอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำเส้นตรง และโซเลน แรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มี
ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กแรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็กรัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เมื่อประจุเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กรวมทั้ง แรงระหว่างเส้นลวดตัวนำคู่ขนานที่
มีกระแสไฟฟ้าผ่าน หลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงรวมทั้ง ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องสังเกตและอธิบายการเกิด อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องรวมทั้งนำความรู้ เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำไปอธิบายการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า ความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสและกระแสไฟฟ้าอา ร์เอ็มเอ หลักการทำงานและประโยชน์ของ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ เฟสการแปลง
อีเอ็มเอฟของหม้อแปลงและคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแสงไม่โพลาไรส์แสงโพลาไรส์เชิงเส้นและแผ่นโพลารอยด์รวมทั้งอธิบายการนำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่
ต่าง ๆ ไประยุกต์ใช้และหลัก การทำงานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสืบค้น และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณ แอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล โดยใช้
ทักษะกระบวนการางวิทยาศาสตร์ การสืบคนข้อมูล การสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด มีความสารถในการสื่ อสารสิ่งที่เรียนรู้ การตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
โดยการใช้กระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสร้างความคิดวิจารณญาณ กระบวนการวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเชี่อมโยง
เพื่อให้มีความใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย มีภาวะผู้นำ มีจิตอาสา รักความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และอยู่อย่ างพอเพียง
2) ผลการเรียนรู้ (รายวิชา )
ผลการเรียนรู้ (ภาคเรียนที่ 2) ความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
1. สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคำนวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กำหนด รวมทั้งสังเกตและอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวด ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.6/1-2
ตัวนำเส้นตรงและโซเลนอยด์ รวมถึงอธิบายและคำนวณแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดที่มี
กระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เมื่อประจุเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนำคู่ขนานที่
มีกระแสไฟฟ้าผ่าน
2. อธิบายหลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งสังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.6/3-4
เหนี่ยวนำกฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำความรู้เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำไปอธิบายการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า
3. อธิบายและคำนวณความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสและกระแสไฟฟ้าอาร์เอ็มเอส อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.6/5-7
แปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลง และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น
และแผ่นโพลารอยด์ รวมทั้งอธิบายการนำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลักการทำงานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
4. สืบค้น และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล ฟิสิกส์เพิ่มเติม ข้อที่ 3 ม.6/8
ผลการเรียนรู้ เพิ่มเติมที่ตอบสนองต่อเอกลักษณ์ของสถานศึกษา (ถ้ามี)

3) รายละเอียดการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2
3.1 ภาคเรียนที่ 2 ก่อนกลางภาค (คะแนนเก็บก่อนกลางภาค 20 คะแนน + Portfolio 5 คะแนน รวมเป็น 25 คะแนน)
ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 1. แม่เหล็กไฟฟ้า เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ ➢ สนามแม่เหล็กและฟลักซ์แม่เหล็ก 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/1- ➢ สนามแม่เหล็กโลก 3. แบบทดสอบ
2 ➢ แรงที่สนามแม่เหล็กกระทำต่อประจุไฟฟ้าที่วิ่งผ่านใน แม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็ก
➢ โมเมนต์ของแม่เหล็กกระทำต่อขดลวดในสนามแม่เหล็ก
➢ แกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้า
➢ สนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำ
➢ แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้า
➢ กระแสเหนี่ยวนำ
2. ฟิสิกส์ 2. แม่เหล็กไฟฟ้า เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ ➢ การผลิตกระแสพลังงานไฟฟ้า 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/3- ➢ การเปลีย่ นไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสตรง 3. แบบทดสอบ
4 ➢ หม้อแปลงไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า
Portfolio (5 คะแนน)
1. ฟิสิกส์ 1. แม่เหล็กไฟฟ้า 1.เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า 1. Mind mapping เรื่อง 5
เพิ่มเติม ข้อ ➢ สนามแม่เหล็กและฟลักซ์แม่เหล็ก แม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/1- ➢ สนามแม่เหล็กโลก 2.หนังสือเสริมเพิ่มเติม 2. โจทย์เรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า
2 ➢ แรงที่สนามแม่เหล็กกระทำต่อประจุไฟฟ้าที่วิ่งผ่านใน 3.ความรู้ทางเว็ปไซต์
สนามแม่เหล็ก

3.2 ภาคเรียนที่ 2 กลางภาค (คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน) (กำหนดเนื้อหาการสอบ/รูปแบบการสอบ ให้ชัดเจน)


ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 1. แม่เหล็กไฟฟ้า สอบกลางภาค 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ ➢ สนามแม่เหล็กและฟลักซ์แม่เหล็ก 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/1- ➢ สนามแม่เหล็กโลก 3. แบบทดสอบ
2 ➢ แรงที่สนามแม่เหล็กกระทำต่อประจุไฟฟ้าที่วิ่งผ่านใน แม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็ก
➢ โมเมนต์ของแม่เหล็กกระทำต่อขดลวดในสนามแม่เหล็ก
➢ แกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้า
➢ สนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำ
➢ แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้า
➢ กระแสเหนี่ยวนำ
2. ฟิสิกส์ 2. แม่เหล็กไฟฟ้า สอบกลางภาค 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ ➢ การผลิตกระแสพลังงานไฟฟ้า 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/3- ➢ การเปลีย่ นไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสตรง 3. แบบทดสอบ
4 ➢ หม้อแปลงไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า
3.3 ภาคเรียนที่ 2 ก่อนปลายภาค (คะแนนเก็บก่อนปลายภาค 20 คะแนน + Portfolio 5 คะแนน รวมเป็น 25 คะแนน)
ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 3. แม่เหล็กไฟฟ้า เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ ➢ คำนวณความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสและกระแสไฟฟ้าอาร์เอ็มเอส 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
3. แบบทดสอบแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/5- ➢ หลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
7 3 เฟส
➢ การแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลง
➢ ลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลา
ไรส์เชิงเส้น และแผ่นโพลารอยด์
2. ฟิสิกส์ 4. ➢ การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ และเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณ 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
3. แบบทดสอบแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/8 ดิจิทัล
Portfolio (5 คะแนน)
3. ฟิสิกส์ 4. การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและ การนำเสนอหน้าชั้นเรียน สื่อ power point 5
เพิ่มเติม ข้อ เปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทลั
ที่ 3 ม.6/8

3.4 ภาคเรียนที่ 2 ปลายภาค (คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน) (กำหนดเนื้อหาการสอบ/รูปแบบการสอบ ให้ชัดเจน)


ลำดับที่ มาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ (ใส่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน คะแนน
เฉพาะตัวเลข) (สื่อ/อุปกรณ์/วิธีการ)
มาตรฐานที่ ผลการเรียนรู้
1. ฟิสิกส์ 3. แม่เหล็กไฟฟ้า สอบปลายภาค 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ ➢ คำนวณความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสและกระแสไฟฟ้าอาร์เอ็มเอส 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/5- ➢ หลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3. แบบทดสอบ
7 3 เฟส แม่เหล็กไฟฟ้า
➢ การแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลง
➢ ลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
➢ แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น และแผ่นโพลารอยด์
2. ฟิสิกส์ 4. ➢ การสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ สอบปลายภาค 1. ใบงานแม่เหล็กไฟฟ้า 10
เพิ่มเติม ข้อ และเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณ 2. แบบฝึกหัดแม่เหล็กไฟฟ้า
ที่ 3 ม.6/8 ดิจิทัล 3. แบบทดสอบ
แม่เหล็กไฟฟ้า

หมายเหตุ คะแนนรวมทุกรายวิชาจะเท่ากับ 90 คะแนน และทุกวิชาจะมีคะแนนจิตพิสัย 10 คะแนน


(คะแนนจิตพิสัยจะมาจาก 1. สมุด Leader ship notebook 4 คะแนน 2. จิตอาสา 4 คะแนน 3. ความร่วมมือของผู้ปกครอง 2 คะแนน)
สำหรับคุณครู Course Outline ระดับมัธยมจัดทำรายภาค
เมื่อคุณครูกำหนดชิ้นงาน/ภาระงาน ลงใน Course Outline ขอให้คุณครูกำหนด เกณฑ์การประเมิน (Rubrics) ด้วย

You might also like