You are on page 1of 58

คลื่น (waves)

คลื่นคืออะไร

 คลื่นคือการรบกวนซ้ำๆหรื อการเคลื่นที่แล้วก่อให้เกิด
การถ่ายเทพลังงานผ่านตัวกล่งหรื อไม่ผา่ นตัวกลาง
(through matter or space)
 คลื่นที่ถ่ายเทพลังงานผ่านตัวกลางเรี ยกว่าคลื่นกล
 คลื่นที่ถ่ายเทพลังงานโดยไม่ตอ้ งอาศัยตัวกลางคือ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า

2
คลื่นเป็ นการเคลื่อนย้ายถ่ายเทพลังงาน
เท่านั้น ไม่ได้ถ่ายเทสสาร ตัวกลางได้แก่
น้ำ ลวดสปริ ง เชือก และอากาศ มีการ
เคลื่อนที่อยูเ่ ฉพาะที่ ไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่น
ไปด้วย

3
คลืน่
 คลืน่ หมายถึง ลักษณะของการถูกรบกวน ที่มีการแผ่
กระจาย เคลื่อนที่ออกไป ในลักษณะของการกวัดแกว่ง
หรื อกระเพื่อม

ผิวน้ำถูกรบกวน เกิดเป็ นคลื่นแผ่กระจายออกรอบข้าง


ชนิดของคลื่น

 คลื่นกล (Mechanical waves)


 ตัวกลางถูกรบกวน

 การรบกวนแพร่ ผา่ นตัวกลาง

 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic
waves)
 ไม่ตอ้ งมีตวั กลาง
 เช่น แสง คลื่นวิทยุ x-rays
5
ลักษณะของคลืน่
 ลักษณะของคลืน่ จะระบุจาก สันคลื่น หรื อ ยอดคลื่น
(ส่ วนที่มีค่าสูงขึ้น) และ ท้องคลื่น (ส่ วนที่มีค่าต่ำลง)
ในลักษณะ ตั้งฉากกับทิศทางเดินคลื่น เรี ยก "คลื่นตาม
ขวาง" (transverse wave) หรื อ ขนานกับทิศทางเดิน
คลื่น เรี ยก "คลื่นตามยาว" (longitudinal wave)

คลื่น: 1.&2. คลื่นตามขวาง 3. คลื่นตามยาว


ส่ วนประกอบของคลืน่

1.แนวสมดุล คือแนวที่ตวั กลางวางตัวอยูเ่ มื่อไม่มีคลื่นเคลื่อนที่


ผ่าน
2.สั นคลืน่ หรื อยอดคลื่น(Crest) คือตำแหน่งที่มีการกระจัดมาก
ที่สุด เช่นที่จุด B , H , N
3.ท้ องคลืน่ (Trough) คือตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุด
เป็ นลบ เช่นที่จุด E , K ,Q
4.แอมพลิจูด(Amplitude;A)คือการกระจัดสู งสุ ดของคลื่น
จากระดับปกติในภาพคือระยะCB ,FE ,LK, ON,RQ
คุณสมบัตขิ องคลืน่
 การสะท้ อน (en:reflection) คลื่นเปลี่ยนทิศทางโดย
การสะท้อนเมื่อตกกระทบพื้นผิว
 การหักเห (en:refraction) คลื่นเปลี่ยนทิศทางเมื่อ
เคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
 การเลี้ยวเบน (en:diffraction) คลื่นเคลื่อนที่ขยายวง
ออกเรื่ อยๆ เช่น ลำคลื่นที่วิง่ ผ่านออกจากช่องแคบๆ
 การแทรกสอด (en:inference) เกิดจากการซ้อนทับกัน
ของคลื่น เมื่อวิง่ มาตัดกัน
 การกระจาย (en:dispersion) องค์ประกอบที่ความถี่
ต่างกันของคลื่น จะมีการแยกตัวออกห่างจากกัน
 การแผ่ เชิงเส้ นตรง (en:rectilinear propagation) การ
เคลื่อนที่ของคลื่นเป็ นเส้นตรง
ตัวกลางของคลืน่
 แบ่งออกเป็ นประเภทได้ตามคุณลักษณะต่อไปนี้
ตัวกลางเชิงเส้น มีคุณสมบัติที่ขนาดของผลรวมคลื่น ที่
จุดใด ๆ ในตัวกลางมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของ
คลื่นต่างขบวนกัน
ตัวกลางจำกัด คือ ตัวกลางที่มีขนาดจำกัด
ตัวกลางเนื้ อเดียว คือ ตัวกลางที่มีคุณสมบัติเหมือนๆ กันใน
ทุกตำแหน่ง
ตัวกลางไอโซทรอปิ ก คือ ตัวกลางที่มีคุณสมบัติ ไม่ข้ ึนกับ
ทิศทาง
การแบ่ งประเภทของคลืน่
 แบ่งตามการใช้ตวั กลาง จะแบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
คลืน่ กล (Mechanical Wave) เป็ นคลื่นที่
อาศัยตัวกลางในการถ่ายเทพลังงาน เช่น คลื่นผิวน้ำ, คลื่น
ในเส้นเชือก และคลื่นเสี ยงฯลฯ
คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic Wave)
เป็ นคลื่นที่ไม่ อาศัยตัวกลางในการถ่ายเทพลังงาน แต่อาศัย
การเหนี่ยวนำของสนามแม่ เหล็ก และสนามไฟฟ้ า เช่น
คลื่นแสงไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ คลื่นความร้อน ฯลฯ
 แบ่งตามการสัน่ ของอนุภาคตัวกลาง หรื อ
แหล่งกำเนิด จะแบ่งเป็ น 2 ชนิดคือ
คลืน่ ตามยาว หมายถึงคลื่นที่มี การสัน่ ของอนุภาค
ตัวกลางอยูใ่ นแนวขนาน กับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น
คลื่นเสี ยง คลื่นที่เกิดจากการอัดและขยายตัวในขดลวด
สปริ ง
คลืน่ ตามขวาง หมายถึงคลื่นที่มี การสัน่ ของ
อนุภาคตัวกลางในแนวตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่น เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ า
การรบกวนตัวกลาง
 คลืน่ ดล คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสัน่ เพียงครั้ง
เดียวหรื อ 2 ครั้ง ทำให้เกิดคลื่นเพียง 1 หรื อ 2 ลูกคลื่น
เท่านั้น เช่น การโยนก้อนหินก้อนเดียวลงในน้ำ จะพบว่า
คลื่นดลเพียงกลุ่มหนึ่งกระจายออกไปโดยรอบๆ คลื่นดล
อาจมีลกั ษณะกระจายออกจากแหล่งกำเนิดเป็ นแนวตรง
หรื อเป็ นวงกลมก็ได้ แล้วแต่แหล่งกำเนิดที่ทำให้เกิดคลื่น
 คลืน่ ต่ อเนื่อง คือ เป็ นคลื่นที่เกิดจากการรบกวน
โมเลกุลของผิวน้ำด้วยการให้พลังงานภายนอกหลาย ๆ
ครั้ง ทำให้เกิดคลื่นหลาย ๆ ลูกติดต่อกัน เช่น คลื่นน้ำที่
เกิดจากการใช้มอเตอร์ ทำให้เกิดคลื่นน้ำต่อเนื่อง
ลักษณะทางกายภาพของคลืน่
 แอมพลิจูด นั้นวัดจากขนาด ของการรบกวนตัวกลาง
ที่มากที่สุด ในช่วงหนึ่งคาบ โดยมีหน่วยของการวัดขึ้นกับ
ประเภทของคลื่น เช่น คลื่นในเส้นเชือกมีหน่วยการวัดเป็ น
ระยะทาง (เช่น เมตร) ค่าแอมพลิจูดนั้นอาจมีค่าเป็ นคงที่
(เรี ยกคลื่นประเภทนี้ วา่ คลื่นต่ อเนื่อง (continuous wave)
ย่อ c.w. หรื อ อาจมีค่าเปลี่ยนแปลงตามเวลา และ ตำแหน่ง
(หากคลื่นเคลื่อนที่ไปในทิศทาง) การเปลี่ยนแปลงของ
แอมพลิจูด เรี ยกว่า ซอง (envelope) ของคลื่น
 คาบ เป็ นช่วงเวลาที่คลื่นใช้ในการวนครบรอบใน
การกวัดแกว่ง ความถี่ คือ จำนวนรอบที่คลื่นกวัดแกว่ง
ครบรอบ ในหนึ่งหน่วยเวลา (เช่น ใน 1 วินาที) และมี
หน่วยของการวัดเป็ น เฮิรตซ์ โดยมีความสัมพันธ์
 บางครั้งสมการทางคณิ ตศาสตร์ ของคลื่นอาจอยูใ่ นรู ป

ของ ความถีเ่ ชิงมุม(en:angularfrequency) นิยมใช้


สัญลักษณ์ และมีหน่วนเป็ น เรเดียนต่อวินาที และมี
ความสัมพันธ์กบั ดังต่อไปนี้
การเคลือ่ นทีข่ องคลืน่
 คลื่นที่ไม่เคลื่อนที่เรี ยก คลื่นนิ่ง (standing wave) เช่น
การสัน่ ของสายไวโอลิน ส่ วนคลื่นที่มีการเคลื่อนย้าย
ตำแหน่งเรี ยก คลื่นเคลื่อนที่ (travelling wave) การรบกวน
ในตัวกลางนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา และ
ระยะทาง
คลื่นกล(Mechanical Wave)
 ต้องมีการรบกวน คือเมื่อแหล่งกำเนิดมีการสัน่ ก็จะถ่ายโอน
พลังงานให้กบั ตัวกลางที่อยูน่ ิ่ง
 ตัวกลางต้องถูกรบกวนได้ และมีกลไกทางกายภาพให้มีการ
ถ่ายโอนการรบกวนจากส่ วนหนึ่งของตัวกลางไปสู่ ส่วนอื่นที่
อยูต่ ิดกัน โดยส่ วนนั้นๆของตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ตามไปด้วย
 ถ้าตัวกลางนี้มีสมบัติยดื หยุน่ และไม่ดูดกลืนพลังงานหรื อไม่
แปลงพลังงานไปเป็ นพลังงานความร้อน โมเลกุลของตัวกลาง
นั้นก็จะมีการสัน่ แล้วถ่ายโอนพลังงานให้กบั โมเลกุลข้างเคียง
จำนวนมากต่อเนื่องกันไปทำให้คลื่นเคลื่อนที่ออกไปโดย
โมเลกุลของตัวกลางหรื ออนุภาคจะสัน่ หรื อเคลื่อนที่วนไปมา
ณ ตำแหน่งหนึ่งๆเท่านั้น
19
คลื่นดลในเส้นเชือก
 การเคลื่อนที่ปลาบเชือกขึ้นลงหนึ่งรอบ
เป็ นการรบกวน
 เชือกเป็ นตัวกลาง
 เกิดเป็ นคลื่นหนึ่งลูกเรี ยกว่าคลื่นดล
(pulse) เคลื่อนที่ไปตามเส้นเชือก
 ส่ วนใดๆของเส้นเชือกมีการเคลื่อนที่
ขึ้นลง แต่ไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไป
ด้วย
 ถ้าเคลื่อนที่ปลายเชือกขึ้นลงต่อเนื่องก็
จะเกิดคลื่นต่อเนื่อง 20
ชนิดของคลื่นแบ่งตามการเคลื่อนที่ของอนุภาค
ของตัวกลาง
 คลื่นตามขวาง (Transverse Wave )
 อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ต้ งั ฉากกับทิศทางการ
เคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นในเส้นเชือก คลื่นน้ำในอ่าง
น้ำหรื อบ่อน้ำ
 คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)
 อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่กลับไปกลับมาในแนว
ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสี ยง
คลื่นื่นของการอัดตัวของขดลวดสปริ งในแนวขนานกับ
แนวยาวของขดลวดสปริ ง
21
คลื่นตามขวาง (Transverse Wave )

22
คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave
or
Compression Waves)

23
คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave)

24
Complex Waves

 คลื่นบางแบบแสดงลักษณะของทั้งคลื่นตามขวางและคลื่นตาม
ยาว(combination of transverse and
longitudinal waves)
 เช่น คลื่นผิวน้ำ
25
คลื่นแผ่นดินไหว
 คลื่นแผ่ดินไหวเป็ นทั้งคลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว มีท้ งั เคลื่อนเข้าไปในโลก
และเคลื่อนบนผิวโลก
 P waves
 “P” stands for primary
 ความเร็ ว 7 – 8 km / s
 เป็ นคลื่นตามยาว
 S waves
 “S” stands for secondary
 ช้ากว่า คือประมาณ 4 – 5 km/s
 เป็ นคลื่นตามขวาง
 Seismograph เป็ นเครื่ องมือบันทึกคลื่น 26
ภาพรวมของคลื่น

 การเคลื่อนที่แบบคลื่นเป็ นการถ่ายโอนพลังงานจากการรบกวน โดยโมเลกุล


ของตัวกลางไม่เคลื่อนที่ตามไปด้วย
 สมบัติของการเคลื่อนที่แบบคลื่นที่เหมือนกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคคือ
การสะท้อนและการหักเห
 สมบัติเฉพาะของคลื่นได้แก่ การซ้อนทับ การแทรกสอด การเลี้ยวเบน
 การเคลื่อนที่ของคลื่นมีท้ งั แบบใช้ตวั กลางและไม่ใช้ตวั กลาง
 การเกิดคลื่นเป็ นผลจากการรบกวนแล้วมีการถ่ายโอนพลังงานจากตำแหน่ง
หนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยการรบกวนนี้ อาจมีตวั กลางหรื อไม่กไ็ ด้
27
 หมายถึง เส้นที่ลากผ่านตำแหน่ง
หน้าคลื่น ต่างๆ บนคลื่นลูกเดียวกันที่มี
เฟสตรงกัน เป็ นแนวของสัน
คลื่นหรื อท้องคลื่นก็ได้ หน้า
คลื่นมีได้หลายแนวและทิศทาง
การเคลื่อนที่ของคลื่นจะต้องตั้ง
ฉากกับหน้าคลื่นเสมอ คลื่น
วงกลมหน้าคลื่นจะเป็ นวงกลม
คลื่นเส้นตรง หน้าคลื่นก็เป็ น
เส้นตรง

28
คุณลักษณะเชิงปริ มาณของคลื่น

 ความยาวคลื่น (Wavelength)
 แอมพิจูด(Amplitude)
 ความถี่ (Frequency)
 คาบ(Period)
 อัตราเร็ วของคลื่น (Wave speed)

29
ความยาวคลื่น (Wavelength) : 

 คือระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไป หรื อคือระยะทาง


ที่ส้ นั ที่สุดระหว่างจุดสองจุดที่เหมือนกันทุกประการ
ของคลื่นที่อยูถ่ ดั ไป

30
แอมพิจูด(Amplitude) : A

 คือค่าการกระจัดสูงสุ ดของตัวกลางเมื่อวัดจากตำแหน่ง
ปกติ
A

31
ความถี่ (Frequency) : f

 คือจำนวนสันคลื่นหรื อตำแหน่งใดบนคลื่นที่ผา่ นจุด


หนึ่งที่กำหนดให้ในหนึ่งหน่วยเวลา
 จำนวนคลื่นต่อวินาที เราเรี ยกว่า Hertz (Hz)

32
คาบ(Period) : T

 คือช่วงเวลาระหว่างจุดสองจุดที่เหมือนกันทุกประการ
ที่คลื่นที่อยูถ่ ุดไปใช้ในการเคลื่อนที่ผา่ น

1 1
frequency  f
period T

33
อัตราเร็ วของคลื่น (Wave speed) : v

 คือระยะทางที่คลื่นแพร่ ไปได้ในตัวกลางต่อหน่วยเวลา

อัตราเร็ วของคลื่น = ความยาวคลื่น x ความถี่

v = f

34
Wave Function
คือพิกดั ของจุดใดๆ ในตัวกลาง ณ เวลาหนึ่ง
ฟังก์ชนั่ คลื่น y(x,t) เป็ นฟังก์ชนั่ ที่แสดงพิกดั บนแกน Y
ของตัวกลางที่พิกดั x ณ เวลา t ใดๆ

35
การเคลื่อนที่ของคลื่นดล (Pulse)
 รู ปร่ างของคลื่นดล ณ เวลา t
= 0 เป็ นดังภาพด้านข้างนี้
 พิกดั ของจุดใดๆบนคลื่น
อธิบายได้ดว้ ยสมการ
y (x,0) = f (x)
 สมการนี้ อธิ บายระยะ
ทางในแนวดิ่ง y ของ
อนุภาคของเชือกที่ตำแหน่ง
x ใดๆ ณ เวลา t = 0
36
เมื่อเวลาผ่านไป t

 คลื่นแพร่ ไปด้วยความเร็ ว v
 ณ เวลา t คลื่นดลลูกนีเ้ คลื่อนที่
ไปเป็ นระยะทาง vt
 รู ปร่ างของคลื่นดลไม่เปลี่ยนแปลง
 พิกดั ของจุดใดๆ บนเส้นเชือก
อธิบายด้วยสมการ
y = f (x – vt)
37
การเคลื่อนที่ของคลื่นดล
 คลื่นดลหนึ่งลูกเคลื่อนที่ไปทางขวา
 y (x, t) = f (x – vt)
 คลื่นดลหนึ่ งลูกเคลื่อนที่ไปทางซ้าย
 y (x, t) = f (x + vt)

ั y นี้วา่ ฟังก์ชนั คลื่น( wave function)


 เรี ยกฟั งก์ชน
: y (x, t)
ั คลื่นแสดงพิกดั ของ y ของส่ วนใดๆของเส้นเชือกที่อยู่
 ฟั งก์ชน
ณ ตำแหน่ง x ที่เวลา t ใดๆ
ั y ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
 กรณี น้ ี พิกด 38
รู ปคลื่น (waveform)

 ณ เวลา t ใดๆ ถ้าเราถ่ายรู ปคลื่น รู ปที่ได้จะเห็นเป็ นรู ปแบบ


ของคลื่น (waveform) นั้นคือ
 ถ้ากำหนดค่าให้ t แน่นอน เราเรี ยกฟังก์ชนั
คลื่น(wave function) ว่า รู ปคลื่น
(waveform)
 รู ปคลื่น (waveform) แสดงถึงรู ปทรงทางเรขาคณิ ต
ของคลื่น ณ เวลาหนึ่ง
 รู ปคลื่นที่เห็นบ่อยได้แก่ คลื่นรู ปไซน์(sinusoidal
(sinusoidal
wave) ซึ่งจะเหมือนกับกราฟของไซน์
39
คลื่นรู ปไซน์(Sinusoidal
(Sinusoidal Waves)
 รู ปคลื่นที่เหมือนกับกราฟของ
ฟังก์ชนั sine คือกราฟระหว่างค่า
sin กับมุม  เรี ยกว่า คลื่นรู ป
ไซน์(Sinusoidal
(Sinusoidal
Waves)
 คลื่นรู ปไซน์เป็ นรู ปแบบคลื่นพื้น
ฐานของคลื่นต่อเนื่อง (periodic
continuous wave)
 สามารถใช้คลื่นรู ปแบบนี้ สร้างคลื่น
ที่ซบั ซ้อนกว่าได้

40
คลื่นรู ปไซน์(Sinusoidal
(Sinusoidal Waves)
 จากรู ปจะเห็นว่าคลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา
 สี น ้ำตาลแสดงรู ปคลื่น ณ เวลาเริ่ มต้น
 เมื่อเวลาผ่านไป t คลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา ไปอยู่
ในตำแหน่งดังรู ปสี ฟ้า
 แต่ละอนุ ภาคของตัวกลางจะเคลื่อนที่ข้ ึนลงแบบฮาร์ มอ
นิกส์อย่างง่าย ( simple harmonic
motion )
 ต้องแยกให้ออกระหว่างการเคลื่อนที่ของคลื่นกับการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคของตัวกลาง
41
ฟังก์ชนั คลื่นของคลื่นรู ปไซน์ ที่เคลื่อนที่ดว้ ย
อัตราเร็ ว v
 คลื่นเคลื่อนที่ไปทางขวา
 2 
y ( x, t )  A sin   x  vt  
 

 คลื่นเคลื่อนที่ไปทางซ้าย
 2 
y ( x, t )  A sin   x  vt  
 

42
คลื่นรู ปไซน์บนเส้นเชือก

 เพื่อที่จะสร้างคลื่นดลต่อเนื่อง ด้าน
หนึ่งของเส้นเชือกจะต้องติดกับกลไก
ที่มีการสัน่
 คลื่นที่ได้เป็ นคลื่นรู ปไซน์
 จุด P ใดๆในเส้นเชือกจะเคลื่อนที่ข้ ึน
ลงแบบฮาร์มอนิก อย่างง่าย
(SHM) โดยมีความถี่ของการสัน่
เท่ากับความถี่ของกลไกที่ติดอยูก่ บั
ปลายเชือก
43
อัตราเร็ วของคลื่นบนเส้นเชือก

 อัตราเร็ วของคลื่นบนเส้นเชือกขึ้นอยูก่ บั คุณลักษณะ


ทางกายภาพและความตึงของเส้นเชือก
tension T
v 
mass/length 
 โดยมีสมมุติฐานว่าคลื่นไม่มีผลต่อความตึงของเส้น
เชือก

44
คุณสมบัติของความเป็ นคลื่น

 การสะท้อน ( Reflection)
 การหักเห (Refraction)
 การแทรกสอด (Interference)
 การเลี้ยวเบน (Diffraction)

45
การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกที่ตรึ งไว้ดา้ นเดียว

 เมื่อคลื่นดลถึงด้านที่ตรึ งไว้ จะ
สะท้อนถอยหลังกลับไป
 โดยคลื่นดลที่สะท้อนจะกลับทาง
( inverted)

46
การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกที่ไม่ได้ตรึ งไว้

 เมื่อไม่ได้ตรึ งเส้นเชือกไว้
เชือกก็สามารถเคลื่อนที่ข้ ึน
ไปได้ ทำให้คลื่นที่สะท้อน
กลับไม่กลับทาง

47
การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก

48
การสะท้อนของคลื่น (Relfection)

 หมายถึง การที่คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งแล้วกระทบกับตัวกลางที่มีความ
หนาแน่นมากกว่าจะสะท้อนกลับสู่ ตวั เดิม โดยการสะท้อนจะเป็ นไปตามกฎการ
สะท้อน
 คลื่นตกกระทบ เป็ นคลื่นที่เคลื่อนที่เข้าสู่ แผ่นกั้น
 คลื่นสะท้อน เป็ นการเคลื่อนที่เปลี่ยนทิศกลับจากแผ่นกั้น
 มุมตกกระทบ (ө1 ) เป็ นมุมที่ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบทำกับเส้น
แนวฉาก
 มุมสะท้อน (ө2 ) เป็ นมุมที่ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นสะท้อนทำกับเส้นแนว
ฉาก
เส้นแนวฉาก เป็ นเส้นที่ลากตั้งฉากกับแผ่นกั้น
49

กฎการสะท้อน
 มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
 ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบ (รังสี ตกกระทบ)
เส้นแนวฉากหรื อเส้นปกติ และทิศการเคลื่อนที่ของ
คลื่นสะท้อน (รังสี สะท้อน) อยูใ่ นระนาบเดียวกัน

50
การสะท้อนของคลื่น

 การสะท้อนของคลื่น ความถี่ ความเร็ ว และความยาว


ของคลื่นจะไม่เปลี่ยนแปลง

51
คลื่นเส้นตรงเคลื่อนที่กระทบแผ่นสะท้อนรู ป
พาราโบลา
 คลื่นสะท้อนจะมีทิศพุง่ สู่ จุดโฟกัส ทำให้คลื่นสะท้อน
เป็ นวงกลม

52
คลื่นวงกลมอยูท่ ี่จุดโฟกัส และตกกระทบแผ่น
พาราโบลา
 ก็จะได้คลื่นสะท้อนเป็ นเส้นตรง

53
การหักเห (Refraction)

 เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปสู่ อีกตัวกลางหนึ่ง
จะเกิดการหักเห
 สำหรับคลื่นน้ำถือว่าน้ำตื้นและน้ำลึกเป็ นคนละ
ตัวกลางกัน การหักเหของคลื่นน้ำเมื่อคลื่นเคลื่อนที่
จากบริ เวณน้ำลึกไปน้ำตื้น
 ความยาวคลื่นของคลื่นน้ำจะเปลี่ยนไป โดย
ความยาวคลื่นในน้ำลึกจะยาวกว่าในน้ำตื้น เพราะคลื่น
น้ำเคลื่อนที่ในน้ำลึกได้เร็ วกว่าในน้ำตื้น
54
 การหักเหลักษณะนี้ แนวการเคลื่อนที่
ของคลื่นไม่เปลี่ยนแต่ความเร็ วของ
คลื่น ความยาวคลื่นเปลี่ยนไปโดย
ความถี่มีค่าคงเดิม
f1 = f2

v1 v2

1 2
v1 1

v2 2 55
การหักเหกรณี หน้าคลื่นตกกระทบไม่ต้ งั ฉากกับรอยต่อ

 การหักเหลักษณะนี้ จะทำให้แนวการ
เคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไป
 เกิดมุมตกกระทบ(ө1) และมุม
หักเห (ө2)
 อัตราส่ วนของค่าไซน์ของมุมตกกระ
ทบ( sinө1 )ต่อค่าไซน์ของมุม
หักเห( sinө2 ) ของตัวกลางน้ำ
ลึกน้ำตื้นคู่หนึ่งๆจะเท่ากับอัตราส่ วน sin 1 1 v1
ของความยาวคลื่นและอัตราส่ วนของ  
ความเร็ วของคลื่น sin  2 2 v2 56
Reference

 นำภาพและเนื้ อหามาจากหลาย WEB ขออภัยที่ไม่


ได้จดไว้ จะพยายามหาแล้วนำมาแสดงภายหลัง ขออภัย
ด้วยครับ

57

You might also like