You are on page 1of 40

ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 9 คลื่นกล

บทที่ 9 คลื่ น กล
9.1 การถายโอนพลังงานของคลื่นกล
การเคลื่อนที่แบบคลื่น หมายถึง “ การเคลื่อน
ที่ซึ่งพลังงานถูกถายทอดไปขางหนาได โดยที่อนุภาค
ตัวกลางสั่นอยูที่เดิม ”

ตัวอยางเชน
ถาเราทําการทดลองโดยใชเชือกยาวประมาณ 5 เมตร วางไวบนพื้นราบโดยผูกดายสีสด
ไวตรงกลางเสนเชือก แลวยึดปลายเชือกขางหนึ่งไวกับฝาผนัง ใชมือดึงปลายเชือกที่เหลือให
ตึงพอประมาณแลวสะบัดปลายเชือกนั้นขึ้นลงตามแนวดิ่ง จะเกิดสวนโคงขึ้นในเสนเชือกซึ่งจะ
เคลื่อนจากปลายที่ถูกสะบัดพุงเขาหาฝาผนัง การเคลื่อนที่ นี้จะมีการนําพลังงานจากจุดสะบัด
เชือกเคลื่อนติดไปพรอมกับสวนโคงของเชือกนั้น สงผลใหพลังงานถูกถายทอดไปขางหนาได
แตถาพิจารณาถึงเสนดายที่ผูกไวกลางเชือก จะพบวาเสนดายเพียงแตสั่นขึ้นลงอยูกับที่ไมได
เคลื่อนที่เขาหาฝาผนังเหมือนกับพลังงาน แสดงใหเห็นวาอนุภาคของเสนเชือกตรงที่ผูกดายอยู
นั้นไมไดเคลื่อนที่ไปกับพลังงาน แตจะสั่นขึ้นลงอยูที่เดิม เราเรียกการเคลื่อนที่ ซึ่งพลังงานถูก
ถายทอดไปขางหนาได โดยอนุภาคตัวกลางสั่นอยูที่เดิมเชนนี้วาเปนการเคลื่อนที่แบบคลื่น
ทิศของพลังงาน

ทิศการสั่นไปมาของอนุภาค

อีกตัวอยางเชน
ถาเรานําลูกแกวกลมๆ มาวางเรียงกันประมาณ 7 ลูก แลวออกแรงตีลูกแกวลูกแรก จะทํา
ใหลูกแกวนั้นวิ่งไปกระทบลูกที่ 2 แลวลูกที่ 2 นั้นจะวิ่งไปชนลูกที่ 3 เปนเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนถึง
ลูกสุดทาย การชนกันแบบนี้จะมีการถายทอดพลังงานไปขางหนาเรื่อยๆ ทําใหพลังงานเกิดการ
เคลื่อนที่ไปขา งหนาได โดยที่อนุภ าคตัว กลาง (คือ ลูก แกว ) เพี ย งแตสั่น ไปมาอยูเดิม การ
เคลื่อนที่แบบนี้เรียกการเคลื่อนที่แบบคลื่นไดเชนกัน

1
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ชนิดของคลื่น
การแบง ชนิดของคลื่นวิธีที่ 1 แบงโดยอาศัยทิศทางของพลังงานกับทิศการสั่นอนุภาค
จะแบงคลื่นได 2 ชนิด คือ
1) คลื่นตามขวาง (longitudinal wave) คือ
คลื่นซึ่งมีทิศการถายทอดพลังงานตั้งฉากกับทิศของการ
สั่นอนุภาค เชนคลื่นในเสนเชือก เปนตน
2) คลื่นตามยาว (transverse wave) คือคลื่นที่มีทิศการถายทอดพลังงานขนาน กับ
ทิศการสั่นของอนุภาค เชน คลื่นในลูกแกว เปนตน
การแบงชนิดของคลื่นวิธีที่ 2 แบงโดยอาศัยลักษณะการถายทอดพลังงาน จะแบงคลื่น
ได 2 ชนิด คือ
1) คลื่น กล (mechanical wave) คือคลื่ น ที่ตองอาศัย อนุภ าคตัว กลางจึงถายทอด
พลังงานได เชนคลื่นในเสนเชือก คลืน่ ในลูกแกว เปนตน
2) คลื่นแมเ หล็ก ไฟฟา (electromagnetic wave) คือคลื่น ที่ไมตองอาศัย อนุภ าค
ตั ว กลาง ก็ ส ามารถถ า ยทอดพลั ง งานได ซึ่ ง ได แ ก รั ง สี แ กมมา รั ง สี เ อ็ ก ซ รั ง สี
อัลตราไวโอเลต คลื่นแสง รังสีอินฟาเรด คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ไฟฟากระแสสลับ
1. การเคลื่อนที่แบบคลื่นคือการเคลื่อนที่ซึ่ง
1. พลังงานถูกถายโอนไปขางหนาพรอมกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
2. พลังงานถูกถายโอนไปขางหนา กอนการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
3. พลังงานถูกถายโอนไปขางหนา หลังการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
4. พลังงานถูกถายโอนไปขางหนาได โดยที่อนุภาคตัวกลางสั่นอยูที่เดิม

2
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
2. เมื่อมีคลื่นผิวน้ําแผไปถึงวัตถุที่ลอยอยูที่ผิวน้ําจะมีการเคลื่อนที่อยางไร
1. อยูนิ่งๆ เหมือนเดิม 2. กระเพื่อมขึ้นลงและอยูกับที่เมื่อคลื่นผานไปแลว
3. เคลื่อนที่ตามคลื่น 4. ขยับไปขางหนาแลวถอยหลัง

3. คลื่นในเสนเชือกกําลังเคลื่อนทีจ่ ากซายไปขวา A ทิศการเคลื่อนที่


และ B เปนจุดสองจุดบนเสนเชือก เมื่อเวลา
A B
หนึ่งรูปรางของเสนเชือกเปนดังรูป ถาเวลาผานไป
อีกเล็กนอย จุด A และ B จะเคลื่อนที่อยางไร
1. ทั้ง A และ B จะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ 2. A ต่ํากวาเดิม B สูงกวาเดิม
3. A สูงกวาเดิม B ต่ํากวาเดิม 4. ทั้ง A และ B อยูที่เดิม

4. คลื่นดลในเสนเชือกกําลังเคลื่อนที่จากขวาไปซาย A ,
B และ C เปนจุดบนเสนเชือก เมื่อเวลาหนึ่งรูปราง ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นดล
ของเสนเชือกเปนดังรูป ถาเวลาผานไปอีกเล็กนอย จุด A
ทั้งสามจะเคลื่อนที่อยางไร B
1. จุดทั้งสามจะเคลื่อนที่ไปทางซายมือ C
2. A สูงกวาเดิม B ต่ํากวาเดิม และ C สูงกวาเดิม
3. A สูงกวาเดิม B สูงกวาเดิม และ C ต่ํากวาเดิม
4. A ต่ํากวาเดิม B ต่ํากวาเดิม และ C สูงกวาเดิม

3
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
5. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางตางกันอยางไร
1. ตางกันที่ความยาวคลื่น 2. ตางกันที่แอมพลิจูดของคลื่น
3. ตางกันที่ประเภทของแหลงกําเนิด 4. ตางกันที่ทิศทางการสั่นของตัวกลาง

6. คลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่คือ
1. คลื่นกล 2. คลื่นดล 3. คลื่นตามยาว 4. คลื่นตามขวาง

7. คลื่นในขอใดตอไปนี้ ขอใดเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาทั้งหมด
1. คลื่นเสียง , คลื่นวิทยุ , คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นน้ํา , คลื่นในเสนเชือก , คลื่นดล
3. คลื่นในสปริง , คลื่นน้ํา , แสง 4. แสง , ไฟฟากระแสสลับ , รังสีแกมมา

8(แนว มช) จงพิจารณาคลื่นในเสนเชือกที่เกิดจากการสะบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้ําที่เกิด


จากวัตถุกระทบผิวน้ํา และ คลื่นเสียงในน้ํา ขอใดผิด
1. คลื่นทั้งสามชนิดเปนคลื่นกล
2. คลื่นทั้งสามชนิดเปนคลื่นตามยาว
3. คลื่นทั้งสามชนิดเปนการถายโอนพลังงาน
4. คลื่นทั้งสามชนิดจะสะทอนเมื่อเคลื่อนที่ผานตัวกลางตางชนิด

4
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.2 คลื่นผิวน้ํา
คลื่นผิวน้ําเปนคลื่นกล เกิดเมื่อผิวน้ํา
ถูกรบกวน และมีการถายโอนพลังงานผาน
อนุภาคของน้ํา
สิ่งที่ควรทราบเปนเบื้องตนเกี่ยวกับคลื่นผิวน้ํามีดังนี้
1. สันคลื่น (crest) คือจุดสูงสุดที่คลื่นกระเพื่อมขึ้นไปได
2. ทองคลื่น (trough) คือจุดต่ําสุดที่คลื่นกระเพื่อมลงไปได
3. แอมพลิจูด (amplitude , A ) คือการกระจัดจากระดับผิวน้ําปกติขึ้นไปถึงสันคลื่นหรือ
การกระจัดจากระดับผิวน้ําปกติลงไปถึงทองคลื่น
สันคลื่น 

A  X
W Y Z
A

ทองคลื่น
4. หนึ่งลูกคลื่น คือชวงจังหวะคลื่นกระเพื่อมขึ้น 1 อัน รวมกับลงอีก 1 อัน เชนในรูป
ชวง WX คือ 1 ลูกคลื่น หรือชวง XY ก็เปน 1 ลูกคลื่น หรือชวง YZ ก็เปน 1 ลูกคลื่น
เชนกัน
5. ความยาวคลื่น ( wavelength , ) คือระยะทางที่วัดเปนเสนตรงจากจุดตั้งตนไป
จนถึงจุดสุดทายของหนึ่งลูกคลื่น เชน ระยะทางจาก W ไป X ดังรูป หรือระยะระหวางสัน
คลื่นที่อยูถัดกัน หรือระยะระหวางทองคลื่นที่อยูถัดกัน ก็ได
6. คาบ (period , T) คือเวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 ลูกคลื่น มีหนวยเปน
วินาที (s)
7. ความถี่ (frequency , f ) คือจํานวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่งหนวยเวลา เชนถาเกิด
คลื่น 3 ลูกในเวลา 1 วินาที เชนนี้เรียกไดวาความถีค่ ลื่นมีคา 3 รอบตอวินาที
ความถี่ มีหนวยเปน รอบ/วินาที หรือ 1 /วินาที หรือสั้นๆ วา เฮิตรซ (Hz)

5
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
เราอาจคํานวณหาคาความถี่ไดจาก
f = จํานวนคลื่นที่เกิด หรือ f = T1
เวลาที่เกิดคลื่นนั้น
เมือ่ f คือความถี่ ( 1s , Hz)
T คือคาบ (วินาที)
8. อัตราเร็วคลื่น (wave speed , v ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา
เราสามารถคํานวณหาอัตราเร็วคลื่นไดจาก
v = st หรือ v = f
เมื่อ v
คืออัตราเร็วคลื่น (เมตร/วินาที)
s
คือระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได ( เมตร )
t
คือเวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f
คือความถี่คลื่น ( Hz หรือ รอบ/วินาที )
 คือ ความยาวคลื่น ( เมตร )
9. เฟสของคลื่น (phase ,  ) เปนการบอกตําแหนงบนหนาคลื่นในรูปของมุมหนวย
องศาหรือเรเดียน เชนในรูป
90o 450o 810o
B
A 180o E
0o C 360o 540o 720o 900o 1180o
D
270o 630o 990o

จุด A เปนจุดซึ่งคลื่นเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นจากจุดสมดุล เราถือวาจุด A มีเฟสเปน 0o


จุด E เปนจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบนับจากจุดเริ่มตน A เราถือวาจุด E มีเฟสเปน 360o
จุด C เปนจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ไดครึ่งรอบ นับจากจุดเริ่มตน A เราถือวาจุด C มีเฟสเปน 180o
จุด B เปนจุดซึ่งอยูตรงกับสันคลื่น เราถือวาจุด B มีเฟสเปน 90o
จุด D เปนจุดซึ่งอยูตรงกับทองคลื่น เราถือวาจุด D มีเฟสเปน 270o
สูตรใชคํานวณเกี่ยวกับเฟสของคลื่น ไดแก
o o
 = 360 vf ( x) หรือ  = 360 ( x) หรือ  = 360 o f (Δ t)

6
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
เมื่อ คือเฟสที่ตางกันของจุด 2 จุด ( องศา )
 x คือระยะการกระจัดที่ตางกันของจุด 2 จุด ( เมตร )
f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ )
v คืออัตราเร็วของคลื่น ( เมตร/วินาที )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
t คือเวลาที่ตางกันของจุด 2 จุด ( วินาที )
10. เฟสตรงกัน คือจุดบนหนาคลื่นซึ่งอยูหางกันเทากับ n  เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …
3
2
90o 1 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180o 1440o
270o 630o 990o 1350o
ตัวอยางเชน เฟส 90o , 450o , 810o , 1170o ในรูป อยูหางกันเทากับ 1  , 2  , 3 
ดังนั้นเฟสเหลานีถ้ ือวาเปนเฟสที่ตรงกันหมด
และจากรูปจะไดอีกวา 270o , 630o , 990o , 1350o เปนเฟสที่ตรงกัน
และ 180o , 540o , 900o , 1260o เปนเฟสที่ตรงกัน
เพราะอยูหางกันเทากับ n 
11. เฟสตรงกันขาม คือจุดบนหนาคลื่นซึ่งอยูหางกัน ( n – 12 )  เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …
90o 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180o 1440o
λ 270o 630o 990o 1350o
2 3λ
2 5λ
2
ตัวอยางเชนในรูปดานบน
เฟส 90o เปนเฟสที่ตรงกันขามเฟส 270o เพราะเฟสทั้งสองอยูหางกัน 12  ( คือ [ 1– 12 ]  )
เฟส 90o เปนเฟสที่ตรงกันขามเฟส 630o เพราะเฟสทั้งสองอยูหางกัน 32  ( คือ [ 2– 12 ]  )
เฟส 90o เปนเฟสที่ตรงกันขามเฟส 990o เพราะเฟสทั้งสองอยูหางกัน 52  ( คือ [ 3– 12 ]  )
7
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
12. สมการของคลื่น
s = A sin  t Y
เมื่อ s = การกระจัดจากระดับน้ําปกติ S t

ไปถึงจุดใดๆ บนผิวคลื่น
A = แอมพลิจูดของคลื่น
 = อัตราเร็วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
คาของ  สามารถหาไดจาก
 = 2f
เมื่อ f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ )
9. ขอใดตอไปนี้คือความหมายของความยาวคลื่น (  )
1. ระยะทางที่วัดเปนเสนตรงจากจุดตั้งตนไปจนถึงจุดสุดทายของหนึ่งลูกคลื่น
2. ระยะระหวางสันคลื่นที่อยูถัดกัน
3. ระยะระหวางทองคลื่นที่อยูถัดกัน
4. ถูกทุกขอ

10. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น 3000 รอบตอนาที คลื่นนี้มีความถี่ และคาบเทาไร


1. 50 Hz , 0.02 วินาที 2. 100 Hz , 0.04 วินาที
3. 150 Hz , 0.06 วินาที 4. 300 Hz , 0.08 วินาที

8
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
11. คลื่นน้ําคลื่นหนึ่งมีความยาวคลื่น 2 เมตร เคลื่อนที่ไดระยะทาง 40 เมตร ใน 5 วินาที
จงหา ก. ความเร็วคลื่น ข. ความถี่ ค. เวลาที่ใชเคลื่อนที่ได 1 ลูกคลื่น
1. 8 m/s , 4 Hz , 0.25 s 2. 8 m/s , 8 Hz , 0.50 s
3. 4 m/s , 4 Hz , 0.25 s 4. 4 m/s , 8 Hz , 0.50 s

12(แนว มช) แหลงกําเนิดคลื่นใหคลื่นความถี่ 400 เฮิรตซ ความยาวคลื่น 12.5 เซนติเมตร


คลื่นที่เกิดจะมีอัตราเร็วเทาใด และในระยะทาง 300 เมตร คลื่นนี้จะใชเวลาเคลื่อนที่เทาไร
1. 25 เมตร/วินาที , 3 วินาที 2. 25 เมตร/วินาที , 6 วินาที
3. 50 เมตร/วินาที , 3 วินาที 4. 50 เมตร/วินาที , 6 วินาที

13. แหลงกําเนิดคลื่นปลอยคลื่นมีความยาวคลื่น 5 เซนติเมตร วัดอัตราเร็วได 40 เมตร/วินาที


ในเวลา 0.8 วินาที ไดจะเกิดคลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น
1. 320 2. 640 3. 800 4. 1200

9
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
14. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ไปบนผิวน้ํากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหวาง
สันคลื่นที่ถัดกันวัดได 20 เซนติเมตร จงหาวาเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาที
จะไดระยะทางกี่เมตร

15. ในการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยใชถาดน้ํากับตัวกําเนิดคลื่นซึ่งเปนมอเตอรที่


หมุน 4 รอบ/วินาที ถาคลื่นมีความยาวคลื่น 3 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็วของคลื่นที่เกิดขึ้น
1. 8 cm/s 2. 10 cm/s 3. 12 cm/s 4. 14 cm/s

16. ตัวกําเนิดคลื่นมีคาความถี่ของการสั่น 8 เฮิรตซ ทําใหเกิดคลื่นผิวน้ํา ดังแสดงในรูป


ทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่นผิวน้ํา
ระดับผิวน้ําปกติ
11 12 13 14 cm

รูปแสดงคลื่นผิวน้ําในกลองคลื่นที่เวลาหนึ่งหาความเร็วของคลื่นนี้ในหนวยเซนติเมตร/-
วินาที
1. 20 2. 16 3. 8 4. 4

10
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
17. นักเรียนคนหนึ่งยืนอยูริมฝงโขงสังเกตเห็นคลื่นผิวน้ําเคลื่อนกระทบฝงมีระยะหางระหวาง
สันคลื่นที่อยูถัดกัน 10 เซนติเมตร และคลื่นมีอัตราเร็ว 5 เซนติเมตร/วินาที อยากทราบวา
คลื่นขบวนนี้จะเคลื่อนกระทบฝงนาทีละกี่ลูก

18. การทดลองโดยใชถาดคลื่นที่มีน้ําลึกสม่ําเสมอ วัดระยะหางระหวางสันคลื่น 5 สันที่อยูถัด


กันไดระยะทาง 10 เซนติเมตร ถาคลื่นผิวน้ํามีอัตราเร็ว 20 เซนติเมตรตอวินาที จงหา
ความถี่ของคลื่น
1. 2 Hz 2. 4 Hz 3. 8 Hz 4. 4 Hz

19. คลื่นตอเนื่องในเสนเชือกกําลังเคลื่อนที่ไปทางขวา เมื่อเวลา t = 0 กราฟระหวางการกระจัด


ของอนุภาคบนเสนเชือกกับระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได เปนดังรูป ก. ถาเขียนกราฟระหวาง
การกระจัดของอนุภาคบนเสนเชือกกับเวลา จะไดกราฟดังรูป ข. อัตราเร็วของคลื่น ในเสน
เชือกเปนเทาใด
ระยะหางจากตําแหนงเดิม ระยะหางจากตําแหนงเดิม

เซนติเมตร เวลา
10 20 30 40 50 1 2 3 4 (วินาที)

1. 0.1 m/s 2. 0.2 m/s 3. 0.3 m/s 4. 0.4 m/s

11
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
20. การกระจัด

ตําแหนง
0
20 40 60 80 100 120 140 160 (cm)

จากรูปคลื่นขบวนหนึ่ง เมื่อเวลา t = 0 แสดงดวยเสนทึบ และเมื่อเวลาผานไป t = 0.2


วินาที แสดงดวยเสนประ จงหาความเร็วของคลื่นในหนวยกี่เมตร/วินาที
1. 0.2 2. 0.5 3. 1.0 4. 1.5

21. คลื่นนิ่งในเสนเชือกที่เวลาตางๆ 3 เวลา เวลา 0 วินาที


ดังรูป จงหาความเร็วของคลื่นในเชือกนี้ 120 cm
0 30 60 90
1. 15 เมตร/วินาที เวลา 0.01 วินาที
2. 30 เมตร/วินาที 120 cm
0 30 60 90
3. 60 เมตร/วินาที
เวลา 0.02 วินาที
4. 120 เมตร/วินาที 120 cm
0 30 60 90

12
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
22(แนว En) ในการสังเกตของนักเรียนกลุมหนึ่ง รัศมี(เซนติเมตร)
พบวา เมื่อทําใหเกิดคลื่นดลวงกลมขึ้นในถาด
คลื่นรัศมีของคลื่นดลวงกลมที่เวลาตางๆ เปน 50
40
ไปตามกราฟ ถามวานักเรียนกลุมนี้ทําใหเกิด 30
คลื่นตอเนื่องขึ้นในถาดคลื่นนี้ดวยความถี่ 10 20
เฮิรตซ ยอดคลื่น 2 ยอด ที่อยูใกลกันมาก 10 เวลา (วินาที)
ที่สุดจะอยูหางกันกี่เซนติเมตร 2 4 6 8 10

23. ปริมาณใดของคลื่นที่ใชบอกคาพลังงานบนคลื่น
1. ความถี่ 2. ความยาวคลื่น 3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ว

24. คลื่นขบวนหนึ่งมีรูปรางดังกราฟ ขอใดถูกตองทั้งหมด


1. มุมเฟสเริ่มตน 0 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร การกระจัด (เซนติเมตร)
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ 5 เวลา
2. มุมเฟสเริ่มตน 0 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
2 4 6 8 10 (วินาที)
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ –5
3. มุมเฟสเริ่มตน 90 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ
4. มุมเฟสเริ่มตน 90 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ

13
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
25. คลื่นสองขบวน มีลักษณะดังรูป ขอใดที่ถูกตอง
A B

1m
1. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลตางกัน 90o
2. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลตางกัน 90o
3. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลตางกัน 45o
4. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลตางกัน 45o

26. คลื่นความถี่ 500 เฮิรตซ มีความเร็ว 300 เมตร/วินาที จุด 2 จุดซึ่งอยูหางกัน 0.06 เมตร
จึงมีเฟสตางกันเทาใด
1. 30o 2. 36o 3. 42o 4. 45o

27. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 150 เฮิรตซ มีความเร็ว 300 เมตร/วินาที จุดสองจุดบนคลื่นที่มี


เฟสตางกัน 90 องศา จะอยูหางกันกี่เมตร
1. 0.2 2. 0.5 3. 0.06 4. 1.5

14
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
28. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ไดระยะทาง 20 เมตร ในเวลา 4 วินาที ถาพบวาจุด 2 จุด บน
คลื่นที่หางกัน 0.2 เมตร มีเฟสตางกัน 120o จงหาคาความถี่ของคลื่นนี้
1. 8.33 Hz 2. 1.01 Hz 3. 4.25 Hz 4. 30 Hz

29. คลื่นที่มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร มีความเร็ว 50 เมตร / วินาที ถาเวลาผานไป 0.1 วินาที
การกระจัดของจุดจุดหนึ่งจะมีเฟสเปลี่ยนไปเทาไร
1. 30o 2. 3600o 3. 35o 4. 360o

30. จากรูป S เปนแหลงกําเนิดคลื่นความถี่ 100 เฮิรตซ P


จุด P และ Q อยูหางจาก S เปนระยะ 15 เมตร และ 15 m
18 เมตร ตามลําดับ ถาคลื่นที่มาถึงจุด P และ Q มี S
เฟสตางกัน 32 เรเดียน จงหาอัตราเร็วของคลื่นใน 18 m Q
หนวยเมตร/วินาที (  = 180o )
1. 400 2. 500 3. 600 4. 700

15
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
31. จุด 2 จุดบนคลื่นขบวนหนึ่งอยูหางกัน 3 เมตร มีเฟสตางกัน 240o แสดงวาคลื่นขบวนนี้
มีความยาวคลื่น
1. 1.5 เมตร 2. 3.0 เมตร 3. 4.5 เมตร 4. 6.0 เมตร

32. คลื่นขบวนหนึ่งมีความยาวคลื่น 0.5 เมตร จุด 2 จุด บนคลื่นที่หางกัน 0.2 เมตร จะมี
เฟสตางกันกี่องศา
1. 144o 2. 360o 3. 155o 4. 123o

33. เชือกเสนหนึ่งขึงตึง โดยปลายขางหนึ่งตรึงอยูกับที่ อีกปลายหนึ่งติดอยูกับเครื่องสั่นสะเทือน


ณ ที่จุดหนึ่งบนเชือกที่เฟสเปลี่ยนไป 240 องศา ทุกๆ ชวง 3 วินาที จงหาวาเครื่องสั่น
สะเทือนนี้มีความถี่ในการสั่นเทาไร (ในหนวยเฮิรตซ)
1. 0.11 2. 0.22 3. 0.33 4. 0.44

16
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
34(แนว En) คลื่นผิวน้ํามีอัตราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที กระจายออกจากแหลงกําเนิดคลื่นซึ่ง
มีความถี่ 5 เฮิรตซ การกระเพื่อมของผิวน้ําที่อยูหางจากแหลงกําเนิด 30 เซนติเมตร และ
48 เซนติเมตร จะมีเฟสตางกัน
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 180o

35. คลื่นเสียงมีความถี่ 600 เฮิรตซ และมีความเร็วเฟส 360 เมตรตอวินาที ตําแหนงสอง


ตําแหนงบนคลื่นซึ่งมีเฟสตางกัน 60 องศา จะอยูหางกันเทาใด
ก. 10 cm ข. 50 cm ค. 70 cm ง. 80 cm
คําตอบที่ถูกตองคือ
1. ก , ข และ ค 2. ก และ ค 3. ง เทานั้น 4. คําตอบเปนอยางอื่น

36. คลื่นน้ําความถี่ 2 เฮิรตซ แอมพลิจูด 10 เซนติเมตร จะมีการขจัดตามแนวแกน Y เทาใด


ณ. จุดเวลา 83 วินาทีจากจุดเริ่มตน
1. สูงขึ้นไป 15 เซนติเมตร 2. ลึกลงไป 10 เซนติเมตร
3. ลึกลงไป 15 เซนติเมตร 4. สูงขึ้นไป 10 เซนติเมตร

17
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.3 การซอนทับของคลื่น
หลักการซอนทับ ( principle of superposition ) กลาววา “ เมื่อคลื่นตั้งแตสองคลื่น
มาพบกันแลวเกิดการรวมกัน การกระจัดของคลื่นรวมจะมีคาเทากับผลบวกการกระจัดของคลื่น
แตละคลื่นที่มาพบกัน หลังจากที่คลื่นเคลื่อนผานพนกันแลว แตละคลื่นยังคงมีรูปรางและทิศ
ทางการเคลื่อนที่เหมือนเดิม ”
ตัวอยาง ก.
คลื่น  คลื่น 

คลื่นรวม เมื่อคลื่นมาซอนกัน จะเกิดการ


รวมกัน ทําใหแอมพลิจูดรวมสูงขึ้น
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลื่น  คลื่น  มีลักษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

ตัวอยาง ข.

คลื่น  คลื่น 
เมื่อคลื่นมาซอนกัน จะเกิดการ
คลื่นรวม รวมกัน ทําใหแอมพลิจูดรวมลึกลง
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลื่น  คลื่น  มีลักษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

ตัวอยาง ค.
คลื่น 
คลื่น 
คลื่นรวม เมื่อคลื่นมาซอนกัน จะเกิดการ
หักลางกัน ทําใหคลื่นรวมหายไป
คลื่น  เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลื่น 
มีลักษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

18
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4 สมบัติของคลื่น
การเขียนรูปคลื่น
แบบที่ 1 หากเรามองดูคลื่นน้ําในตูปลา
โดยมองจากดานขางตู ใชตามองที่ระดับผิวน้ํา
พอดี เราจะเห็นคลื่นผิวน้ําเปนดังรูป การเขียน
รูปคลื่นแบบนี้เปนรูปแบบที่ 1
แบบที่ 2 หากเราใชมือตีผิวน้ําที่อยูนิ่งใน
สระวายน้ํา จะเกิดคลื่นน้ํากระจายออกไปเปนรูป รังสีคลื่น แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
ครึ่งวงกลม เราอาจเขียนรูปแสดงการกระจาย สันคลื่น
ของคลื่นไดดังรูป เสนทึบเปนตําแหนงที่อยูตรง (หนาคลื่น)
กับสันคลื่น และตําแหนงที่อยูตรงกลางระหวาง
เสนทึบจะอยูตรงกับทองคลื่น และลูกศรที่แสดง S
ถึงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเรียกรังสีคลื่น และจากรูปจะเห็นไดวารังสีคลื่นจะตั้งฉากกับ
แนวสันคลื่น (หนาคลื่น) เสมอ
ฝกทํา จากรูปหนาคลื่นตอไปนี้
แหลงกําเนิดคลื่น
จงเขียนรังสีคลื่น อยูดานนี้

คลื่นทุกชนิดจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ


1. การสะทอน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (lnterference) 4. การเลี้ยวเบน (Diffrection)
การสะทอน และการหักเห ทั้งคลื่นและอนุภาคตางก็แสดงคุณสมบัติสองขอนี้ได แตการ
แทรกสอดและการเลี้ยวเบนจะเปนคุณสมบัติเฉพาะตัวของคลื่น เพราะคลื่นเทานั้นที่จะแสดง
คุณสมบัติสองขอนี้ได

19
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.1 การสะทอน
เมื่อคลื่นพุงเขาไปตกกระทบสิ่งกีด รังสีตกกระทบ เสนปกติ รังสีสะทอน
ขวาง คลื่นจะเกิดการสะทอนกลับออกมา มุมตก มุมสะทอน
ไดดังแสดงในรูปภาพ สมบัติของคลื่นขอ 1 2
นี้เรียก สมบัติการสะทอนไดของคลื่น
คําศัพทเกี่ยวกับการสะทอนคลื่น
1. รังสีตกกระทบ คือรังสีคลื่นที่พุงเขาไปตกกระทบ
2. รังสีสะทอน คือรังสีคลื่นที่สะทอนยอนกลับออกมา
3. เสนปกติ คือเสนตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับผิวที่คลื่นมาตกกระทบ
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหวางรังสีตกกระทบกับเสนปกติ
5. มุมสะทอน คือมุมระหวางรังสีสะทอนกับเสนปกติ
การสะทอนของคลื่นใดๆ จะเปนไปภายใตกฎการสะทอน 2 ขอคือ
1. มุมตกกระทบจะมีขนาดเทากับมุมสะทอน
2. รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน และเสนปกติ ตองอยูในระนาบเดียวกัน
ฝกทํา จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้
ใหถูกตองและสมบูรณ
1 2

20
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
การสะทอนของคลื่นในเสนเชือก
หากเรานําเชือกเสนหนึง่ มามัดติดเสา ปลายอีกขางหนึ่งใชมือดึงใหตึงพอสมควร จากนั้น
สะบัดใหเกิดคลื่นในเสนเชือก คลื่นนี้จะเคลื่อนที่จากจุดที่ใชมือสะบัดพุงเขาหาตนเสา และเมื่อ
คลื่นกระทบเสาแลวจะสามารถสะทอนยอนกลับออกมาไดดวย
สําหรับการสะทอนของคลื่นในเสนเชือกนี้ คลื่นเขา

จะเปนไปได 2 กรณี ไดแก


1) ถาปลายเชือกมัดไวแนน คลื่นที่ออก
มาจะมีลักษณะตรงกันขามกับคลื่นที่เขาไป นั่น
คือคลื่นที่สะทอนออกมาจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180o คลื่นออก
คลื่นเขา
2) ถาปลายเชือกมัดไวหลวมๆ ( จุดสะ
ทอนไมคงที่ ) คลื่นที่สะทอนออกมาจะมีลักษณะ
เหมือนคลื่นที่เขาไป นั่นคือคลื่นที่สะทอนออก
มาจะมีเฟสเทาเดิมหรือมีเฟสเปลี่ยนไป 0o
คลื่นออก
37. จากรูป จงหาวามุมตกกระทบควรมี
ขนาดเทากับเทาใด 30o
1. 30o 2. 45o
3. 60o 4. 120o

38(แนว มช) เชือกเสนหนึ่งมีปลายขางหนึ่งผูกแนนติดกับเสา เมื่อสรางคลืน่ จากปลายอีกขาง


หนึ่งเขามาตกกระทบจะเกิดคลื่นสะทอนขึ้น คลื่นสะทอนนี้มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 90 2. 180 3. 270 4. 360

21
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
39. คลื่นสะทอนจะไมเปลี่ยนเฟสเมื่อ
1. คลื่นตกกระทบตั้งฉากกับตําแหนงสะทอน 2. ตําแหนงสะทอนคลื่นคงที่
3. ตําแหนงสะทอนคลื่นไมคงที่ 4. มุมตกกระทบโตกวามุมสะทอน

40. คลื่นน้ําหนาตรงเคลื่อนที่เขากระทบผิวสะทอนราบเรียบจะเกิดการสะทอนขึ้น คลื่นน้ําที่


สะทอนออกมามีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 0 2. 90 3. 180 4. 270

41(แนว มช) รูปแสดงถึงคลื่นตกกระทบในเสนเชือก ซึ่งปลายขางหนึ่งของเชือกผูกติดอยูกับ


กําแพง เมื่อคลื่นตกกระทบกับกําแพง
แลวจะเกิดคลื่นสะทอนขึ้น ตอไปนี้
ขอใดแสดงถึงคลื่นสะทอน
1. 2.

3. 4.

22
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.2 การหักเห
เมื่อคลื่นผานจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีความหนาแนนไมเทากัน จะทําให
อัตราเร็ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () เปลี่ยนไป แตความถี่ ( f ) จะคงเดิม
ในกรณีที่คลื่นตกกระทบพุงเขาตกตั้งฉากกับแนวรอยตอตัวกลาง คลื่นที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่
2 จะมี แนวตั้ งฉากกั บแนวรอยต อ ตัวกลางเช นเดิ ม แต หากคลื่ นตกกระทบตกเอีย งทํ ามุ มกั บแนว
รอยตอตัวกลาง คลื่นที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไมทะลุลงไปในแนวเสนตรงเดิม แตจะมีการ
เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรูป ปรากฏการณนี้เรียกวาเกิดการหักเหของคลื่น
กรณีคลื่นตกตั้งฉากรอยตอ รังสีตกกระทบ เสนปกติ กรณีคลื่นตกไมตั้งฉากกับรอย
ตัวกลาง คลื่นจะไมเปลี่ยน ตอตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V1 , 1 , A1 V1 , 1 , A1 1
รอยตอตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V ,  , A
2 2 2 มุมหักเห2

รังสีหักเห
v ,  , A เปลี่ยน แต f คงที่
คําศัพทเกี่ยวกับการหักเหของคลื่น
1. รังสีตกกระทบ คือรังสีคลื่นที่พุงเขาไปตกกระทบ
2. รังสีหักเห คือรังสีคลืน่ ที่ทะลุเขาไปในตัวกลางที่ 2
3. เสนปกติ คือเสนตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับรอยตอตัวกลาง
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหวางรังสีตกกระทบกับเสนปกติ
5. มุมหักเห คือมุมระหวางรังสีหักเหกับเสนปกติ
ฝกทํา จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตองและสมบูรณ
……… ………

………

………

………

23
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
กฏของสเนลล
sin θ 1 v 
= 1 = 1 = n
21 ( เมื่อ   90o )
sin θ 2 v2 
2
เมื่อ และ 2 คือมุมระหวางรังสีคลื่นกับเสนปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
1
v1 และ v2 คือความเร็วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
n21 คือคาดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
เกี่ยวกับการหักเหผานน้ําตื้น น้ําลึก น้ําตื้น
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ระหวางน้ําตื้นกับน้ําลึก รอยตอระหวางตัวกลาง
ตอนคลื่นอยูในน้ําลึก คลื่นจะมีความยาวคลื่น (ผิวหักเห)
แอมพลิจูด ความเร็วคลื่น มากกวาในน้ําตื้น
น้ําลึก
เสมอ แตความถี่จะมีคาเทาเดิม

42(แนว มช) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากโลหะเขาไปในน้ําจะทําให


1. ความเร็วคลื่นคงเดิม 2. ความยาวคลื่นคงเดิม
3. แอมพลิจูดคลื่นคงเดิม 4. ความถี่คลื่นคงเดิม

43. ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับคลื่นน้ํา
1. คลื่นน้ําตื้นอัตราเร็วคลื่นมากกวาคลื่นน้ําลึก
2. คลื่นน้ําตื้นอัตราเร็วคลื่นเทากับคลื่นน้ําลึก
3. คลื่นน้ําตื้นอัตราเร็วคลื่นนอยกวาอัตราเร็วคลื่นในน้ําลึก
4. ความยาวคลื่นในน้ําตื้นมากกวาความยาวคลื่นในน้ําลึก

24
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
44. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลาง x ไปยังตัวกลาง y ถาความเร็วคลื่นในตัวกลาง x เปน 8
เมตร/วิน าที และความยาวคลื่น มีข นาดเทากับ 4 เมตร เมื่อผานเขาไปในตัว กลาง y
ความเร็วคลื่นเปลี่ยนเปน 10 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นในตัวกลาง y จะมีคาเปนกี่เมตร
1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

45. คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากน้ําตื้นไปยังน้ําลึก ถามุม


ตกกระทบและมุมหักเหเทากับ 30o และ 45o 30o =น้ําตื้น น้ําตื้น
ตามลําดับ และความเร็วคลื่นในน้ําตื้นเทากับ ผิวรอยตอ
10 เซนติเมตร/วินาที จงหาความเร็วคลื่น o
น้ําลึก= 45 น้ําลึก
ในน้ําลึกในหนวยเซนติเมตร/วินาที
1. 2 2. 2 3. 10 4. 10 2

46(แนว En) คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากน้ําตื้นไปยังน้ําลึก


ถามุมตกกระทบและมุมหักเหเทากับ 30 และ 30o =น้ําตื้น น้ําตื้น
45 องศา ตามลําดับ และความยาวคลื่นในน้ําตื้น ผิวรอยตอ
เทากับ 5 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นใน น้ําลึก= 45
o
น้ําลึก
น้ําลึกในหนวยเซนติเมตร
1. 2.8 2. 5.0 3. 7.0 4. 15.0

25
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
47(แนว En) คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากเขตน้ําลึกเขาไปยังเขตน้ําตื้น โดยมีรอยตอของเขตทั้งสองเปน
เสนตรง มุมตกกระทบเทากับ 30 องศา ทําใหความยาวคลื่นในเขตน้ําตื้นเปน หนึ่งในสาม
ความยาวคลื่นในเขตน้ําลึก อยากทราบวามุมหักเหในน้ําตื้นมีคาเทาใด
1. sin–1( 12 ) 2. sin–1( 14 ) 3. sin–1( 16 ) 4. sin–1( 18 )

48(แนว En) ถาคลื่นน้ําเคลื่อนที่ผานจากเขตน้ําลึกไปยังเขตน้ําตื้น แลวทําใหความยาวคลืน่ ลดลง


ครึ่งหนึ่ง จงหาอัตราสวนของอัตราเร็วของคลื่นในน้ําลึกกับอัตราเร็วของคลื่นในน้ําตื้น
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0

49. คลื่นน้ํามีอัตราเร็วในน้ําลึกและในน้ําตื้นเปน 20 ซม./วินาที และ 16 ซม./วินาที จงหาอัตรา


สวนของ sine ของมุมตกกระทบตอ sine ของมุมหักเห เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากน้ําลึกสูน้ําตื้น
1. 45 2. 45 3. 32 4. 23

26
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
50. ถาความเร็วคลื่นในตัวกลาง x เปน 8 เมตร/วินาที เมื่อผานเขาไปในตัวกลาง y ความเร็ว
คลื่นเปลี่ยนเปน 10 เมตร/วินาที ดัชนีหักเหของตัวกลาง y เทียบกับตัวกลาง x เปนเทาใด
1. 0 2. 0.8 3. 1.8 4. 2.7

51. ถาคลื่นเคลื่อนจากบริเวณน้ําตื้นมีความยาวคลื่น 45 เซนติเมตร ไปสูน้ําลึกความยาวคลื่น


เปลี่ยนเปน 60 เซนติเมตร จงหาดัชนีหักเหของตัวกลางน้ําลึกเทียบกับตัวกลางน้ําตื้น
1. 0 2. 0.75 3. 1.82 4. 2.45

52. แสงเคลื่อนที่จากอากาศสูผิวน้ําทํามุม 37o กับผิวน้ํา จงหาคาของมุมหักเหที่เกิดขึ้นในน้ําวา


มีคากี่องศา กําหนดดรรชนีหักเหของน้ําเทียบกับอากาศ = 43 , sin37o= 35 , sin53o= 45
1. 0 2. 37 3. 1.82 4. 150

27
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
53. คลื่นน้ําในถาดคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําลึกไปสูบริเวณน้ําตื้นโดยมีมุมตกกระทบ 45o และ
มุมหักเห 30o ถาระยะหางของหนาคลื่นหักเหที่ติดกันวัดได 2 2 เซนติเมตร และแหลง
กําเนิดคลื่นมีความถี่ 20 เฮิรตซ จงหาอัตราเร็วคลื่นตกกระทบ
1. 75 cm/s 2. 70 cm/s 3. 85 cm/s 4. 80 cm/s

54. จากรูปแสดงหนาคลื่นตกกระทบ และหนาคลื่นหักเหของคลื่นผิวน้ําที่เคลื่อนที่จากเขตน้ําลึก


ไปยังเขตน้ําตื้นเมื่อ กข คือเสนรอยตอระหวางน้ําลึกและน้ําตื้น จงหาอัตราสวนความเร็วของ
คลื่นในน้ําลึกตอความเร็ว บริเวณน้ําลึก
ของคลื่นในน้ําตื้น ข
บริเวณน้ําตื้น
1. sin 60o / sin 35o
2. sin 35o / sin 60o 55 o 30o
3. sin 55o / sin 30o

4. sin 30o / sin 55o

28
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
55. คลื่นน้ําเคลื่อนที่ผานบริเวณที่มีความลึกตางกันเกิดปรากฏการณดังรูป บริเวณ ก หนาคลื่น
อยูหางกัน 12 เซนติเมตร ในบริเวณ ข คลื่นมีความเร็ว 6 2 เซนติ เมตรตอวินาที ถา
ตนกําเนิดคลื่นมาจากบริเวณ ก ความถี่
ของตนกําเนิดคลื่นมีคาเทากับขอใด
1. 23 รอบตอวินาที 60o
12 ซม.
2. 4 รอบตอวินาที
3 ก 45o
3. 12 รอบตอวินาที
3
4. 1 รอบตอวินาที
3 ข

9.4.3 การแทรกสอดคลื่น
คลื่น  คลื่น 

คลื่นรวม

คลื่น  คลื่น 

แนวปฏิบัพ แนวปฏิบัพ แนวปฏิบัพ


A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
N3 2 1 N1 N2 คลื่นรวม

คลื่น 
คลื่น 
คลื่นรวม
*S1 *S2

29
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ถาเราใหแหลงกําเนิดคลื่นอาพันธ (แหลงกําเนิดคลื่น 2 แหลง ที่ใหคลื่นที่มีความถี่และ
เฟสตรงกันตลอด ) วางอยูหางกันในระยะที่พอเหมาะ แลวสรางคลื่นพรอมๆ กัน จะพบวาคลื่น
ที่เกิดขึ้น ทั้งสองจะเกิดการแทรกสอดกัน โดยจะมีแนวบางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาเสริมกัน
โดยคลื่นทั้งสองอาจนําสันคลื่นมารวมกัน จะทําใหคลื่นรวมมีแอมปลิจูดสูงขึ้นกวาเดิม หรือ
คลื่นทั้งสองอาจนําทองคลื่นมารวมกัน จะทําใหคลื่นรวมมีแอมปลิจูดลึกลงกวาเดิม ลักษณะ
เชนนี้จะทําใหตลอดแนวดังกลาวคลื่นน้ําจะกระเพื่อมขึ้นลงอยางแรง แนวที่คลื่นมีการเสริมกัน
เชนนี้เรียก แนวปฎิบัพ (Antinode , A) ซึ่งจะมีอยูหลายแนวกระจายออกไปทั้งทางดานซายและ
ดานขวาอยางสมมาตรกัน แนวปฏิบัพที่อยูตรงกลางเราจะเรียกเปนปฏิบัพที่ 0 ( A0) ถัดออกไป
จะเรียกแนวปฏิบัพที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) , 3 ( A3) , .... ไปเรื่อยๆ ทั้งดานซายและดานดังรูป
นอกจากนี้แลวยังจะมีแนวบางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาหักลางกัน โดยคลื่นหนึ่งจะนําสัน
คลื่นมารวมกับทองคลื่นของอีกคลื่นหนึ่ง คลื่นรวมของคลื่นทั้งสองจะมีลักษณะราบเรียบ (ผิวน้ํา
จะคอนขางนิ่ง ) แนวหักลางนี้จะเรียกแนวบัพ (Node , N) แนวบัพจะแทรกอยูระหวางกลาง
แนวปฏิบัพเสมอ แนวบัพแรกที่อยูถัดจากแนวปฏิบัพกลาง ( A0 ) จะเรียกแนวบัพที่ 1 ( N1) ถัด
ออกไปจะเรียกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่อยๆ ทั้งทางดานซายและดานขวาดังรูป
สูตรที่ใชคํานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลื่น n=0 n=1 n=2
A1 A0 A1
A2 A2
สําหรับแนวปฎิบัพลําดับที่ n (An) A3
P
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
เมื่อ P คือจุดซึ่งอยูบนแนวปฎิบัพลําดับที่ n ( An ) x x
S1 S2
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 n=3 n=2 n=1
A0
A2 A1
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P A3

S2P คือระยะจาก S2 ถึง P

 คือความยาวคลื่น 
n คือลําดับที่ของปฎิบัพนั้น
x x
d คือระยะหางจาก S1 ถึง S2 S1 S2
 คือมุมที่วัดจาก A0 ถึง An d
30
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
สําหรับแนวบัพลําดับที่ n (Nn)
S1P – S2P= n – 12  
d sin = n – 12  
เมื่อ P คือจุดซึ่งอยูบนแนวบัพลําดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
 คือความยาวคลื่น (m) n คือลําดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะหางจาก S1 ถึง S2  คือมุมที่วัดจาก A0 ถึง Nn

56. คลื่นรวมซึ่งเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นสองขบวนที่มีแอมปลิจูดความถี่ ความยาวคลื่น


และ เฟสเทากัน ที่จุดที่อยูบนแนวปฎิบัพ จะมีลักษณะดังนี้
1. แอมปลิจูด และความถี่เปนสองเทาของคลื่นเดิม
2. แอมปลิจูด เทาเดิมแตมีความถี่เพิ่มขึ้นเปนสองเทา
3. ความถี่เทาเดิม แตมีแอมปลิจูดเพิ่มขึ้นเปนสองเทา
4. ความถี่เทาเดิม แตมีแอมปลิจูดเปนศูนย

57. เมื่อคลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มารวมกันแลว เกิดการแทรกสอดแบบหักลางกันแสดงวา


1. ผลตางทางเดินของคลื่นทั้งสองเปนจํานวนเต็มของความยาวคลื่น
2. ผลตางมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 0 องศา
3. ผลตางของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 180 องศา
4. ผลตางของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 360 องศา

31
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
58. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรูป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาใด
ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 100 เฮิรตซ จะมีความเร็วเทาใด A0
A1
1. ก. 2 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที
A2
2. ก. 2 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที 5 เมตร P
1 เมตร
3. ก. 4 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที
4. ก. 4 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที S1 S2

59. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบัพที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o หาก


แหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองอยูหางกัน 8 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้มีคาเทาใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 300 เมตร/วินาที จะมีความถี่เทาใด
1. ก. 2 เมตร , ข. 150 Hz 2. ก. 2 เมตร , ข. 300 Hz
3. ก. 7 เมตร , ข. 300 Hz 4. ก. 7 เมตร , ข. 150 Hz

32
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
60. แหลงกําเนิดคลื่นอาพันธเฟสตรงกัน 2 อัน วางหางกัน 6 เซนติเมตร ความเร็วคลื่น 40
เซนติเมตร/วินาที ขณะนั้นคลื่นมีความถี่ 20 เฮิรตซ จงหาวาแนวปฏิบัพที่ 3 จะเบนออกจาก
แนวกลางเทาไร
1. 30o 2. 53o 3. 60o 4. 90o

61. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่น A0 A1 N2 A2


ผิวน้ําที่เกิดจากแหลงกําเนิดอาพันธ S1
และ S2 มี P เปนจุดบนเสนบัพ ถา S1P
เทากับ 10 เซนติ เมตร และ S2P เทากับ
7 เซนติเมตร ถาอัตราเร็วของคลื่นทั้ง
สองเทากับ 30 เซนติเมตรตอวินาที แหลง s
*
1 *s
2
กําเนิดทั้งสองมีความถี่เทาใด d
1. 3 Hz 2. 8 Hz 3. 5 Hz 4. 7.5 Hz

33
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
62(แนว En) จากรูปเปนภาพการแทรกสอดของ ปฏิบัพ
คลื่นผิวน้ําจากแหลงกําเนิดอาพันธ S1 และ S2 บัพ
โดยมี P เปนจุดใดๆ บนแนวเสนบัพ P
S1P = 19 เซนติเมตร S2P = 10 เซนติเมตร
ถาอัตราเร็วของคลื่นทั้งสองเทากับ 60 เซนติ-
เมตรตอวินาที แหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่ S1 S2
กี่เฮิรตซ
1. 7.5 Hz 2. 10.0 Hz 3. 12.5 Hz 4. 15.0 Hz

63. จุด P อยูหางจาก S1 และ S2 ซึ่งเปนแหลงกําเนิดอาพันธมีเฟสตรงกัน ใหกําเนิดคลื่นความ


ยาวคลื่น 3 ซม. จุด P อยูหางจาก S1 เปนระยะ 6 ซม. และจะอยูหางจาก S2 เทาไร ถา
จุด P เปนตําแหนงบนแนวบัพเสนแรกถัดจากเสนกลาง
1. 1.5 ซม. 2. 3.0 ซม. 3. 4.5 ซม. 4. 6.0 ซม.

34
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
64. แหลงกําเนิดคลืน่ น้ําสรางคลื่นน้ําที่สองตําแหนง
A และ B มีความยาวคลื่น 1.5 เซนติเมตร และ
C
ไดแนวของเสนปฏิบัพดังแสดงในรูป อยาก
ทราบวา AC และ BC มีความยาวตางกันเทาใด A B
1. 1.5 cm 2. 3 cm 3. 4.5 cm 4. 6 cm

65(แนว มช) ถา S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดคลื่น ซึ่งมีความถี่เทากัน และเฟสตรงกันอยูหาง


8.0 เซนติเมตร ถาความยาวคลื่นเทากับ 4.0 เซนติเมตร จะเกิดจุดบัพกี่จุดบนเสนตรง S1S2
1. 0.1 2. 2 3. 3 4. 4

66. S1 , S2 เปนแหลงกําเนิดคลื่นน้ํา อยูหางกัน 16 เซนติเมตร ใหคลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่


และแอมพลิจูดเทากับความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร จาก S1 ถึง S2 จะมีแนวปฏิบัพกี่แนว
1. 4 แนว 2. 5 แนว 3. 8 แนว 4. 9 แนว

35
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
67. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดอาพันธสองแหลงที่ทําใหเกิดคลื่นผิวน้ําทีม่ ีความถี่เทากัน และ
อยูหางกัน 6 เซนติเมตร พบวาบนเสนตรงที่ตอระหวางแหลงกําเนิดทั้งสองมีบัพ 6 บัพ
ถา Q เปนจุดในแนวปฏิบัพที่ 2 นับจากปฏิบัพกลาง จุด Q จะอยูหางจาก S1 และ S2
เปนระยะตางกันกี่เซนติเมตร

68(แนว En) แหลงกําเนิดคลื่นน้ําอาพันธใหหนาคลื่นวงกลมสองแหลงอยูหางกัน 10 เซนติเมตร


มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่ตําแหนงหนึ่งหางจากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองเปนระยะ 15
เซนติเมตร และ 6 เซนติเมตร ตามลําดับ 6 cm P
จะอยูบนแนวบัพหรือปฎิบัพที่เทาใด นับ S1
จากแนวกลาง 10 cm 15 cm
1. ปฎิบัพที่ 4 2. บัพที่ 4
S2
3. ปฎิบัพที่ 5 4. บัพที่ 5

69. แหลงกําเนิดคลื่นวงกลมสองแหลงหางกัน 6 เซนติเมตร สรางคลื่นที่มีความถี่เทากันและมี


ความยาวคลื่นเปน 3 เซนติเมตร ตําแหนงที่จะเกิดการแทรกสอดเปนจุดบัพนั้นคือตําแหนง
ที่หางจากแหลงกําเนิดทั้งสองเปนระยะ
1. 10 และ 20.5 เซนติเมตร 2. 12 และ 15 เซนติเมตร
3. 16 และ 23 เซนติเมตร 4. 20.5 และ 29.5 เซนติเมตร

36
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
70. กําหนดแผนกั้น AB เปนตัวสะทอนคลื่นน้ําจาก S ซึ่งหางจากแผน AB 6 ซม. และจุด R
เปนจุดที่ อยูหางจาก S เปนระยะ 16 ซม. ดังรูป ถา S ใหคลื่นที่มีความยาวคลื่น 2 ซม.
อยากทราบวาจุด R จะเกิดการแทรกสอดอยางไร A B
1. เปนจุดปฏิบัพ
2. เปนจุดบัพ 6 cm
3. เกิดแทรกสอดแตไมใชทั้งบัพและปฏิบัพ
S R
4. ไมเกิดการแทรกสอด 16 cm

9.4.4 การเลี้ยวเบนของคลื่น
ถาเรานําแผนที่มีชองแคบๆ ไปกั้นหนาคลื่นไว จะพบวา
เมื่อคลื่นเขาไปตกกระทบแผนกั้นแลว คลื่นสวนหนึ่งจะลอด
ชองนั้นออกไปได คลื่นสวนที่ลอดออกไปนั้นจะสามารถสราง s
คลื่นลูกใหมหลังแผนกั้นดังรูป คลื่นลูกใหมที่เกิดขึ้นนั้นจะ
สามารถกระจายเลี้ยวออมไปทางดานซายและขวาของชองแคบ
ได ปรากฏการณนี้จึงเรียกเปน การเลี้ยวเบนไดของคลื่น
การเลี้ยวเบนไดของคลื่น จะเปนไปตามหลักของฮอยเกนส ซึ่งกลาววา “ ทุก ๆ จุดบน
หนาคลื่น สามารถประพฤติตัวเปนแหลงกําเนิดคลื่นใหมได ”

71. หลักของฮอยเกนสใชอธิบายปรากฏการณใด
1. การเลี้ยวเบน 2. การแทรกสอด 3. การเปลี่ยนเฟส 4. การหักเห

37
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.5 คลื่นนิ่ง
ถานําเชือกเสนหนึ่งมัดติดเสาใหแนน แลวดึงปลายอีกขางหนึ่งใหตึงพอสมควร จากนั้นทํา
การสะบัดใหเกิดคลื่นตอเนื่องพุงไปกระทบเสา คลื่นที่เขากระทบเสาจะสามารถจะสะทอนกลับ
ออกมาจากเสาได จากนั้นคลื่นที่เขาและคลื่นที่สะทอนออกมานี้จะเกิดการแทรกสอดกัน ทําให
เชือกที่บางจุดมีการสั่นขึ้นลงอยางแรงกวาปกติ เรียกจุดที่สั่นสะเทือนแรงนี้วา แนวปฎิบัพ (A)
และจะมีบางจุดไมสั่นขึ้นหรือลงเลย เราเรียกจุดที่ไมมีการสั่นสะเทือนนี้วา แนวบัพ (N)
และเนื่ อ งจากจุ ด ที่ สั่ น และไม สั่ น ดั ง กล า ว จะสั่ น หรื อ ไม สั่ น อยู ที่ เ ดิ ม ตลอดเวลา
ปรากฏการณนี้จึงเรียกเปนการเกิด คลื่นนิ่ง เคลื่อนเขา λ
2
ควรทราบ A A A
N N
1) คลื่นนิ่งจะเกิดไดก็ตอเมื่อมีคลื่น 2 คลื่น
ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เทากัน แต
เคลื่อนที่สวนทางกันเขามาแทรกสอดกันเทานั้น เคลื่อนออก λ
4
2) แนวปฏิบัพ (A) 2 แนวที่อยูถัดกัน จะหางกัน = 2 

แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถัดกัน จะหางกัน = 2


แนวปฏิบัพ (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถัดกัน จะหางกัน = 4
3) จํานวนแนวปฏิบัพ (A ) หรือจํานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น จะหาไดจาก
n = 2L

เมื่อ L คือความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร)
 คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจํานวนแนวปฏิบัพ หรือจํานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด
4) ความถี่ของคลื่น จะหาไดจาก
f = nv
2L
เมื่อ f คือความถี่คลื่นนิ่ง ( เฮิรตซ ) v คือความเร็วคลื่นนิ่ง (เมตร/วินาที)
L คือความยาวของเชือก (เมตร)  คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจํานวนแนวปฏิบัพ หรือจํานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด

38
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
72. คุณสมบัติหรือปรากฏการณ ขอใดที่ใชอธิบายการเกิดคลื่นนิ่ง
1. การแทรกสอด 2. การรวมกันไดของคลื่น
3. แหลงกําเนิดอาพันธ 4. ถูกทั้ง (1) , (2) และ (3)

73. ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเสนเชือก ถาความถี่ของคลื่นนิ่งเปน 475 เฮิรตซ และอัตราเร็ว


ของคลื่นในเสนเชือกเทากับ 380 เมตรตอวินาที ตําแหนงบัพสองตําแหนงที่อยูถัดกันจะหาง
กันเทาใด
1. 0.4 2. 2.0 3. 3.5 4. 4.2

74(แนว มช) คลื่นนิ่งเปนคลื่นที่เกิดจากการแทรกสอดกันของคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประ


การแตเคลื่อนที่สวนทางกัน ถาคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น มีตําแหนงบัพและปฎิบัพอยูหางกัน 1.0
เมตร คลื่นที่มาแทรกสอดกันนี้จะตองมีความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 1.0 2. 2.0 3. 3.0 4. 4.0

75(แนว En) จากรูปเปนคลื่นนิ่งในเสนเชือกที่มีปลาย 90 cm


ทั้งสองยึดแนนไว ถาเสนเชือกยาว 1.2 เมตร
และความเร็วคลื่นในเสนเชือกขณะนั้นเทากับ 240
เมตรตอวินาที จงหาความถี่คลื่น
1. 200 Hz 2. 300 Hz 3. 400 Hz 4. 800 Hz

39
ติวสบายฟสิกส เลม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
76. เชือกเสนหนึ่ง ปลายขางหนึ่งถูกตรึงแนน ปลายอีกขางหนึ่งติดกับตัวสั่นสะเทือน สั่นดวย
ความถี่ 30 เฮิรตซ ปรากฏวาเกิดคลื่นนิ่งพอดี 3 Loop ถาใชเชือกยาว 1.5 เมตร จงหา
อัตราเร็วคลื่นในเสนเชือกในหนวย เมตร/วินาที
1. 15 2. 30 3. 45 4. 60



40

You might also like