You are on page 1of 19

วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105

ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _1_/_199_

เรียว
สาระการเรียนรู
1. ชนิดของเรียว
2. การหาสวนตาง ๆของเรียว
3. การคํานวณการกลึงเรียวโดยวิธีเบื้องศูนยทา ยแทน
4. การคํานวณการกลึงเรียวโดยวิธีเอียงปอมมีด
5. การคํานวณการกลึงเรียวโดยวิธีใชอุปกรณพิเศษ

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. บอกลักษณะของเรียวได
2. บอกชนิดของเรียวได
3. บอกสวนตาง ๆของเรียวได
4. คํานวณหาอัตราเรียวได
5. คํานวณหาอัตราลาดหนาเรียวได
6. คํานวณหามุมเรียวได
7. คํานวณหาระยะเยื้องได
8. คํานวณหามุมตั้งมีดได
9. คํานวณหามุมตั้งอุปกรณพิเศษได
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _2_/_199_

หนวยที่ 8
เรียว (TAPER)

งานเรียวหมายถึง การกลึงงานใหกลมแตมขี นาดของความโตที่ไมเทากันนั้นหมาย


ความวามีขางโตและขางเล็กโดยมีขนาดความเรียวที่มีอัตราสวนที่สม่ําเสมอในงานกลึงนั้น ๆ ซึ่งมีทั้งงานเรียว
นอก และงานเรียวใน

8.1 ชนิดและมาตรฐานของเรียว
1. Morse Standard Tapers เปนเรียวมาตรฐานที่ใชกับเครื่องกลึง เครื่องเจาะ เชน รู
ใน Spindle ของเครื่องเจาะ ที่ศูนยทายแทนของเครื่องกลึง กานเรียวของดอกสวาน ที่กานเรียวของหัวจับดอก
สวาน มีอัตราเรียว 0.625 นิ้วตอฟุต มีอยู 8 ขนาด ตั่งแต No. 0 – 7 เริ่มจากขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ
2. Brown and Sharpe Tapers สวนใหญใชกบั เครื่องกัด มีอยู 18 ขนาด ตัง่ แต No. 1 –
18 เรียงจากเล็ก ไปจนถึงขนาดใหญสุด มีอัตราเรียว 0.500 นิ้วตอฟุต ยกเวน No. 10 ซึ่งมีอัตราเรียว ประมาณ
0.5161 นิ้วตอฟุต
3. Jacobs Tapers ใชในการประกอบหัวจับดอกสวานเขากับกานเรียว อัตราเรียวจะ
เปลี่ยนไปแลวแต No. เรียวชนิดนี้จะมีทั้งหมด 10 ขนาด คือ No. 0 , 1 , 2 , 2 short, 3 ,4,5,6,33 และ E ขนาด
ความโตจะมีขนาดสลับไปมา ซึ่งเรียงตามขนาดจากใหญไปหาเล็กดังนี้ No. 5, 4, 3E, 6, 33, 2 ,2 short , 1 และ 0
4. Jarno Tapers ใชกับเครื่องกลึง เครื่องเจาะบางอยางในสมัยกอน มีอัตราเรียว
0.600 นิ้วตอฟุต มีอยู 20 ขนาด คือตั่งแต No. 1 – 20 เรียงจากเล็กไปหาใหญ
5. Standard Taper Pins ใชกับสลักเพลาที่มีอัตราเรียว 0.250 นิ้วตอฟุต มีตั่งแต
No. 8/0 No. 14 ดังตอไปนี้ 8/0 ,7/0,6/0,5/0,4/0,2/0,0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,
12,13,14 มีขนาดตั่งแตเล็กไปหาใหญ
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _3_/_199_

8.2 สวนตาง ๆ ของเรียว

จากรูปที่ 8.2 กําหนดให

D = ความยาวเสนผาศูนยกลางดานใหญของเรียว (มม.)
d = ความยาวเสนผาศูนยกลางดานเล็กของเรียว (มม.)
l = ความยาวเรียว (มม.)
L = ความยาวทั้งหมดของงาน (มม.)

1 : X หรือ 1 : K = อัตราเรียว
α = มุมเรียว
α
= ครึ่งหนึ่งของมุมเรียว คือมุมที่จะตั้งกลึงเรียวดวย Compound Rest และกลึง
2
ดวย Taper Attachment
1 : X หรือ 1 : K เปนการบอกอัตราเรียวที่มีความแตกตางกันระหวาง
D – d ที่มีคา 1 มม. ทุก ๆ ความยาว X หรือ K
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _4_/_199_

8.2.1 อัตราเรียว
อัตราเรียว หมายถึง อัตราสวนของความแตกตางระหวางความโตเรียวสองขางตอความยาว
เรียว คํานวณไดจาก
อัตราเรียว = Φ เรียวดานโต - Φ เรียวดานเล็ก
ความยาวเรียว

1 D−d
นั่นคือ =
K l
ตัวอยางที่ 8.1 เรียวตัวหนึ่งมีความยาว 600 มิลลิเมตร โคนเรียวขางเล็กวัดได φ 60 มิลลิเมตร ถาเรียว
ตัวขนาดของโคนเรียวขางเล็กเทากับ 80 มิลลิเมตร จงคํานวณหาอัตราเรียว
วิธีทํา โจทยกําหนด ;
- ความยาวเรียว l = 600 mm
- ขนาด φD = 80 mm
- ขนาด φd = 60 mm
1
¾ หาอัตราเรียว
k
D−d
จาก อัตราเรียว =
l
80 − 60 1
แทนคา = =
600 30
∴ อัตราเรียวของชิ้นงาน = 1
ตอบ
30

ตัวอยางที่ 8.2 เรียวตัวหนึ่งมีอัตราเรียว 1:15 โคนเรียวขางโตวัดได φ 75 มิลลิเมตร ถาเรียวตัวที่มี


ความยาว 105 มิลลิเมตร จงคํานวณหาขนาดของโคนเรียวขางเล็ก
วิธีทํา โจทยกําหนด ;
1
หาอัตราเรียว = 1 : 15
k
ขนาด φ D = 75 มิลลิเมตร
ความยาวเรียว = 105 มิลลิเมตร
จงหาขนาดความโต φ โคนเรียวดานเล็ก
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _5_/_199_

จากสูตร
1 D−d
อัตราเรียว =
k l
75 − d
แทนคา 1:15 = 105
⎛ 105 ⎞
d = 75 − ⎜ ⎟
⎝ 15 ⎠
∴ ขนาดความโตโคนเรียวดานเล็กเทากับ 68 มิลลิเมตร ตอบ

8.2.2 อัตราลาดของหนาเรียว
อัตราลาดของหนาเรียวเปนคาที่บอกความลาดของผิวโดยเฉพาะ ซึ่งมีความลาดของผิววัดคา
ออกมาเปน tangent ของมุมที่ลาด หรือ α ดังรูป 8.3
2

จากรูปจะไดวา
α
ดานตรงขามมุม
α 2
tan =
2 α
ดานประชิดมุม
2
D−d
= 2
l

∴ tan α =
D−d
2 2l
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _6_/_199_

และจาก 1 D−d
= ∴ tan α =
1
k l 2 2k
สรุปไดวา อัตราลาดของหนาเรียว ⎛⎜ 1 ⎞⎟ = D − d = tan α
⎝ 2K ⎠ 2l 2

ตัวอยางที่ 8.3 เรียวตัวหนึ่งจากรูปที่ 8.4 กําหนดให จงคํานวณหา


1. ขนาดความโตของเรียวดานเล็ก(φd)
⎛ 1 ⎞
2. อัตราลาดของหนาเรียว ⎜ ⎟
⎝ 2k ⎠

วิธีทํา 1. จากรูป พิจารณาไดวา


ขนาดความโตของเรียวดานเล็ก φ d
α D−d
tan = ; เมื่อ α = 30°
2 2l
30° 24 − d
tan =
2 2 × 30
∴ ขนาดความโตเรียวดานเล็ก (φd) ≈8.00 mm.
⎛ 1 ⎞
2.หาอัตราลาดของหนาเรียว ⎜ ⎟
⎝ 2K ⎠
1 D−d
จาก =
2k 2l
24 − 8 16 1
แทนคา = = =
2 × 30 60 3.75
∴อัตราลาดของหนาเรียว ⎛⎜ 1 ⎞⎟ = 1
⎝ 2k ⎠ 3.75
ตอบ
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _7_/_199_

ตัวอยางที่ 8.4 จงคํานวณคาตาง ๆลงในตารางที่กําหนดให ตอไปนี้

1 2 3
D (mm) 30 ? 80
D (mm) ? 75 60
l (mm) 300 250 ?
1
1:3 ? ?
k
1 ? 1:80 1:5
2k

วิธีทํา 1. จากตารางกําหนดให φ D = 30 mm , l = 300 mm , 1


= 1:30
k
¾ หาขนาด
1 D−d
จาก =
K l
1 30 − d
แทนคา =
30 300
d = 30 −
(300 )
30
= 30 – 10 = 20 mm
∴ ขนาด φ d = 20 mm
⎛ 1 ⎞
¾ หาอัตราลาดหนาเรียว ⎜ ⎟
⎝ 2k ⎠
1 D−d
จาก =
2k 2l
30 − 20 10 1
แทนคา = = =
2 × 300 600 60
∴ อัตราลาดของหนาเรียว ⎛⎜ 1 ⎞⎟ = 1
⎝ 2 K ⎠ 60
2.จากตาราง ; φ d = 75 mm , l = 250 mm , 1 = 1
2k 80
¾ หาขนาด φ D
1 D−d
จาก =
2k 2l
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _8_/_199_

1 D − 75
แทนคา =
80 2 × 250
D = 75 +
(2 × 250 ) = 75 + 6.25 = 81.25 mm
80
∴ ขนาด φ D = 81.25 มิลลิเมตร
¾ หาอัตราเรียว ⎛⎜ 1 ⎞⎟
⎝K⎠
1 D−d
จาก =
k l
81.25 − 75 6.25 1
แทนคา = = =
250 250 40
⎛1⎞ 1
∴ อัตราเรียว ⎜ ⎟=
⎝ K ⎠ 40

3. จากตาราง กําหนดให ; φ D = 80 mm , φ d = 60 mm , 1
= 1 : 50
2k
¾ หาความยาวเรียว (l)
1 D−d
จาก =
2k 2l
1 80 − 60
แทนคา =
50 2 ×1
20 50 1000
l = × = = 500 mm
2 1 2
∴ ความยาวของเรียว l = 500 มิลลิเมตร
¾ หาความยาวเรียว ⎛⎜ 1 ⎞⎟
⎝K⎠
1 D−d
จาก =
K l
80 − 60 20 1
แทนคา = = =
500 500 25
∴ อัตราเรียว 1
=
1
K 25
ตอบ
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _9_/_199_

8.3 การคํานวณในงานกลึงเรียว
ในการกลึงเรียวสามารถกระทําได 3 วิธี คือ
8.3.1 งานกลึงเรียวดวย Compound Rest จะเปนการกลึงโดยการปรับมุมปอมมีด (Tool Post )
ใหเอียงไปตามองศาที่ตองการ ดังรูปที่ 8.5

ในงานกลึงเรียวดวยวิธีนี้จะตองตั้งปอมมีดใหเปนมุม α (กึ่งมุมเรียวของงานจริง) กับเพลางาน โดย


2
การคํานวณหาคามุมมากอน หรือถาทราบคามุม ก็นําไปตัง้ ดวยคากึ่งมุมเรียว ⎛⎜ α ⎞⎟ เทานั้นเอง เชน ถาเรา
⎝2⎠
ตองการกลึงมุมเรียว 30° การตั้งปอมมีดจะตองตั้งเพียง α คือ 30
= 15° เทานั้น
2 2
จงพิจารณารูปแสดงสัญลักษณของคาตาง ๆในการคํานวณการกลึงเรียวดวย Compound Rest f
ดังรูปที่ 8.6
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _10_/_199_

สรุปสูตร ที่ใชในการคํานวณการกลึงเรียวดวย Compound Rest ไดดังนี้


1 D−d
- อัตราเรียว : =
K l
1 D−d
- อัตราลาดของหนาเรียว ; =
2K 2l
1 D−d
- มุมเรียว ; tan α= =
K l
- กึ่งมุมเรียวหรือมุมที่จะตั้งปอมมีดเอียงตัดงาน ; tan α =
1
=
D−d
2 2K 2l

ตัวอยางที่ 8.5 จะตองตั้งปอมมีดวยมุมบิดเทาใด จึงจะสามารถกลึงเรียวขนาดตาง ๆเหลานี้ได


1. เรียวที่มีอัตราเรียว 1: 2
2. เรียวที่มีมุมเรียว 22°
3. เรียวที่มีมุมลาดของหนาเรียวเทากับ 9.5°
4. เรียวที่มีอัตราสูงของหนาเรียว 1:30
5. เพลาเรียวซึ่งมี D = 75 mm , d = 60 mm และ l= 90 mm
6. เพลาเรียวซึ่งยาว 3 1 ฟุต และเรียงดวยอัตราเรียว 3
นิ้ว/ฟุต
2 8
วิธีทํา 1. เรียวที่มีอัตราเรียว 1:12
จาก tan α = 1
2 2K
α 1 1
แทนคา tan = = = 0.042
2 2 × 12 24
α
∴มุมตั้งมีด = 2° 24’
2
2. เรียวที่มีมุม 22°
α
จากมุมตั้งมีด =
2
22
= = 11
2
∴ มุมตั้งมีด = 11°
3.มุมลาดหนาเรียว 9.5°
α
จาก = มุมตั้งมีด = มุมลาดหนาเรียว
2
α
∴ มุมตั้งมีด = = 9.5°
2
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _11_/_199_

4.เรียวที่มีอัตราลาดหนาเรียว 1: 30
1 α 1
จาก = tan =
2K 2 30
นั่นคือ tan α = 1
2 30
∴ มุมตั้งมีด = 3°50’
5.โจทยกําหนด φ D = 75 mm , φ d = 60 mm. l + 90 mm
จาก tan α = D − d 75 − 60 15 1
= =
2 2l 2 × 90 180 12
α
∴ =4° 46’
2
7. กําหนดความยาวเรียว 3 1 ฟุต , อัตราเรียว 3
นิ้ว/ฟุต
2 8
3"
3 1
อัตราเรียว = 8 = ×
12" 8 12
∴ 1
= 1
K 32
จาก tan α = 1
2 2K

1
=
2 × 32
1
=

α
= tan 1
2 6α

ตัวอยางที่ 8.6 จะตองตั้งปอมมีดดวยมุมบิดเทาใด เพื่อจะกลึงเรียวใหไดดงรูปที่ 8.7 กําหนดใหและขนาดของ


เรียวที่ตองการดูไดจากตารางที่ใหมา
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _12_/_199_

1 2 3
D (mm) 90 36 64
อัตราเรียว l : k 1:40 1 : 25 1 : 30
ความยาว L mm. 100 90 120
ความยาว l1 mm. 100 90 120

α
วิธีทํา 1. หามุมตั้งมีด
2
โจทยกําหนด φ D = 90 mm , 1
= 1:40 , l1 = 100 mm
K
1 D−d
จากอัตราเรียว =
K l

1 90 − d
แทนคา =
40 100
100
d = 90 − = 87.5 mm
40
แตเราทราบวา tan α = D − d 90 − 87.5 2.5
= = = 0.0125
2 2l 2 × 100 200
∴ มุมตั้งมีด = tan ∝ = 0 o 43'
2
1
= 1 : 25, l1 = 90mm
2.โจทยกําหนด φ D = 36 mm , อัตราเรียว K

¾ หามุมตั้งมีด α
2
D−d
จากอัตราเรียว 1 =
K l

1 36 − d
แทนคา =
25 90
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _13_/_199_

36 −
(90) = 32.4mm
d = 25

แตเราทราบวา
tan α = D − d 36 − 32.4 3.6
= = = 0.02
2 2l 2 × 90 180
∴มุมตั้งมีด tan α =1° 8’
2
3.โจทยกําหนด ; φ D = 64 mm , อัตราเรียว 1
= 1:30 , l1 = 120 mm
K
¾ หามุมตั้งมีด α
2
D−d
จากอัตราเรียว 1 =
K l
1 64 − d
แทนคา =
30 120
d = 64 −
(120 ) = 60mm
30
แตเราทราบวา tan α = D − d = 64 − 60 = 4 = 0.017
2 2l 2 × 120 120
α
∴ มุมตั้งมีด tan = 0° 58’
2
8.3.2 งานกลึงเรียวดวยการเลื่อนศูนยทายแทน (Offsetting The Tail Stock) เปนวิธที ี่เหมาะ
กับงานกลึงเรียวที่มีขนาดยาว ๆ แตมีอัตราเรียวนอย ๆ ดังรูปที่ 8.8
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _14_/_199_

1
ระยะศูนยที่ตอ งเลื่อน จะตองเยื้องไมเกิน ของระยะหางระหวางศูนยหนาถึงศูนยหลังโดยเด็ดขาด เพราะถา
50
เกินจะทําใหงานหลุดออกจากรูเจาะยันศูนย ผิวสัมผัสของยันศูนยกับรูเจาะจะยึดประคองไดไมแนพอที่จะทํางาน
ได
พิจารณาสัญลักษณของคาตาง ๆ ในการคํานวณเกีย่ วกับวิธีกลึงเรียวดวยการเยื้องศูนยทายแทน
ดังรูปที่ 8.9

กําหนดให Vr = ระยะที่ศนู ยหลังเลื่อนออก(mm)


L = ระยะหางจากศูนยหนาถึงศูนยหลังของแทน หรือความยาวของชิ้นงานกลึง
(mm)
l = ความยาวของผิวหนาเรียว (mm)
D = เสนผานศูนยกลางขางโตของเรียว(mm)
D = เสนผานศูนยกลางขางเล็กของเรียว (mm)
ระยะทีจ่ ะตองเลื่อนศูนยหลัง (Vr) ออกนั้น ขึ้นอยูกับอัตราเรียว ⎛⎜ 1 ⎞⎟ ของระยะหางจากศูนยหนาถึง
⎝K⎠
ศูนยหลัง (L) ซึ่ง L จะยาวกวา l
เพราะฉะนั้นจะตองคิดความยาวของงานทัง้ หมด (L) เปนอัตราลาดของหนาเรียวในการที่จะเลื่อนให
D−d
ผิวหนาของเรียวขนานกับคมมีด ศูนยหลังของเรียวจะตองเบื่อนออกเทากับ ตอความยาวหนาลาด 1
2L
mm แตระยะหางของศูนยหนาถึงศูนยหลังยาว L mm
ดังนั้นจะไดวา
D−d
× Lmm
จะตองเลื่อนชุดทายแทน (Vr) = 2l
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _15_/_199_

1
หรือ Vr = × L mm
2k
นั่นคือ ระยะที่ศูนยทายแทนเลื่อน = ความลาดของหนาเรียว×ระยะหางระหวางศูนยหนาถึงศูนยหลัง
ขอควรทราบ (ใชเฉพาะกลึงเรียวดวยการเลื่อนศูนยทายแทน)
1 D−d
1. อัตราเรียว = =
K L
2. อัตราลาดของหนาเรียว = = D−d
1
2K 2L
ตัวอยางที่ 8.7 เพลา ๆหนึ่งลักษณะดังรูปที่ 6.10 จงคํานวณหา
1. ระยะเลื่อนของชุดทายแทน ; Vr (mm)
2. จงพิสูจนวาเรียวนีจ้ ะใชกลึงดวยวิธีนี้ไดหรือไม ⎛⎜ Vr 〈 1


⎝ L 50 ⎠

วิธีทํา 1.ระยะเลื่อนของชุดทายแทน(Vr)
D−d
จาก Vr = ×L
2l
50 − 40 1800
แทนคา = = × 180 = =9
2 × 100 200

∴ ระยะเลื่อนศูนยทายแทน = 9 มิลลิเมตร
2. พิสูจนการกลึงเรียว จะใชวิธีนี้ไดหรือไม
Vr 9 1
จาก = =
L 180 20
1 1
นั่นคือ 〉
20 50
นั่นแสดงวา การเยื้องศูนยทายไมสามารถกระทําได
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _16_/_199_

ตัวอยางที่ 8.8 จากลักษณะของเรียวมอส (Morse) ที่กําหนดใหดังรูปที่ 8.11 จงคํานวณหา


1. ขนาดเสนผานศูนยกลางความโตเรียวดานเล็ก (d)
2. ระยะเลื่อนศูนยทายแทน (Vr)

เรียวมอส 1:K L D d
1 1 : 20 .048 150 12.415 65.5
2 1 : 20.020 245 18.181 78.5

วิธีทํา 1. หาขนาดเสนผานศูนยกลางโตเรียวดานเล็ก (d)


1.1 หาขนาด
1 D−d
=
K t
1 12.415 − d
แทนคา =
20.048 65.5
d = 12.415- ⎛⎜ 1 × 65.5 ⎞⎟
⎝ 20.048 ⎠
= 12.415-3.267
∴ขนาด φ d = 9.148 มิ ลลิเมตร
1.2 ระยะเลื่อนศูนยทายแทน (Vr)
D−d
จาก Vr = ×L
2l
12.415 − 9.148
แทนคา = × 150
2 × 65.2
490.05
=
131
∴ ระยะเลื่อนศูนยทายแทน (Vr) ช 3.741 มิลลิเมตร
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _17_/_199_

วิธีทํา 2. หาระยะเลื่อนศูนยทายแทน (Vr)


2.1 หาขนาด φ d
1 D−d
จาก =
K l

1 18.181 − d
แทนคา =
20.02 78.5
d = 18.181- ⎛⎜ 1 × 78.5 ⎞⎟ = 18.181 − 3.921
⎝ 20.02 ⎠
∴ขนาดφ d = 14.26 มิลลิเมตร
2.2 ระยะเลื่อนศูนยทายแทน Vr
D−d
จาก Vr = ×L
2l
18.181 − 14.26
= × 245
2 × 78.5
960.645
= = 6.119
157
∴ระยะเลื่อนศูนยทายแทน Vr = 6.119 มิลลิเมตร
ตอบ
8.2.3 วิธีกลึงเรียวโดยใชชุดอุปกรณพิเศษ (Attachment)
การกลึงดวย Attachment ทําไดสะดวกแนนอน โดยการเลือนชุดปอนตัวขวาง (Cross Slide)
และเครื่องมือตัด (Cutting Tool) ไปทางเอียง ขณะที่ชุดแครเลื่อน (Carriage) เลื่อนไปตามยาว
ระยะทางการเคลื่อนที่เอียงจะถูกจํากัดอยูใ นชวงหนึ่ง
ขอดีของการกลึงเรียวดวย Attachment คือ
1. สามารถกลึงเรียวไดทั้งภายในและภายนอก
2. ไมจํากัดวิธีการการจับงานดวยวิธีใดวิธีหนึง่
3. ไมเสียเวลาในการตรวจ และปรับการเยื้องของยันศูนยหวั -ทาย
4. การทํางานทําไดสะดวกและเดินปอนดวยอัตโนมัติ
5. สามารถกลึงงานที่มีอัตราเรียวไดสูงถึง 3 ตอ 10
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _18_/_199_

พิจารณาการกลึงเรียว Attachment ไดดังรูปที่ 8.12

การกลึงเรียวดวย Attachment ตัวไกดบาร (Guide bar) จะเปนตัวบังคับใหชุดแทนมีดตัดเฉือนใน


ทิศทางตามตองการ โดยคิดความเอียงออกมาในรูปขององศา ซึ่งจะมีมมุ ⎛⎜ α ⎞⎟ เรียวไมเกิน 10 องศา เพราะจะ
⎝2⎠
สงผลกระทบไปยังการเดินปอนอัตโนมัติ นอกจากเครื่องที่ถูกออกแบบมาพิเศษสามารถตั้งมุม ⎛⎜ α ⎞⎟ ไดถึง 15
⎝2⎠
องศา
ในการคิดคํานวณการกลึงเรียว Attachment สามารถทําไดเชนเดียวกันกับการกลึงเรียวแบบ
การตั้งปอมมีดใหเปนมุม (Compound Rest) ดังนี้
1 D−d
อัตราเรียว ; =
K 2l
1 D−d
อัตราลาดของหนาเรียว ; =
2T 2l
1 D−d
มุมเรียว ; tan α = =
K l
กึ่งมุมเรียวหรือมุมที่จะตั้งปอมมีดเอียงตัดงาน ; tan α =
1
=
D− f
2 2K 2l
ขอควรทราบ ในการกลึงเรียว Attachment ความยาวเรียวจะตองยาวกวาอุปกรณเรียว
วิชา : คณิตศาสตรเครื่องกล รหัส 2102-2105
ใบเนื้อหา
หนวยการเรียนที่8: เรียว _19_/_199_

ตัวอยางที่ 8.9 ในการกลึงเรียว Attachment ดังรูปที่กําหนดให α max − 15 o จงคํานวณหามุมที่ตอ งตั้ง


⎛α ⎞
⎜ ⎟ สําหรับอัตราเรียว
⎝2⎠
1. 1:4 เพลาหนาแปลนเครื่องจักร
2. 1:50 หินเรียว
3. 1:20 เรียวเมตริกสําหรับเครื่องมือ

วิธีทํา 1. หามุมที่ตองตั้ง α
2
1 1
จาก =
K 4
แต tan α = 1
2 2K
1 1 1
แทนคา = × =
2 4 8
tan α = 0.01
2
α
∴ มุมตั้งมีด = 0° 34’
2
4. หามุมที่จะตองตั้ง α
2
1 1
จาก =
K 20
แต tan α = 1
2 2K
α 1 1 1
แทนคา = × =
2 2 20 40
= 0.025
∴มุมตั้งมีด = 1° 26’
ตอบ

You might also like